บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf ·...

47
บทที่ 1 บทนา

Upload: others

Post on 03-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

บทที่ 1 บทน า

Page 2: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-1

บทที่ 1 บทน า

1.1 ความเป็นมาของโครงการ

บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด ผู้พัฒนาโครงการโรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร มี พ้ืนที่ โครงการตั้ งอยู่ที่ เลขที่ 700/888 หมู่ 1 ต าบลคลองต าหรุ อ า เภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี อยู่ภายในบริ เวณนิคมอุตสาหกรรมที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ .) ร่วมด าเนินงาน กับบริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จ ากัด (มหาชน) เปิดด าเนินการตั้งแต่ปี 2532 มีเนื้อที่ประมาณ 23,300 ไร่ (ที่มา : บมจ. อมตะ คอร์ปอเรชัน) ดังนั้น โรงพยาบาลจึงเป็นสถานบริการสาธารณะที่มีความส าคัญ และมีความจ าเป็น ในการรองรับความเจ็บป่วย และปัญหาสุขภาพอนามัยของคนงานในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียง โดยปัจจุบันยังไม่มีโรงพยาบาลรวมทั้งหน่วยงานที่ให้บริการทางด้านสาธารณสุข ตั้งอยู่ภายในพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด จึงพิจารณาเลือกพ้ืนที่โครงการ เพ่ือการพัฒนาเป็นโครงการประเภทโรงพยาบาล ประกอบด้วย อาคารโรงพยาบาล สูง 9 ชั้น มีชั้นใต้ดิน 1 ชั้น จ านวน 1 หลัง เปิดให้บริการรักษาผู้ป่วย จ านวน 100 เตียง (ขออนุญาต 137 เตียง) พร้อมห้องกิจกรรม ทางการแพทย์-พยาบาล อาคารหอพักพยาบาลสูง 3 ชั้น จ านวน 1 หลัง จ านวนห้องพัก 38 ห้อง และห้องพักมูลฝอยรวม ขนาด 1 ชั้นจ านวน 1 หลัง ภายใต้ชื่อ “โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร” ตั้งอยู่ภายในพ้ืนที่พาณิชยกรรมของนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี บนเนื้อที่ 7 ไร่ 0 งาน 84 ตารางวา หรือเท่ากับ 11,536 ตารางเมตร ปัจจุบันโครงการได้น าพ้ืนที่ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด มาใช้เป็นพ้ืนที่จอดรถ มีเนื้อท่ี 1 ไร่ 3 งาน 94 ตารางวา หรือ 3,176 ตารางเมตร เพ่ืออ านวยความสะดวกให้กับผู้มาใช้บริการเพ่ิมเติม รวมมีพ้ืนที่โครงการทั้งหมด 9 ไร่ 0 งาน 78 ตารางวา หรือ 14,712 ตารางเมตร ปัจจุบันอยู่ระหว่างการด าเนินการแจ้งขอเปลี่ยนแปลงขนาดพื้นที่ โครงการต่อนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยมีลักษณะในการพัฒนาโครงการเพ่ือก่อสร้างโรงพยาบาลที่ทันสมัยสะดวกสบาย มีเครื่องมือ และอุปกรณ์การแพทย์ที่ครบครัน เพ่ือให้บริการกับคนงานในพ้ืนที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร รวมทั้งรองรับการขยายตัวของคนงาน และชุมชนในบริเวณดังกล่าวนี้ในอนาคต

ดังนั้น การด าเนินการโครงการดังกล่าวอยู่ในขอบเขตตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่องก าหนดประเภทและขนาดของโครงการ หรือกิจการ ซึ่งต้องจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ประเภทโครงการโรงพยาบาล และสถานพยาบาล จะต้องท ารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เพ่ือเสนอต่อส านักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยได้เสนอรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้าง และได้ผ่านความเห็นชอบ ในรายงาน การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตามหนังสือ ทส.1009.5/8048 ลงวันที่ 5 กันยายน 2554 โดยโครงการ

Page 3: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-2

ได้รับอนุญาตก่อสร้างเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2555 และมีการรับรองการก่อสร้างอาคารจากการนิคมอุตสาหกรรมแห่ งประเทศไทย พ.ศ. 2552 ตามใบรับรองการก่อสร้ างอาคาร แบบ กนอ. 20/2 ที่ สน.อน. 060/2555 ออกให้ ณ วันที่ 25 มิถุนายน 2555 แสดงในภาคผนวก ก เพ่ือเป็นการลดผลกระทบ ที่อาจจะเกิดต่อสิ่งแวดล้อมบริเวณพ้ืนที่โครงการและบริเวณใกล้เคียงในระยะก่อสร้าง และระยะเปิดด าเนินการบริษัทที่ปรึกษาฯ ผู้จัดท ารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม จึงได้ก าหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณพ้ืนที่โครงการ และบริเวณใกล้เคียง และด้วยเหตุผลดังกล่าวบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด ภายใต้โครงการ “โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร” จึงมอบหมายให้บริษัทไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ากัด เป็นผู้ประเมินประสิทธิภาพมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมของโครงการ รวมทั้งจัดท ารายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมของโครงการ “โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร” ระยะด าเนินการเพ่ือเสนอต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยบริษัทที่ปรึกษาฯ ได้เริ่มเข้าด าเนินการติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการของโครงการ เมื่อเดือนมิถุนายน 2558

1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดท ารายงาน

(1) เพ่ือประเมินประสิทธิภาพมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อมของโครงการ

(2) เพ่ือติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม ด้านคุณภาพอากาศ เสียง ฝุ่นละออง การจัดการมูลฝอย ระบบบ าบัดน้ าเสีย ระบบระบายน้ า การจัดระบบการจราจร และคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้านอ่ืนๆ บริเวณพ้ืนที่โครงการ และพ้ืนที่ใกล้เคียงโดยรอบ

1.3 ที่ตั้งโครงการ

พ้ืนที่โครงการ “โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร” ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด ตั้งอยู่ เลขที่ 700/888 หมู่ 1 ต าบลคลองต าหรุ อ าเภอเมืองชลบุรี จังหวัดชลบุรี ในพ้ืนที่พาณิชยกรรม ของนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี มีลักษณะเป็นโครงการประเภทโรงพยาบาล เพ่ือให้บริการ กับคนงานในพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร และประชาชนที่อาศัยอยู่ในบริเวณใกล้เคียงกับนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยพ้ืนที่ศึกษา ประกอบด้วย อาคารโรงพยาบาล สูง 9 ชั้น จ านวน 1 หลัง และชั้นใต้ดิน 1 ชั้น เปิดให้บริการรักษาผู้ป่วย จ านวน 100 เตียง (ขออนุญาต 137 เตียง) พร้อมห้องกิจกรรมทางการแพทย์ -พยาบาล อาคารหอพักพยาบาลสูง 3 ชั้น จ านวน 1 หลัง จ านวนห้องพัก 38 ห้อง และห้องพักมูลฝอยรวม ขนาด 1 ชั้น จ านวน 1 หลั ง บนเนื้ อที่ 7-0-84 ไร่ หรื อ 11,536 ตารางเมตร ปั จจุบั นโครงการได้น าพ้ืนที่ ซึ่ งเป็นกรรมสิทธิ์ ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด ขนาดพ้ืนที่ 1 - 3 - 94 ไร่ หรือ 3,176 ตารางเมตร มาใช้เป็นพ้ืนที่

Page 4: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-3

จอดรถเพ่ืออ านวยความสะดวกให้กับผู้มาใช้บริการ รวมมีพ้ืนที่โครงการทั้งหมด 9 ไร่ 0 งาน 78 ตารางวา (หรือ 14,712 ตารางเมตร) ปัจจุบันอยู่ระหว่างการแจ้งขอเปลี่ยนแปลงขนาดพ้ืนที่โครงการต่อการนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร การเดินทางเข้าสู่พ้ืนที่โครงการสามารถเดินทางได้สะดวก โดยมีเส้นทางผ่าน ได้หลายเส้นทางด้วยกัน แสดงในรูปที่ 1-1 ส่วนทางเข้า - ออก ของโครงการจะมีทางเข้า - ออก 2 ทาง คือ จากถนนนิคมอุสาหกรรมอมตะนคร แสดงการเดินทางเข้าสู่โครงการ ดังนี้

1. การเดินทางเข้าสู่พ้ืนที่โครงการสามารถเดินทางจากกรุงเทพมหานครมาตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3 (สุขุมวิท) แล้วเลี้ยวซ้ายเข้าสู่ประตูทางเข้านิคมอุตสาหกรรมอมตะนครทางถนนสายหลัก ด้านถนนสุขุมวิท โครงการตั้งอยู่ริมถนนสายหลักของนิคมฯ ห่างจากประตูทางเข้า ประมาณ 500 เมตร

2. การเดินทางเข้าสู่ที่ตั้งโครงการสามารถเข้าได้อีกทางหนึ่งคือจากถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 34 (เลี่ยงเมืองชลบุรี) เลี้ยวซ้ายเข้าถนนซอยเทศบาลคลองต าหรุ 12 ตรงเข้ามาผ่านประตูป้อมยามของนิคมฯ ถนนซอยเทศบาลคลองต าหรุ 12 จะมาเชื่อมต่อกับถนนสายย่อยของนิคมฯ และถนนสายย่อยนี้จะมาเชื่อมต่อ กับถนนสายหลักของนิคมบริเวณด้านข้างที่ตั้งโครงการ

Page 5: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-4

รูปที่ 1-1 แสดงการคมนาคมเข้าสู่พื้นที่โครงการ

E

S

N

W

Page 6: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-5

1.4 อาณาเขตโดยรอบพื้นที่โครงการ

พ้ืนที่โครงการ “โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร” ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด ตั้งอยู่ภายในพ้ืนที่พาณิชยกรรมของนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร จังหวัดชลบุรี ด าเนินการบนโฉนดที่ดิน 4 แปลง ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด มีพ้ืนที่ 7 ไร่ 0 งาน 84 ตารางวา เท่ากับ 11,536 ตารางเมตร ปัจจุบันโครงการได้น าพื้นที่ซ่ึงเป็นกรรมสิทธิ์ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด มาใช้เป็นที่จอดรถเพ่ิมเติม มีขนาดพ้ืนที่ 1 ไร่ 3 งาน 94 ตารางวา หรือ 3,176 ตารางเมตร รวมมีพ้ืนที่โครงการทั้งหมด 9 ไร่ 0 งาน 78 ตารางวา หรือ 14,712 ตารางเมตร เพ่ือขยายพ้ืนที่จอดรถให้มีความเพียงพอต่อความต้องการของผู้มาใช้บริการในอนาคต มีรายละเอียดของกรรมสิทธิ์ที่ดิน และพ้ืนที่ตั้งโครงการส าหรับด าเนินโครงการ และอาณาเขตติดต่อโดยรอบโครงการ ดังนี้

1.4.1 กรรมสิทธิ์ที่ดินและพื้นที่ก่อสร้างโครงการ

(1) โฉนดที่ดินส าหรับด าเนินโครงการ

โครงการด าเนินการบนโฉนดที่ดิน 4 แปลง ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด มีพ้ืนที่รวม 9 ไร่ 0 งาน 78 ตารางวา หรือ 14,712 ตารางเมตร มีรายละเอียด ของโฉนดที่ดินส าหรับด าเนินโครงการดังตารางท่ี 1.4-1 และรูปที่ 1-2 ถึงรูป 1-3 และแสดงในภาคผนวก ข ตารางท่ี 1.4-1 โฉนดที่ดินส าหรับด าเนินโครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร

ล าดับที่ โฉนดที่ดินเลขที่ เลขที่ดิน พื้นที่ (ไร่-งาน-ตร.ว.) พื้นที่ (ตร.ม.) กรรมสิทธิ์ในที่ดิน 1 54435 730 6-3-67 11,068.00 บริษัท โรงพยาบาล

