บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร...

22
1 บทที4 อุปกรณสํานักงานและเครื่องใชไฟฟาในบาน 4.1 แหลงพลังงานไฟฟา ประเทศไทยมีไฟฟาใชเปนครั้งแรกเมื่อ 20 กันยายน .. 2427 ในรัชสมัยรัชกาลที5 มีการติดตั้งเครื่อง กําเนิดไฟฟา เดินสายไฟฟา และติดตั้งโคมไฟฟา โดยใชบริเวณกระทรวงกลาโหมในปจจุบันเปนโรงผลิตไฟฟา นับจากนั้นการไฟฟาในประเทศไทยไดมีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน การผลิตพลังงานไฟฟาในประเทศไทย แบงตามเชื้อเพลิงที่ใชในการผลิตจะเปนดังนีจะเห็นวาพลังงานที่เปลี่ยนรูปไปเปนไฟฟาใหเราใชนั้นสวนใหญ ไดมาจากแกสธรรมชาติ พลังงานน้ําที่ไดมาจากการสรางเขื่อนตาง นั้น ผลิดไฟฟาไดเพียง 4.7 % เทานั้นเอง กาซธรรมชาติ 70.0 % ดีเซล 0.2 % มาเลเซีย 0.3 % สปป. ลาว 1.6% พลังน้ํา 4.7% ลิกไนต 12.6% น้ํามันเตา 1.0% ถานหินนําเขา 8.2% พลังงานทดแทน1.4% ประเทศไทย มีอัตราการเจริญเติบโตการใชไฟฟา เพิ่มขึ้นปละ 6-8 % หรือประมาณปละ 1,000-1,200 เม กะวัตต พยากรณโดยใชขอมูลจากอดีต คาดวาความตองการไฟฟาในระยะ 15 ปขางหนา (2549-2564) จะเพิ่มขึ้นเฉลี่ยรอยละ 5.5 หรือ 1,500-2,000 เมกกะวัตต ตอป เมื่อป .. 2553 พบวามีการใชไฟฟาสูงสุด เมื่อ วันที10 พฤษภาคม เวลาประมาณ 14.30 . คิดเปนกําลังไฟฟา 24,009.90 เมกกะวัตต 4.1.1 การผลิตไฟฟาสําหรับชุมชน เราสามารถแบงแหลงผลิตไฟฟาโดยจําแนกตามชนิดของพลังงานที่นํามาใชในการหมุนเครื่อง กําเนิดไฟฟาไดดังนี1. โรงไฟฟาพลังน้ํา จะใชพลังงานจลนของการไหลของน้ําจากที่สูงลงมายังที่ต่ําไปหมุนกังหันซึ่งติด กับเพลาของเครื่องกําเนิดไฟฟา เพื่อใหการผลิตไฟฟาเปนไปอยางตอเนื่อง จําเปนตองสรางเขื่อนหรืออางเก็บน้ํา ขนาดใหญ เพื่อที่จะไดมีน้ําสําหรับผลิตกระแสไฟฟาตลอดเวลา 2. โรงไฟฟาจากพลังงานความรอน อาศัยไอน้ําเดือดไปหมุนกังหันของเครื่องกําเนิดไฟฟา ตองใช เชื้อเพลิงในการตมน้ําใหรอน เชน ถานหิน น้ํามันเตา แกสธรรมชาติ โรงไฟฟาประเภทนี้จะตองอยูใกลแหลงน้ํา และ แหลงเชื้อเพลิง เชน โรงงานไฟฟาพลังงานความรอนพระนครใต ตั้งอยูริมแมน้ําเจาพระยา ใชน้ํามันเตาและ แกสธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง โรงงานไฟฟาพลังงานความรอนที่อําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง ตั้งอยูบริเวณเหมือง ถานหินลิกไนต เปนตน

Upload: others

Post on 06-Jan-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

1

บทท่ี 4 อุปกรณสํานักงานและเคร่ืองใชไฟฟาในบาน 4.1 แหลงพลังงานไฟฟา ประเทศไทยมีไฟฟาใชเปนครั้งแรกเมื่อ 20 กันยายน พ.ศ. 2427 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 5 มีการติดต้ังเคร่ืองกําเนิดไฟฟา เดินสายไฟฟา และติดต้ังโคมไฟฟา โดยใชบริเวณกระทรวงกลาโหมในปจจุบันเปนโรงผลิตไฟฟา นับจากน้ันการไฟฟาในประเทศไทยไดมีการพัฒนาเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน การผลิตพลังงานไฟฟาในประเทศไทย แบงตามเช้ือเพลิงที่ใชในการผลิตจะเปนดังน้ี จะเห็นวาพลังงานที่เปล่ียนรูปไปเปนไฟฟาใหเราใชน้ันสวนใหญไดมาจากแกสธรรมชาติ พลังงานนํ้าที่ไดมาจากการสรางเขื่อนตาง ๆ น้ัน ผลิดไฟฟาไดเพียง 4.7 % เทาน้ันเอง

กาซธรรมชาติ 70.0 %

ดีเซล 0.2 %

มาเลเซีย 0.3 %

สปป. ลาว 1.6%

พลังนํ้า 4.7%

ลิกไนต 12.6%

นํ้ามันเตา1.0%

ถานหินนําเขา8.2%

พลังงานทดแทน1.4%

ประเทศไทย มีอัตราการเจริญเติบโตการใชไฟฟา เพ่ิมขึ้นปละ 6-8 % หรือประมาณปละ 1,000-1,200 เมกะวัตต พยากรณโดยใชขอมูลจากอดีต คาดวาความตองการไฟฟาในระยะ 15 ปขางหนา (ป2549-2564) จะเพ่ิมขึ้นเฉลี่ยรอยละ 5.5 หรือ 1,500-2,000 เมกกะวัตต ตอป เมื่อป พ.ศ. 2553 พบวามีการใชไฟฟาสูงสุด เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม เวลาประมาณ 14.30 น. คิดเปนกําลังไฟฟา 24,009.90 เมกกะวัตต 4.1.1 การผลิตไฟฟาสําหรับชุมชน เราสามารถแบงแหลงผลิตไฟฟาโดยจําแนกตามชนิดของพลังงานที่นํามาใชในการหมุนเครื่องกําเนิดไฟฟาไดดังน้ี 1. โรงไฟฟาพลังนํ้า จะใชพลังงานจลนของการไหลของนํ้าจากที่สูงลงมายังที่ตํ่าไปหมุนกังหันซึ่งติดกับเพลาของเครื่องกําเนิดไฟฟา เพ่ือใหการผลิตไฟฟาเปนไปอยางตอเน่ือง จําเปนตองสรางเขื่อนหรืออางเก็บนํ้าขนาดใหญ เพ่ือที่จะไดมีนํ้าสําหรับผลิตกระแสไฟฟาตลอดเวลา 2. โรงไฟฟาจากพลังงานความรอน อาศัยไอนํ้าเดือดไปหมุนกังหันของเครื่องกําเนิดไฟฟา ตองใชเช้ือเพลิงในการตมนํ้าใหรอน เชน ถานหิน นํ้ามันเตา แกสธรรมชาติ โรงไฟฟาประเภทน้ีจะตองอยูใกลแหลงนํ้า และ แหลงเช้ือเพลิง เชน โรงงานไฟฟาพลังงานความรอนพระนครใต ต้ังอยูริมแมนํ้าเจาพระยา ใชนํ้ามันเตาและแกสธรรมชาติเปนเช้ือเพลิง โรงงานไฟฟาพลังงานความรอนที่อําเภอแมเมาะ จังหวัดลําปาง ต้ังอยูบริเวณเหมืองถานหินลิกไนต เปนตน

Page 2: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

2

3. โรงไฟฟาพลังงานกังหันแกส ใชแรงดันแกสที่รอนจัด มีความดันสูงไปหมุนแกนของเคร่ืองกําเนิดไฟฟา หลักการมีดังน้ี อัดอากาศใหมีปริมาตรเล็กลงอยางรวดเร็ว ทําใหอุณหภูมิของอากาศภายในสูงขึ้น เมื่อฉีดเช้ือเพลิง เชน นํ้ามัน หรือแกสบางชนิดเขาไปผสม จะทําใหเกิดการเผาไหมอยางรวดเร็วไดแกสที่รอนจัด และมีแรงดันสูง เมื่อผานแกสน้ีเขาไปยังกังหัน สามารถผลักใหแกนของเครื่องกําเนิดไฟฟาหมุนได 4. โรงงานไฟฟาพลังงานความรอนรวม ในระบบการผลิตไฟฟาจากโรงไฟฟาพลังงานกังหันแกสในขอ 3 จะมีการปลอยแกสเสียอุณหภูมิสูงออกมาจากระบบ สามารถนําแกสน้ีไปใชเปนเช้ือเพลิงไดอยางคุมคา เชน ที่อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดสรางโรงไฟฟาพลังความรอนรวมโดยสรางโรงไฟฟาพลังงานไอนํ้าอีกโรงหน่ึง 5. โรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียร ใชปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชัน โดยยิงนิวตรอนเขาไปชนกับนิวเคลียสของยูเรเนียม 235 เกิดพลังงานความรอนมหาศาล จะไดนิวตรอนตัวใหมจากปฏิกิริยา นิวตรอนเหลาน้ีจะไปชนกับนิวเคลียสตัวอื่น ๆ เกิดปฏิกิริยาตอเน่ืองกันไปเปนลูกโซ นําความรอนที่ไดไปทําใหนํ้าเดือดกลายเปนไอ แลวนําไอนํ้าไปหมุนกังหันของเครื่องกําเนิดไฟฟา 4.1.2 การสงพลังงานไฟฟา ไฟฟาที่ถูกสงออกจากโรงผลิตไฟฟาจะถูกแปลงใหมีความตางศักยสูงเปน 230,000 โวลต เพ่ือใหสามารถสงไปไดไกล ลดความสูญเสียเน่ืองจากความตานทานของสายไฟฟา และไมทําใหตองใชสายไฟขนาดใหญ เมื่อกระแสไฟฟามาถึงสถานีไฟฟายอย ตองลดความตางศักยใหนอยลงตามความเหมาะสมของแหลงที่จะนําไฟฟาไปใช สําหรบับานหรือที่อยูอาศัย ความตางศักยจะลดลงเหลือ 220 โวลต หรือ 380 โวลต (ดูรูปที่ 4.1 ) สายไฟฟาแรงสูงเปนโลหะตัวนําที่ไมมีฉนวนหุม เพ่ือใหระบายความรอนไดดี และมีนํ้าหนักเบา มักนิยมใชอลูมิเนียม จะมีขนาดพ้ืนที่หนาตัดตางกันขึ้นอยูกับความตางศักยไฟฟาที่ตกครอมสายไฟน้ัน สายไฟฟาแรงสูงจึงมีอันตราย ไมควรเขาไปใกลบริเวณที่ต้ังเสาไฟฟาแรงสูง โดยปกติที่เสาจะมีลูกถวยกระเบื้องยึดสายไฟ และเปนฉนวนก้ันระหวางสายไฟกับเสาไฟ แตถาลูกถวยเกิดชํารุดหรือรั่ว ไฟฟาอาจผานเสาลงสูดินได การใชโทรศัพทมือถือควรอยูหางจากสายไฟฟาแรงสูงไมนอยกวา 20 เมตร

