บทที่ 6 ทรัพยากรธรรมชาติและ ...ba%b7%b... ·...

33
บทที3 ทรัพยากรธรรมชาติและหลักการอนุรักษ์ NATURAL RESOURCES AND PRINCIPLES OF CONSERVATION We cannot command nature except by obeying her, Francis Bacon, circa 1610

Upload: others

Post on 19-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

บทที่ 3ทรัพยากรธรรมชาติและหลักการอนุรักษ์

NATURAL RESOURCES AND PRINCIPLES OF CONSERVATION

We cannot command nature except by obeying her,

Francis Bacon, circa 1610

ทรัพยากรธรรมชาติมีบทบาทส าคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมวลมนุษยชาติ เพราะเป็นปัจจัยค าจุนทุกชีวิต และความเจริญทุกด้าน

1. ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ หลักการอนุรักษ์ การพัฒนา นิเวศพัฒนาและการกระท าของมนุษย์ที่ก่อให้เกิดความเสื่อมโทรมและการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ

2. สร้างแนวความคิดและส านึกในการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ

เนื้อหาส าคัญในบทเรียน

1. ทรัพยากรธรรมชาติ คืออะไร1) สรรพสิ่งทีธ่รรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นตามกระบวนการทางธรรมชาติ

2) สามารถจับต้องและมองเห็นเป็นรูปร่างได้ หรืออาจเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้

3) สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้ทันที หรือต้องผา่นกระบวนการผลิตหรือเปลี่ยนรูปก่อนน ามาใช้ประโยชน์

4) สามารถกักเก็บเอาไว้ใช้ประโยชน์ โดยไม่มีระยะเวลาเป็นข้อจ ากัด

5) เป็นสิ่งที่มนุษย์มีสิทธิใช้ประโยชน์และมีหน้าที่ต้อง ดูแล ปกป้อง รักษา กระจายการใช้ประโยชน์ให้ประชาชนได้ทั่วถึง พยายามให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดในการน า

ทรัพยากรมาใช้ มีการทะนุบ ารุงและฟื้นฟู เพือ่น าทรัพยากรมาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่าง

ถูกต้องจ าเป็น เหมาะสมตามเวลาและสถานที่

2. การอนุรักษ์ทรัพยากรคืออะไร

1) การใช้ทรัพยากรอย่างฉลาด ประหยัด2) การใช้ทรัพยากรที่ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด (Maximum

Benefit) และมีการสูญเปล่าน้อยที่สุด (Minimum Waste)3) กระจายการใช้ประโยชน์ให้ประชาชนได้ทั่วถึง4) พยายามให้เกิดผลกระทบทางลบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย

ที่สุดในการน าทรัพยากรมาใช้ 5) มีการทะนุบ ารุงและฟื้นฟู เพื่อน าทรัพยากรมาใช้ให้เกิด

ประโยชน์อย่างถูกต้องจ าเป็น เหมาะสมตามเวลาและสถานที่

3. หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

Principles of Natural Resources and

Environmental Conservation

1). การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมเหตุสมผลใช้อย่างชาญฉลาด หรือใช้ตามความจ าเป็น ไม่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติแบบฟุ่มเฟือยต้องค านึงเสมอว่าสิ่งที่น าไปใช้ จะต้องสร้างมลสารน้อยที่สุด

2). ประหยัดเก็บรักษา ทรัพยากรธรรมชาติที่หายาก และก าลังจะสูญพันธุ์ หรือมีโอกาสหมดไปทรัพยากรใดที่มีน้อยหรือหายาก ควรอย่างยิ่งที่จะต้องเก็บรักษาเอาไว้ โดยเฉพาะกลุ่มทรัพยากรที่ไม่สามารถทดแทนได้

3). ปรับปรุง ซ่อมแซมและฟื้นฟูทรัพยากรที่เสื่อมโทรมให้คืนสภาพก่อนน าไปใช้– หาวิธีการฟื้นฟูทรัพยากรสิ่งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม หรือคุณภาพต่ าให้ดีขึ้น (ซ่อมแซม ปรับปรุง) โดยเฉพาะทรัพยากรที่ง่ายต่อการสูญเปล่าหรือหมดไป

4). การเพิ่มประโยชน์ ผลผลิตหรือมูลค่า ของทรัพยากรต่อหน่วยพื้นที่ให้มากขึ้น– เขตอุทยานแห่งชาติ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อ่างเก็บน้ า– การเกษตรเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ– ฯลฯ

4. ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ

A. กลุ่มทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้ไม่หมดสิ้น (In-exhausting Natural Resources)

คุณลักษณะเฉพาะตัว

1. มีกระบวนการก าเนิดและเปลี่ยนแปลงที่มีลักษณะหมุนเวียนเป็นวัฎจักร อย่างเป็นระบบตามช่วงเวลา