วิภาราม (อมตะนคร) จ ากดั 2 144656 781 0-1-17 468.00 บริษัท โรงพยาบาล

วิภาราม (อมตะนคร) จ ากดั

3 31380 343 0-3-97 1,588.00 บริษัท โรงพยาบาล วิภาราม (อมตะนคร) จ ากดั

4 28049 346 0-3-97 1,588.00 บริษัท โรงพยาบาล วิภาราม (อมตะนคร) จ ากดั

รวม 9-0-78 14,712

Page 7: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-6

ถนนสาธารณะ กว้าง 26.00 เมตร (ถนนสายหลักในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร)

รูปที่ 1-2 แสดงผังต่อโฉนดของพื้นที่โครงการ (ตามที่น าเสนอในรายงาน EIA)

Page 8: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-7

ถนนสาธารณะ กว้าง 26.00 เมตร (ถนนสายหลักในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร)

รูปที่ 1-3 แสดงผังต่อโฉนดของพื้นที่โครงการ (ปัจจุบัน)

Page 9: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-8

1.4.2 อาณาเขตติดต่อโดยรอบพื้นที่โครงการ

สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยรอบโครงการส่วนใหญ่จะเป็นอาคารพาณิชยกรรม และอาคาร อยู่อาศัยรวม ส าหรับรายละเอียดการใช้ที่ดินในบริเวณโดยรอบพื้นท่ีโครงการในปัจจุบัน มีดังนี้ แสดงดังรูปที่ 1-4

ทิศเหนือ ติดต่อกับ ถนนสายหลักภายในนิคมฯ ซึ่งเป็นถนนค.ส.ล. กว้าง 26 เมตรขนาด 7 ช่องทางจราจร แบ่งการเดินรถออกเป็น 2 ทิศทาง ถนนฝั่งที่อยู่หน้าโครงการเป็นทิศทางที่จะออกจากนิคมฯ มุ่งสู่ถนนสุขุมวิทมีช่องทางจราจร 3 ช่องทาง การใช้ที่ดิน อีกฝั่งหนึ่งของถนน main หรือฝั่งถนนตรงข้ามกับโครงการ เป็นที่ ตั้ งของอาคาร Amata Service Center และอาคาร Thai German Institute ซึ่ ง เป็น พ้ืนที่ ในเขตพาณิชยกรรม (พ้ืนที่สีแดง) ของนิคมฯ เช่นเดียวกัน

ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ถนนคสล . สายย่อยของนิคมฯ ขนาด 2 ช่องทางจราจร มีการเดินรถแบบ 2 ทิศทาง ถนนดังกล่าวยาวไปสุดพ้ืนที่ เขตโครงการ หรือสุดเขตนิคมฯ และจะไปเชื่อมต่อกับถนน ซอยเทศบาลคลองต าหรุ 12 ถัดจากถนนสายย่อยออกไป เป็นพื้นที่ว่าง (ลักษณะเป็นลานว่าง) ถัดออกไปเป็นบริเวณพ้ืนที่ ของโรงเรียนสาธิตเกษตรฯ ถัดจากโรงเรียน เป็นพ้ืนที่อาคารอมตะแมนชั่น ซึ่ งทั้ งหมดเป็น พ้ืนที่ ในเขตพาณิชยกรรม ของนิคมฯ เช่นเดียวกัน

ทิศใต้ ติดต่อกับ ห้วยทองหลาง นิคมฯ ไม่ได้ใช้ประโยชน์ และไม่มีการระบายน้ าลงสู่ ห้ วยดั งกล่ าว ถัดออกไปเป็น พ้ืนที่ อาคารพาณิชย์ และอาคารแมนชั่นที่อยู่นอกเขตนิคม

ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ติดกับอาคารชุมสายโทรศัพท์ และอาคาร Amatanakhon Office ตามล าดับ ซึ่งทั้งหมดเป็นพ้ืนที่ในเขตพาณิชยกรรม (พ้ืนที่สีแดง) ของนิคมฯ เช่นเดียวกัน

Page 10: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-9

รูปที่ 1-4 แสดงสภาพพ้ืนที่โดยรอบของโครงการ

อาคารโรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร

ถนนสายย่อยของนิคมฯ

ทิศตะวันออก ติดกับ ถนนสายย่อยของนิคมฯ

ทิศใต้ ติดกับ ห้วยทองหลาง

ทิศตะวันตก ติดกับ อาคาร Amata Nakorn Office

ทิศเหนือ ติดกับ ถนนสายหลักนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร

Page 11: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-10

1.5 ลักษณะและการด าเนินโครงการ

การด าเนินโครงการ “โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร” ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด มีพ้ืนที่ 7 ไร่ 0 งาน 84 ตารางวา หรือเท่ากับ 11,536 ตารางปัจจุบันโครงการได้น าพ้ืนที่ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ ของบริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด ขนาดพ้ืนที่ 1 - 3 - 94 ไร่ หรื อ 3,176 ตาราง เมตร มาใช้เป็นพ้ืนที่จอดรถเพ่ืออ านวยความสะดวกให้กับผู้มาใช้บริการ รวมมีพ้ืนที่โครงการทั้งหมด 9 ไร่ 0 งาน 78 ตารางวา (หรือ 14,712 ตารางเมตร) และพ้ืนที่ภายในบริเวณโครงการ ประกอบด้วย 3 อาคาร ตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม แสดงดังรูป 1-5 ถึงรูปท่ี 1-6 ได้แก่ 1. อาคารโรงพยาบาล สูง 9 ชั้น และชั้นใต้ดิน 1 ชั้น มีความสูงจากระดับพ้ืนดินถึงระดับพ้ืนชั้นดาดฟ้า เท่ากับ 37.0 เมตร ประกอบด้วย ห้องพักส าหรับผู้ป่วยรวม 100 เตียง (ขออนุญาต 137 เตียง) พร้อมห้อง กิจกรรมทางการแพทย์-พยาบาล รวมถึงพ้ืนที่ส านักงาน และห้องประชุม ห้องท าพิธี และห้องเก็บศพ มีพ้ืนที่ใช้สอยภายในอาคารรวม 19,885 ตารางเมตร 2. อาคารหอพัก เป็นอาคารสูง 3 ชั้น มีความสูงจากระดับพ้ืนดินถึงระดับพ้ืนชั้นดาดฟ้า เท่ากับ 11.8 เมตร มีพ้ืนที่ใช้สอยภายในอาคารรวม 1,492 ตารางเมตร ประกอบด้วย

ชั้น 1 ประกอบด้วย ห้องส านักงาน ห้องครัวส าหรับปรุงอาหารผู้ป่วยใน ห้องรับประทานอาหาร และห้องโภชนาการ

ชั้น 2 ประกอบด้วย ห้องพักพยาบาล จ านวน 19 ห้อง ชั้น 3 ประกอบด้วย ห้องพักพยาบาล จ านวน 19 ห้อง

3. อาคารที่ พั กมู ลฝอยรวม ขนาด 1 ชั้ น ความสู ง 6.52 เมตร (วั ดจากระดั บพ้ื นดิ นถึ งระดั บสู งสุ ด ของอาคาร) ประกอบด้วย ห้องเก็บมูลฝอยประเภทต่างๆ 4 ห้อง มี พ้ืนที่ ใช้สอยภายในอาคารรวม 65 ตารางเมตร พร้อมระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการต่างๆ ได้แก่ ระบบประปา ระบบไฟฟ้า ระบบบ าบัดน้ าเสีย ระบบระบายน้ า และป้ องกันน้ าท่ วม ระบบป้ องกั น อัคคี ภั ย และ พ้ืนที่ สี เ ขี ย ว เ พ่ื อการ พักผ่ อน โครงการเปิดด าเนินการ เมื่อ 24 ธันวาคม 2557 ปัจจุบันมีการด าเนินการโดย บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด

Page 12: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-11

1.6 สภาพพื้นที่โครงการปัจจุบัน

สภาพพ้ืนที่โครงการปัจจุบันภายในบริเวณโครงการ ประกอบด้วย 3 อาคาร ได้แก่ อาคารโรงพยาบาล ขนาด 9 ชั้น และชั้นใต้ดิน 1 ชั้น อาคารหอพัก เป็นอาคาร ขนาด 3 ชั้น และอาคารที่ พักมูลฝอยรวม ขนาด 1 ชั้น การเปิดด าเนินโครงการ และได้ด าเนินการทุกระบบแล้ว ปัจจุบันโครงการได้มีการขยายพ้ืนที่จอดรถเพ่ิมขึ้น แสดงในรูปที่ 1-6 และมีอาคารเก่า ขนาด 1 ชั้น อยู่ภายในพ้ืนที่ส่วนขยายนี้ด้วย จ านวน 1 หลัง แสดงในรูปที่ 1-7

Page 13: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-12

รูปที่ 1-5 แสดงผังบริเวณโดยรอบพื้นที่โครงการ (ตามที่น าเสนอในรายงาน EIA)

ถนนสาธารณะ กว้าง 26.00 เมตร

Page 14: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-13

รูปที่ 1-6 แสดงผังบริเวณโดยรอบพื้นที่โครงการ (ปัจจุบัน)

อาคารเก่า

อาคารโรงพยาบาล

อาคารหอพัก

อาคารที่พักมูลฝอยรวม

Page 15: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-14

รูปที่ 1-7 แสดงสภาพพื้นที่โครงการปัจจุบัน

อาคารโรงพยาบาล สูง 9 ชั้น มีชั้นใต้ดิน 1 ชั้น

อาคารหอพักพยาบาล เป็นอาคารขนาด 3 ชั้น

อาคารที่พักมูลฝอย เป็นอาคาร ขนาด 1ชั้น

โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร

เปิดด าเนินการเ ม่ือ 24 ธันวาคม 2557 ปั จจุบั น โ รงพยาบาล เปิ ดให้บริการรักษาผู้ป่วยจ านวน 100 เตียง (ขออนุญาต 137 เตียง)

Page 16: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-15

1.7 กิจกรรมในระยะด าเนินการโครงการ

1.7.1 ประเภทและขนาดของโครงการ

โครงการ “โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร” เป็นโครงการประเภทโรงพยาบาล ขนาด 137 เตียง (เปิดให้บริการปัจจุบัน 100 เตียง) พัฒนาโครงการโดย บริษัท โรงพยาบาลวิภาราม (อมตะนคร) จ ากัด ภายในบริเวณโครงการประกอบด้วย 3 อาคาร ได้แก่

1. อาคารโรงพยาบาล สู ง 9 ชั้ น และชั้ นใต้ ดิ น 1 ชั้ น ประกอบด้ วย ห้ องพักส าหรั บผู้ ป่ วย รวม 100 เตียง (ขออนุญาต 137 เตียง) พร้อมห้องกิจกรรมทางการแพทย์-พยาบาล รวมถึงพ้ืนที่ส านักงาน และห้องประชุม ห้องท าพิธี และห้องเก็บศพ มีพ้ืนที่ใช้สอยภายในอาคารรวม 19,885 ตารางเมตร

2. อาคารหอพัก เป็นอาคารสูง 3 ชั้น ประกอบด้วย ห้องครัวส าหรับปรุงอาหารผู้ป่วย ในห้องอาหารส าหรับผู้มาใช้บริการ ห้องท างานโภชนาการ และห้องพักพยาบาล มีพ้ืนที่ใช้สอยภายในอาคาร รวม 1,492 ตารางเมตร

3. อาคารที่พักมูลฝอยรวม สูง 1 ชั้น ประกอบด้วย ห้องเก็บมูลฝอยประเภทต่างๆ 4 ห้อง มีพ้ืนที่ใช้สอยภายในอาคารรวม 65 ตารางเมตร

