บทที่ 2 ภาษาซี...

38
1 บทที2 บทที2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต และคําสั่งแสดงผล ETT1007 Computer Programming

Upload: others

Post on 21-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

1

บทท่ี 2

บทท่ี 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบ้ืองต้น

และคาํส่ังแสดงผล

ETT1007 Computer Programming

Page 2: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

2

วตัถุประสงค์

• สามารถเขียนโปรแกรมภาษาซีอยา่งง่าย ๆ ได้

• สามารถแสดงขอ้ความออกทางจอภาพได้

• สามารถแสดงขอ้มูลชนิดต่างๆ ออกทางจอภาพได้

• สามารถกาํหนดรูปแบบการแสดงขอ้มูลออกทางจอภาพได้

Page 3: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

3

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (1)

#include<file.h>type function_name(type);type variable;int main(){

type variable;statement-1;...statement-n;return 0;

}type function_name(type variable){

statement-1;...statement-n;return(var);

}

พรีโปรเซสเซอร์ไดเร็คทีฟ

ตวัแปรชนิดโกบอล

ฟังกช์นัหลกั

ฟังกช์นัยอ่ย

ส่วนตัวโปรแกรม

ส่วนหัวโปรแกรม

ตวัแปรชนิดโลคอล

คาํสัง่

ฟังก์ชนัโพรโทรไทพ์

Page 4: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

4

โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (2)

• ส่วนหวัโปรแกรม (Header Program)

– พรีโปรเซสเซอร์ไดเร็คทีฟ (Preprocessor Directive)

#include

#define

– ฟังกช์นัโพรโทรไทพ์ (Function Prototype Declaration)

– ตวัแปรชนิดโกบอล (Global Variable Declaration)

Page 5: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

5

2.1 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี (3)

• ส่วนตัวโปรแกรม (Body Program)

– ฟังกช์นัหลกั (Main Function)

• ตวัแปรชนิดโลคอล (Local Variable Declaration)

• คาํสัง่ (Statement)

– ฟังกช์นัอ่ืน ๆ (Functions)

• คาํอธิบายโปรแกรม (Comment Program)

Page 6: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

6

2.2 ฟรีโปรเซสเซอร์ไดเร็คทฟี

• ส่วนประมวลผลก่อน เป็นส่วนท่ีสัง่ใหค้อมไพเลอร์เตรียมการ

ทาํงานท่ีกาํหนดไว ้ก่อนท่ีจะทาํงานในฟังกช์นัหลกั

ใหโ้ปรแกรมดึงคาํสัง่จาก file-name.h ใน Include Directory

ใหโ้ปรแกรมดึงคาํสัง่จาก file-name.h ใน Current Directory

file-name คือช่ือไฟลน์ามสกลุ h

#include<file-name.h>

#include"file-name.h"

Page 7: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

7

ตัวอย่างคาํส่ังฟรีโปรเซสเซอร์ไดเร็คทฟี

#include<stdio.h>

ทาํการเรียกไฟล ์stdio.h เพ่ือทาํใหส้ามารถใชค้าํสัง่ทัว่ไปได้

#include<conio.h>

ทาํการเรียกไฟล ์conio.h เพ่ือทาํใหส้ามารถใชค้าํสัง่จดัการหนา้จอ และคาํสัง่

รับและแสดงผลเพ่ิมเติม

#include<math.h>

ทาํการเรียกไฟล ์math.h เพ่ือทาํใหส้ามารถใชค้าํสัง่เก่ียวกบัคณิตศาสตร์ได้

#include<string.h>

ทาํการเรียกไฟล ์string.h เพ่ือทาํใหส้ามารถใชค้าํสัง่จดัการเก่ียวกบัขอ้ความได้

Page 8: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

8

ฟังก์ชันหลกั

• ฟังก์ชันหลักเป็นฟังก์ชันท่ีโปรแกรมภาษาซีต้องมีอยู่เสมอ

เพราะคอมไพเลอร์ของภาษาซีจะเร่ิมตน้การทาํงานจากฟังก์ชนั

หลกั

• ตวัอยา่งการเขียนฟังกช์นัหลกัท่ีไม่มีการทาํงานใดๆ

int main(void){

return(0);}

int main(){

return 0;}

Page 9: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

9

กฎเกณฑ์การใช้คาํส่ังในภาษาซี

• ใชเ้คร่ืองหมาย semi colon ; เป็นจุดส้ินสุดคาํสัง่

• ใชอ้กัษรตวัเลก็สาํหรับเรียกใชค้าํสัง่ (statement)