2. โดยธรรมชาต ิ มีปริมาณคงที่และคุณลักษณะคงสภาพอยู่ตลอดเวลา

3. มนุษย์สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่มีที่สิ้นสุด

>> พลังงานแสงอาทิตย์ อากาศ ลม น้ าในธรรมชาติ และทรัพยากรดิน

ทรัพยากรอากาศ

11

1 2 3

4 5 6

7 810

9

ทรัพยากรน้้าในวัฐจักร

เหตุผลที่ต้องอนุรักษ์ทรัพยากรกลุ่มนี้

เนื่องจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติถูกรบกวนท าลาย ท าให้ทรัพยากรธรรมชาติกลุ่มนี้เปลี่ยนแปลงจากสภาพปกติทั้ง ปริมาณ สัดส่วน คุณภาพ และการกระจายตัว ในทิศทางลบ (เสื่อมโทรมลง ทรัพยากรที่มีคุณภาพมีปริมาณลดลง)

การอนุรักษ์ทรัพยากรกลุ่มนี้ ควรท้าอย่างไร

ดูแลทรัพยากรกลุ่มนี้ ให้ปราศจากการปนเปื้อนมลสาร

1. ควบคุมและป้องกันมิให้มีมลสารมาปนเปื้อนทรัพยากรกลุ่มนี้ เช่นมลสาร ที่เกิดจากการน าทรัพยากรธรรมชาติประเภทอื่น ๆ มาใช้เป็นวัตถุดิบในกระบวนผลิตทางอุตสาหกรรมการเกษตรกรรม และการใช้ของชุมชนเพื่อเป็นอาหาร / เชื้อเพลิง

2. บริเวณใดที่เป็นแหล่งผลิตมลสารปนเปื้อน จ าเป็นต้องแก้ไขด้วยวิธีการทางเคมี ชีววิทยาและฟิสิกส์ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมอย่างเร่งด่วน

3. ให้การศึกษาแก่ประชาชนถึงวิธีการป้องกันมิใช้ทรัพยากรกลุ่มนี้เสื่อมโทรม หรือเรียนรู้ผลเสียและวิธีการควบคุม เมื่อทรัพยากรกลุ่มนี้ปนเปื้อนมลสาร

4. ใช้กฎหมายควบคุมกิจกรรมที่สร้าง ผลกระทบทางลบต่อทรัพยากรกลุ่มนี้อย่างเคร่งครัด (การอุตสาหกรรม เกษตรกรรม การคมนาคม)

คุณลักษณะเฉพาะตัว

1. ทรัพยากรกลุ่มนี้ใช้ระยะเวลาที่ยาวนาน รวมทั้งต้องมีปัจจัยหลายอย่างที่เหมาะสมพอดีในการสร้างกระบวนการก าเนิดและการพัฒนา

2. ทรัพยากรธรรมชาติกลุ่มนี้มีโอกาสฟื้นตัวกลับสู่สภาพเดิมทั้งด้านปริมาณและคุณลักษณะน้อยมาก หากถูกน าไปใช้ประโยชน์

3. เป็นกลุ่มทรัพยากรที่มีโอกาสหมดสิ้นไปจากโลกนี้ได้

B. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดสิ้นได้(Exhausting Natural Resources)

ภูมิทัศนียภาพที่สวยงาม

ภูมิทัศนียภาพที่สวยงาม เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถหมดไปได้ หากไม่ช่วยกันดูแลอนุรักษ์ เพราะความสวยงามตามธรรมชาติใช้เวลาสร้างสรรค์ยาวนาน

นาข้าวขั้นบันได ของชาวปกาเกอะญอ บ้านต้นผึ้ง จอมทอง

อนุรักษ์ทรัพยากรกลุ่มนี้ได้อยา่งไร1. ต้องใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อให้มีการสูญเสีย

น้อยที่สุด หากต้องน ามาใช้

2. ต้องใช้เทคโนโลยีที่มีประสิทธิภาพสูง เพื่อป้องกันมิให้มีมลสารปนเปื้อนและไปสร้างผลกระทบต่อทรัพยากรอื่น จากกระบวนการน ามาใช้ทรัพยากรกลุ่มนี้มาใช้

3. พิจารณาการใช้ทรัพยากรประเภทอื่น ที่สามารถน ามาใช้ทดแทนทรัพยากรกลุ่มนี้ (พลังงานลม แสงอาทิตย์ ความร้อนใต้พิภพ พลาสติก ไฟเบอร์)

• ความพยายามหาวิธีการน าทรัพยากรกลุ่มนี้กลับมาใช้ใหม่1) Refill2) Repair3) Reuse4) Refuse5) Recycle

• ควบคุมและป้องกันของเสียที่เกิดขึ้นจากการใช้ทรัพยากรกลุ่มนี้ให้มีน้อยที่สุด

C. ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถทดแทนและฟื้นฟูสภาพได้(Renewable Natural Resources)

คุณลักษณะเฉพาะ1. กระบวนการก าเนิดและพัฒนาของทรัพยากรแต่ละชนิด

ในกลุ่มนี้ จ าเป็นต้องอาศัยระยะเวลา รวมทั้งปัจจัยแวดล้อมหลายอย่างที่เหมาะสมเพียงพอ

2. แม้ทรัพยากรธรรมชาติกลุ่มนี้จึงมีโอกาสฟื้นตัวกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ แต่ต้องใช้เวลาต่างกันและสามารถฟื้นฟูได้ในระดับต่างกัน ตามลักษณะและข้อจ ากัดของทรัพยากรแต่ละชนิด