Page 3: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

3

รูป 4.1 การสงพลังงานไฟฟา และลักษณะเสาไฟฟาแรงสูง 4.1.3 การใชไฟฟาในบานและอาคาร การนําไฟฟาจากโรงงานไฟฟาไปใชในบาน จะตองตอสายไฟฟาผานมาตรไฟฟาของแตละบาน วงจรไฟฟาภายในบานจะประกอบดวยสายไฟ สะพานไฟ ฟวส สวิตช เตาเสียบและเตารับ จากน้ันจึงนําเคร่ืองใชไฟฟามาใชงานเพ่ือเปล่ียนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานรูปอื่นตามที่ตองการ (จะกลาวถึงในหัวขอ 4.4 ) สายไฟที่ตอมาจากมาตรไฟฟาจะมี 2 เสน เสนหน่ึงเปนสายกลาง อีกเสนหน่ึงเปนสายมีไฟหรือสายมีศักยไฟฟา สายไฟทั้งสองเสนจะตอเขาแผงไฟฟาหลักซึ่งเปนศูนยรวมของวงจรไฟฟาภายในบาน เน่ืองจากเปนสายรวมที่ตองรับกระแสไฟฟาทั้งหมดภายในบาน สายที่ใชจึงตองมีขนาดใหญ สายไฟฟาภายในบานสวนใหญทําดวยลวดทองแดงหุมฉนวน เรียกวาสายหุมฉนวน ฉนวนที่นิยมใชคือ PVC ( Polyvinyl Chloride) สามารถทนความรอนและความช้ืนไดดี สายไฟฟาที่ใชภายในบานปกตินิยมใช 2 ขนาด คือ ขนาดเบอร 16 เปนสายเมน หรือสายหลัก ( main wire) (มีพ้ืนที่หนาตัดของสายทองแดงเทากับ0.00203 ตารางน้ิว) สายเบอร 18 ซึ่งมีขนาดพ้ืนที่หนาตัดเล็กกวา (0.00128 ตารางน้ิว) เปนสายแยกไปยังเคร่ืองใชไฟฟาหรือเตารับ วงจรไฟฟาภายในบานจะตอกันแบบขนาน ดังรูป 4.2 การตอแบบขนานจะทําใหอุปกรณไฟฟาแยกกันอยูคนละวงจร ถาอุปกรณไฟฟาชุดใดชํารุด หรือขัดของก็จะไมกระทบกระเทือนวงจรชุดอื่น ๆ

Page 4: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

4

รูป 4.2 ตัวอยางการตอวงจรไฟฟาภายในบาน 4.2 ประเภทของเครื่องใชไฟฟา 4.2.1 เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานความรอน หมายถึงเคร่ืองใชไฟฟาที่เปล่ียนพลังงานไฟฟาไปเปนพลังงานความรอน เชน เตาไฟฟา เตารีดไฟฟา หมอหุงขาวไฟฟา กระทะไฟฟา เตาปงขนมปง เตาอบขนม หลักการทํางานของเครื่องใชไฟฟาประเภทน้ีคือ เมื่อกระแสไฟฟาไหลผานลวดความตานทานจะมีความรอนเกิดขึ้น พลังงานความรอนที่ไดจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับปริมาณกระแสไฟฟา ความตานทาน และเวลาที่กระแสไฟฟาไหลผาน ลวดความตานทานที่ใชจะมีสมบัติเฉพาะ คือมีจุดหลอมเหลวสูง และใหความรอนอยางรวดเร็ว ที่นิยมใชคือลวดนิโครม (โลหะผสมระหวางนิกเกิลกับโครเมียม) เครื่องใชไฟฟาประเภทน้ีจะใชพลังงานไฟฟาสูงมาก จะตองมีเครื่องควบคุมอุณหภูมิ ที่เรียกวา เทอรโมคัพเพิล (thermo couple) เปนแผนโลหะคู ทําดวยโลหะตางชนิดกัน เมื่ออุปกรณไฟฟามีอุณหภูมิสูง แผนโลหะจะขยายตัว โคงงอ ทําใหจุดสัมผัสผละออกจากกัน กระแสไฟฟาจะไมไหลผานอุปกรณ แตเมื่ออุณหภูมิเย็นลง แผนโลหะจะเบนกลับมายังตําแหนงเดิม อุปกรณไฟฟาจะเริ่มทํางานอีกครั้ง 4.2.2 เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานแสงสวาง ไดแกหลอดไฟฟาที่พบกันทั่วไป จะแบงเปน 2 ชนิดคือ หลอดไฟฟาธรรมดา ไสหลอดทําดวยลวดโลหะท่ีมีจุดหลอมเหลวสูง เชนทังสเตน ภายในหลอดแกวบรรจุแกสเฉื่อย เชน อารกอน ไวเพ่ือปองกันมิใหไสหลอดขาดงาย เมื่อกระแสไฟฟาไหลผานไสหลอดทังสเตน ไสหลอดจะรอนมากจนเปลงแสงออกมา หลอดไฟฟาอีกชนิดหน่ึง คือ หลอดวาวแสง หรือหลอดฟลูออเรสเซนต (Fluorescent) ภายในหลอดจะบรรจุไอปรอท ที่ผิวดานในของหลอดจะฉาบไวดวยสารเคมีที่เปลงแสงไดเมื่อไดรับรังสีอัลตราไวโอเลต (สารฟอสเฟอเรสเซนต หรือ ฟลูออเรสเซนต) เมื่อใหกระแสผานไสหลอด อิเล็กตรอนจะถูกปลอยออกมาจากไสหลอดว่ิงชนอะตอมของไอปรอท ทําใหไอปรอทแผรังสีอัลตราไวโอเลตออกมา รังสีน้ีจะถูกสารวาวแสงดูดกลืนแลวปลอยคล่ืนแมเหล็กไฟฟาที่ตาเรามองเห็นได (แสงสวาง) ออกมา วงจรไฟฟาของหลอด

Page 5: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

5

วาวแสงจะซับซอนกวาของหลอดธรรมดา จะตองมี สตารตเตอร (starter) และ บัลลาสต (Ballast) เปนสวนประกอบของวงจรดวย หลอดวาวแสงและหลอดไฟธรรมดาที่มีกําลังไฟฟาเทากัน หลอดวาวแสงจะใหความสวางมากกวา และจะมีการสูญเสียพลังงานไฟฟาในรูปของความรอนนอยกวาหลอดธรรมดา 4.2.3 เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานเสียง อุปกรณประเภทน้ีจะเปล่ียนพลังงานไฟฟาใหเกิดเปนการสั่นสะเทือนในชวงความถ่ี 20 Hz ถึง 20 kHz เชนกระด่ิงไฟฟา หรือออดไฟฟา 4.2.4 เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานกล อุปกรณไฟฟาที่เปล่ียนพลังงานไฟฟาเปนพลังงานกลจะมีมอเตอร และเครื่องควบคุมความเร็วของการหมุนของมอเตอรเปนสวนประกอบท่ีสําคัญ อุปกรณไฟฟาประเภทน้ีไดแก พัดลม เครื่องดูดฝุน เครื่องเปาผม เครื่องผสมอาหาร (food mixer) เครื่องบดอาหาร (Blender) อุปกรณไฟฟาเหลาน้ีจะกลาวหลักการทํางานอยางละเอียดอีกครั้งในหัวขอ 4.4 อุปกรณไฟฟาที่เปนอิเล็กทรอนิกส เชน เครื่องขยายเสียง นาฬิกาดิจิตอล วิทยุ โทรทัศน เทปบันทึกเสียง เครื่องเลนวิดีโอ หรือ วีซีดี ไมไดกลาวรวมไวในที่น้ีเพราะ อุปกรณเหลาน้ีมีช้ินสวน เชน ทรานซิสเตอร วงจรไอซี และสารก่ึงตัวนําอีกหลายชนิด ซึ่งคอนขางซับซอน มีหลักการทํางานและทฤษฎีที่จะตองเรียนรูโดยเฉพาะ 4.3 การคํานวณพลังงานไฟฟา 4.3.1 กําลังไฟฟาของเครื่องใชไฟฟา อุปกรณไฟฟาจะตองการกําลังไฟฟาเทาใดน้ัน ดูไดจากคา วัตต ที่เขียนไวที่อุปกรณไฟฟาน้ัน อุปกรณไฟฟาบางชนิดอาจไมไดบอกกําลังไฟฟาเปนวัตตไว แตจะบอกคาความตางศักยไฟฟา หนวยเปนโวลต และบอกคากระแสไฟฟาที่ใช ในหนวยแอมแปร เราสามารถนํามาหา กําลังไฟฟา ในหนวยเปนวัตต ไดจากสูตร P = V I เมื่อ P แทนกําลังไฟฟามีหนวยเปน วัตต V แทนความตางศักยไฟฟามีหนวยเปนโวลต I แทน กระแสไฟฟามีหนวยเปนแอมแปร ตัวอยาง 4.1 เตารีดเครื่องหน่ึงกินกระแส 5 แอมแปร ใชกับไฟบาน 220 โวลต จะกินกําลังไฟฟาเทาใด

วิธีทํา กําลังไฟฟา (P) = 220 V × 5 A = 1100 Watt 4.3.2 การคิดคาไฟฟา คาใชจายในการใชพลังงานไฟฟา จะตองคํานวณการใชไฟฟาออกมาเปน กิโลวัตต-ช่ัวโมง หรือ ยูนิต (Unit) หรือ หนวย โดยคํานวณไดดังน้ี