1.7.2 ระบบน้ าใช ้

(1) ปริมาณการใช้น้ า จากปริมาณการใช้น้ าจากการคาดการณ์ เท่ากับ 216.158 ลบ.ม./วัน ปริมาณการใช้น้ าจริงในช่วงเดือนกรกฎาคม-เดือนธันวาคม 2560 พบว่า มีปริมาณการใช้น้ าสูงสุดในเดือนกันยายน 2560 ประมาณ 100.91 ลบ.ม./วัน (คิดจากค่าใช้จ่ายการให้บริการน้ าประปาของโครงการ : ข้อมูลโครงการ ; กรกฎาคม - ธันวาคม 2560) แสดงรายละเอียดการใช้น้ า และค่าใช้จ่ายน้ าประปา ดังตารางท่ี 1.7-1

Page 17: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-16

ตารางท่ี 1.7-1 แสดงค่าใช่จ่ายเกี่ยวกับน้ าประปาของโรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร

เดือน/ พ.ศ. 2560 ยอดค่าใช้จ่ายน้ าประปา (บาท) ปริมาณการใช้น้ า (ลบ.ม. /วัน)

กรกฎาคม 63,095.76 72.69 สิงหาคม 75,768.84 87.29 กันยายน 84,786.80 100.91 ตุลาคม 75,798.80 87.32 พฤศจิกายน 81,491.20 97.01 ธันวาคม 77,087.08 88.81

เฉลี่ย 76,338.08 89.00

ที่มา : ค่าบริการน้ าประปาของโครงการเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม 2560 หมายเหตุ : ค่าน้ าคิดค่าใช้จ่ายตามบริษัท อมตะ วอเตอร์ จ ากัด อ้างอิง :1. อัตราค่าน้ าประปาของบริษัท อมตะ วอเตอร์ จ ากัด เท่ากับ 28.00 บาท/ลบ.ม. (ยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) เมื่อรวมภาษีมูลค่าเพิ่มแล้วค่าน้ าประปาภายในโครงการจะ เท่ากับ 29.96 บาท/ลบ.ม. (ประมาณ 30 บาท/ลบ.ม.) 2. ข้อมูลค่าใช้จ่ายน้ าประปาโครงการ

(2) การส ารองน้ าใช้ ปัจจุบันโครงการจัดให้มีการส ารองน้ าใช้ภายในโครงการมีปริมาตรกักเก็บรวมทั้งหมด 654 ลบ.ม. โดยส ารองน้ าไว้ในถังเก็บน้ าใต้ดิน ขนาดความจุ 504 ลบ.ม. และถังเก็บน้ าชั้นดาดฟ้า ขนาดความจุ 150 ลบ.ม. (มากกว่าตามที่รายงาน EIA ก าหนด โดยก าหนดให้มีถังเก็บน้ าใต้ดิน ขนาดความจุ 412 ลบ.ม. และถังเก็บน้ าดาดฟ้า ขนาดความจุ 118 ลบ.ม.) แยกเป็นปริมาณส ารองน้ าใช้ 504 ลบ.ม. และปริมาณน้ าส ารองส าหรับการดับเพลิง 150 ลบ.ม. โครงการขอรับบริการน้ าประปาจากนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร โดยท าการต่อเชื่อมท่อจากท่อส่งน้ าของนิคมฯ ผ่านทางท่อเมนประปาเข้ามาทางด้านหน้าพ้ืนที่โครงการเพ่ือน าน้ าไปเก็บไว้ในถังเก็บน้ าใต้ดินด้วยระบบ Gravity Flow จากนั้น น้ าในถังเก็บน้ าใต้ดินจะถูกสูบขึ้นไปบนถังเก็บน้ าชั้นหลังคาของอาคารโรงพยาบาลต่อไป แสดงดังรูป 1-8 ปัจจุบันปริมาณน้ าใช้มีความเพียงพอต่อการใช้น้ าภายในโครงการ

1.7.3 ระบบบ าบัดน้ าเสีย และสิ่งปฏิกูลของโครงการ

จากการคาดการ ณ์ปริมาณน้ า เสี ยในรายงานการวิ เคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อม (จากการคาดการณ์เมื่อเปิดด าเนินการเต็ม 137 เตียง) มีปริมาณน้ าเสียประมาณ 146.518 ลบ.ม./วัน (ไม่รวมน้ าจาก ระบบ HEMODIALYSER SYSTEM หอระบายความร้อนจากเครื่องปรับอากาศ และน้ าส าหรับ รดน้ าต้นไม้ในโครงการ เนื่องจากไม่มีน้ าเสียเกิดขึ้น) แต่จากการใช้น้ าจริงตามตารางท่ี 1.7-1 พบว่า มีปริมาณ น้ าเสียที่ต้องรวบรวมไปบ าบัดที่ระบบบ าบัดน้ าเสีย ประมาณ 89.00 ลบ.ม./ วัน (คิดที่ 80% ของปริมาณน้ าใช้เฉลี่ยต่อวันของเดือนกรกฎาคม-เดือนธันวาคม 2560 ซึ่งมีปริมาณน้ าใช้เฉลี่ย เท่ากับ 71.20 ลบ.ม./วัน)

Page 18: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-17

รูปที่ 1-8 แสดงภาพถังเก็บน้้าชั้นใต้ดิน และชั้นดาดฟ้าของโครงการ

ถังเก็บน้้าชั้นดาดฟ้าขนาดความจุ 150 ลบ.ม.

ถังเก็บน้้าใต้ดินขนาดความจุ 504 ลบ.ม.

ระบบควบคุมถังเก็บน้้าใต้ดิน และถังเก็บน้้าชั้นดาดฟ้า การติดสติกเกอร์รณรงค์การใช้น้้าอย่างประหยัด และขั้นตอนการล้างมือที่ถูกวิธี

Page 19: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-18

ปัจจุบันโครงการได้ออกแบบระบบบ าบัดน้ าเสียรวม เป็นระบบบ าบัดน้ าเสียแบบผสมระหว่างกรองไร้อากาศ และเติมอากาศผ่านผิวตัวกลาง (ANAEROBIC FILTER AND CONTACT AERATION PROCESS) ที่ได้รับการออกแบบให้สามารถรองรับน้ าเสีย ได้ 156 ลูกบาศก์เมตร/วัน จ านวน 1 ชุด โดยจะแบ่งการรวบรวมน้ า เ สี ยของ โครงการออกเป็ น 2 ส่ วน แสดงดั ง Flow Diagram of Waste water Treatment Plant Vipharam Amata Hospital ต่อไปนี้

น้ าเสียส่วนที่ 1 ได้แก่ น้ าเสียจากครัว และห้องอาหาร มีปริมาณรวม 11.27 ลบ.ม./วัน ออกแบบให้มีการบ าบัดโดยผ่านตะแกรงดักขยะก่อนที่จะไหลผ่านถังดักไขมันก่อนส่งไปบ าบัดร่วมกับระบบบ าบัดน้ าเสียรวม

น้ าเสียส่วนที่ 2 ได้แก่ น้ าเสียจากอาคารโรงพยาบาล และอาคารหอพักพยาบาล ปริมาณน้ าเสียทั้งหมดรวมเท่ากับ 135.27 ลบ.ม./วัน

ทั้งนี้น้ าเสียทั้ง 2 ส่วน ประมาณ 146.54 ลบ.ม./วัน (ปริมาณน้ าเสียที่เกิดขึ้นจริง ประมาณ 44.36 ลบ.ม./ วัน) (ออกแบบที่ปริมาณ 156 ลบ.ม./วัน) จะถูกรวบรวมเข้าบ่อสูบก่อนสูบเข้าสู่ระบบบ าบัดน้ าเสียรวม เพ่ือท าการบ าบัดโดยระบบบ าบัดน้ าเสียของโรงพยาบาล แสดงในรูปที่ 1-9 ถึงรูปที่ 1-10 ซึ่งระบบบ าบัดน้ าเสียของโครงการสามารถรองรับน้ าเสียได้อย่างเพียงพอ และโครงการจัดให้มีการตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ าทิ้ง ทุก 1 เดือน ตั้งแต่ เดือนกรกฎาคม-เดือนธันวาคม 2560 พบว่า มีค่าบีโอดี (BOD) ออกจากระบบ เท่ากับ 11.00 - 18.25 มก./ล. ซึ่งพบว่า มีค่าคุณภาพน้ าทิ้งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการระบายน้ าทิ้ง

Page 20: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-19

ตามประกาศนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย ที่ 78 (พ.ศ. 2554) เรื่อง หลักเกณฑ์ทั่วไปในการระบายน้ าเสีย เข้าสู่ระบบบ าบัดน้ าเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ก าหนดให้ค่าบีโอดี (BOD) ต้องไม่เกิน 500 มก./ล. และมาตรฐานน้ าทิ้งของโรงพยาบาล (ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 122 ตอนที่ 125ง วันที่ 29 ธันวาคม 2548) และแสดงรายละเอียดค่าบีโอดี (BOD) ในน้ าทิ้งของระบบบ าบัดน้ าเสียของโรงพยาบาลแต่ละเดือน ดังนี้ แสดงผลการตรวจวัดในภาคผนวก ค

ตารางท่ี 1.7-2 แสดงค่า BOD ในน้ าทิ้งที่ได้รับการบ าบัดจากระบบบ าบัดน้ าเสียของโครงการ

อ้างอิง : 1/ค่ามาตรฐานตามประกาศนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 78 (พ.ศ. 2554) เรื่อง หลักเกณฑ์ทั่วไปในการระบายน้ าเสียเข้าสู่ระบบ บ าบัดน้ าเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ก าหนดให้ค่าบีโอดี (BOD) ต้องไม่เกิน 500 มก./ล. : 2/ค่ามาตรฐานน้ าทิ้งของอาคารประเภท ก ก าหนดให้ค่าบีโอดี (BOD) ต้องไม่เกิน 20 มก./ล. (ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด ลงวันที่ 7 พฤศจิกายน 2548 ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเล่มที่ 122 ตอนที่ 125ง วันที่ 29 ธันวาคม 2548)

จากผลการตรวจวัดคุณภาพน้ าทิ้งที่ผ่านการบ าบัดน้ าเสียจากระบบบ าบัดน้ าเสียของโครงการ พบว่า ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ าทิ้งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการระบายน้ าทิ้ง ตามประกาศนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ 78 (พ.ศ.2554) เรื่อง หลักเกณฑ์ทั่วไป ในการระบายน้ าเสียเข้าสู่ระบบบ าบัดน้ าเสียส่วนกลางในนิคมอุตสาหกรรม ก าหนดให้ค่าบีโอดี (BOD) ต้องไม่เกิน 500 มก./ล. แสดงผลการตรวจวัด ในภาคผนวก ค และเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานการระบายน้ าทิ้งอาคารประเภท ก ตามประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ก าหนดมาตรฐานควบคุมการระบายน้ าทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด (๓) โรงพยาบาลของทางราชการ รัฐวิสาหกิจหรือสถานพยาบาล ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล ที่ มี เตี ยงส าหรั บผู้ ป่ วยไว้ ค้ างคื นรวมกั นทุ กชั้ นของอาคาร หรื อกลุ่ มของอาคารตั้ งแต่ ๓๐ เตี ยงขึ้ นไป พบว่า ผลการตรวจวัดคุณภาพน้ าทิ้งอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

เดือน ค่า BOD ออก (มก./ล.) ค่ามาตรฐานของนิคมฯ

(มก./ล.)

