บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร...

11
บทที3 การตรวจรับและจัดเก็บสื่อการศึกษาใน มุม มสธ. สํ านักบรรณสารสนเทศ จัดหาสื่อการศึกษาที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับการเรียนการสอนของ มหาวิทยาลัย ตลอดจนสื่อการศึกษาประเภทอางอิงพื้นฐาน และที่เปนประโยชนตอการศึกษา คนควา โดยทั่วไป สงไปใหบริการ มุม มสธ. โดยสํ านักไดดําเนินการดานงานเทคนิคหองสมุดเรียบรอยแลว มุม มสธ. สามารถจัดเก็บและใหบริการผูใชไดทันที สื่อการศึกษาดังกลาวจําแนกประเภทไดดังนีสื่อสิ่งพิมพ ไดแก 1. หนังสือเอกสารการสอนและแบบฝกปฏิบัติชุดวิชาตางๆ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช 2. หนังสืออางอิง 3. หนังสืออานประกอบ 4. หลักสูตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 5. วารสาร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และสิ่งพิมพอื่นๆ สื่อโสตทัศน ไดแก 1. เทปเสียงประจําชุดวิชา (เฉพาะชุดวิชาเกา) 2. เทปเสียงรายการวิทยุกระจายเสียง 3. เทปเสียงสอนเสริม (เฉพาะชุดวิชาเกา) 4. เทปเสียงประกอบชุดวิชา 5. เทปเสียงแนะแนวการศึกษา การตรวจรับสื่อการศึกษา สํ านักบรรณสารสนเทศจะจัดสงสื่อการศึกษาให มุม มสธ. เปนประจําทางพัสดุไปรษณีย ในการจัดสงแตละครั้งจะมีหนังสือนําสงแนบไปพรอมแบบตอบรับทุกครั้ง (ศึกษาตัวอยางแบบตอบรับ สื่อการศึกษาประเภทตางๆ ไดในภาคผนวก ) แนวปฏิบัติในการตรวจรับสื่อการศึกษา 1. เมื่อไดรับกลองพัสดุไปรษณียภัณฑ โปรดตรวจดูรายการสื่อการศึกษาในแบบตรวจรับที่ได แนบมาพรอมกับกลองไปรษณียภัณฑ และทําเครื่องหมาย a ลงในชองที่กําหนด ทุกรายการจนครบ ทั้งในฉบับจริงและฉบับสําเนา พรอมทั้งลงนามผูตรวจรับ และวัน เดือน ที่ตรวจรับ สำนักบรรณสารสนเทศ

Upload: others

Post on 02-Mar-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

บทที่ 3การตรวจรับและจัดเก็บสื่อการศึกษาใน มุม มสธ.

สํ านักบรรณสารสนเทศ จัดหาสื่อการศึกษาที่มีเนื้อหาเกี่ยวของกับการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย ตลอดจนสื่อการศึกษาประเภทอางอิงพื้นฐาน และที่เปนประโยชนตอการศึกษา คนควาโดยทั่วไป สงไปใหบริการ ณ มุม มสธ. โดยสํ านักไดดํ าเนินการดานงานเทคนิคหองสมุดเรียบรอยแลวมุม มสธ. สามารถจัดเก็บและใหบริการผูใชไดทันที สื่อการศึกษาดังกลาวจํ าแนกประเภทไดดังนี้

สื่อสิ่งพิมพ ไดแก1. หนังสือเอกสารการสอนและแบบฝกปฏิบัติชุดวิชาตางๆ ของมหาวิทยาลัยสุโขทัย

ธรรมาธิราช2. หนังสืออางอิง3. หนังสืออานประกอบ4. หลักสูตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช5. วารสาร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช และสิ่งพิมพอ่ืนๆ