1000

tPW ×=

เมื่อ W แทน พลังงานไฟฟาที่ใช หนวยเปน กิโลวัตตช่ัวโมง หรือ ยูนิต หรือหนวย P แทน กําลังไฟฟาของเครื่องใชไฟฟาหนวยเปนวัตต t แทน เวลาที่ใชงาน หนวยเปนช่ัวโมง การคิดคาไฟฟา ไดมีการประกาศใชโครงสรางอัตราคาไฟฟาใหม เมื่อ 3 ตุลาคม 2543 ใหมีการแสดงคาตนทุนการผลิตไฟฟาที่แทจริง ปรากฏในใบแจงหน้ี/ใบเสร็จรับเงินคาไฟฟาดวย เพ่ือสงเสริมใหมีการใชไฟฟา

Page 6: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

6

อยางมีประสิทธิภาพ และเพ่ือใหเกิดความโปรงใส ผูใชไฟฟาสามารถตรวจสอบได ใบเสร็จรับเงินในปจจุบัน จะแสดง คาไฟฟาฐาน + คาไฟฟาผันแปร (คาเอฟที) + คาบริการ + ภาษีมูลคาเพ่ิม คาไฟฟาผันแปรหรือคาเอฟที( Ft : Fuel Adjustment Charge ปจจบุันเปล่ียนเปน Energy Adjustment Charge) ตนทุนไฟฟาที่เกิดจาการใชนํ้ามันและแกสธรรมชาติ ราคาคาเช้ือเพลิงจะลอยตัวตามตลาดโลก (รัฐบาลประกาศราคาเช้ือเพลิงลอยตัวเมื่อ พ.ศ. 2535) แตเน่ืองจากการประกาศคาไฟฟาใหมอันเน่ืองมาจากความผันแปรของราคาเช้ือเพลิงทุกเดือนเปนเรื่องยุงยากและไมสะดวกทั้งตอผูใชไฟฟาและการไฟฟา จึงไดมีการแยกตนทุนเช้ือเพลิงสวนที่เปล่ียนแปลงไปจากการกําหนดคาไฟฟาน้ีออกมาและเรียกสวนน้ีวาตนทุนผันแปรหรือคาเอฟที และมีการรวมตนทุนผันแปรตัวอื่น ๆ เชน ผลกระทบจากอัตราแลกเปลี่ยน อัตราเงินเฟอ ฯลฯ เขาไปดวย โครงสรางอัตราคาไฟฟาใหมมี ดังน้ี

ประเภท1.1 การใชไฟฟาไมเกิน 150 หนวยตอเดือน ประเภท 1.2 การใชไฟฟาเกิน 150 หนวยตอเดือน

5 หนวย (หนวยที่ 1-5 ) เปนเงิน 0.00 บาท

10 หนวยตอไป (หนวยที่ 6-15 ) หนวยละ 1.3576 บาท

10 หนวยตอไป (หนวยที่16-25 ) หนวยละ 1.5445 บาท

10 หนวยตอไป (หนวยที่ 26-35 ) หนวยละ 1.7968 บาท

65 หนวยตอไป (หนวยที่ 36-100) หนวยละ 2.1800 บาท

50 หนวยตอไป (หนวยที่ 101-150) หนวยละ 2.2734 บาท

250 หนวยตอไป(หนวยที่ 151-400) หนวยละ 2.7781 บาท

เกินกวา 400 หนวย (หนวยที่ 401 เปนตนไป ) หนวยละ 2.9780 บาท

คาบริการรายเดือน เดือนละ 8.19 บาท

150 หนวยแรก (หนวยที่ 1-150 ) หนวยละ 1.8047 บาท

250 หนวยตอไป (หนวยที่ 151-400)หนวยละ 2.7781 บาท

เกินกวา 400 หนวย (หนวยที่ 401 เปนตนไป ) หนวยละ 2.9780 บาท

คาบริการรายเดือน เดือนละ 40.90 บาท

การคํานวณคาไฟฟาจะตองรูจํานวนเครื่องใชไฟฟา และเครื่องใชไฟฟาแตละชนิดใชกระแสไฟฟาในการทํางานเทาใด

Page 7: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

7

ตัวอยาง บานหลังหน่ึงมีเครื่องใชไฟฟา 4 ชนิด สามารถคํานวณการใชไฟฟาไดดังตอไปน้ี

1. หลอดวาวแสงขนาด 60 วัตต จํานวน 5 ดวง เปดใชงานวันละ 8 ช่ัวโมง ใชไฟฟาวันละ

10005860 ×× = 2.4 หนวย หรือเดือนละ (30 x 2 ) = 72 หนวย

2. ตูเย็นขนาด 125 วัตต จํานวน 1 เครื่อง เปดใชงาน 24 ช่ัวโมง ต้ังเทอรโมสตัดไวทําใหคอมเพรสเซอรทํางานวันละ 8 ช่ัวโมง

ตูเย็นกินไฟฟาวันละ 1000

8125 × = 1 หนวย หรือ เดือนละ ( 30 x1) = 30 หนวย

3. โทรทัศนสี ขนาด 100 วัตต จํานวน 1 เครื่อง เปดใชงานวันละ 3 ช่ัวโมง

โทรทัศนสีกินพลังงานไฟฟาวันละ1000

3100 × = 0.3 หนวย หรือเดือนละ 9 หนวย

4. หมอหุงขาวขนาด 600 วัตต จํานวน 1 ใบ ใชงานวันละ 30 นาที ( 0.5 ช่ัวโมง )

หมอหุงขาวใชไฟวันละ 1000

5.0600 × = 0.3 หนวย หรือเดือนละ 9 หนวย

รวมการใชพลังงานไฟฟาในบานหลังน้ี เดือนละ 72 + 30 + 9 + 9 = 120 หนวย

การประมาณการโดยการคํานวณขางตนอาจมีความคลาดเคล่ือนได เพราะเครื่องใชไฟฟาบางประเภท เชน ตูเย็น เครื่องปรับอากาศ แตละยี่หอมีอัตราการกินไฟไมเทากัน การทํางานในแตละวันขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมและการต้ังอุณหภูมิดวย

บานหลังน้ีใชไฟฟาไมเกิน 150 หนวย จัดเปนผูใชไฟฟาประเภทท่ี 1.1

5 หนวย (หนวยที่ 1-5 ) ( 5 × 0) = 0 บาท

10 หนวยตอไป (หนวยที่ 6-15 ) (10× 1.3576 ) = 13.576 บาท

10 หนวยตอไป (หนวยที่16-25 ) (10×1.5445) = 15.445 บาท

10 หนวยตอไป (หนวยที่ 26-35 ) (10×1.7968) = 17.968 บาท

65 หนวยตอไป (หนวยที่ 36-100) ( 65 × 2.1800) = 141.700 บาท

20 หนวยที่เหลือ (120 -100 ) ( 20 × 2.2734 ) = 45.468 บาท

คาบริการรายเดือน 8.190 บาท

รวมเปนเงิน 242.347 บาท คิดคา FT ( Energy Adjustment Charge) หรือคาไฟฟาผันแปร ในแตละเดือนโดยดูไดจากใบเสร็จรับเงิน หรือสอบถามจากไดการไฟฟาฯ การคิดคา Ft คิดไดโดยการนําเอาคา Ft ในแตละเดือน x จํานวนหนวยที่ใช ตัวอยางเชน คา Ft เดือน พฤษภาคม 2544 = 24.44 สตางค ตอหนวย

Page 8: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

8

คิดคา Ft 120 x 24.44 สตางค = 29.328 บาท

รวมเปนเงิน 242.347 + 29.328 = 271.675 บาท

ภาษีมูลคาเพ่ิม 7% = 19.01725 บาท

รวมเปนเงินคาไฟฟาที่ตองชําระทั้งสิ้น = 290.75 บาท

ในกรณีที่คํานวณคาไฟฟาแลวเศษสตางคมีคาตํ่ากวา 12.50 สตางค จะทําการปดเศษลงใหเต็มจํานวนทุกๆ 25 สตางคและถาเศษสตางคมีคาเทากับหรือมากกวา 12.50 สตางค จะทําการปรับเศษขึ้นใหเต็มจํานวนทุกๆ 25 สตางค

4.4 เครื่องใชไฟฟาภายในบานและสํานักงาน 4.4.1 โทรสาร หรือแฟกซ (Fax) เปนสิ่งที่พบเห็นในสํานักงานทั่วไป เครื่องน้ีจะตอกับสายโทรศัพท ใชสงขอความหรือรูปภาพบนกระดาษไปยังผูรับที่อยูไกล ๆ ไดอยางฉับพลัน รูปรางหนาตาของเครื่องโทรสารเปนดังรูปที่ 4.4.1

รูปที่ 4.4.1 เครื่องโทรสาร หลักการเบื้องตน เครื่องโทรสารถูกประดิษฐโดย อเล็กซานเดอร เบน (Alexander Bain) เมื่อปค.ศ. 1843 รูปรางของเครื่องโทรสารในสมัยน้ันตางจากในสมัยน้ีลิบลับ ประกอบดวยลูกกล้ิง(Rotating drum) เมื่อจะสงแฟกซใหนํากระดาษท่ีจะสงวางทาบบนลูกกล้ิงน้ี โดยหันหนาสวนที่เปนขอความที่สงอยูดานนอก การทํางานของเครื่องโทรสารจะเปนดังน้ี

- มีเซนเซอรตรวจจับแสงขนาดเล็ก พรอมเลนส และแหลงกําเนิดแสง - เซนเซอรจะติดต้ังอยูบนแขนซึ่งยื่นลงไปตรงหนากับกระดาษบนลูกกล้ิง - แขนนี้สามารถเล่ือนไปจากดานหนึ่งของกระดาษไปยังอีกดานหน่ึงของกระดาษไดขณะที่ลูกกล้ิง