• ใชเ้คร่ืองหมาย comma , สาํหรับคัน่ตวัแปร และพารามิเตอร์

• หากคําสั่งใดมีคําสั่งส่วนย่อยภายในหลาย ๆ ค ําสั่ง ให้ใช้

เคร่ืองหมายปีกกา { } สาํหรับกาํหนดขอบเขต

Page 10: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

10

2.3 การแสดงผลด้วยคาํส่ัง printf

• การเขียนโปรแกรมจาํเป็นตอ้งมีการแสดงผล เพ่ือให้ผูใ้ช้งาน

ทราบว่าโปรแกรมสามารถทาํงานอะไร จาํเป็นต้องป้อนค่า

อะไรบ้าง และเม่ือโปรแกรมทาํงานเสร็จ ผลลัพธ์ท่ีได้เป็น

อยา่งไร

• คาํสั่งท่ีใช้สําหรับการแสดงผลในภาษาซีมีหลายคาํสั่ง แต่ท่ี

สามารถใชง้านไดค้รอบคลุมและนิยมใชก้นั คือ คาํสัง่ printf

Page 11: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

11

รูปแบบของคาํส่ัง printf

format-string คือรูปแบบของขอ้ความซ่ึงจะประกอบดว้ย

ขอ้ความธรรมดา, ค่ารหสั ASCII และ ส่วน

แสดงชนิดขอ้มูล โดย format-string จะอยูใ่น

เคร่ืองหมาย Double quote " "

data-list คือช่ือขอ้มูล หรือตวัแปรท่ีจะทาํการแสดงผล

ตามส่วนแสดงชนิดขอ้มูลใน format-string

printf (format-string, data-list);

หมายเหตุ คาํส่ัง printf ต้องเรียกใช้ Preprocessor Directive #include<stdio.h>

Page 12: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

12

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf ทีไ่ม่ถูกต้อง

Page 13: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

13

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf ทีถู่กต้อง

#include<stdio.h>int main(){

printf ("Hello World!");return 0;

}

Hello World!

Page 14: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

14

รูปแบบของข้อความในคาํส่ัง printf

• ขอ้ความธรรมดา เป็นส่วนท่ีแสดงตวัอกัษร ตวัเลขออกโดยตรง

• ค่ารหสั ASCII เป็นส่วนท่ีควบคุมรูปแบบการแสดงผล เช่น การ

จดัยอ่หนา้ การข้ึนตน้บรรทดัใหม่ เป็นตน้

• ส่วนแสดงชนิดขอ้มูล เป็นการกาํหนดรูปแบบของชนิดขอ้มูลท่ี

จะแสดงผลขอ้มูล หรือตวัแปร

– ส่วนแสดงชนิดขอ้มูลแบบปกติ

– ส่วนแสดงชนิดขอ้มูลท่ีกาํหนดรูปแบบการแสดงผล

Page 15: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

15

ข้อความธรรมดา

• การแสดงขอ้ความธรรมดาเป็นการใชค้าํสัง่ printf ใหแ้สดงขอ้ความท่ีตอ้งการออกทางจอภาพ โดยจะอยูใ่นส่วนของ format-string ในคาํสัง่ (อยูใ่นเคร่ืองหมาย Double quote " ")

• เช่น คาํสัง่ในตวัอยา่งโปรแกรมท่ีผา่นมา

จะทาํการแสดงขอ้ความ Hello World! ออกทางจอภาพหลงัจากสัง่ Run โปรแกรม

printf (format-string, data-list);

printf ("Hello World!");

Page 16: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

16

Hello World!This is my first Program.I am a programmer.