สื่อโสตทัศน ไดแก1. เทปเสียงประจํ าชุดวิชา (เฉพาะชุดวิชาเกา)2. เทปเสียงรายการวิทยุกระจายเสียง3. เทปเสียงสอนเสริม (เฉพาะชุดวิชาเกา)4. เทปเสียงประกอบชุดวิชา5. เทปเสียงแนะแนวการศึกษา

การตรวจรับส่ือการศึกษาสํ านักบรรณสารสนเทศจะจัดสงสื่อการศึกษาให มุม มสธ. เปนประจํ าทางพัสดุไปรษณีย

ในการจัดสงแตละครั้งจะมีหนังสือนํ าสงแนบไปพรอมแบบตอบรับทุกครั้ง (ศึกษาตัวอยางแบบตอบรับสื่อการศึกษาประเภทตางๆ ไดในภาคผนวก ข)

แนวปฏิบัติในการตรวจรับส่ือการศึกษา1. เมื่อไดรับกลองพัสดุไปรษณียภัณฑ โปรดตรวจดูรายการสื่อการศึกษาในแบบตรวจรับที่ได

แนบมาพรอมกับกลองไปรษณียภัณฑ และทํ าเครื่องหมาย a ลงในชองที่กํ าหนด ทุกรายการจนครบทั้งในฉบับจริงและฉบับสํ าเนา พรอมทั้งลงนามผูตรวจรับ และวัน เดือน ป ที่ตรวจรับ

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 2: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

2. เก็บแบบตรวจรับฉบับตัวจริงใสแฟมไวเปนหลักฐานของ มุม มสธ. สวนฉบับสํ าเนาโปรดสงคืนสํ านักบรรณสารสนเทศ เพื่อจะไดทราบวา มุม มสธ. ไดรับสื่อการศึกษาที่สงให เรียบรอยแลว

3. ในกรณีที่มีปญหาเกี่ยวกับการตรวจรับ โปรดรีบแจงสํ านักบรรณสารสนเทศ ทราบทันทีตามกรณี ดังนี้

3.1 กรณีที่สื่อการศึกษาที่ไดรับไมครบถวนตามรายการในแบบตรวจรับ หรือไดรับเกินจํ านวนที่ระบุไวในแบบตรวจรับ โปรดระบุขอมูลในชองหมายเหตุ

3.2 กรณีสื่อการศึกษาที่ไดชํ ารุด ไมสามารถซอมแซมได และประสงคจะสงคืนสํ านักบรรณสารสนเทศเพื่อขอเปลี่ยน โปรดกรอกขอมูลในแบบแจงและสงคืนวัสดุการศึกษาที่ ไดรับชํ ารุด(มุม มสธ. 08) สงแนบไปพรอมกับสื่อการศึกษาที่ชํ ารุดนั้น

การจัดเก็บส่ือการศึกษาเมื่อไดตรวจรับสื่อการศึกษาเรียบรอยแลว โปรดแยกประเภท และจัดเก็บเพื่อใหสะดวกตอการ

ใหบริการ ดังนี้1. หนังสือชุดวิชา หนังสือชุดวิชา ประกอบดวยเอกสารการสอนและแบบฝกปฏิบัติ หนังสือชุดวิชาแตละชุด

จะมีเลขรหัสประจํ าชุดวิชา ซึ่งเลขรหัสดังกลาวกํ าหนดจากเลขประจํ าสาขาวิชาตาง ๆ ดังนี้10 สาขาวิชาศิลปศาสตร15 สาขาวิชานิเทศศาสตร20 สาขาวิชาศึกษาศาสตร30 สาขาวิชาวิทยาการจัดการ40 สาขาวิชานิติศาสตร50 สาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ51 สาขาวิชาพยาบาลศาสตร60 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร70 สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร (เดิมคือ สาขาวิชาคหกรรมศาสตร)80 สาขาวิชารัฐศาสตร90 สาขาวิชาสงเสริมการเกษตรและสหกรณ96 สาขาวิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 3: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