หมุน

Page 9: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

9

น่ันคือการทํางานของเครื่องโทรสารจะคลายกับเครื่องกลึงในโรงงานอุตสาหกรรม เซนเซอรรับแสง สามารถจะตรวจจับพ้ืนที่เล็ก ๆ ของกระดาษ ประมาณ 0.01 ตารางน้ิว หรือ 0.25 ตารางมิลลิเมตร พ้ืนที่กระดาษตรงบริเวณเล็ก ๆ น้ี จะมีสองแบบคือไมเปนสีดํา ก็เปนสีขาว ขณะที่ลูกกล้ิงหมุน เซนเซอรจะตรวจสอบในหน่ึงบรรทัด จากน้ันจะขยับลงมาดานลางเพ่ือตรวจสอบบรรทัดตอไป ทําเชนน้ีทีละบรรทัด การสงขอความไปตามสายโทรศัพท จะใชเทคนิคงาย ๆ ถาจุดที่ตรวจจับไดเปนสีขาว เครื่องโทรสารจะสงสัญญาณความถ่ีหน่ึงออกไป เชน 800 Hz ถาเปนสีดําก็จะสงสัญญาณอีกความถ่ีหน่ึง เชน 1,300 Hz เครื่องโทรสารที่เปนฝายรับ ก็จะมีลูกกล้ิงเชนเดียวกัน แตจะมีปากกาทําเครื่องหมายลงบนกระดาษที่ติดบนลูกกล้ิง เมื่อเครื่องรับไดรับสัญญาณ 1,300 Hz ปากกาจะขีดลงไปบนกระดาษ เมื่อไดรับสัญญาณ 800 Hz ปากกาจะไมมีการเขียนอะไรลงไปบนกระดาษ เครื่องโทรสารในยุคปจจุบัน ไมมีการใชลูกกล้ิงเปนสวนประกอบในการทํางานอีกตอไป มิหนําซ้ําทํางานไดเร็วกวาอีกดวย หลักการทํางานก็ยังคลายเครื่องโทรสารยุคเกา ขั้นตอนการทํางานเปนดังน้ี

- เครื่องสงโทรสารจะมีเซนเซอรอานขอความหรือรูปภาพบนกระดาษ จะมีกลไกการปอนกระดาษ ซึ่งทําใหสามารถใสกระดาษครั้งละหลายแผนในการสงแตละครั้ง

- มีวงจรไฟฟาที่นําเอาสัญญาณไฟฟา(สัญญาณสีขาวและสีดํา)ที่เซนเซอรอานไดไปเขารหัส (Encode)เปนสัญญาณไฟฟาสําหรับสงไปตามสายโทรศัพท

- เครื่องรับโทรสารจะมีกลไกที่ทําใหเกิดจุดหรือเคร่ืองหมายบนกระดาษ สอดคลองกับสัญญาณไฟฟาที่ไดรับจากเครื่องสง จะไดรูปภาพหรือขอความเหมือนกับตนฉบับ

รูปรางหนาตาของเครื่องโทรสารสมัยใหมจะเปนดังรูปที่ 4.4.2

รูปที่ 4.4.2 เครื่องโทรสารปจจุบัน

ถาเราสังเกตเครื่องโทรสารใหละเอียดจะพบวาคุณสมบัติของเครื่องโทรสารจะเปนแบบ CCITT (ITU-T) Group 3 Facsimile machine. คําวา Group 3 จะบอกใหเราทราบวาเคร่ืองโทรสารที่เราใชมีคุณสมบัติ 4 ประการดังตอไปนี้

1. สามารถสื่อสารกับเครื่องโทรสารใด ๆ ที่เปน Group 3 หรือ G 3 ดวยกัน 2. มีความละเอียดในแนวนอนเทากับ 203 พิกเซลตอน้ิว หรือ 8 พิกเซลตอมิลลิเมตร 3. ความละเอียดในแนวดิ่งตางกันอยู 3 แบบดังน้ี แบบมาตรฐาน(Standard) 98 บรรทัดตอน้ิว หรือ 3.85 บรรทัดตอมิลลิเมตร

Page 10: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

10

แบบละเอียด (fine) 196 บรรทัดตอน้ิว หรือ 7.7 บรรทัดตอมิลลิเมตร แบบละเอียดมาก (superfine) 391 บรรทัดตอน้ิว หรือ 15.4 บรรทัดตอมิลลิเมตร 4. ความสามารถในการสงขอมูลสูงสุดอยูที่ 14,400 บิตตอวินาที (bps) และอาจลดลงเหลือ 12,000

bps, 9,600 bps, 7,200 bps, 4,800 bps หรือ 2,400 bps ถาสายโทรศัพทมีสัญญาณรบกวนมาก โดยทั่วไป ตัวเซนเซอรรับแสงในเคร่ืองโทรสาร จะเปน CCD หรือ โฟโตไดโอด ที่จัดเรียงกันเปนรูปตาราง (Photo diode sensing array) จํานวน 1,728 ตัวหรือ 203 พิกเซลตอน้ิว น่ันหมายถึงสามารถสแกนหนากระดาษ 1 หนาเพียงครั้งเดียว หลอดไฟที่สองไปยังกระดาษตนฉบับจะเปนหลอดฟลูออเรสเซนต ซึ่งสวางชัดเจนพอที่จะทําใหเซนเซอรตรวจจับโดยไมผิดพลาด จากรูปที่ 4.4.3 เครื่องสงโทรสารจะสแกนแตละบรรทัดของกระดาษ บรรทัดที่ถูกเสนสีแดงขีดทับคือบรรทัดที่กําลังถูกสแกน สัญญาณที่จะไดจากเซนเซอรจะประกอบดวยจุดขาวดํา ดังแสดงไวในกรอบสีแดง ดานลางของรูปภาพ สัญญาณขาว-ดําเหลาน้ีจะถูกเขารหัสเปนสัญญาณไฟฟาแลวสงผานไปตามสายโทรศัพท

รูปที่ 4.4.3

ในการสงขอความเต็มหนากระดาษ สมมติวาความละเอียดของเครื่องโทรสารเปนแบบมาตรฐานคือ 1,728 บิต จํานวนขอความในกระดาษมี 1,145 บรรทัด ขนาดขอมูลที่เครื่องโทรสารสงคือ

1,728 pixels per line * 1,145 lines = approximately 2,000,000 bits of information

เพราะตองลดปริมาณขอมูลในการสง จึงตองทําการบีบอัดใหมีขนาดเล็กลง เครื่องโทรสารแบบGroup 3 จะมีเทคนิคการอัดขอมูลอยู 3 ลักษณะคือ Modified Huffman(MH) , Modified Read(MR) หรือ Modified modified Read (MMR) หลักการบีบอัดขอมูล คือบริเวณใดท่ีมีขอมูลซ้ํากันเชนบรรทัดน้ันเปนชองวางเสียสวนใหญ สวนที่เปนชองวางติด ๆ กัน จะถูกแทนดวยขอมูลชุดหน่ึง ซึ่งการบีบอัดขอมูลน้ีจะชวยลดขนาดไดถึง 2 เทาเปนอยางนอย

เครื่องโทรสารที่เปนฝายรับ เมื่อไดรับสัญญาณแฟกซ จะทําการถอดรหัส (decode) และคลายการบีบอัด พรอมจัดเรียงขอมูลใหเหมือนตนฉบับ จากน้ันพิมพขอมูลที่ไดลงบนกระดาษ การพิมพขอความหรือรูปภาพลงบนกระดาษ มีอยูหลายวิธี คือ

Page 11: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

11

- Thermal paper อาศัยความรอนในการพิมพขอมูล ซึ่งเปนวิธีที่ใชกันมากสําหรับเครื่องโทรสารในยุค 1980 จะใชกระดาษที่เคลือบดวยสารเคมี สารเคมีน้ีเมื่อถูกความรอนจะเปลี่ยนตัวมันเองเปนสีดํา วิธีน้ีมีขอไดเปรียบหลายประการคือ เครื่องพิมพชนิดน้ีราคาถูก และเครื่องพิมพไมมีช้ินสวนใด ๆ ตองเคล่ือนไหว และไมตองสิ้นเปลืองหมึก หรือผาหมึก เพราะกระดาษท่ีเคลือบสารเคมจีะแทนหมึกโดยปริยาย และประการสุดทายเครื่องพิมพแบบน้ีทนทาน ใชงานไดนาน ขอดอยของการพิมพแบบน้ีคือกระดาษจะมีสีจางลงอยางรวดเร็วหรือไมก็เปนสีดําสนิทถาวางทิ้งไวในที่มีอากาศรอนจัด เชน ในรถยนตที่จอดไวกลางแดด

- Thermal film จะมีความกวางเทากับริบบิ้นของหมึกพิมพ ซึ่งจะละลายบนกระดาษเม่ือถูกความรอน กลไกการทํางานจะซับซอนกวา แบบกระดาษ แตซับซอนนอยกวาแบบพนหมึก

- แบบพนหมึก (inkjet) ลักษณะเดียวกับการพิมพของเครื่องพิมพแบบอิงคเจต

- แบบเลเซอร (laser printer)

- แบบเอกสารในคอมพิวเตอร เราสามารถใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องรับโทรสารได โดยใช แฟกซ โมเด็มที่รองรับการทํางานแบบ Group 3 เปนตัวเช่ือมตอระหวางคอมพิวเตอรกับสายโทรศัพท เราสามารถเก็บเอกสารไวในฮารดดิสก จะพิมพออกมาหรือลบทิ้งเมื่ออานจบแลวก็ได

4.4.2 โทรศัพท เมื่อเราตองการสนทนากับใครสักคนหน่ึงที่อยูหางไกล เราเพียงหยิบโทรศัพท หมนุหมายเลขเจ็ด แปดหลัก เราก็จะสามารถติดตอสนทนากับคน ๆ น้ัน ไดทันที ถาเปนสมัยคุณปูคุณยายังสาว การจะสงขาวสารหรือแจงเรื่องราวใหใครไดรับทราบ จะตองใชเวลาสงจดหมายเปนเดือนหรือเปนอาทิตย โทรศัพทจึงเปนเครื่องมืออํานวยความสะดวกที่นาทึ่งช้ินหน่ึง โทรศัพทถูกประดิษฐขึ้นมาเมื่อป ค.ศ. 1920 สวนประกอบของโทรศัพทในยุคน้ันเปนอยางไร ในยุคน้ีก็ยังคงอยูอยางน้ันไมเปล่ียนแปลง ถาเรามีโทรศัพทรุนโบราณและยังไมชํารุด สามารถนํามาเสียบกับเตารับที่ผนัง ก็จะใชงานไดทันที สวนประกอบภายในของโทรศัพทอยางงายมีดังน้ี

รูป 4.4.4 สวนประกอบพ้ืนฐานของโทรศัพท 1. สวิตช ใชเช่ือมตอโทรศัพทกับเครือขายโทรศัพท เรียกเต็ม ๆ วา hook switch เมื่อเรายกหูโทรศัพท สวิตชน้ีจะเช่ือมตอวงจร