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf หลายๆคาํส่ัง

Hello World!This is my first Program.I am a programmer.

#include<stdio.h>#include<conio.h>int main(){

printf ("Hello World!");printf ("This is my first Program.");printf ("I am a programmer.");return 0;

}

Page 17: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

17

ค่ารหัส ASCII

• ค่ารหสั ASCII เป็นอกัขระพิเศษท่ีใชง้านในภาษาซี ซ่ึงใชค้วบคุม

การแสดงผลในคาํสัง่ printf ในส่วนของ format-string

ค่ารหัส ASCII การใช้งาน

\t เว้นช่องว่างทุก 1 แท็ป (8 ช่องตวัอกัษร)

\n ขึน้บรรทัดใหม่

\0 เป็นอกัขระว่าง

\' แสดง single quote ออกทางจอภาพ

\" แสดง double quote ออกทางจอภาพ

\\ แสดง backslash ออกทางจอภาพ

Page 18: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

18

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf โดยใช้ค่ารหัส ASCII

#include<stdio.h>int main(){

printf ("Hello World!\n");printf ("This is my first Program.");printf ("\n\tI\'m a programmer.");return 0;

}

Hello World!This is my first Program.

I'm a programmer.

Page 19: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

19

ส่วนแสดงชนิดข้อมูล

• ในการเขียนโปรแกรมท่ีมีการประยกุตข้ึ์น เช่นโปรแกรมคาํนวณ

เลข จะตอ้งมีการแสดงผลลพัธ์ของค่าท่ีทาํการคาํนวณ ซ่ึงคาํสั่ง

printf สามารถแสดงผลค่าตวัแปรได ้แต่จะตอ้งเขียนโปรแกรม

ใหมี้ความสมัพนัธ์กนัในส่วนของ format-string และ data-list

– โดยท่ีใน format-string จะมีส่วนแสดงชนิดขอ้มูล

– และใน data-list จะมีขอ้มูล หรือตวัแปรท่ีจะแสดงผล

printf (format-string, data-list);

Page 20: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

20

การกาํหนดส่วนแสดงชนิดข้อมูลแบบต่างๆ

ส่วนแสดงชนิดข้อมูล การใช้งาน

%d แสดงผลขอ้มูลชนิดจํานวนเต็ม

%u แสดงผลขอ้มูลชนิดจาํนวนเตม็บวก (ไม่คิดเคร่ืองหมาย)

%o แสดงผลขอ้มูลเป็นเลขฐานแปด

%x แสดงผลขอ้มูลเป็นเลขฐานสิบหก

%f แสดงผลขอ้มูลชนิดจํานวนทศนิยม (6 ตําแหน่ง)

%e แสดงผลขอ้มูลเป็นจาํนวนทศนิยมและอยูใ่นรูปยกกาํลงั

%c แสดงผลขอ้มูลชนิดอักขระ

%s แสดงผลขอ้มูลชนิดข้อความ

%p แสดงผลขอ้มูลชนิดตัวช้ีตําแหน่ง

Page 21: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

21

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf แสดงผลข้อมูล

#include<stdio.h>int main(){

printf ("My name is : %s\n","Kmitl");printf ("My point : %d\n",10+40+49);printf ("Grade : %c\n",'A');printf ("GPA : %f",3.99);return 0;

}

My name is :KmitlMy point : 99Grade : AGPA : 3.990000

Page 22: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

22

การกาํหนดรายช่ือตัวแปรในคาํส่ัง printf

• การแสดงผลตวัแปรโดยใชค้าํสั่ง printf สามารถใชง้านโดยการ

ใส่ขอ้มูล หรือช่ือตวัแปรในส่วนของ data-list

• หากไม่ตอ้งการแสดงผลตวัแปร ไม่ตอ้งมีส่วนของ data-list

• หากต้องการแสดงผลข้อมูล หรือตัวแปรมากกว่าหน่ึงตัวใน

คาํสัง่ใหใ้ช ้เคร่ืองหมาย comma , สาํหรับคัน่ช่ือตวัแปร โดยจะ

ทาํการแสดงผลตามลาํดบัตวัแปร และส่วนการแสดงชนิดขอ้มูล

Page 23: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

23

รายช่ือตัวแปรในคาํส่ัง printf

printf ("...%?...", data);

printf ("%? %? ... %?", data-1, data-2, ..., data-n);