สภาพป่าดิบเขา กิ่วแม่ปาน ดอยอิน

ทรัพยากรสัตว์ป่า

ทรัพยากรใต้ทะเลลึก (Deep Sea Resources)

เราจะการอนุรักษ์กลุ่มนี้อย่างไรดีเนื่องทรัพยากรกลุ่มนี้อยู่กันเป็นระบบนิเวศ (อาศัยร่วมกับ

สภาพแวดล้อมทางกายภาพ) ดังนั้นจึงไม่ควรไม่ท าลาย หรือใช้ทรัพยากรภายในระบบนิเวศ จนท าให้เสียสมดุล ธรรมชาติ

การท าลายทรัพยากรกลุ่มนี้ คือการท าลาย Food web

ใช้ทรัพยากรเฉพาะส่วนที่งอกเงยหรือส่วนที่เพิ่มพูนเท่านั้น (Use Increment Only) – ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า– ทรัพยากรประมง (สัตว์น้ า) – ทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ

ควบคุมการใช้และป้องกันให้ทรัพยากรกลุ่มนี้ มีศักยภาพในการให้ผลผลิตอย่างมีประสิทธิภาพ และผลผลิตที่มีคุณภาพ

เข้าไปช่วยในกระบวนการทดแทนตามธรรมชาติ เพราะธรรมชาติไม่สามารถสร้างทดแทนได้ทันตามความต้องการของมนุษย์การปลูกป่าทดแทน

การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าก่อนปล่อยลงสู่แหล่งน้ าธรรมชาติ

การขยายพันธุ์ป่าหายากด้วยการผสมพันธุเ์ทียม

การก าหนดเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า

ฯลฯ

5. การพัฒนา (Development) 1) การระดมทรัพยากรธรรมชาติและวิทยาการความรู้ เพื่อ

สร้างสรรค์สิ่งที่มีคุณค่า เพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ การบริการและสิ่งอ านวยความสะดวกแก่ประชากรโลก

2) การพัฒนาควรมีวัตถุประสงค์แน่นอนและมีการวางแผนอย่างรอบคอบในขอบเขตที่ก าหนด

– การพัฒนาโดยปราศจากการวางแผนที่ดีหรือไม่มีขอบเขต ย่อมไม่ตอบสนองวัตถุประสงค์ที่แท้จริง

– อีกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาตามมา มีผลกระทบต่อเนื่องที่ต้องแก้ไขอย่างไม่มีที่สิ้นสุด

6. นิเวศพัฒนา (Eco development) 1. การรวมเอาแนวปฏิบัติด้านการอนุรักษ์และการพัฒนาเข้าไว้

ด้วยกัน เพื่อน าไปใช้ในการพัฒนา

2. มีการด าเนินการอย่างมีแบบแผนรัดกุมเพื่อน าทรัพยากรมาใช้โดยมิให้เสียสมดุลทางธรรมชาติ

– ยึดหลักว่าการพัฒนาไม่ควรค านึงประโยชน์ด้านเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว

– แต่ควรคิดถึงปญัหาสิ่งแวดล้อมหรือปัญหาการเสียสมดุลทางธรรมชาติ เพือ่ไม่ให้การพัฒนาย้อนกลับมาสร้างปัญหาต่อคนทั้งทางตรงและทางอ้อมได้อีก

บทสรุป• ระบบธรรมชาติพยายามสรา้งสิ่งมีชีวิตให้มีความหลากหลาย มี

ความสัมพันธ์เกี่ยวโยงซึ่งกันและกันกับสภาพแวดล้อมอย่างลงตัวนั้นต้องใช้เวลานาน

• แต่การท าลายความม่ันคงและเสถียรภาพของระบบใช้เวลาอันสั้น• สาเหตทุี่มนุษย์ต้องประสบปัญหาสิ่งแวดล้อมเช่นที่เป็นอยู่ทุกวันนี้ สืบ

เนื่องมาจากมนุษย์พยายามหนีธรรมชาติและตกเป็นทาสของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากเกินไป (Over Technology) นั่นเอง

• แม้มนุษย์จะมีความก้าวหน้าทางวิทยาการกว้างไกลและลึกซึ้งเพียงไรก็ตาม แต่ มนุษย์ทุกคนควรให้ความสนใจและควรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องของตนเอง ตลอดจนเข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมใหม้ากกว่าที่เป็นอยู่

ประเด็นส้าคัญ• ไม่มีหลักการที่แน่นอนตายตัวในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้มากกว่าการปลูกสร้างจิตส านึกด้านความรักและหวงแหนสิ่งแวดล้อมทุกอย่างที่รวมตัวขึ้นมาเป็นธรรมชาติ ด้วยการรูส้ านึกถึงความเป็นเจ้าของและรู้จักหวงแหน ทรัพยากรธรรมชาติ ดังพระราชด ารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงมีกระแสพระราชด ารัสว่า " ท า

อย่างไรจึงจะปลูกต้นไม้ลงในใจคน "

Sense of Belonging and Sense of Awareness