Page 12: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

12

2. หูฟงหรือลําโพงขนาดเล็ก มีอิมพีแดนซประมาณ 8 โอหม 3. ไมโครโฟน ในอดีต ไมโครโฟนจะทําดวยผงคารบอนอันแนนอยูระหวางแผนโลหะบาง ๆ 2 แผน เมื่อคล่ืนเสียงกระทบแผนโลหะ แผนโลหะจะบีบอัดผงถาน ใหแนนหรือหลวมตาง ๆ กันไป ทําใหคาความตานทานของผงคารบอนเปล่ียนไปตามจังหวะบีบอัดของคล่ืนเสียง สัญญาณไฟฟาที่ผานผงคารบอนจึงมากนอยตางกันตามคาความตานทานท่ีเปล่ียนไป เราสามารถหมุนโทรศัพทงาย ๆ น้ีโดยการกดแลวปลอยสวิตชอยางรวดเร็ว ซึ่งจะทําใหเกิดลูกคล่ืนที่เรียกวา พัลส (pulse dialing) ถาเรากดสวิตชขึ้นลงสัก 4 ครั้ง ศูนยโทรศัพทจะรูทันทีวาเราหมุนเลข 4 โทรศัพทที่ใชงานจริง โทรศัพทที่กลาวถึงในรูปที่แลว มีปญหาขณะที่เราพูด เราจะไดยินเสียงของเราออกที่หูฟงของเราดวย จึงตองมีขดลวด ที่เรียกวา duplex coil เพ่ือใชก้ันเสียงขณะที่พูดไมใหออกที่หูฟงของเรา นอกจากน้ีโทรศัพทที่ใชงานจริงจะตองมีกระด่ิงหรือสัญญาณเตือนเมื่อมีสายเขาและมีแปนตัวเลข (touch tone keypad)เมื่อกดหมายเลขใด ๆ จะมีเสียงจากการกดตาง ๆ กัน และจะมีแหลงกําเนิดความถ่ี(Frequency generator) สรางพัลซที่เกิดจากการกดตัวเลขนั้นดวย หนาตาของโทรศัพทที่ใชงานจริงจะเปนดังรูป 4.4.5

รูป 4.4.5 สวนประกอบของโทรศัพทปจจุบัน

ไมโครโฟนที่ใชในโทรศัพทจะเปนแบบอิเล็กทรอนิกส ไมใชผงถานเปนสวนประกอบอีกตอไป กระด่ิงของโทรศัพทก็จะเปนวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ใหเสียงไพเราะ การเช่ือมตอของสายโทรศัพท เริ่มตนจากเตารับที่ผนัง จะมีสายโทรศัพทอยู 4 เสน คือ แดง เขียว เหลือง และดํา สายที่ตอกับเครื่องรับโทรศัพทคือ สีเขียว และแดง เสนสีเขียวและสีแดงน้ีจะตอกับกลองเล็ก ๆ กลองหน่ึง(entrance bridge)กอนที่จะตอไปยังตูชุมสายที่เห็นอยูขางถนน จากตูชุมสายที่อยูขางถนนจะมีสายเคเบิลซึ่งประกอบสายคูทําดวยทองแดง ประมาณ 100 คูหรือมากกวาขึ้นอยูกับบริเวณน้ันมีการติดต้ังโทรศัพทประจําบานมากนอยเพียงใด สายเคเบิลจะตอไปยัง digital concentrator ขององคการโทรศัพทหรือบริษัทที่ใหบริการโทรศัพท

Page 13: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

13

ตัว concentrator จะแปลงสัญญาณเสียงใหเปนระบบดิจิตอล โดยมี sample rate ที่ 8,000 ครั้งตอวินาที ที่ resolution 8 บิต นําสัญญาณเสียง(ที่เปล่ียนเปนสัญญาณดิจิตอล)น้ีรวมกับของผูอื่น ที่กําลังใชบริการ สงสัญญาณรวมน้ีไปในสายไฟเบอรออปติกเสนเดียวไปยังสํานักงานขององคการโทรศัพท ในขณะเดียวกับเรายกหูโทรศัพท สวิตชจะเช่ือมตอทําใหเราไดยินสัญญาณ dial tone ถาเราใชโทรศัพทภายใน สวิตชจะทําการเช่ือมตอเปนวงจรปดระหวางเรา กับผูรับสายภายในที่ทํางานน้ัน ถาเปนสายทางไกล สัญญาณเสียงจะถูกแปลงใหเปนสัญญาณดิจิตอลรวมกับสัญญาณเสียงของผูอื่นอีกหลายลานสัญญาณ สัญญาณจะเดินทางในสายเสนใยนําแสงไปยังตําแหนงที่เราเรียก บางครั้งสัญญาณอาจถูกสงผานดาวเทียม หรือจานไมโครเวฟ ทดลองทําโทรศัพทเลนเอง เราสามารถนําโทรศัพท 2 เครื่องมาสรางระบบการติดตอภายในหรือ intercom ไดดังน้ี

รูป 4.4.6 การนําโทรศัพท 2 เครื่องมาตอกันเปนอินเตอรคอม นําสายโทรศัพทเสนสีเขียวตอกับเสนสีเขียว หรือใหเปนสาย common เสนสีแดงตอกับถานไฟฉายขนาด 9 โวลต จายกระแสประมาณ 30 มิลลิแอมป และตออนุกรมกับตัวตานทาน 300 โอหม สัญญาณเสียงจะถูกรวมกับกระแสไฟฟา (ใหนึกถึงภาพผงคารบอนที่มีความตานทานตางกัน ตามจังหวะเสียงกระทบ) ลําโพงของเครื่องรับอีกฟากหน่ึงจะแปลงสัญญาณไฟฟาที่ไมสม่ําเสมอน้ีเปนสัญญาณเสียง การตอตามรูปน้ีสามารถใชสายโทรศัพทตอกันไดไกลหลายกิโลเมตร สิ่งที่อินเตอรคอมของเรายังทําไมไดคือ สงเสียงกริ่งเตือนใหผูรับอีกฝายหน่ึงยกหูโทรศัพท การที่จะเรียกใหฝายรับ รับรูการโทรศัพทน้ัน สามารถทําความเขาใจไดงาย ๆ ดังน้ี ใหนึกถึงสวิตชบอรดที่ทํางานดวยมือของสํานักงานองคการโทรศัพท บนแผงจะประกอบดวยคูสายโทรศัพทจากบานทุกหลัง มารวมกัน สายแตละคูจะตอกับแจ็คตัวเมียวางเรียงรายบนแผง เหนือแจ็คจะมีหลอดไฟ และมีแบตเตอรีขนาดใหญสําหรับจายไฟใหกับวงจรโทรศัพท เมื่อใดก็ตามที่มีการยกหูโทรศัพท hook switch จะทําใหกระแสไหลครบวงจรระหวางสํานักงานขององคการ ฯ กับบานหลังน้ัน หลอดไฟเหนือแจ็คซึ่งตอกับคูสายโทรศัพทของบานหลังน้ันจะสวาง พนักงานน่ังอยูหนาสวิตชบอรด จะนําแจ็กตัวผูเสียบเขาในรูแจ็กที่หลอดไฟสวางน้ัน แลวถามวาตองการพูดกับโทรศัพทหมายเลขใด พนักงานจะสงสัญญาณซึ่งเปนเสียงกริ่ง ไปยังเครื่องโทรศัพทที่ฝายรับน้ัน และรอจนมีผูรับ เมื่อมีการรับสายแลว พนักงานจะเช่ือมตอสายโทรศัพทระหวางเครื่อง 2 เครื่องน้ัน เหมือนกับระบบอินเตอรคอมในรูป

Page 14: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

14

4.4.6 เสียงสัญญาณในสายโทรศัพท (Tone) ระบบโทรศัพทในปจจุบัน เราจะใชสวิตชอิเล็กทรอนิกสแทนพนักงาน เมื่อเรายกหูโทรศัพท สวิตชจะทําใหครบวงจรและเกิดสัญญาณ dial tone เพ่ือใหเรารูวาสวิตช และเครื่องโทรศัพทใชงานได สัญญาณ dial toneประกอบดวยคล่ืนความถ่ี 350 Hz และ 440 Hz ผสมกัน เมื่อเรากดหมายเลข จะไดเสียงที่เกิดจากการกดปุมตาง ๆ กันเสียงที่ไดจะมีความถ่ีดังตารางตอไปน้ี

1,209 Hz 1,336 Hz 1,477 Hz

697 Hz 1 2 3

770 Hz 4 5 6

852 Hz 7 8 9

941 Hz * 0 #

ถาหมายเลขโทรศัพทปลายทางนั้นไมวาง จะไดยินสัญญาณไมวาง busy tone ซึ่งประกอบดวยความถ่ี 480 Hz และ 620 Hz ผสมกัน โดยดังหยุดสลับกันชวงละครึ่งวินาที แบนดวิธของสายโทรศัพท เพ่ือใหการใชโทรศัพทไดครั้งละจํานวนมาก ความถ่ีที่ใชในการสงจึงถูกจํากัดไวที่ประมาณ 3,000 Hz ความถ่ีเสียงที่เราสนทนาที่มีความถ่ีตํ่ากวา 400 Hz และสูงกวา 3,400 Hz จะถูกตัดทิ้ง น่ันคือเหตุผลวาทําไมเสียงของเราทางโทรศัพทจึงแตกตางไปจากเสียงที่พูดปกติ เราอาจทดสอบคํากลาวน้ีไดโดยใหคอมพิวเตอรสรางความถ่ีเสียง ต้ังแต 1,000 Hz จนถึง 6,000 Hz เริ่มตนสงเสียง 1,000 Hz ไปตามสายโทรศัพท พบวาผูรับสามารถไดยินเสียงที่ความถ่ีน้ีชัดเจนดี เมื่อเพ่ิมความถ่ีเปน 2,000 หรือ 3,000 Hz ก็ยังไดยินเสียงชัด และจะเริ่มไมไดยินเมื่อความถ่ีมีคาต้ังแต 4,000 Hz ขึ้นไป และจะไมไดยินเสียงที่ความถ่ี 5,000 หรือ 6,000 Hz เลย เพราะทางองคการโทรศัพทไดขลิบสัญญาณความถ่ีน้ีทิ้งไปเรียบรอยแลว 4.4.3 เตาไมโครเวฟ(Microwave Oven) เตาไมโครเวฟเปนเครื่องใชประเภทเตาอบไฟฟาที่ใหความรอน ใชในการปรุงอาหารไดทั้ง อบ ตม ผัด ยาง และนึ่ง เตาไมโครเวฟใหความรอน แตกตางจากเตาไฟฟาธรรมดา คือจะใหความรอนโดยการเปล่ียนแปลงพลังงานไฟฟากระแสสลับความถ่ีปกติที่ใชตามบาน ใหเปน ความถ่ีสูง ที่เรียกวาคล่ืนไมโครเวฟ