...data...

data-1 data-2 ... data-n

printf ("...%d...",19);

...19...

printf ("%d-%d-%d",19,1,1980);

19-1-1980

ตัวอย่

างตัว

อย่าง

Page 24: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

24

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf แสดงผลข้อมูลหลายตัว-1

#include<stdio.h>int main(){

printf ("Age = %d, GPA = %f\n",17,3.75);printf ("Programming: %f\nMechanics: %f",4.0,3.5);return 0;

}

Age = 17, GPA = 3.750000Programming: 4.000000Mechanics: 3.5000000

Page 25: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

25

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf แสดงผลข้อมูลหลายตัว-2

#include<stdio.h>int main(){

printf ("Subject : %s(%d)\n","Programming",2552);printf ("Point : %d\nGrade : %c",99,'A');return 0;

}

Subject : Programming(2552)Point : 99Grade : A

Page 26: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

26

ส่วนแสดงชนิดข้อมูลทีก่าํหนดรูปแบบการแสดงผล (1)

• เป็นการจองพ้ืนท่ีหนา้จอจาํนวน m ตวัอกัษร แลว้แสดงผล data

ชิดด้านขวาของพ้ืนท่ีส่วนท่ีจองไว ้โดยชนิดขอ้มูลตาม ? (หาก

ความยาวเกินส่วนท่ีจองไวก้จ็ะเล่ือนออกไป)

• เป็นการจองพ้ืนท่ีหนา้จอขนาด m ตวัอกัษร แลว้แสดงผล data

ชิดด้านซ้ายของพ้ืนท่ีส่วนท่ีจองไว ้โดยชนิดขอ้มูลตาม ?

printf ("%m?",data);

printf ("%-m?",data);

Page 27: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

27

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf โดยมกีารกาํหนดรูปแบบ-1

#include<stdio.h>int main(){

printf ("123456789012345678901234567890");printf ("\n%20d*",46);printf ("\n%-20d*",46);printf ("\n%3d*",46);printf ("\n%3d*",2550);return 0;

}

12345678901234567890123456789046*

46 *46*2550*

Page 28: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

28

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf โดยมกีารกาํหนดรูปแบบ-2

#include <stdio.h>int main(){

printf ("123456789012345678901234567890");printf ("\n%20c*",'c');printf ("\n%-20c*",'c');printf ("\n%10s*","Pro");printf ("\n%10s*","Programming");return 0;

}

123456789012345678901234567890c*

c *Pro*

Programming*

Page 29: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

29

2.4 ส่วนแสดงชนิดข้อมูลทีก่าํหนดรูปแบบการแสดงผล (2)

• เป็นการกาํหนดใหแ้สดงจาํนวนทศนิยม n ตาํแหน่ง สาํหรับ %f

หรือแสดงอกัขระจาํนวน n ตวั สาํหรับ %s

• เป็นการจองพ้ืนท่ีหนา้จอขนาด m ตวัอกัษรแลว้แสดงผล data

จาํนวนทศนิยม n ตาํแหน่ง สาํหรับ %f หรือแสดงอกัขระจาํนวน

n ตวั สาํหรับ %s

printf ("%.n?",data);

printf ("%m.n?",data);

Page 30: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

30

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf โดยมกีารกาํหนดรูปแบบ-3

printf ("123456789012345678901234567890");printf ("\n%20s*","programming");printf ("\n%-20s*","programming");printf ("\n%.3s*","programming");printf ("\n%20.3s*","programming");printf ("\n%-20.3s*","programming");