ค่ามาตรฐานของประกาศกระทรวงทรัพยากร

(มก./ล.) กรกฎาคม 11.00 500 20 สิงหาคม 16.00 500 20

กันยายน 18.25 500 20

ตุลาคม 15.50 500 20

พฤศจิกายน 15.50 500 20

ธันวาคม 18.00 500 20

Page 21: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-20

1.7.4 การระบายน้ าและการป้องกันน้ าท่วม

(1) ระบบระบายน้ า ระบบระบายน้ าภายในโครงการเป็นระบบท่อแยก (Separated System) โดยจะแยก

ระบบระบายน้ าเสียออกจากระบบระบายน้ าฝน ดังนี้

1) ระบบท่อรวบรวมน้ าเสีย โดยรวบรวมน้ าเสียแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ น้ าเสียส่วนที่ 1 เป็นน้ าเสียจากครัว และห้องอาหารของโครงการ มีปริมาณรวม 11.27 ลบ.ม./วัน โดยผ่านตะแกรงดักขยะ ก่อนที่จะไหลผ่านถังดักไขมันก่อนส่งไปบ าบัดร่วมกับระบบบ าบัดน้ าเสียรวม น้ าเสียจากส่วนที่ 2 ได้แก่ น้ าเสียจากอาคารโรงพยาบาล และอาคารหอพักพยาบาล ปริมาณน้ าเสียทั้งหมดรวม เท่ากับ 135.27 ลบ.ม./วัน เมื่ อรวมน้ า เสียทั้ ง 2 ส่วนเป็น 146.54 ลบ .ม ./วัน (ออกแบบที่ปริมาณ 156 ลบ .ม ./วัน ) โดยรวมกัน ที่บ่อสูบก่อนสูบเข้าสู่ระบบบ าบัดน้ าเสียรวมจะถูกรวบรวมลงสู่บ่อหน่วงน้ าทิ้งปริมาตร 192.50 ลบ.ม . ก่อนระบายลงสู่ระบบรวบรวมน้ าเสียของนิคมฯ

2) ระบบท่อระบายน้ าฝน น้ าฝนจากหลังคาของแต่ละอาคารจะระบายผ่านท่อระบายน้ าฝนตามแนวเสาลงสู่รางระบายน้ าที่อยู่โดยรอบทั้งสองอาคาร จากนั้นจะถูกระบายลงสู่ท่อระบายน้ า ค.ส.ล. ขนาด Ø 1.00 เมตร เ พ่ือรวบรวมลงสู่บ่อหน่วงน้ าฝนไว้ ในโครงการและควบคุมให้มีการระบายน้ า ออกจากโครงการในอัตราท่ีไมเ่กินก่อนพัฒนาโครงการก่อนระบายลงสู่ระบบระบายน้ าของนิคมฯ

Page 22: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-21

รูปที่ 1-9 แสดงต้าแหน่งระบบบ้าบัดน ้าเสยี และต้าแหน่งบ่อหน่วงน ้าฝนของโครงการ

บ่อวาล์ว

บ่อหน่วงน ้าฝน ขนาด 80 ลบ.ม.

ถังดักไขมันและ ถังบ้าบัดน ้าเสีย

บ่อหน่วงน ้าทิ ง ปริมาตร 192.50 ลบ.ม.

บ่อตรวจคุณภาพน ้าทิ ง

Page 23: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-22

รูปที่ 1-10 แสดงระบบบ้าบัดน ้าเสียของโครงการ

ระบบบ าบัดแบบติดกับที่ระบบผสมระหว่างกรองไร้อากาศและเติมอากาศ ผ่านผิวตัวกลาง (ANAEROBIC FILTER AND CONTACT AERATION PROCESS) ขนาดความจุ 156 ลบ.ม.

ระบบก าจัดไขมัน และระบบก าจัดมีเทน แบบ Bio Filter

จากระบบบ าบัดน าเสีย

บ่อตรวจสอบคุณภาพน าทิ ง ติดตั งบ่อวาล์ว

ติดตั งระบบฆ่าเชื อโรคด้วย UV

ถังพักน าทิ งขนาด 192. 50 ลบ.ม. / วัน ระบบท่อระบายน าเสยี ตู้ควบคุมระบบบ าบัดน าเสีย และภายในตู้ มี การติดตั งเครื่อง Flow meter

ติดตั งระบบก าจัด Aerosol

Page 24: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-23

(2) ระบบปอ้งกันน้ าท่วม โครงการใช้วิธีหน่วงน้ าในท่อระบายน้ า เพ่ือกักเก็บปริมาณน้ าฝนส่วนเกินช่วงฝนตก

ที่เพ่ิมขึ้นอันเนื่องมาจากการพัฒนาโครงการ และมีการควบคุมอัตราการระบายน้ าที่ไม่เกินอัตราการระบายน้ าก่อนมีโครงการ

จากการค านวณในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม พบว่า มีอัตราการระบายน้ าผิวดินในช่วงก่อนพัฒนาโครงการ เท่ากับ 0.106 ลูกบาศก์เมตร/วินาที และมีอัตราการการระบายน้ าผิวดินในช่วงหลังพัฒนาโครงการ เท่ากับ 0.240 ลูกบาศก์เมตร/วินาที โดยมีปริมาณน้ าฝนเกิดขึ้นทั้งหมด 255.268 ลูกบาศก์เมตร/นาที จะถูกหน่วงไว้ในท่อ และรางระบายน้ าของโครงการ ประมาณ 176.152 ลูกบาศก์เมตร จะถูกหน่วงไว้ภายในท่อระบายน้ าของโครงการ จะเหลือน้ าอีกส่วนหนึ่ง ประมาณ 76.116 ลูกบาศก์เมตร จะถูกหน่วงไว้ในบ่อหน่วงน้ าของโครงการ ก่อนระบายลงสู่ระบบระบายน้ าฝนของนิคมต่อไป

การหน่วงน้ าภายในโครงการ นโยบายของโครงการจะมีการระบายน้ าฝนออกจากพ้ืนที่โครงการ จึงจัดให้มีการหน่วงน้ า จ านวน 1 บ่อ ขนาด 80 ลูกบาศก์เมตร (อยู่บริเวณใต้พ้ืนดินด้านหน้าโครงการ) ร่วมกับการหน่วงน้ าในเส้นท่อ

ในการระบายน้ าฝนออกจากโครงการจะท าการระบายน้ าออกจากบ่อหน่วงน้ าเมื่อมีน้ าสะสมอยู่เต็มบ่อ โดยปล่อยให้ไหลออกตามแรงโน้มถ่วง (gravity flow) และภายหลังฝนหยุดตกแล้วให้ท าการสูบน้ าออกด้วยเครื่องสูบน้ าที่มีอัตราการสูบน้ าไม่เกิน 0.106 ลูกบาศก์เมตร/วินาที เพ่ือเตรียมบ่อไว้ส าหรับหน่วงน้ าเมื่อมีฝนตกในครั้งต่อไป แสดงในรูปที่ 1-11 ส าหรับน้ าทิ้งที่ผ่านการบ าบัดแล้วโครงการจะน ากลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด เช่น ใช้ส าหรับการล้างห้องพักขยะ และรดน้ าต้นไม้ภายในโครงการ โดยโครงการได้น าน้ าทิ้งที่ผ่านการบ าบัด มาใช้รดน้ าต้นไม้บริเวณพ้ืนที่สีเขียวด้านข้างของโครงการ ก าหนดเวลา ในการรดน้ าต้นไม้ วันละ 1 รอบ คือช่วงเวลา 08.00-12.00 (ยกเว้นในช่วงฤดูฝนที่ไม่ได้น าน้ าทิ้งมาใช้รดน้ าต้นไม้) แสดงในรูปที่ 1-12

1.7.5 การจัดการมูลฝอย

จากการคาดการณ์ปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นภายในโครงการเมื่อเปิดด าเนินการ คาดว่า จะมีประมาณ 2,928 ลิตร/วัน หรือ 2.928 ลบ.ม./ วัน เมื่อเปิดด าเนินการจริง พบว่า มีปริมาณมูลฝอย ทั้งโครงการเฉลี่ย ประมาณ 16.41 กก./วัน (ข้อมูลปริมาณมูลฝอยของโครงการเดือนกรกฎาคม-เดือนธันวาคม 2560)

Page 25: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-24

อาคารโรงพยาบาล 1. แผนกคนไข้นอกส่วนต่างๆ และโถงพักคอยจัดให้มีถังมูลฝอย ขนาด 25 ลิตร จ านวน 2 ถัง/

แผนก (แยกเป็นถังมูลฝอยเปียกและถังมูลฝอยแห้ง อย่างละ 1 ถัง) และในห้องตรวจแต่ละห้องจัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 5 ลิตร จ านวน 1 ถัง

2. ห้องพักผู้ป่วยใน จัดให้มีถังรองรับมูลฝอยทุกห้อง ขนาด 5 ลิตร จ านวน 2 ถัง (แยกเป็นถังรองรับมูลฝอยเปียก และถังรองรับมูลฝอยแห้ง อย่างละ 1 ถัง) และภายในห้องน้ าของห้องพักผู้ป่วยในแต่ละห้อง จัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 10 ลิตร จ านวน 1 ถัง/ห้อง

3. ส่วนส านักงาน จัดให้มีถังรองรับมูลฝอยแห้ง ขนาด 5 ลิตร ประจ าแต่ละโต๊ะท างาน ส าหรับห้องประชุมใหญ่จัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 25 ลิตร จ านวน 2 ถัง (แยกเป็นถังรองรับมูลฝอยเปียกและถังรองรับมูลฝอยแห้ง อย่างละ 1 ถัง)

4. ห้องน้ ารวมประจ าแผนก จัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 50 ลิตร วางไว้บริเวณอ่างล้างมือ จ านวน 1 ถัง และภายในห้องน้ าแต่ละห้อง จัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 10 ลิตร จ านวน 1 ถัง/ห้อง นอกจากนี้ ยังมีถังรองรับมูลฝอยสแตนเลสที่จัดให้มีไว้ส าหรับรองรับมูลฝอยชิ้นเล็กๆ บริเวณโถงลิฟท์ ของแต่ละชั้นเป็นถังรองรับมูลฝอย ขนาด 30 ลิตร เพ่ือรองรับมูลฝอยทั่วไปจากผู้เข้ามาใช้อาคาร

Page 26: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-25

รูปที่ 1-11 แสดงต้าแหน่งบ่อหน่วงน ้าของโครงการ

ตะแกรงดักขยะ

จุดระบายน ้าฝนออกสู่ท่อระบายน ้าฝนของนิคมฯ

ติดตั งบ่อดักขยะ และติดตั งตะแกรงดักขยะ

บ่อหน่วงน ้าฝน

Page 27: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-26

รูปที่ 1-12 แสดงการน้าน้้าท้ิงมาใช้รดน้้าต้นไม้บริเวณโครงการ

น้าน้้าทิ้งท่ีผ่านการบ้าบัด มาใช้รถน้้าต้นไม้บริเวณด้านข้างโครงการ

ก๊อกเปิดน้้าใช้รดน้้าต้นไม้ ต้นไม้บริเวณด้านข้างโครงการ

Page 28: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-27

อาคารหอพักพยาบาล 1. พ้ืนที่รับประทานอาหารส าหรับผู้มาใช้บริการ จัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 25 ลิตร จ านวน 4 ถัง (แยกเป็นถังรองรับมูลฝอยเปียก และแห้งอย่างละ 2 ถัง) วางตามจุดต่างๆ 2. พ้ืนที่ห้องครัว ภายในห้องครัวแต่ละส่วนจัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 50 ลิตร จ านวน 4 ถัง (แยกเป็นถังรองรับมูลฝอยเปียกและแห้งอย่างละ 2 ถัง) วางตามจุดต่างๆ 3. ส านักงาน และห้องท างานโภชนาการ จัดให้มีถังรองรับมูลฝอยแห้ง ขนาด 5 ลิตร ประจ าแต่ละโต๊ะท างาน 4. ห้องน้ ารวมประจ าอาคาร จัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 50 ลิตร วางไว้บริเวณอ่างล้างมือจ านวน 1 ถัง และภายในห้องน้ าแต่ละห้อง จัดให้มีถังรองรับมูลฝอย ขนาด 10 ลิตร จ านวน 1 ถัง/ห้อง 5. ห้องพักพยาบาล จัดให้มีถั งรองรับมูลฝอย ขนาด 20 ลิตร วางไว้ภายในห้องพัก จ านวน 1 ถัง/ ห้อง