รูปที่ 4.4.7 หนาตาของเตาไมโครเวฟ

ความถ่ีของคล่ืนไมโครเวฟประมารณ 2,450 เมกกะเฮิรตซ หรือ 2.45 gigahertz ความถ่ีของคล่ืนแมเหล็กไฟฟาในยานน้ีนาสนใจคือ จะถูกดูดกลืนโดยนํ้า ไขมัน และน้ําตาล คล่ืนจะไปทําใหโมเลกุลของอาหารสั่นสะเทือนเกิดเปนความรอน คล่ืนความถ่ีชวงน้ีจะไมถูกดูดกลืนโดย

Page 15: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

15

พลาสติก แกว หรือเซรามิค โลหะจะสะทอนคล่ืนไมโครเวฟ ดังน้ันเราจึงไมใชภาชนะที่ทําดวยโลหะใสอาหารสําหรับเตาไมโครเวฟ แตจะใชภาชนะที่ทําดวยแกวหรือ เซรามิค เตาไมโครเวฟประกอบดวย หลอดแมกนีตรอนที่มีอายุการใชงาน 5 - 10 ป ถาดแกวสําหรับอบทนความรอน พัดลมชวย กระจายคล่ืนไมโครเวฟในเตา, ปุมต้ังเวลา, ปุมต้ังความรอน, ชองอบอาหาร ผนังประตูชวยเก็บคล่ืนไมโครเวฟใหอยู ภายในชองอบและปองกันคล่ืนรั่วไหล เมื่อใหเตาไมโครเวฟทํางาน หลอดแมกนีตรอนจะเปล่ียนพลังงานไฟฟาเปนคล่ืนแมเหล็กไฟฟา (คล่ืนไมโครเวฟ) คล่ืนไมโครเวฟจะทะลุผานช้ินอาหารและกระตุนทําใหโมเลกุลของนํ้าในอาหารเกิดการสั่นสะเทือน กลายเปนพลังงานความรอน ความรอนที่เกิดขึ้นจะเกิดพรอม ๆ กันทั้งช้ินอาหาร ไมเหมือนกับเตาอบทั่ว ๆ ไป กลาวคือ ความรอนจากดานนอกของอาหารจะเดินทางไปสูดานในของชิ้นอาหารโดยอาศัยการนําความรอน เตาไมโครเวฟจะใหความรอนเร็วกวาเตาระบบอ่ืน ๆ ถึง 4 เทา ขอจํากัดของคล่ืนไมโครเวฟ ก็คือมันไมไดทําใหเกิดความรอนทั่วถึงทั้งช้ินอาหาร ทั้งน้ีเพราะการแทรกสอดของคล่ืน ตรงบริเวณช้ินอาหารที่มีการแทรกสอดแบบเสริมกัน ตรงน้ันจะเปนบริเวณที่รอนมาก ตรงน้ันเปนการแทรกสอดคล่ืนแบบหักลางกัน ตรงน้ันจะไมมีความรอน เราแกปญหานี้โดยทําใหภาชนะที่ใสอาหารน้ันหมุน ความรอนจึงกระจายอยางสมํ่าเสมอทั่วถึง อาหารที่ปรุงสุกแลวยังคงไวซึ่งรูปราง สีสัน และคุณคาทางอาหาร อีกทั้งประหยัดพลังงานเพราะให ความรอนเฉพาะที่ ไมสูญเสียไปในบรรยากาศ ไมมีกล่ิน ภาชนะรองรับไมรอน ไมมีคราบที่เกิดจากความรอน การปฏิบัติในการใชเตาไมโครเวฟ เน่ืองจากเปนเตาที่ทําใหอาหารสุกโดยใชคล่ืนแมเหล็กไฟฟาที่มี ความถ่ี 2,450 เมกะเฮิรตซ เพ่ือความปลอดภัยควรระมัดระวังคือ การติดต้ังควรติดต้ังบนโตะที่มั่นคงแข็งแรง หางจาก ผนังดานละอยางนอย 5 ซม. ประตูเตาตองปดไดแนนสนิทไมชํารุด วัสดุเคลือบไมลอก ระหวางการใชงานหามนําวัสดุ ใด ๆ สอดใส และไมเปดประตูถาไมมีสัญญาณบอก ภาชนะที่ใชกับเตาควรเปนเครื่องแกวหรือเซรามิกทนไฟ ขอจํากัดของการใชเตาไมโครเวฟ ไมควรใชภาชนะโลหะ เพราะความรอนจะเกิดการสะทอนกลับหรอืประเภทพลาสติก เมลามีน เพราะสารท่ีเคลือบจะดูดซึมคล่ืนไมโครเวฟ อาจทําใหราวหรือไหมได ควรหลีกเล่ียงอาหารท่ีมีมุมหรือรูปทรงแหลม เพราะจะทําใหไหมในสวนดังกลาว สําหรับอาหารแชแข็งอยาปรุงทันที เพราะอุณหภูมิจะตางกันถึง 41 องศาเซลเซียส เช้ือจุลินทรียถูกทําลายไมหมด อันตรายจากการใชเตาไมโครเวฟจะเกิดขึ้นได ถาหากใชเตาไมโครเวฟที่มีคุณภาพตํ่า ซึ่งใหความรอนไมถึง 70 องศาเซลเซียส ไมสามารถฆาเช้ือโรคหรือพยาธิตัวจี๊ดที่เปนสาเหตุของโรคระบบทางเดินอาหาร หรือตัวเตามีรูรั่วซึม ทําใหมีคล่ืนไมโครเวฟหลุดลอดออกมา เน่ืองจากคล่ืนไมโครเวฟไมสามารถตรวจสอบได เพราะไมมีกล่ิน ไมมีรส ซึ่งอาจทําอันตรายถึงตาบอดได 4.4.4 ตูเย็น แนวคิดการทํางานของตูเย็นน้ันคอนขางธรรมดามาก อาศัยการที่ของเหลวดูดความรอนรอบ ๆ ตัวมันเพ่ือระเหยเปนไอ เมื่อเราเอาน้ําราดบนผิวหนัง เราจะรูสึกเย็น ทั้งน้ีเพราะนํ้าจะระเหยกลายเปนไอโดยดูดเอาความรอนจากผิวหนังของเราไปชวยในการระเหย หรือเมื่อทาแอลกอฮอล พบวาจะรูสึกเย็นกวานํ้าเสียอีก เพราะแอลกอฮอลสามารถระเหยไดที่อุณหภูมิตํ่ากวานํ้า แตในตูเย็นเราจะใชของเหลวที่เรียกวา สารทําความเย็น (refrigerant ) เปนของเหลวที่มีจุดเดือดตํ่าชวยดึงหรือดูดซับความรอนจากอาหารในตูเย็น สวนประกอบที่สําคัญของตูเย็นไดแก

1. คอมเพรสเซอร ( Compressor)

Page 16: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

16

2. ทอแลกเปล่ียนความรอน หรือ คอลยรอน (Heat – exchanging pipes) ขดคดเคี้ยวเหมือนงูอยูดานนอกของตูเย็น

3. วาลวลดแรงดัน (Expansion valve) 4. ทอแลกเปล่ียนความรอนหรือคอลยเย็น ขดคดเคี้ยวในตูเย็นเหนือชองทํานํ้าแข็ง 5. สารทําความเย็น ( refrigerant) ของเหลวที่มีจุดเดือดตํ่า เปนตัวดูดความรอนภายในตูเย็น ทําให

อุณหภูมิในตูเย็นเย็นลง ในหองเย็นอุตสาหกรรมนิยมใชแอมโมเนียเหลว ซึ่งมีจุดเดือดที่ -32 องศาเซลเชียส

รูป 4.4.4 (ก) เปนสวนภายในตูเย็น (ข) เปนคอมเพรสเซอร (ค) คือ expansion valve

หลักการทํางานของตูเย็นอธิบายเปนขั้นตอนไดดังน้ี สมมติวาตูเย็นของเราใชแอมโมเนีย ที่มีจุดเดือด -32 องศาเซลเซียสเปนสารทําความเย็น

1. คอมเพรสเซอรจะอัดนํ้ายาแอมโมเนียทําความเย็นซึ่งอยูในรูปแกส ทําใหอุณหภูมิและความดันของแกสมีคาสูงขึ้น ไหลตามทอ(บริเวณสีแดง-สม) ความรอนจะถูกถายเทออกที่ทอภายนอกบริเวณตูเย็นน้ี ทําใหแกสจะเย็นตัวลง

2. แกสแอมโมเนียที่เย็นตัวลงน้ีจะควบแนนกลายเปนแอมโมเนียเหลว (บริเวณสีมวง) และไหลผาน expansion valve

3. ของเหลวเมื่อผาน expansion valve แลว ของเหลวที่มีความดันสูงจะเปนของเหลวที่มีความดันตํ่า (บริเวณสีนํ้าเงิน) (ใหนึกภาพ expansion valve เปนเสมือนทอรูเข็มเล็ก ที่ปลายดานหน่ึงเปนของเหลวความดันสงู อีกปลายดานหน่ึงเปนของเหลวที่มีความดันตํ่าลง) เดินทางผานทอในตูเย็น

4. ของเหลวความดันตํ่าน้ีจะดูดกลืนความรอนรอบ ๆ ทอภายในตูเย็น ทําใหตูเย็นมีอุณหภูมิลดตํ่าลง ของเหลวที่ดูดกลืนความรอนจะเปล่ียนสถานะเปนแกส และไหลมาตามทอ จนถึงคอมเพรสเซอร ขบวนการอัดไอนํ้ายาใหมีแรงดันสูงจะเริ่มตนรอบใหมอีกครั้ง

ถาเราน่ังใกล ๆ ตูเย็นอาจเคยไดยินเสียงตูเย็นทํางาน เสียงน้ันเปนเสียงที่คอมเพรสเซอรทํางาน และเสียงนํ้ายาที่มีความดันสูงไหลผาน expansion valve โดยทั่วไปเราไมนิยมใชแอมโมเนียเปนสารทําความเย็น เพราะจะเปน