การจัดเรียงหนังสือชุดวิชา ใหปฏิบัติดังนี้ 1. เรียงลํ าดับตามเลขรหัสประจํ าชุดวิชา จากเลขนอยไปหาเลขมาก 2. ชุดวิชาเดียวกัน โปรดเรียงเอกสารการสอน (T=Text book) จนครบทุกหนวยกอนแลวจึงเรียงแบบฝกปฏิบัติ (W= Work book) ทั้งนี้เอกสารการสอนชุดวิชามี 15 หนวย สวนเอกสารการสอนรายวิชามี 8 หนวย 3. ในกรณีที่เอกสารการสอนและแบบฝกปฏิบัติอยูในเลมเดียวกัน โปรดจัดเรียงตามลํ าดับหนวยจากเลขนอยไปหาเลขมาก

หนังสือชุดวิชา STOU STOU STOU 10121 T 10121 T 10121 W

1-7 8-15 1-7 มสธ. มสธ. มสธ.

2. หนังสืออางอิงและหนังสืออานประกอบ หนังสืออางอิง ไดแก หนังสือที่มีสัญลักษณวงกลมสีแดงเหนือเลขเรียกหนังสือ สวนในตัวเลมจะประทับอักษร R สีแดงเหนือเลขเรียกหนังสือบนซองบัตรและบัตรยืม หนังสืออางอิงจะใชประโยชนในการคนควาอางอิงโดยทั่วๆ ไป สวนหนังสืออานประกอบ ไดแก หนังสือที่จัดสรรไวใหนักศึกษาอานประกอบเพื่อเสริมความรูทั่วไป

หนังสืออางอิงและหนังสืออานประกอบ สํ านักบรรณสารสนเทศจัดหมวดหมูโดยใชระบบหองสมุดรัฐสภาอเมริกัน (LC)

การจัดหมวดหมูในระบบหอสมุดรัฐสภาอเมริกัน จํ าแนกหมวดหมูวิชาตางๆ ออกเปน 21หมวดใหญ โดยใชอักษรโรมันเปนสัญลักษณแทนเนื้อหาวิชาในแตละหมวด (ดูรายละเอียดการจํ าแนกหมวดหมูวิชาของระบบ L.C. ไดที่ภาคผนวก ก) ในหมวดใหญแบงออกเปน หมวดยอย โดยใชอักษรโรมัน 2-3 ตัว (สวนใหญ 2 ตัว) เปนสัญลักษณแทนเนื้อหาวิชาในแตละหมวดยอย จากหมวดยอยแตละหมวดแบงเนื้อหาสาระเปนหมูยอยโดยใชตัวเลข 1-4 หลัก คือ 1-9999 เติมหลังอักษรโรมันในหมวดยอย ตัวเลขที่เติมนี้มีทั้งที่เปนตัวเลขจํ านวนเต็ม และตัวเลขทศนิยม และอาจมีการแบงยอยอีกระดับหนึ่งเปนการแบงยอยตามภาษาของเนื้อหา ตามพื้นที่ภูมศิาสตร หรืออ่ืนๆ อีกดวย

การกํ าหนดเลขเรียกหนังสือ (Call Number) ของหองสมุดที่สํ านักบรรณสารสนเทศใชอยูกํ าหนดโดยใชหมวดหมูในระบบ LC ตามดวยตัวเลขประจํ าตัวผูแตง หรือเลขหนังสือ เลขปลิขสิทธิ์หรือปที่พิมพ เลมที่ (Volume) ฉบับที่ (copy) ในกรณีที่เปนหนังสือที่มีหลายเลมจบหรือมีซํ้ ามากกวา1 ฉบับ ตามลํ าดับซึ่งไมจํ าเปนตองมีทุกเลม

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 4: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

วดหมูยอยตามระบบ LC……… .ู ยอยตามเนื้อหาสาระ……………ขประจํ าตัวผูแตงหรือเลขหนังสือ…ิขสิทธิ์หรือปที่พิมพ มีซํ้ าเปน ฉบับที่ 2

ลมที่ ในหองสมุด

แสจุดขอที่ 2.