นอกจากนี้ ยังมีถังรองรับมูลฝอยสแตนเลสที่จัดให้มีไว้ส าหรับทิ้งมูลฝอยชิ้นเล็กๆ บริเวณทางเข้า-ออกอาคารโรงครัว-โรงอาหาร เป็นถังรองรับมูลฝอย ขนาด 30 ลิตร เพ่ือรองรับมูลฝอยทั่วไป จากผู้เข้ามาใช้อาคาร

โครงการจัดให้มีอาคารที่พักมูลฝอยรวมของโครงการ จ านวน 1 แห่ง อยู่บริเวณด้านหลังอาคารหอพักพยาบาล ภายในห้องพักมูลฝอยรวมมีขนาดพ้ืนที่ 65 ตารางเมตร โดยมีความสูงจากระดับพ้ืนถึงหลังคาเท่ากับ 6.25 เมตร มีลักษณะเป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ภายในอาคาร มีสัดส่วนขอบเขตแยกออกจากกันอย่างชัดเจนด้วยผนังคอนกรีต ระบายอากาศด้วยวิธีธรรมชาติ ด้วยประตูด้านหน้า และวิธีกลด้วยการติดตั้ง พัดลมระบายอากาศ ปัจจุบันห้องพักมูลฝอย ที่จัดเตรียมไว้สามารถรองรับปริมาณมูลฝอยได้เพียงพอไม่ก่อให้เกิดปัญหาแต่อย่างใด แบ่งพ้ืนที่ออกเป็น 4 ห้อง ได้แก่ ห้องพักมูลฝอยเปียก, ห้องพักมูลฝอยแห้ง ห้องพักมูลฝอย ติดเชื้อ และห้องพักมูลฝอยอันตราย โดยมีรายละเอียด ดังนี้

ห้องพักมูลฝอยเปียก มีขนาด กว้าง x ยาว x สูง เท่ากับ 2.45 x 3.50 x 4.00 เมตร คิดระดับ เก็บกัก 1.5 เมตร คิดเป็นปริมาตรกักเก็บ 12.86 ลูกบาศก์เมตร สามารถรองรับมูลฝอยเปียกได้ 5.9 เท่า ของมูลฝอยเปียกที่เกิดขึ้นแต่ละวัน

ห้องพักมูลฝอยแห้ง มีขนาด กว้าง x ยาว x สูง เท่ากับ 2.35 x 3.50 x 4.00 เมตร คิดระดับ เก็บกัก 1.5 เมตร คิดเป็นปริมาตรกักเก็บ 12.34 ลูกบาศก์เมตร ภายในแบ่งเป็นพ้ืนที่ส าหรับเก็บกักมูลฝอยแห้ง ที่ไม่สามารถน ามาใช้ได้และมูลฝอย Recycle ดังนั้น จะสามารถรองรับมูลฝอยแห้งที่ไม่สามารถน ามาใช้ได้ 50.15 เท่าของมูลฝอยแห้งที่ไม่สามารถน ามาใช้ได้ที่เกิดขึ้นแต่ละวันและสามารถรองรับมูลฝอย Recycle ได ้9.85 เท่าของมูลฝอย Recycle ที่เกิดขึ้นแต่ละวัน

Page 29: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-28

ห้องพักมูลฝอยติดเชื้อ มีขนาด กว้าง x ยาว x สูง เท่ากับ 6.80 x 3.30 x 4.00 เมตร คิดระดับ เก็บกัก 1.5 เมตร คิดเป็นปริมาตรกักเก็บ 33.66 ลูกบาศก์เมตร สามารถรองรับมูลฝอยติดเชื้อได้ 81.39 เท่า ของมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้นแต่ละวัน โดยก าหนดให้มีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศเพ่ือควบคุมอุณหภูมิภายใน ห้องให้เป็นห้องเย็น (Cool Garbage) ซึ่งมีอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 18-20 องศาเซลเซียส

ห้องพักมูลฝอยอันตราย มีขนาด กว้าง x ยาว x สูง เท่ากับ 1.80 x 3.30 x 4.00 เมตร คิดระดับเก็บกัก 1.5 เมตร คิดเป็นปริมาตรกักเก็บ 8.91 ลูกบาศก์เมตร จัดไว้เพื่อรองรับมูลฝอยอันตรายที่เกิดขึ้นภายในส่วนต่างๆ ของโครงการ สามารถรองรับมูลฝอยอันตรายได ้212.14 เท่า ของมูลฝอยที่เกิดขึ้นแต่ละวัน

ภายในห้องพักมูลฝอยออกแบบเป็นพ้ืนกระเบื้อง (เ พ่ือสะดวกในการท าความสะอาด) มีความจุรวมของห้องพักมูลฝอย เท่ากับ 67.77 ลูกบาศก์เมตร โครงการจัดให้มีพนักงานเก็บรวบรวมมูลฝอยทั่วไปจากอาคารโรงพยาบาล และอาคารหอพักพยาบาล จัดให้มีถุงด ารองรับมูลฝอยทั่วไปสวมข้างในภาชนะรองรับมูลฝอยอีกชั้นหนึ่ ง เ พ่ือให้สะดวกในการเก็บขน และการแยกประเภทมูลฝอยมาไว้ที่ห้องพัก มูลฝอยรวมโครงการ การเก็บขนมูลฝอย และสิ่งปฏิกูล หรือ วัสดุที่ไม่ใช้แล้วที่ไม่เป็นของเสียอันตราย โครงการใช้บริการเก็บขนมูลฝอยของบริษัท เทรนด์ อินเตอร์เทรด จ ากัด (ซึ่งเข้ามาเก็บขนมูลฝอยให้กับโครงการ สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุกวันอังคาร) ส่วนมูลฝอยติดเชื้อทางโรงพยาบาลใช้บริการเก็บขนของบริษัท เทรนด์ อินเตอร์เทรด จ ากัด เข้ามาด าเนินการเก็บขนมูลฝอยติดเชื้อให้กับโรงพยาบาล สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ทุกวันจันทร์ และน าไปก าจัดด้วยการเผาในเตาเผาที่นิคมอุตสาหกรรมบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยาต่อไป ทั้งนี้ ทางโรงพยาบาลจัดให้มีเจ้าหน้าที่คัดแยกมูลฝอยอันตรายออกจากมูลฝอยทั่วไป (หากมีผู้น ามาทิ้งรวมกัน) รวบรวมน าไปทิ้งยังห้องพักมูลฝอยอันตราย และประสานงานให้ บริษัท เทรนด์ อินเตอร์เทรค จ ากัด ที่ได้รับอนุญาตอย่างถูกต้องตามกฎหมายมาด าเนินการเก็บขน และก าจัดต่อไป ปัจจุบันห้องพักมูลฝอย ที่จัดเตรียมไว้สามารถรองรับปริมาณมูลฝอยได้เพียงพอไม่ก่อให้เกิดปัญหาแต่อย่างใด และเพ่ือป้องกันผลกระทบต่อพ้ืนที่ข้างเคียงโครงการออกแบบให้ห้องพักมูลฝอยทุกห้อง มีประตูปิดมิดชิด มีระบบระบายอากาศที่ดีป้องกันปัญหากลิ่นเหม็น และสัตว์พาหะรบกวน และมีรูระบายน้ าเพ่ือรวบรวมน้ าเสียจากห้องพักมูลฝอยเข้าสู่ระบบบ าบัดน้ าเสียรวมของอาคารโรงพยาบาลในโครงการ จึงช่วยลดผลกระทบด้านน้ าเสียจากการล้างท าความสะอาดห้องพักขยะ และน้ าชะมูลฝอยที่อาจจะปนเปื้อนลงสู่ห้วยทองหลางบริเวณด้านข้างอาคารห้องพักมูลฝอยรวม ดังกล่าวได ้แสดงในรูปที่ 1-13

Page 30: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รูปที่ 1-13 แสดงต าแหน่งห้องพักมูลฝอยรวม และภาชนะรองรับมูลฝอยของโครงการ

1-29

ห้องพักมูลฝอยเปียก

ห้องพักมูลฝอยแห้ง

ห้องพักมูลฝอยอันตราย

ห้องพักมูลฝอยติดเชื้อ

ภาชนะล าเลียง มูลฝอยเปียก

ภาชนะล าเลียง มูลฝอยอันตราย

ภาชนะล าเลียง มูลฝอยติดเชื้อ

พัดลมระบายอากาศ

รางระบายน้ าเสียรวบรวมเข้าสู่ระบบบ าบัดน้ าเสีย

ควบคุมอุณหภูมิไม่เกิน 10 องศาเซลเซียส

อาคารพักมูลฝอยรวม ขนาด 65 ตร.ม.

ลิฟท์ล าเลียงมูลฝอย ลิฟทโ์ดยสารคนไข ้

Page 31: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รูปที่ 1-13 (ต่อ) แสดงต าแหน่งห้องพักมูลฝอยรวมและภาชนะรองรับมูลฝอยของโครงการ

1-30

ถังขยะขนาด 25 ลิตร

ถังขยะขนาด 25 ลิตร

รถหน่วยงานที่รับผิดชอบเก็บขน มูลฝอยติดเชื้อ และมูลฝอยอันตราย

การแต่งกายของพนักงานเก็บขน มูลฝอยติดเชื้อ

ห้องพักส าหรับแม่บ้าน

ภาชนะส าหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้อที่มิใช่

วัสดุมีคม

ถังขยะขนาด 50 ลิตรพร้อมฝาปิดมิดชิด

ภาชนะส าหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้อ

ประเภทวัสดุมีคม

ภาชนะส าหรับบรรจุมูลฝอยติดเชื้อที่มิใช่

วัสดุมีคม

Page 32: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-31

1.7.6 ระบบไฟฟ้า และระบบป้องกันอันตรายจากฟ้าผ่า

เมื่อเปิดด าเนินการมีปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้ารวม 2,362 KVA โดยโครงการจะรับบริการไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดชลบุรีด้วยระบบแรงดัน 115 KV พร้อมเดินสายเคเบิลไฟฟ้าแรงสูง ผ่านท่อลงทางใต้ดิน เพ่ือเชื่อมสายเข้าระบบหม้อแปลงไฟฟ้าของโครงการ ขนาด 1,250 KVA จ านวน 2 ชุด ซึ่งตั้งอยู่ด้านหลังอาคาร โครงการได้จัดให้มีเครื่องก าเนิดไฟฟ้าส ารองแบบดีเซล (Diesel Generator) ขนาด 511 KVA จ านวน 2 ชุด สามารถส ารองไฟฟ้าได้นาน 26 ชั่วโมง เพ่ือจ่ายไฟฟ้าให้กับส่วนต่างๆ ที่จ าเป็นภายในอาคารโรงพยาบาลในกรณีที่กระแสไฟฟ้าขัดข้อง นอกจากนี้ ภายในโครงการได้ติดตั้งโดยติดตั้งแท่งตัวน าล่อฟ้า (Air Terminal Copper Rod) ที่มีสายทองแดงเปลือย (Copper Tare) เดินสายรอบชั้นดาดฟ้า ก่อนเดินสายลงฝังในเสาของอาคารลงไปยังชั้นล่าง ซึ่งจะมีแท่งตัวน าทองแดงปักห่างกันเป็นชุดๆ รอบอาคาร เพ่ือน ากระแสไฟฟ้าที่วิ่งตามสายทองแดงเปลือยที่ฝังในเสาของอาคารจากด้านบนอาคารลงสู่พ้ืนดิน

ปัจจุบัน โครงการได้น าระบบบริหารจัดการอาคาร (Building Management System) คือ การน าระบบควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ เพ่ือรวบรวมข้อมูลตรวจสอบ และควบคุมการท างานของระบบอาคารต่างๆ เข้าด้วยกัน เพ่ือท าให้เกิดผลดังต่อไปนี้