123456789012345678901234567890programming*

programming *pro*

pro*pro *_

Page 31: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

31

ตัวอย่างการใช้งานคาํส่ัง printf โดยมกีารกาํหนดรูปแบบ-4

printf ("123456789012345678901234567890");printf ("\n%20f*", 1234.56789);printf ("\n%-20f*", 1234.56789);printf ("\n%.3f*", 1234.56789);printf ("\n%20.3f*", 1234.56789);printf ("\n%-20.3f*", 1234.56789);

1234567890123456789012345678901234.567890*

1234.567890 *1234.568*

1234.568*1234.568 *_

Page 32: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

32

2.5 คาํอธิบายโปรแกรม (Comment)

• คาํอธิบายโปรแกรมเป็นส่วนท่ีเพ่ิมในโปรแกรมเพ่ือช่วยให้ผูท่ี้

เขียน หรือผูท่ี้อ่านโปรแกรมสามารถเขา้ใจกบัตวัโปรแกรมได้

ง่ายข้ึน

• โดยท่ีค ําอธิบายโปรแกรมน้ีจะไม่มีผลต่อการทํางานของ

โปรแกรม คือเวลาท่ีทาํการคอมไพล์ จะข้ามข้อความท่ีอยู่ใน

ส่วนอธิบายโปรแกรมไป

Page 33: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

33

รูปแบบคาํอธิบายโปรแกรม

/* Comment Sentence 1Comment Sentence 2...Comment Sentence n */

/* Comment Sentence */

// Comment Sentence

Page 34: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

34

โจทย์ : โปรแกรมแสดงผลข้อมูลส่วนตัว

• จงเขียนโปรแกรมแสดงผล ช่ือ-นามสกลุ อายุ

– ตวัอยา่งการแสดงผลName : KmitlSurname : EngineeringAge : 46

Page 35: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

35

โจทย์ : โปรแกรมรายได้

• จงเขียนโปรแกรมแสดงรายไดต่้อเดือน แลว้แสดงวา่ต่อสปัดาห์

คิดเป็นเท่าใด (ทศนิยม 2 ตาํแน่ง) ต่อวนัคิดป็นเท่าใด (ทศนิยม 3

ตาํแหน่ง)

– ตวัอยา่งการแสดงผล

Salary : 6500Money/Week : 1625.00Money/Day : 232.143

Page 36: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

36

โจทย์ : โปรแกรมแสดงเกรด

• จงเขียนโปรแกรมแสดงผล เกรดวิชา Programming, Drawing,

Mechanics, Math1 พร้อมแสดงเกรดเฉล่ีย (ทศนิยม 2 ตาํแหน่ง)

– ตวัอยา่งการแสดงผล

Programming : ADrawing : B+Mechanics : B+Math : BGPS : 3.50

Page 37: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

คาํถามท้ายบท

1. แสดงผลของโปรแกรมต่อไปนี้

#include<stdio.h>int main(){

/* float radius, pi, area;pi = 22/7; // pi = 3.14;printf ("Enter Radius of Circular : ");scanf ("%f",&radius);area = pi * radius * radius; */printf (“Programming Language”,2015);return 0;

}

37

Page 38: บทที่ 2 ภาษาซี การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น และคําสั่งแสดงผล. ETT1007...10 2.3 การแสดงผลด้วยคําสั่ง

คาํถามท้ายบท (ต่อ)

2. จงเขียนส่วนของโปรแกรมให้แสดงผลดังต่อไปนี้

03\09\2015Faculty of Industrial TechnologySuan Sunandha Rajabhat University, Bangkok, Thailand.

3.จงเขียนส่วนของโปรแกรมให้แสดงผลตามเง่ือนไขต่อไปนี้

บรรทัดท่ี 1 แสดง รหัสประจําตัว นศ.

บรรทัดท่ี 2 แสดง ช่ือ นามสกุล

บรรทัดท่ี 3 แสดง วนั/เดือน/ปี เกิด

บรรทัดท่ี 8 แสดงข้อความ http://www.el.ssru.ac.th

ชิดขอบขวาของบรรทัด

บรรทัดท่ี 10 แสดงข้อความ Bye Bye ตรงกลางบรรทัด 38