หม หม เล ปล

LB…………… 1044.7………. C4…………… 2004………… v.1………… .. มสธ.

(-- มีเฉ

ที่มีกา

ตัวอยางเลขเรียกหนังสือที่ปรา

แบงหมูยอยตาม

การจัดเรยีงหนังสืออางอิง สํ านักบรรณสารสนเทศ กํ าหนดใหหนังสืออาง

ดงใหเห็นเดนชัดวาเปนหนังสืออางอิงไมอนุญาตใหนํ าอกลมสีแดงอยูเหนือเลขเรียกหนังสือบนสต๊ิกเกอร ซึ่งตงปกใน(Verso)ของหนังสืออางอิงโดยใหจัดเรียงหนังสือไมุม มสธ. ไดรับจากสํ านักบรรณสารสนเทศ สวนรายละ10) ซึ่งจะกลาวถึงตอไป

ำนักบ

รณส

……………….…

LC 5201 T5 c.2….……

พาะหนังสือรายปและหนังสือรพิมพหลายครั้ง--)

กฏบนสันหนังสือ

ประเทศ .T5 คือ Thailand

ารสนเทศ

S 616 .T5……………. ด64ก6 2546 มสธ.ร

อิงทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีสัญลักษณอกนอกหองสมุด โดยกํ าหนดใหใชสัญลักษณิดอยูที่สันหนังสือและภายในตัวเลมที่หนาหลังวเปนกลุมตางหาก ไมปะปนกับหนงัสืออ่ืนๆเอียดวิธีการจัดเรียง ใหศึกษาจากขอ 2.1) –

Page 5: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

ตัวอยางการจัดเรียงหนังสืออางอิง

nLB15ศ62546มสธ.

nLB15B3มสธ.

nLB1028ผ4มสธ.

nLB1028.3ส7มสธ.

nLB1028.3T5มสธ.

หมายเหตุ n คือ จุดกลมสีแดงแสดงสัญลักษณหนังสืออางอิง

การจัดเรียงหนังสืออานประกอบสํ านักบรรณสารสนเทศ กํ าหนดวิธีการจัดเรียงลํ าดับหนังสืออานประกอบตามลํ าดับ

เลขเรียกหนังสือที่ปรากฏบนสันหนังสือ ดังนี้2.1 จัดเรียงลํ าดับอักษรโรมันในหมวดใหญ A-Z2.2 จัดเรียงตามลํ าดับอักษรโรมันในหมวดยอยซึ่งมีอักษร 2-3 ตัวตามลํ าดับ A-Z

และเรียงตามลํ าดับตัวเลขในหมูยอย ซึ่งมี 1-4 หลัก จากเลขนอยไปหาเลขมาก ในกรณีที่เลขหมูยอยมีเลขทศนิยมดวย ใหเรียงเลขจํ านวนเต็มไวกอนตัวเลขทศนิยม ภายใตตัวเลขทศนิยมใหเรียงลํ าดับเลขทศนิยมตามคาของจํ านวนนอยไปหามากเชนเดียวกัน (เชน .45 มีคานอยกวา .8 ดังนั้น จึงตองเรียง.45 ไวกอน .8 เปนตน)

ดังตัวอยาง

G525ท4มสธ.

GV436ส7มสธ.

GV436.5ก6มสธ.

HF5582ส5มสธ.

HF5582.6ก3มสธ.

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 6: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

RC 268.5ส7มสธ.

RC268.52ว6มสธ.

RC268.6ส7มสธ.

RC268.65อ7มสธ.

2.3 จัดเรียงหนังสือที่ไดเลขหมูเดียวกันไวดวยกันทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยจัดเรียงลํ าดับหนังสือภาษาไทยไวกอนภาษาอังกฤษ ภายใตกลุมหนังสือแตละภาษาที่ไดเลขหมูเดียวกัน ใหเรียงลํ าดับตามเลขประจํ าตัวผูแตงในภาษานั้น คือภาษาไทย ก-ฮ ภาษาอังกฤษ A-Z และตามลํ าดับตัวเลขภายใตอักษรประจํ าผูแตง

ดังตัวอยาง

LB 1028 บ6 มสธ.