สภาพอากาศ และระดับแสงสว่างที่เหมาะสมกับผู้อยู่ในอาคาร สามารถควบคุมการท างานของอุปกรณ์ และระบบต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ท าให้เกิดการใช้พลังงานของอุปกรณ์ และระบบต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ ท าให้การบริหารจัดการอาคารมีประสิทธิภาพด้วยข้อมูลที่แม่นย า และทันสมัย

โดยโครงการได้ใช้ระบบบริหารจัดการอาคาร เข้ามาท าหน้าที่ประมวลผล และควบคุม การท างานของอุปกรณ์ปรับอากาศภายในโครงการ ซึ่งมีศักยภาพช่วยในการประหยัดพลังงานภายในอาคารได้

1.7.7 ระบบการจราจร

(1) ทางเข้า-ออก โครงการ

ปัจจุบันโครงการได้จัดให้มีทางเข้า-ออกโครงการ ดังนี้ 1) ทางเข้า-ออก 1 อยู่ทางด้านทิศเหนือของของพ้ืนที่โครงการ เชื่อมกับถนนสายหลัก

ของนิคมฯ (ถนนซอยนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร กว้าง 26 เมตร) เป็นถนนทางเข้าโครงการ กว้าง 7 เมตร จ านวน 1 แห่ง

2) ทางเข้า-ออก 2 อยู่ทางด้านทิศเหนือของของพ้ืนที่โครงการ เชื่อมกับถนนสายหลัก ของนิคมฯ (ถนนซอยนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร กว้าง 26 เมตร) เป็นถนนทางเข้าโครงการ กว้าง 6 เมตร จ านวน 2 แห่ง

Page 33: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-32

3) ทางเข้า-ออก 3 อยู่ทางด้านทิศตะวันออกของพ้ืนที่โครงการ เชื่อมกับถนนสายย่อย ของนิคมฯ (ถนนเทศบาลคลองต าหรุ 12 กว้าง 15 เมตร) เป็นถนนทางเข้า-ออกโครงการ กว้าง 10 เมตร จ านวน 1 แห่ง

(2) พื้นที่จอดรถยนต์ และระบบการจราจรภายในโครงการ

ปัจจุบันโครงการจัดให้มีที่จอดรถยนต์ไว้ เพ่ืออ านวยความสะดวกแก่ผู้มาใช้บริการ มีจ านวนทั้งสิน 185 คัน (เป็นที่จอดรถคนพิการ จ านวน 4 คัน และที่จอดรถส าหรับแม่และเด็ก จ านวน 4 คัน) (จากรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมระบุไว้ 181 คัน) ที่จอดรถโครงการจัดอยู่บริเวณลานจอดรถทั้งหมด อยู่บริเวณโดยรอบอาคารโรงพยาบาลลักษณะที่จอดรถท ามุมตั้งฉากกับทางเดินรถ ขนาด 2.4 x 5.0 เมตร ทั้งหมด ถนนภายในโครงการเป็นถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ที่มีความกว้างไม่ต่ ากว่า 6.00 เมตร โดยรอบ และจัดระบบการจราจรภายในโครงการเป็นแบบการเดินรถทางเดียว (ยกเว้นบริเวณถนนสายหลักของโครงการ ซึ่งจัดให้ มีการเดินรถแบบสองทิศทาง ) รูปที่ 1-14 ถึงรูปที่ 1-15 เมื่อพิจารณาข้อก าหนดตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2517) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ 2479 ก าหนดให้มี ที่จอดรถดังนี ้

Page 34: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-33

รูปที่ 1-14 แสดงผังระบบการจราจรภายในพ้ืนที่โครงการ (ตามที่น าเสนอในรายงาน EIA)

ถนนสาธารณะ กว้าง 26.00 เมตร (ถนนสายหลักในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร)

Page 35: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

1-34

รูปที่ 1-15 แสดงผังระบบการจราจรภายในพ้ืนที่โครงการ (ปัจจุบัน)

ทางเข้าบริเวณด้านหน้าโครงการ กว้าง 7 เมตร

ป้อมยามรักษาความปลอดภัย

ถนนทางด้านทิศใต้ กว้าง 6.00 เมตร

ถนนทางด้านทิศตะวันตก กว้าง 6.00 เมตร

ที่จอดรถภายนอกอาคาร

ถนนด้านทิศเหนือ กว้าง 7 เมตร

ที่จอดรถภายนอกโครงการ

ประตูทางเข้า-ออกโครงการด้านหลัง กว้าง 10.00 เมตร (ปรับใหม่)

ประตทูางออกโครงการด้านหน้า กว้าง 6.00 เมตร

ถนนทางเข้า-ออก บริเวณด้านทิศตะวันออก

ป้อมยามรักษาความปลอดภัย

ถนนด้านทิศตะวันออก กว้าง 6 เมตร 3

1 2

Page 36: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-35

“อาคารขนาดใหญ่ให้มีที่จอดรถยนต์ตามจ านวนที่ก าหนดของแต่ละประเภทอาคารที่ใช้เป็น ที่ประกอบกิจการในอาคารขนาดใหญ่นั้นรวมกัน หรือให้มีที่จอดรถยนต์ไม่น้อยกว่า 1 คัน ต่อพื้นที่อาคาร 240 ตารางเมตร เศษของ 240 ตารางเมตร ให้คิดเป็น 240 ตารางเมตร ทั้งนี้ ให้ถือที่จอดรถยนต์ จ านวนที่มากกว่าเป็นเกณฑ์” เมื่อพิจารณาอาคารโครงการมีพ้ืนที่อาคารทุกชั้น และทุกอาคาร โดยไม่รวมบันไดหนีไฟนอกอาคาร และพ้ืนที่ลานจอดรถมีพ้ืนที่ทั้งหมด 21,442 ตารางเมตร และเพ่ือให้เป็นไปตามกฎกระทรวงดังกล่าวต้องมีที่จอดรถ จ านวน 90 คัน ดังนั้น จ านวนที่จอดรถที่โครงการจัดเตรียมไว้ จ านวน 185 คัน จึงมีความเพียงพอส าหรับการให้บริการ และสอดคล้องกับข้อก าหนดดังกล่าว

1.7.8 ระบบการป้องกันอัคคีภัย

ทางโครงการได้ออกแบบให้มีการติดตั้งระบบป้องกันอัคคีภัยในแต่ละชั้น แต่ละอาคาร โดยมีรายละเอียด ดังนี้ แสดงในรปูท่ี 1-16

(1) ระบบสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ (Fire Alarm Control Panel) ประกอบด้วย

1.1) แผงควบคุมระบบสัญญาณแจ้ งเหตุ เพลิงไหม้ (Fire Alarm Control Panel ; FCP) และแผงแสดงสัญญาณแจ้งเหตุ เพลิงไหม้ (Fire Alarm Annunciator ; ANN) อยู่บริ เวณชั้นใต้ดิน ของอาคารโรงพยาบาล ท าหน้าที่ เป็นจุดศูนย์รวมการรับ -ส่งสัญญาณแจ้งเหตุ ส าหรับวิธีการท างาน คือ เมื่ออุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ ได้แก่ ชุดกดแจ้งเหตุ เครื่องตรวจจับควัน และเครื่องตรวจจับความร้อน ที่ติดตั้งตามห้องที่ก าหนดไว้ท างาน (ไม่ว่าตัวใดตัวหนึ่ง) ก็จะส่งสัญญาณ และมีเสียงสัญญาณที่แผงควบคุม จนกว่าจะตัดสวิทซ์เสียง หากไม่มีเจ้าหน้าที่ตัดเสียงในระยะเวลาที่ตั้งไว้ ระบบจะส่งเสียงสัญญาณเตือน ไปยังบริเวณท่ีเกิดเพลิงไหม ้หรือบริเวณอ่ืนพร้อมกันหมด

1.2) อุปกรณ์แจ้งเหตุ ชุดกดแจ้งเหตุ (Manual Alarm Box) เป็นอุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือชนิดดึง

ซึ่งมีกระจกครอบ โดยเมื่อมีผู้ดึงปุ่มสวิทซ์กุญแจ (Key Switch) สัญญาณจะส่งไปที่แผงควบคุม เครื่องจะส่งสัญณาณต่อไปยังอุปกรณ์แจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Bell) โดยทางโครงการจะท าการติดตั้งสูงจากพ้ืน 1.5 เมตร ในบริเวณโถงทางเดิน และบริเวณต่างๆ ภายในอาคาร

เครื่องตรวจจับควัน (Smoke Detector) เป็นอุปกรณ์ตรวจจับควันแบบใช้อนุภาคไอออนในการตรวจจับอนุภาคท่ีเกิดจากการเผาไหม้ทั้งชนิดมองเห็นด้วยตาเปล่า และไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า ท าให้สามารถตรวจจับการเกิดอัคคีภัยได้ในระยะต้นๆ โดยติดตั้งไว้ในห้องเครื่อง, โถงลิฟท์, โถงทางเดินภายในห้องพักผู้ป่วยทุกห้อง เป็นต้น โดยเมื่อเกิดเหตุจะส่งสัญญาณไปที่แผงควบคุมแล้วส่งต่อไปยัง Fire Alarm Bell

Page 37: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-36

เครื่องตรวจจับความร้อน (Heat Detector) แบบตรวจจับอัตราการเ พ่ิม ของอุณหภูม ิ(Rate of Rise Detector) มีหลักการท างานคือเครื่องจะท างานเมื่อมีอัตราการเพ่ิมของอุณหภูมิสูงเกินอัตราพิกัดที่ตั้งไว้ เมื่อเครื่องท างานจะส่งสัญญาณไปที่แผงควบคุมแล้วส่งต่อไปยัง Fire Alarm Bell โดยท าการติดตั้งไว้ในแผนกต่างๆ เช่น ห้องตรวจรักษา ห้องท าฟัน และ Nurse Station เป็นต้น

1.3) อุปกรณ์ส่งสัญญาณเตือนเพลิงไหม้ อุปกรณ์ส่งสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Bell) แบบกระดิ่ง จะติดตั้ง

คู่กับชุดกดแจ้งเหตุ (ทุกจุด) ในแต่ละชั้นของอาคาร

(2) ระบบผจญเพลิง ประกอบด้วย

2.1) ท่อยืน (Stand Pipe System) เป็นท่อโลหะผิวเรียบทาด้วยสีน้ ามันสีแดงมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิ้ ว มีจ านวน 2 ท่อยืน ส าหรับอาคารโรงพยาบาล และ 1 ท่อยืนส าหรับอาคาร หอพักพยาบาล โดยท่อยืนทั้งหมดเชื่อมต่อกับถังเก็บน้ า และหัวรับน้ าดับเพลิงภายนอกอาคาร (FDC) ขนาด Ø 65 มิลลิเมตร

2.2) ตู้หัวฉีดน้ าดับเพลิง (Fire Hose Cabinet) ประกอบด้วย หัวต่อสายฉีดน้ าดับเพลิงและสายฉีดน้ าดับเพลิง ขนาด Ø 1 นิ้ว สายฉีดน้ าดับเพลิงยาว 30 เมตร หัวต่อสายฉีดน้ าดับเพลิงชนิดข้อต่อสวมเร็วขนาด Ø 65 มิลลิเมตร พร้อมติดตั้งเครื่องดับเพลิงแบบมือถือ 1 เครื่องในแต่ละตู้ โดยอาคารโรงพยาบาล มีการติดตั้งตู้ FHC ไว้ในแต่ละชั้น รวม 2 ตู้ต่อชั้น ในบริเวณโถงทางเดินหน้าลิฟต์ทั้ง 2 แห่ง ส่วนอาคารบริการ มีการติดตั้งตู ้FHC ไว้ 1 ตู้ในแต่ละชั้นในบริเวณโถงทางเดินหน้าบันไดหนีไฟ

2.3) หัวรับน้ าดับเพลิงนอกอาคาร (Fire Department Connector; FDC) โครงการได้จัดให้มีหัวรับน้ าดับเพลิงส าหรับรับน้ าจากรถดับเพลิงกรณีที่เกิดอัคคีภัย ดังนี้