Page 17: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

17

อันตราย ถารั่วออกมาจากทอ แตจะใชสารท่ีประกอบดวย คลอโรฟลูออโรคารบอน chlorofluorocarbons หรือเรียกยอ ๆ วา CFC คนพบและพัฒนาโดย Du Pont ในชวงทศวรรษ 1930 มีช่ือทางการคาวา CFC-12 (dichlorodifluoromethane) มีจุดเดือดตํ่าเทากับแอมโมเนียและไมเปนอันตรายตอมนุษย แตในโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญยังคงใชแอมโมเนีย ตอมาราว ค.ศ. 1970 นักวิทยาศาสตรคนพบวา สารCFC ทําลายช้ันโอโซนในบรรยากาศ ดังน้ันในป ค.ศ. 1990 จึงไมมีผุใชสาร CFC เปนสารทําความเย็นในตูเย็นและเครื่องปรับอากาศอีกตอไป 4.4.5 เตารีดไฟฟา (Electric Iron) เปนเครื่องใชไฟฟาที่ทุกคนรูจักเปนอยางดี เราแบงชนิดของเตารีดไฟฟาโดยอาศัยลักษณะการทํางาน ไดเปน 3 แบบ คือ 1. เตารีดไฟฟาแบบธรรมดา 2. เตารีดไฟฟาแบบอัตโนมัติ และ 3. เตารีดไฟฟาอัตโนมัติแบบไอนํ้า ในที่น้ีจะกลาวถึงเตารีดไฟฟาแบบที่ 1 และ แบบที่ 2 เทาน้ัน เตารีดไฟฟาแบบธรรมดา (Electric Iron Common Type) มีหลักการทํางานดังน้ี เมื่อเสียบปลั๊กไฟฟา กระแสไฟฟาจะไหลผานขดลวดโดยตรง ไมมีชุดเทอรโมสตัทควบคุมระดับความรอน เตารีดจะรอนทันที และไมสามารถปรับระดับอุณหภูมิได ตองถอดปล๊ักไฟออก และปลอยใหเตารีดเย็นลงเอง ปจจุบันไมนิยมนํามาใชงานกันแลว สวนประกอบของเตารีดและวงจรการทํางาน เปนดังรูปขางลางน้ี

เตารีดไฟฟาแบบอัตโนมัติ (Automatic Electric Iron Type) เปนที่นิยมใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน สามารถควบคุมอุณหภูมิไดงาย โดยมีเทอรโมสตัทเปนตัวควบคุม โครงสรางและสวนประกอบท่ีสําคัญมีดังน้ี 1. ปล๊ักและสายไฟ (Plug and Electric cord) ตองเปนสายไฟชนิดทนความรอนและอุณหภูมิสูงไดดี มีปลอกหุมฉนวนของสายไฟอีกช้ัน เพ่ือปองกันมิใหฉนวนสึกกรอนไดงาย ยางหุมสายไฟมีความเหนียวและคงทนตอการใชงาน เพราะขณะใชงานสายไฟตองถูกเคล่ือนไหวอยูตลอดเวลา 2. มือจับ (Handle) ใชจับเวลารีดผา ทําจากพลาสติกทนความรอน จะออกแบบใหมีลักษณะกระชับมือ ไมหลุดจากมือไดงาย 3. ฝาครอบ(Cover) ทําจากเหล็กชุบโครเมียม ทําหนาที่ปดและยึดสวนประกอบตาง ๆ ภายในของเตารีด ปองกันไมใหผูใชงานไปสัมผัสกับสวนประกอบท่ีมีไฟฟาไหลผานในเตารีด 4. แผนเหล็กกดแผนความรอน (Pressure plate) ทําหนาที่กดแผนความรอนใหแนบสนิทกับพ้ืนของตัวเตารีด เพ่ือใหเกิดการกระจายความรอนจากแผนความรอน ไปยังแผนพ้ืนของเตารีดไดอยางทั่วถึง

Page 18: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

18

5. แผนความรอน( Heating element) หรือ ฮีตเตอร (Heater) ทําหนาที่เปล่ียนพลังงานไฟฟาใหเปนพลังงานความรอน แบงเปน 2 ชนิดคือ แผนความรอนแบบเปด และแผนความรอนแบบปด ทั้งสองชนิดภายในจะประกอบดวยลวดความรอนที่ทนความรอนไดดี ปลายทั้งสองของขดลวดจะตอกับขั้วไฟฟาที่หลักตอสายไฟ เพ่ือนํากระแสไฟฟาผานเขาไปในขดลวดความรอน แผนความรอนจะวางแนบติดกับพ้ืนของเตารีด โดยมีแผนแอสเบสทอส (Asbestos) ซอนทับอีกช้ันหน่ึง แผนความรอนชนิดปดจะเปนขดลวดความรอนที่ฝงอยูภายในพ้ืนของเตารีดหรือหลอติดกับพ้ืนเตารีด (ดังรูป ค) มีฉนวนก้ันระหวางลวดความรอนกับพ้ืนเตารีด ถาขดลวดความรอนขาดหรือชํารุดจะตองทิ้งเพียงประการเดียว ไมสามารถถอดเปล่ียนขดลวดได

6. แผนก้ันความรอน (Insulation Heating Element) หรือเรียกวาแผนแอสเบสทอส (Asbestos) แผนก้ันความรอนจะอยูระหวางแผนความรอนกับแผนเหล็กกดความรอน 7. พ้ืนเตารีด (Sole plate) เปนสวนที่สัมผัสกับผา อยูพ้ืนลางสุดของเตารีด เปนแผนเหล็กหนาแบนเรียบชุบโครเมียม สามารถกระจายความรอนบนแผนพ้ืนของเตารีดไดดี ถาเปนเตารีดแบบเกา จะทํามาจากแผนเหล็กหนามีนํ้าหนักมาก เทอะทะ ไมสะดวกตอการใชงาน ในปจจุบันไดพัฒนามาใชแผนโลหะผสมมีนํ้าหนักเบา ใชงานไดคลองและสะดวก 8. หลอดไฟสัญญาณ หรือหลอดตาแมว (Indicator lamp) ทําหนาที่เปนหลอดไฟแสดงสัญญาณการทํางานของเตารีด แสดงการตัดตอวงจรภายในของเตารีด ถาเทอรโมสตัททําการตัดวงจรไฟฟาออกจากขดลวด ความรอนหลอดตาแมวก็จะดับ หลอดไฟสวนมากจะทนแรงดันประมาณ 1.5 หรือ 2.5 โวลต แตไมเกิน 6 โวลต ที่ขาง ๆ หลอดไฟจะมีลวดความตานทาน (lamp resistor) ตอขนานกับหลอดเพ่ือแบงกระแสมิใหผานหลอดไฟมากเกินไป สวนมากขั้วหลอดไฟฟาจะเปนชนิดเกลียว

9. เทอรโมสตัท หรือ ชุดควบคุมความรอน (Thermostat temperature control) ควบคุมการทํางานของเตารีดใหมีระดับความรอนที่เหมาะสมกับผาที่จะรีด ประกอบดวยแผนทองขาว หรือแผนคอนแทค ซึ่งเปนหนาสัมผัสทําหนาที่ตัดตอวงจรไฟฟา สวนที่เปน bi-metalic จะยึดติดกับเตารีดดวยสกรูที่สามารถปรับต้ังคาระดับอุณหภูมิของเตารีดได แผนน้ีจะเปนตัวตัดตอหนาสัมผัสคอนแทคใหทํางานแบบอัตโนมติั

Page 19: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

19

โครงสรางและสวนประกอบที่สําคัญของเตารีด

Page 20: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

20

4.5 การบํารุงรักษาเครื่องใชไฟฟาและอุปกรณสํานักงาน 4.5.1 อันตรายจากกระแสไฟฟา กระแสไฟฟาจากสามารถผานรางกายของคนเราได ถาสวนใดสวนหน่ึงของรางกายไปสัมผัสกับตัวนําไฟฟาวงจรท่ีมีกระแสไฟฟาไหลอยู กลายเปนสวนหน่ึงของวงจรหรือครบวงจร รางกายจะไดรับอันตรายจากกระแสไฟฟามากหรือนอยขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการตอไปน้ี 1. ความตานทานของรางกาย รางกายมีสมบัติเปนตัวนําไฟฟาที่มีคาความตานทานเปลี่ยนแปลงไปตามจุดสัมผัส กลาวคือ อวัยวะสวนตาง ๆ ของรางกายจะมีความตานทานกระแสไฟฟาไดแตกตางกัน ผิวหนังแหง จะมีความตานทานประมาณ 100 ถึง 600 kOhm / cm2 แตถารางกายเปยกนํ้า ความตานทานของรางกายจะลดลงเหลือเพียง 1 kOhm / cm2 จากหูขวาถึงหูซายมีความตานทาน ประมาณ 100 Ohm/cm2

2. ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหลผาน เมื่อกระแสไฟฟาสามารถไหลผานรางกาย รางกายจะมีปฏิกิริยาตอบสนองอยางไรน้ันจะขึ้นกับปริมาณกระแสไฟฟา ดังตอไปน้ี

ปริมาณกระแสไฟฟาที่ผานรางกาย (มิลลิแอมแปร)

ปฏิกิริยาของรางกาย

นอยกวา 0.5 0.5 - 2 2 - 10 5 – 25

มากกวา 25

50 –100 มากกวา 100

ยังไมรูสึก รูสึกกระตุกเล็กนอย กลามเน้ือหด กระตุกปานกลางถึงรุนแรง เจ็บปวดกลามเน้ือเกร็งไมสามารปลอยใหหลุดออกมาได

กลามเน้ือเกร็ง กระตุกรุนแรง หัวใจเตนผิดปกติ (เตนออนหรือเตนระรัว) เสียชีวิต หยุดหายใจ เน้ือหนังไหม

3. ความตางศักยไฟฟาในวงจร วงจรที่มีคาความตางศักยสูง กระแสไฟฟาจะไหลผานไดมากจึงมี

อันตรายมาก เชน ไฟฟาที่ใชตามบานเรือน มีความตางศักย 220 โวลต ยอมทําใหเกิดอันตรายถึงชีวิต สวนความตางศักยของถานไฟฉาย 2 กอนที่มีคาประมาณ 3 โวลต ถือเปนความตางศักยที่ปลอดภัยเพราะกระแสไฟฟาไหลผานรางกายไดนอย จึงไมเปนอันตราย