LB 1028 พ8 มสธ.

LB 1028 D6 มสธ.

LB 1029 S4 มสธ.

LB 1031 ท6 มสธ.

LB 1031 A7 มสธ.

2.4 จัดเรียงหนังสือที่เลขเรียกหนังสือเดียวกัน ที่มีลิขสิทธิ์หรือปพิมพกํ ากับไวดวยกันตามลํ าดับป โดยเรียงปแรกสุดที่มีไวกอนปหลังตามลํ าดับจนถึงปใหมลาสุดที่หองสมุดมี

ดังตัวอยาง

Z 52.4 ย7 2542 มสธ.

Z 52.4 ย7 2545 มสธ.

Z 52.4 ย7 2546 มสธ.

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 7: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

2.5 จัดเรียงหนังสือที่ไดเลขหมูยอยเดียวกัน แตตางกันที่บางเลมมีการใหเลขหมูยอยละเอียดตามเนื้อเรื่องยอยหรือชื่อทางภูมิศาสตร โดยเรียงลํ าดับหนังสือที่แบงหมูยอยละเอียดนี้ไวหลังหนังสือที่แบงหมูยอยธรรมดา

ดังตัวอยาง

HV 2502 ส7 มสธ.

HV

2502.5 จ6 มสธ.

HV 5086 P5 มสธ.

HV 5086 .H3 C3 มสธ.

1 2 3 4

หมายเหตุ เลมที่ 2 มีเลข .5 เปนเลขหมูยอยละเอียดแสดงเนื้อเรื่องยอยเลมที่ 4 มีเลข .H3 เปนเลขหมูยอยละเอียดแสดงชื่อทางภูมิศาสตร

2.6 จัดเรียงหนังสือที่ไดเลขหมูเดียวกัน แตตางกันที่ผูแตง โดยเรียงลํ าดับหนังสือที่ไดเลขผูแตงตามอักษร ก-ฮ หรือ A-Z ตามลํ าดับ ภายใตอักษรผูแตงเดียวกันใหเรียงลํ าดับตามเลขประจํ าตัวผูแตงจากเลขคานอยไปหาเลขคามาก การเรียงลํ าดับเลขผูแตงหนังสือใหถือเสมือนวาเปนเลขทศนิยมดังนั้นจึงตองเรียงลํ าดับตามคาของเลขจากนอยไปหามาก เชน ก5 ก65 ก8 เปนตน (เสมือนเปนเลขทศนิยม .5, .65 และ .8 ซึ่งมีคาตามลํ าดับ)

ดังตัวอยาง

QA276.12จ79มสธ.

QA276.12จ9มสธ.

QA276.12S48มสธ.

QA276.12S5มสธ.

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 8: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

2.7 จัดเรียงหนังสือที่ไดเลขหมูและเลขผูแตงเดียวกัน แตตางกันที่ชื่อเรื่อง โดยเรียงลํ าดับตามเลขที่กํ าหนดใหสํ าหรับหนังสือชื่อเรื่องนั้นๆ (เลขชื่อเรื่องเปนเลขทศนิยม) ซึ่งอยูตอจากเลขผูแตงหนังสือ

ดังตัวอยาง

QA276ว6มสธ.

QA276ว6ก6มสธ.

QA276.12จ9น8มสธ.

QA276.12จ9ส3มสธ.

1 2 3 4

QA276.12S351มสธ.

QA276.12S48มสธ.

QA276.12S5มสธ.

QA276.12S5T7มสธ.

5 6 7 8

หมายเหตุ ตัวอยางที่ 2, 3, 4 และ 8 เลขชื่อเรื่องหนังสือ ก6 , น8 , ส3 และ T7

2.8 จัดเรียงหนังสือที่มีหลายเลมจบไวตามลํ าดับจากเลมแรกไปจนถึงเลมสุดทาย

ดังตัวอยาง

LB15

E57v.1มสธ.