อาคารโรงพยาบาลมีหัวรับน้ า 2 ชุด แต่ละหัวมี ขนาด Ø 65 มิลลิเมตร โดยติดตั้งไว้ทางด้านหน้าบริเวณทางเข้า-ออกอาคาร 1 หัว ด้านหลังอาคาร 1 หัว

อาคารหอพักพยาบาลมีหัวรับน้ า 2 ชุด ขนาด Ø 65 มิลลิเมตร โดยติดตั้งไว้ ทางด้านหน้าบริเวณบันไดหนีไฟทั้งสองแห่งของอาคาร แสดงในรูปที่ 1-15

2.4) น้ าส ารองดับเพลิง ภายในโครงการมีท่อยืนทั้งหมด 3 ท่อ ติดตั้งบริเวณอาคารโรงพยาบาล 2 ท่อ และอาคารหอพักพยาบาล 1 ท่อ ซึ่งต้องจัดให้มีปริมาณน้ าส ารองดับเพลิงไม่น้อยกว่า 108 ลูกบาศก์เมตร/ 30 นาท ีเพ่ือให้เป็นไปตามกฎกระทรวงฉบับที่ 33 โดยระบบจ่ายน้ าดับเพลิงเป็นการจ่ายน้ าทั้งจากถังเก็บน้ าชั้นใต้ดิน และถังเก็บน้ าชั้นดาดฟ้าท้ังนี้ วิศวกรผู้ออกแบบได้ค านวณน้ าส ารองเพ่ือการดับเพลิงไว้ 150 ลูกบาศก์เมตร จึงเพียงพอตามที่กฎหมายก าหนด โดยมีการติดตั้งเครื่องสูบน้ าดับเพลิง (Fire Pump) เพ่ือสูบน้ าเข้าสู่ท่อดับเพลิง และจ่ายเข้าสู่ตู้สายฉีดน้ าดับเพลิง (Fire Hose Cabinet) โดยมีการติดตั้งเครื่อง สูบน้ ารักษาความดัน (Jocky Pump) เพ่ือช่วยรักษาความดันในเส้นท่อ

Page 38: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-37

(3) เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ

เครื่องดับเพลิงแบบมือถือ (Portable Fire Extinguisher) เป็นชนิดบรรจุผงเคมีแห้ง A-B-C ขนาด 4 กิโลกรัม โดยติดตั้ ง ไว้ ในบริ เวณต่างๆ ของทั้ งสอง อาคาร และชนิดบรรจุสาร CO2 ขนาด 15 ปอนด ์ติดต้ังไว้เฉพาะในบริเวณท่ีเสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้

(4) ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ (Sprinkler System)

เป็นระบบที่ท างานเองโดยอัตโนมัติเมื่ออุณหภูมิภายในห้องสูงขึ้นประมาณ 50 °C หลอดแก้วจะแตกปล่อยให้น้ าที่อัดอยู่ภายในท่อโปรยน้ าออกมาดับเพลิง ซึ่งเมื่อหลอดแก้วแตก และมีน้ าไหล ในท่อจ่ายจะมีสัญญาณแจ้งมายังห้องควบคุมให้ทราบว่าเกิดเพลิงไหม้ชั้นใด โดยจะติดตั้งครอบคลุมพ้ืนที่ ในแต่ละชั้นของทั้งอาคารโรงพยาบาล และอาคารหอพักพยาบาล

(5) บันไดหนีไฟ (Stairwell)

1. อาคารโรงพยาบาล (ขนาด 9 ชั้น มีชั้นใต้ดิน 1 ชั้น) ภายในอาคารโรงพยาบาล มีบันไดหนีไฟอยู่ 3 แห่ง ซึ่งสามารถใช้หนีไฟได้ตั้งแต่ชั้น 1 ถึงชั้นดาดฟ้า

บันไดหลัก (ST-1) อยู่ภายในอาคาร 1 แห่ง สามารถขึ้น-ลงได้ตั้งแต่ชั้น 1 ถึงชั้นดาดฟ้า มีความกว้าง 1.50 เมตร ชานพักบันได มีความกว้าง 3.40 เมตร และความยาว เท่ากับ 1.50 เมตร ลูกตั้งสูง 15 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้าง 28 เซนติเมตร โดยมีราวบันไดทั้งสองข้าง และที่จมูกบันไดมีวัสดุกันลื่น ซึ่งนอกจากจะเป็นบันไดหลักส าหรับใช้ในการขึ้น-ลงอาคารตามปกติแล้วยังใช้เป็นบันไดหนีไฟส าหรับคนพิการในกรณีเกิดเหตุไฟไหม้อีกด้วย

บันไดหนีไฟแห่งที่ 1 (ST-2) เป็นบันไดอยู่ภายในอาคารด้านทิศใต้ สามารถขึ้นลงได้ตั้งแต่ชั้นใต้ดินถึงชั้นดาดฟ้า มีความกว้างของบันได 1.50 เมตร ชานพักบันไดมีความกว้าง 3.20 เมตร และ ความยาว เท่ากับ 1.50 เมตร ลูกตั้งสูง 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้ว เหลือความกว้าง 25 เซนติเมตร โดยมีราวบันไดทั้งสองข้าง และท่ีจมูกบันไดมีวัสดุกันลื่น

บันไดหนีไฟแห่งที่ 2 (ST-3) เป็นบันไดอยู่ภายในอาคารด้านทิศตะวันตกสามารถ ขึ้น-ลงได้ตั้งแต่ชั้น 1 ถึงชั้นดาดฟ้า มีความกว้างของบันได 1.05 เมตร ชานพักบันไดมีความกว้าง 2.30 เมตร และความยาว เท่ากับ 1.50 เมตร ลูกตั้งสูง 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้าง 25 เซนติเมตร โดยมีราวบันไดทั้งสองข้าง และที่จมูกบันไดมีวัสดุกันลื่น เมื่อลงมาถึงชั้นล่าง ผู้อพยพสามารถวิ่งผ่านโถงพักคอยผู้ป่วยฉุกเฉินออกสู่ภายนอกอาคารบริเวณทางเข้า 3

อาคารโรงพยาบาลจัดเป็นอาคารสูง บันไดหนีไฟทั้งสามแห่งมีความกว้างมากกว่า 90 เซนติเมตร ดังนั้น ความกว้างบันไดหนีไฟของอาคารโรงพยาบาลที่จัดเตรียมไว้ จึงสอดคล้องกับข้อก าหนด ในกฎกระทรวงฉบับที ่33 (พ.ศ.2535) และฉบับที ่50 (พ.ศ.2540) แสดงต าแหน่งบันไดหนีไฟ ดังรูปที่ 1-15

Page 39: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-38

2. อาคารหอพักพยาบาล (ขนาด 3 ชั้น) ภายในอาคารหอพักพยาบาลมีบันไดอยู่ 2 แห่ง ได้แก่ บันไดหลัก 1 แห่ง และบันไดหนีไฟ 1 แห่ง โดยมีรายละเอียดของบันไดแต่ละแห่ง ดังนี้

บันไดหลัก ก่อสร้างอยู่ภายในอาคาร 1 แห่ง สามารถขึ้น-ลงได้ตั้งแต่ชั้น 1 ถึงชั้นดาดฟ้า มีความกว้าง ประมาณ 1.55 เมตร ชานพักบันไดมีความกว้าง เท่ากับ 3.30 เมตร และความยาว เท่ากับ 2.90 เมตร ลูกตั้งสูง 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้าง 25 เซนติเมตร โดยมีราวบันไดทั้งสองข้าง และที่จมูกบันไดมีวัสดุกันลื่น ซึ่งนอกจากจะเป็นบันไดหลักส าหรับ ใช้ในการขึ้น-ลงอาคารตามปกต ิและใช้เป็นบันไดหนีไฟในกรณีเกิดเหตุไฟไหม้อีกด้วย

บันไดหนีไฟ (ST-2) เป็นบันไดอยู่ภายในอาคารด้านทิศใต้สามารถขึ้น-ลงได้ ตั้งแต่ชั้น 1 ถึงชั้น 3 มีความกว้างของบันได 1.05 เมตร ชานพักบันไดมีความกว้าง 2.30 เมตร และความยาว เท่ากับ 1.30 เมตร ลูกตั้งสูง 18 เซนติเมตร ลูกนอนเมื่อหักส่วนที่ขั้นบันไดเหลื่อมกันออกแล้วเหลือความกว้าง 25 เซนติเมตร โดยมีราวบันไดท้ังสองข้าง และที่จมูกบันไดมีวัสดุกันลื่น

อาคารหอพักพยาบาลมีความสูง 3 ชั้น โดยมีพ้ืนที่ชั้นดาดฟ้ามากกว่า 16 ตารางเมตร ความกว้างของบันไดหนีไฟทั้งสองแห่งมากกว่า 80 เซนติเมตร ดังนั้น ความกว้างของบันไดหนีไฟของอาคารหอพักพยาบาลที่จัดเตรียมไว้ ไม่ขัดกับข้อก าหนดในกฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543)

(6) ห้องบรรเทาสาธารณภัยและลิฟท์ดับเพลิง

ทางโครงการได้จัดให้มีลิฟท์ดับเพลิงจ านวน 1 ตัว ซึ่งสามารถเปิดได้ทุกชั้นตั้งแต่ชั้นล่างสุดถึงชั้นบนสุดของอาคารโรงพยาบาล (ชั้นดาดฟ้า) โดยมีห้องบรรเทาสาธารณภัยอยู่บริเวณโถงลิฟท์ดับเพลิง มีขนาด 3.50 x 3.50 เมตร คิดเป็นพ้ืนที่ 12.25 ตารางเมตร (มากกว่า 6 ตารางเมตร ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 33) ซึ่งห้องดังกล่าวเป็นบริเวณที่ปลอดจากเปลวไฟและควัน เป็นที่ตั้งตู้ FHC และต่อเนื่องกับลิฟต์ดับเพลิง ทั้งนี้ ภายในห้องบรรเทาสาธารณภัยจัดให้มีระบบอัดอากาศบริเวณโถงบันไดหนีไฟ และโถงลิฟต์ดับเพลิงโดยใช้พัดลมอัดอากาศขนาดไม่น้อยกว่า 72,500 CFM แสดงต าแหน่ง FHC และลิฟต์ดับเพลิง ดังรูปที่ 1-16

(7) ป้ายบอกทางหนีไฟ (Fire Exit Light)

เป็นป้ายพลาสติกชนิดเรืองแสงและมีตัวอักษร “EXIT” ที่เปล่งแสงสะท้อนออกมา ให้เห็นได้ชัดเจนเมื่อไฟดับ โดยขนาดตัวอักษรไม่เล็กกว่า 10 เซนติเมตร ป้ายมีลักษณะเป็นกล่อง Stainless Steel ภายในบรรจุหลอดฟลูออเรสเซนต์ที่ใช้แบตเตอรี่ชนิดชาร์จได้เพ่ือเป็นเครื่องจ่ายไฟภายในตัวมันเองในขณะเกิดเพลิงไหม้สามารถใช้งานได้นาน 2 ชั่วโมง/ครั้ง มีต าแหน่งการติดตั้งบริเวณบันไดหนีไฟ, ส่วนท าการพยาบาล, ศูนย์บริการตรวจรักษาผู้ป่วย และทางเดินของทุกชั้นโดยติดตั้งไว้เป็นระยะๆ

Page 40: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-39

(8) ไฟฉุกเฉิน (Emergency Light)

เป็นชนิดที่ ใช้พลั งงานจากแบตเตอรี่ แห้ ง สามารถส ารองไฟได้นาน 2 ชั่ ว โมง ติดตั้งไว้บริเวณทางเดิน และบันไดหนีไฟของทั้งอาคารโรงพยาบาล และอาคารหอพักพยาบาลในกรณีไฟดับเครื่องจะท างานโดยอัตโนมัติ โดยจะส่องแสงออกมาเพ่ือให้สามารถมองเห็นทางเดินได้