4. ระยะเวลาที่กระแสไหลผานรางกาย กระแสไฟฟาที่ไหลผานรางกายในปริมาณนอยหรือมากในระยะเวลาสั้น ๆ จะไมเกิดอันตรายหรือมีอันตรายเพียงเล็กนอย แตถากระแสไฟฟาไหลผานรางกายในระยะเวลานานจนเกิดอาการกลามเน้ือหัวใจกระตุก ซึ่งระยะเวลาดังกลาวหมายถึงอันตรายตอชีวิตหากไมไดการชวยเหลือทันทวงที 5. อวัยวะที่สําคัญของรางกายที่กระแสไฟฟาไหลผาน กระแสไฟฟาสามารถไหลผานอวัยวะของ รางกายไดทุกสวนในทิศทางที่แตกตางกัน ถากระแสไฟฟาไหลผานจากนิ้วหน่ึงไปยังอีกน้ิวหน่ึงของมือเดียวกันในปริมาณนอยจะไมเปนอันตราย แตถากระแสไฟฟาไหลผานทรวงอกซึ่งเปนอันตรายตอกลามเน้ือหัวใจ มีโอกาสเสียชีวิตไดทันที กระแสไฟฟาที่ไหลผาน ศีรษะ ทรวงอก หัวใจ จะมีอันตรายสูงกวาอวัยวะสวนอื่น

Page 21: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

21

4.5.2 การปองกันอันตรายจากกระแสไฟฟา เมื่อทราบถึงอันตรายท่ีเกิดจากกระแสไฟฟา เพ่ือความไมประมาทควรมีความรูพ้ืนฐานที่จะปองกันมิใหเกิดอันตรายขึ้นได ดวย การพลาดพลั้งแมเพียงครั้งเดียวอาจตองสูญเสียชีวิตหรือความเสียหายอยางใหญหลวง สายไฟ การเดินสายไฟฟาภายนอกอาคารสายไฟฟาและอุปกรณจะตองเปนชนิดที่กันนํ้าและทนตอแสงแดด ไมนําสายไฟฟาที่ใชภายในบานไปใชนอกบานเพราะไมทนตอสภาพแวดลอม เกิดชํารุดเสียหายและเปนอันตรายไดงาย ไมติดต้ังเสาอากาศวิทยุหรือเสาอากาศโทรทัศนใกลสายไฟฟา อยา ยิงนกขณะเกาะสายไฟฟา และอยาเลนวาวใกลสายไฟฟา ไมตอเติมสิ่งกอสราง เขาใกลบริเวณที่มีสายไฟฟาแรงสูงผาน รวมทั้งยื่นแขน วัสดุ หามฉีด ราดหรือเทนํ้าใด ๆ เขาใกลสายไฟฟาแรงสูง ไมนําไปใชในการช็อตปลา เพราะผิดกฎหมาย และเสี่ยงตอการถูกไฟดูด กอนที่จะทําการกอสรางสิ่งปลูกสรางใกลสายไฟฟาใหไปขอคําแนะนําจากเจาหนาที่การไฟฟา ควรสังเกตสี กล่ิน และความรอนที่เกิดขึ้นที่สายไฟ วามิสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นบางหรือไม เชนมีรอยไหมดํา หรือมีกล่ินเหม็นไหม ถาพบวาสายไฟรอน แสดงวามีการใชไฟเกินกําลัง หรือปล๊ักรอนแสดงวาขั้วตอหลวม ติดต้ังระบบสายดินควบคูไปกับการเดินสายไฟในบาน หรือติดต้ังสายดินสําหรับเครื่องใชไฟฟาที่มีกําลังไฟฟามาก รวมท้ังเคร่ืองใชไฟฟาที่อาจเกิดไฟฟาลัดวงจรงายไดแกพวกที่มีโครงสรางเปนโลหะ เชน เตารีดไฟฟา ตูเย็น เปนตน ควรติดต้ังอุปกรณตัดไฟ ที่เรียกวา สวิตชนิรภัยหรือเซฟติคัท เพ่ือตัดการเดินทางของกระแสไฟฟาเมื่อไหลเกินขนาดซึ่งสามารถทํางานไดพนกอนที่ภายในเวลาเรียกวา 0.1 วินาที สวิทชดังกลาวน้ีควรติดต้ังในที่ปลอดภัยวงจรไฟฟา การตอสายไฟกับอุปกรณไฟฟาตองแนนหนา มั่นคงและเรียบรอย การขันสกรูขอตอสายไมแนน ใชตัวตอสายและติดต้ังไมไดมาตรฐาน เมื่อใชเปนระยะเวลานานจุดตอน้ันจะหลวม ทําใหเกิดประกายไฟที่จุดตอน้ัน และเกิดไฟไหมได สวิตซไฟฟา หามเปด-ปดสวิตซไฟฟาในบริเวณที่มีสารระเหยที่ไวไฟ เชนนํ้ามันเช้ือเพลิงหรือทินเนอรผสมสี ถาไดกล่ินแกสหุงตม หามเปดสวิตชไฟเปนอันขาด เพราะถาแกสรั่ว ประกายไฟจากหนาสัมผัสสวิตชจะทําใหเกิดการระเบิดขึ้นได หลอดไฟฟา ควรเลือกซื้ออุปกรณที่มีมาตรฐานรับรองสวนประกอบท่ีเปนพลาสติก เชน ขาหลอดตองเปนชนิดที่ติดไฟไดยาก ขณะเปลี่ยนหลอดไฟฟาจะตองตรวจที่ขาหลอด หากขาหลอดถางออก เมื่อใสหลอดแลวหลวมหรือเมื่อตรวจพบวามีรอยไหม จะตองซอมแซมหรือเปล่ียนใหมทันที เตารับ ควรติดต้ังเตารับที่มีขั้วสายดิน เชน เตารับแบบเปนหลุมไวภายในบาน เพ่ือใชกับเครื่องใชไฟฟาที่มีจุดตอสายดิน และควรติดต้ังสวิตซและเตารับในตําแหนงที่ปลอดภัย เชนสูงพนมือเด็กเล็ก หรือหางจากสภาพที่อาจเกิดอันตรายหรือนํ้าทวมถึงได และวงจรไฟฟาที่มีนํ้าทวมถึงควรแยกออกตางหากใหสามารถปลดออกไดทันที

Page 22: บทที่ 4 อุปกรณ สํานักงานและเคร ื่องใช ไฟฟ าในบ าน · 2 3. โรงไฟฟ าพลังงานก

22

เมนสวิตซหรือคัทเอาท เมื่อมีการซอมอุปกรณหรือสายไฟภายในบาน ควรแขวนปายเตือนไวที่เมนสวิตซหรือคัดเอาท ทุกครั้งวากําลังซอมแซมไฟฟา หามสับคัทเอาทลง ไมใชสายไฟแทนฟวส และฟวสที่ใชตองมีขนาดที่เหมาะสม เตารีดไฟฟา กอนที่จะเสียบปล๊ักเตารีดทุกครั้ง ควรคล่ีสายเตาเสียบ (ปล๊ัก) ใหตรงดีกอนเพราะถาสายบิดเปนเกลียวหรือขดงอ ในขณะที่ลากถูสายไปมา สายจะบีบรัดตัวเอง ทําใหเปลือกสายแตกชํารุดไดงาย สายทองแดงจะทะลุออกมาเปนอันตรายได โทรทัศน ควรติดต้ังเสาอากาศใหมั่นคงแข็งแรง และหางจากแนวสายไฟแรงสูง กะระยะวาหากเสาอากาศลมหรือหักลงมาจะตองไมถูกกับสายไฟฟาแรงสูง ตูเย็น ตูแช ควรจะตอสายที่โครงโลหะกลับไปที่แผงสวิตซแลวตอลงดิน โดยผานเตาเสียบ-เตารับที่มีขั้วสายดิน หลอดไฟภายในตูเย็น ตูแชที่ขาดหรือยังไมไดเปล่ียนไมควรเอาหลอดออกเหลือแตกระจุบไฟวางเปลาเพราะจะเปนอันตรายไดหากน้ิวมือไปสัมผัสสวนของกระจุบไวที่มีไฟฟาไหลอยู เครื่องซักผา เปนอุปกรณที่เก่ียวของอยูกับนํ้าเปนสวนใหญ ดังน้ันเตาเสียบ-เตารับควรเปนชนิดที่มีขั้วสายดินและจุดตอลงดินควรตอลงดินที่แผงสวิตซ เพ่ือความปลอดภัยของผูใชงานและถาเคร่ืองเปยกนํ้าควรเช็ดใหแหงกอนใช โคมไฟสนาม สายไฟฟาที่ใชจะตองเปนสายสําหรับเดินภายนอกอาคารและตองหมั่นดูแลตรวจสอบสภาพเปลือกสายใหดีอยูเสมอ ตัวเสาโคมควรตอสายกลับไปที่แผงสวิตซแลวตอลงดิน เพ่ือใหกระแสไฟฟาไหลลงดิน เมื่อมีการร่ัวเกิดขึ้นเพราะเด็ก ๆ อาจจะไปสัมผัสทําใหไดรับอันตรายได หองนํ้า ไมควรติดต้ังสวิตซ เตารับไวภายในหองนํ้า หรืออุปกรณไฟฟาไปใชภายในหองนํ้า ยกเวนหลอดแสงสวางที่ติดต้ังไวกับเพดานสูงที่ผูใชไมสามารถสัมผัสไดโดยงาย การเปล่ียนหลอดไฟฟาในหองนํ้า ตองปลดสวิตซตัดตอนออกกอนทุกครั้ง ขอควรระวังอื่น ๆ ในขณะที่มีฝนตก-ฟาคะนอง พยายามหลีกเล่ียงจากการยืนใตตนไม ใกลเสาไฟฟาหรือยูในแนวสายไฟฟาแรงสูง เมื่อรางกายเปยกช้ืน ความตานทานของรางกายมีนอย กระแสไฟฟายอมไหลผานรางกายไดสะดวก จึงไมควรแตะอุปกรณไฟฟา มิฉะน้ันอาจถูกกระแสไฟฟาดูดเปนอันตรายได หามใชเตาเสียบที่มีสภาพชํารุดและหามใชปลายสายเปลือยเสียบในเตารับ หรือไมใชเครื่องใชไฟฟาหลายชนิดจากเตารับเดียวกัน เครือ่งใชไฟฟาที่มีการระบายความรอน ควรเวนชองวางใหมีการระบายอากาศไดสะดวก

---------------------------------