LB15

E57v.2มสธ.

LB15

E57v.3มสธ.

LB15

E57v.4มสธ.

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 9: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

LB25ว63ล.1มสธ.

LB25ว63ล.2มสธ.

LB25ว63ล.3มสธ.

LB25ว63ล.4มสธ.

หมายเหตุ v.1 – v.4 หมายถึง volume 1 - 4 ซึ่งหนังสือรายการนี้มี 4 เลมจบ และถาเปน หนังสือภาษาไทยใชตัวยอ ล. 1-4 หมายถึง เลมที่ 1-42.9 จัดเรียงหนังสือที่มีซํ้ าฉบับ หรือซํ้ าเลมกันไวตามลํ าดับจากฉบับที่ 1 ไปถึงฉบับ

สุดทาย

ดังตัวอยาง HV 2502 น6 ฉ.1 มสธ.

HV 2502 น6 ฉ.2 มสธ.

HV 5801 H62 c.1 มสธ.

HV 5801 H62 c.2 มสธ.

หมายเหตุ ฉ.1 , ฉ.2 หมายถึง ฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 ซึ่งแสดงวามีซํ้ าเลมกัน และถาเปนหนังสือภาษาอังกฤษใชตัวยอ c หมายถึง copy 1-2

2.10 จัดเรียงหนังสือที่มีหลายเลมจบ และซํ้ าฉบับหลายเลมไวตามลํ าดับโดยใชเกณฑขอ 6) และ 7) โดยเรียงหนังสือเลมที่ Volume เดียวกัน และมีซํ้ าฉบับกันไวตามลํ าดับจากเลขนอยไปหาเลขมาก

ดังตัวอยาง QA 76.8 ช7 ล.1 ฉ.1 มสธ.

QA 76.8 ช7 ล.1 ฉ.2 มสธ.

QA 76.8 ช7 ล.2 ฉ.1 มสธ.

QA 76.8 ช7 ล.2 ฉ.2 มสธ.

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 10: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

3. หลักสูตรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยจัดทํ าหลักสูตรการศึกษาของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ทั้ง 12 สาขา

วิชา ทุกปการศึกษา และสํ านักบรรณสารสนเทศจะจัดสงให มุม มสธ. เปนประจํ าทุกป เมื่อไดรับแลวใหจัดเรียงตามลํ าดับเลขรหัสประจํ าสาขาวิชา และปที่พิมพ (ปการศึกษา) โดยมีสัญลักษณอักษรโรมันC อยูเหนือเลขเรียกหนงัสือ โดยจัดเก็บในกลองเอกสารเพื่อสะดวกในการใช

ดังตัวอยาง

Cur STOU 10 2544 มสธ.

Cur STOU 10 2545 มสธ.

Cur STOU 20 2546 มสธ.

Cur STOU 20 2547 มสธ.

4. วารสารมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จัดทํ าวารสารสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งเปนวารสาร วิชาการ

ราย 4 เดือน กํ าหนดออกปละ 3 ฉบับ สํ านักบรรณสารสนเทศจะจัดสงใหเปนประจํ าทุกฉบับเมื่อไดรับแลวโปรดตรวจสอบและทํ าเครื่องหมาย aลงในบัตรหลักฐานทะเบียนวารสาร (สีเหลือง) ซึ่งสํ านักจัดสงให โดยใหจัดเรียงวารสารลงในกลองหรือชั้นหนังสือ เพื่อใหสะดวกแกการคนหา สวนบัตรหลักฐานทะเบียนวารสารใหจัดเก็บไวในแฟมเอกสารที่จัดเตรียมให (โปรดศึกษาตัวอยางบัตรหลักฐานทะเบียนวารสารในภาคผนวก ข)