(9) ป้ายบอกชั้น

ติดป้ายบอกต าแหน่งชั้นทุกชั้น ขนาดตัวเลขสูง 15 เซนติเมตร เป็นป้ายเรืองแสง โดยจะใช้แบตเตอรี่ชนิดชาร์จได้เป็นเครื่องจ่ายไฟภายในตัวมันเองในขณะเกิดเพลิงไหม้สามารถใช้งานได้นาน 2 ชั่วโมง/ครั้ง มีต าแหน่งติดไว้ที่บริเวณโถงหน้าบันไดหนีไฟทุกชั้นของทั้งอาคารโรงพยาบาล และอาคารหอพักพยาบาล

(10) ป้ายบอกทางออก (Exit Light)

เป็นป้ายเรืองแสงบอกทางออก สามารถจ่ายไฟภายในตัวมันเองในขณะเกิดเพลิงไหม้ มีต าแหน่งการติดตั้งบริเวณหน้าทางข้ึน-ลงบันไดหนีไฟทุกแห่ง และตามโถงทางเดินของทั้งสองอาคาร

(11) แบบแปลนแผนผัง

แสดงต าแหน่งที่ติดตั้ ง อุปกรณ์ดับเพลิงต่างๆ ประตู หรือทางหนีไฟ โดยอาคารโรงพยาบาลทางโครงการจะท าการติดตั้งแบบแปลนแผนผังดังกล่าวเป็นป้ายพลาสติกไว้บริเวณหน้าลิฟท์ ของแต่ละชั้น และบริเวณประตูส าหรับห้องพักผู้ป่วยในทุกห้อง ไฟ ส าหรับอาคารหอพักพยาบาลจะท าการติดตั้งไว้บริเวณหน้าลิฟท์ของแต่ละชั้น และบริเวณประตูส าหรับห้องพักทุกห้อง

(12) พื้นที่หนีไฟทางอากาศ

มีพ้ืนที่หนีไฟทางอากาศบริเวณดาดฟ้าของอาคารโรงพยาบาล ส าหรับใช้เป็นที่หนีไฟ ทางอากาศ โดยมี ขนาด 10 x 10 เมตร ซึ่งพ้ืนที่หนีไฟทางอากาศนี้จะเชื่อมกับบันไดหนีไฟของอาคาร ดังรูปที่ 1-16

(13) แผนอพยพและจุดรวมพล

โครงการจัดให้มีการซ้อมแผนอพยพหนีไฟ และดับเพลิงเป็นประจ าอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง โดยจัดให้มีจุดรวมพลพ้ืนที่รวม 1,516 ตารางเมตร อยู่ระหว่างอาคารโรงพยาบาลกับอาคาร หอพักพยาบาล และบริเวณด้านหน้าโครงการติดถนนสายหลักของนิคมฯ โดยแบ่งพ้ืนที่ออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้

Page 41: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-40

- จุดรวมพลที่ 1 พ้ืนที่ 400 ตารางเมตร ส าหรับจัดเตรียมไว้ส าหรับพนักงาน และผู้ที่มา ใช้บริการ (ส าหรับยืน) ได้ไม่น้อยกว่า 1,600 คน

- จุดรวมพลท่ี 2 พ้ืนที ่236 ตารางเมตร จัดเตรียมไว้ส าหรับพนักงาน และผู้ที่มาใช้บริการ (ส าหรับยืน) ได้ไม่น้อยกว่า 944 คน

- จุดรวมพลที่ 3 พ้ืนที่ 133 ตารางเมตร จัดเตรียมไว้รองรับรถเข็นนั่งผู้ป่วย 100 คัน โดยให้แพทย์ พยาบาล และพนักงานเข้ามาดูแลคนไข้ ยืนอยู่ระหว่างพ้ืนที่ว่างระหว่างรถเข็นได้ไม่น้อยกว่า 200 คน และส าหรับพนักงาน รวมถึงผู้ที่มาใช้บริการ (ส าหรับยืน) ได้ไม่น้อยกว่า 75 คน ดังนั้น จุดรวมพลที่ 3 สามารถรองรับคนได้ท้ังหมด 375 คน

- จุดรวมพลท่ี 4 พ้ืนที ่747 ตารางเมตร จัดเตรียมไว้ส าหรับรองรับเตียงผู้ป่วย 100 เตียง โดยให้แพทย์ และพยาบาลยืนอยู่ในช่องว่างระหว่างเตียงผู้ป่วย เตียงละ 2 คน ได้ไม่น้อยกว่า 200 คน และส าหรับพนักงาน รวมถึงผู้ที่มาใช้บริการ (ส าหรับยืน) ได้ไม่น้อยกว่า 1,222 คน โดยจัดพ้ืนที่ส่วนหนึ่ง 50 ตารางเมตร เป็นจุดปฐมพยาบาล ดังนั้น จุดรวมพลที่ 4 สามารถรองรับคนได้ท้ังหมด 1,522 คน

Page 42: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

E

S

N

W

รูปที่ 1-16 แสดงภาพถ่ายพื้นที่หนีไฟทางอากาศบริเวณชั้นดาดฟ้า

ต าแหน่งพื้นที่หนีไฟทางอากาศ

1-41

Page 43: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รูปที่ 1-17 แสดงต าแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย

1-42

หัวรับน้ าดับเพลิงภายนอกอาคาร ตู้ FHC บริเวณด้านหน้าลิฟท์ ประตูหนีไฟ

หัวรับน้ าดับเพลิงภายนอกอาคาร หัวรับน้ าดับเพลิงบริเวณอาคารหอพักพยาบาล

ป้ายบอกทางหนไีฟ

บันไดหนีไฟ อุปกรณ์แจ้งเหตุ (Manual Alarm Box)

อุปกรณ์ส่งเสียงแจ้งเหตุเพลิงไหม้ (Fire Alarm Bell)

Page 44: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รูปที่ 1-17 (ต่อ) แสดงต าแหน่งติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย

1-38

ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ(Sprinkler System)

ป้ายบอกทางหนีไฟ

แผงแสดงสัญญาณ แจ้งเหตุเพลิงไหม้

ตู้ควบคุมระบบดับเพลิง

ปั๊มสูบน้ าดับเพลิง

ถังดับเพลิงเคมี

ถังดับเพลิงเคมี

บันทึกการตรวจสอบการท างานของระบบดับเพลิง

ระบบไฟฉุกเฉิน

ป้ายบอกชั้น

เครื่องตรวจจับควัน (Smoke Detector)

1-43

Page 45: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รายงานผลการปฏบิัตติิดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดลอ้ม โครงการ โรงพยาบาลวภิารามอมตะนคร ระยะด าเนินการ บทที ่1 ของบริษัท โรงพยาบาลวภิาราม (อมตะนคร) จ ากัด บทน า

บริษัท ไฮโดร ซิสเต็มส์ จ ำกัด

1-44

ดังนั้น จุดรวมพลของโครงการทั้งหมดสามารถรองรับผู้ป่วย ผู้มาใช้บริการ แพทย์พยาบาล และพนักงานในโครงการได้ไม่น้อยกว่า 4,441 คน (1,600 + 944 + 375 + 1,522) ซึ่งเพียงพอส าหรับประชากรทั้งหมดในโรงพยาบาลที่ได้ประเมินไว้ 1,000 คน

1.7.9 สุนทรียภาพ

โครงการได้จัดให้มีพ้ืนที่สีเขียวพ้ืนที่รวม 3,110 ตารางเมตร โดยทั้งหมดเป็นพ้ืนที่สีเขียว ที่อยู่บนดินในบริ เวณโดยรอบแนวเขตที่ดินของโครงการ และบริ เวณลานจอดรถ และเป็นไม้ยืนต้น 1,275 ตารางเมตร ประกอบด้วย ต้นลีลาวดี ต้นอโศกอินเดีย ต้นประดู่ และต้นพญาสัตบรรณ ปัจจุบันโครงการจัดให้มีการปรับเปลี่ยนพันธุ์ไม้ให้มีความเหมาะสมกับสภาพการใช้ประโยชน์พ้ืนที่โครงการ เพ่ือความสะดวก ในการบ ารุงรักษา และการท าความสะอาด โดยท าการปลูกต้นหูกระจง และต้นปาล์ม ทดแทนต้นลีลาวดี และต้นอโศกอินเดีย ทั้งนี้ การปลูกต้นไม้ยืนต้นดังกล่าวไม่มีผลกระทบต่อโครงสร้างของระบบสาธารณูปโภค ใต้ดินในโครงการ ดังแสดงผังการจัดภูมิสถาปัตย์ที่ซ้อนทับกับระบบสาธารณูปโภคใต้ดิน

จากเกณฑ์ของ สผ.ก าหนดที่ให้ต้องมีพ้ืนที่สีเขียว 1 คน/ 1 ตารางเมตร โดยร้อยละ 50 เป็นพ้ืนที่สีเขียวที่อยู่บนดิน และร้อยละ 50 ของพ้ืนที่สีเขียวบนดินต้องปลูกไม้ยืนต้น จากการคาดการณ์ จ านวนแพทย์ พยาบาล และผู้มาใช้บริการของโรงพยาบาลรวม ประมาณ 1,000 คน ดังนั้นจะมีความต้องการพ้ืนที่สี เขียวไม่น้อยกว่า 1,000 ตารางเมตร และต้องเป็นไม้ยืนต้น เท่ากับ 1,000 x 0.5 x 0.5 เท่ากับ 250 ตารางเมตร จะเห็นว่าการจัดพ้ืนที่สีเขียวของโครงการสอดคล้องกับข้อก าหนดดังกล่าว

ลักษณะอาคารของโครงการเป็นอาคารสาธารณะ ซึ่งต้องจัดให้มีพ้ืนที่ว่างปราศจากสิ่งปกคลุม (OSR) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของพ้ืนที่ดินที่ใช้เป็นที่ก่อสร้างอาคาร และจากข้อก าหนดให้โครงการต้องจัดให้มีไม้ยืนต้นไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของพ้ืนที่ว่าง โครงการมีพ้ืนที่ดินทั้งหมด 11,536 ตารางเมตร ดังนั้น ต้องจัดให้มีไม้ยืนต้น เท่ากับ 11,536 x 0.1 x 0.5 เท่ากับ 576.8 ตารางเมตร ดังนั้น การปลูกไม้ยืนต้นของโครงการ จึงสอดคล้องกับข้อก าหนดข้างต้น

โครงการจัดให้มีรั้วมีความสูง 2.20 เมตร ตลอดแนวด้านทิศตะวันตกของโครงการ โดยด้านล่างของรั้วจะก่อเป็นผนังก่ออิฐฉาบปูนส่ วนด้านบนเป็นรั้วเหล็กโปร่ง ดังแสดงรายละเอียดในรูปที่ 1-18 ถึงรูปท่ี 1-19

Page 46: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รูปที่ 1-18 แสดงผังพ้ืนที่สีเขียวของโครงการ (ตามที่น าเสนอในรายงาน EIA)

1-45

ถนนสาธารณะ กว้าง 26.00 เมตร (ถนนสายหลักในนิคมอุตสาหกรรมอมตะนคร)

Page 47: บทที่ 1 - eia.onep.go.theia.onep.go.th/images/monitor/1516950844.pdf · โครงการ โรงพยาบาลวิภารามอมตะนคร ระยะด

รูปที่ 1-19 แสดงผังพื้นที่สีเขียวของโครงการ (ปัจจุบัน)

1-46

ต้นประดู ่

ต้นพญาสัตบรรณ

ต้นไทรเกาหลี

ต้นประดู่

ต้นไทรเกาหลี

ต้นไทรเกาหลี

ต้นไทรเกาหลี

ต้นพญาสัตบรรณ

ต้นดอกเข็ม

ต้นดอกเข็ม

ต้นพญาสัตบรรณ ต้นปาล์ม

ต้นชาฮกเกี้ยน

ต้นหูกระจง

ต้นไทรเกาหลี ต้นหูกระจง