5. จุลสาร ขาวสาร และสิ่งพิมพอื่นๆ สิ่งพิมพประเภท จุลสาร ขาวสารและสิ่งพิมพอ่ืน ๆ สํ านักบรรณสารสนเทศจะสงใหเปนครั้งคราว การจัดเก็บสิ่งพิมพประเภทดังกลาว โปรดจัดเก็บในแฟมหรือในกลองเอกสาร ดังนี้

5.1 จุลสาร จัดเก็บในกลองเอกสาร โดยเรียงตามลํ าดับหัวเรื่อง5.2 ขาวสารอื่นๆ จัดเรียงในกลองเอกสารชื่อวารสารหรือขาวสาร หรือถาไมมีกลอง

เอกสารจะจัดเก็บในแฟมเอกสารก็ได โดยใหฉบับลาสุดอยูดานบนสุด ในกรณีที่วารสารหรือขาวสารนั้นมีขนาดยาวสามารถติดบอรดไวใหบริการได ก็อาจใชฉบับลาสุดติดบอรดใหบริการ

สำนักบรรณสารสนเทศ

Page 11: บทที่ 3 - ห้องสมุด มสธ.บทท 3 การตรวจร บและจ ดเก บส อการศ กษาใน ม ม มสธ. ส

6. เทปเสียงประเภทตางๆเทปเสียงที่สํ านักบรรณสารสนเทศสงไปใหบริการใน มุม มสธ. สวนใหญเปนเทป

เสียงที่ใชประกอบการเรียนชุดวิชาตางๆ ซึ่งจัดหมวดหมู โดยใชเลขรหัสประจํ าชุดวิชาและกํ าหนดอักษรยอกํ ากับ ดังนี้

TC-T หมายถึง เทปเสียงประจํ าชุดวิชา (Cassette Tape-Text) มีเฉพาะชุดวิชาที่ผลิตต้ังแตเริ่มแรก

TC-R “ เทปเสียงรายการวิทยุกระจายเสียง (Cassette Tape-Radio)TC-Tu “ เทปเสียงสอนเสริมTC-S “ เทปเสียงประกอบชุดวิชา (Cassette Tape-Supplement)TC “ อ่ืนๆ เชน เทปเสียงแนะแนวการศึกษา เปนตน

การจัดเก็บเทปเสียงตางๆ ดังกลาว โปรดจัดเก็บในตูเก็บเทปตลับที่สํ านักบรรณสารสนเทศไดจัดสงไปให โดยเรียงตามลํ าดับคลายการเรียงหนังสือชุดวิชาที่ไดกลาวแลวขางตนดังนี้

6.1 เรียงตามลํ าดับเลขรหัสประจํ าชุดวิชา จากเลขนอยไปหาเลขมาก6.2 ภายใตเลขรหัสประจํ าชุดวิชาแตละชุดวิชา เรียงลํ าดับประเภทเทปเสียงดังนี้

- เทปเสียงประจํ าชุดวิชา (TC-T)- เทปเสียงรายการวิทยุกระจายเสียง (TC-R)- เทปเสียงประกอบชุดวิชา (TC-S)- เทปเสียงสอนเสริม (TC-Tu)

ทั้งนี้บางชุดวิชาอาจมีเทปเสียงไมครบทุกประเภท เพราะมหาวิทยาลัยไมไดผลิต6.3 ภายใตเทปเสียงแตละประเภทเรียงตามลํ าดับที่ของตลับเทป (กรณีที่มีมากกวา

1 ตลับในแตละประเภท)6.4 เทปเสียงอ่ืนๆ เชน เทปเสียงแนะแนวการศึกษา จัดเรียงแยกไวอีกกลุมโดย

เฉพาะไมเรียงปะปนกับเทปเสียงที่ใชประกอบการเรียนชุดวิชาตางๆ6.5 ควรทํ าบัตร (Guide Card) ค่ันระหวางเทปเสียงแตละชุดวิชาและแตละประเภทสำนักบรรณสารสนเทศ