บทที่4...

36
18 บทที4 ผลการปฏิบัติงานตามโครงงาน จากการที่ผู้จัดทําได้ฝึกงานในตําแหน่งผู้ช่วยเลขานุการบริหาร ในบริษัท ซีพี ออล์ จํากัด (มหาชน) จึงทําให้ทราบว่าในงานของเลขานั้น เป็นหน้าที่ที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารในรูปแบบของ จดหมายและอีเมล กับบุคคล และองค์กรต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในเป็นประจํา ดังนั้นผู้จัดทําจึงได้จัดทําโครงงานฉบับนีการสื่อสารเชิงการเขียนในที่ทํางาน : กรณีศึกษา บริษัท ซีพี ออล์ จํากัด (มหาชน) ซึ่งภายในโครงงาน มีการรวบรวมหลักการเขียน รูปแบบ โครงสร้าง คําศัพท์และสํานวนต่างๆ โดยโครงงานแบ่งออกดังนีการสื่อสารเชิงการเขียนในที่ทํางาน : กรณีศึกษา บริษัท ซีพี ออล์ จํากัด (มหาชน) -Full Block -Heading -ส่วนตัว -To -ชื่อเรื่อง -Block -Inside Address -ธุรกิจ -Cc -คําทักทาย -Modified -Salutation -Subject -เนื้อหา -Body of letter -Attachment -สรุปก่อนจบ -Complimentary Close -การลงท้าย -Signature -ลงชื่อผู้ส่ง

Upload: others

Post on 04-Sep-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

18

บทที่ 4

ผลการปฏิบัติงานตามโครงงาน

จากการที่ผู้จัดทําได้ฝึกงานในตําแหน่งผู้ช่วยเลขานุการบริหาร ในบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด

(มหาชน) จึงทําให้ทราบว่าในงานของเลขานั้น เป็นหน้าที่ที่ต้องมีการติดต่อสื่อสารในรูปแบบของ

จดหมายและอีเมล กับบุคคล และองค์กรต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในเป็นประจํา

ดังนั้นผู้จัดทําจึงได้จัดทําโครงงานฉบับนี้ “การสื่อสารเชิงการเขียนในที่ทํางาน : กรณีศึกษา บริษัท ซีพี

ออลล์ จํากัด (มหาชน) ซึ่งภายในโครงงาน มีการรวบรวมหลักการเขียน รูปแบบ โครงสร้าง

คําศัพท์และสํานวนต่างๆ โดยโครงงานแบ่งออกดังนี้

การสื่อสารเชิงการเขียนในที่ทํางาน : กรณีศึกษา บริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

-Full Block -Heading -ส่วนตัว -To -ชื่อเรื่อง

-Block -Inside Address -ธุรกิจ -Cc -คําทักทาย

-Modified -Salutation -Subject -เนื้อหา

-Body of letter -Attachment -สรุปก่อนจบ

-Complimentary Close -การลงท้าย

-Signature -ลงชื่อผู้ส่ง

19

4.1 การเขียนจดหมาย

การเขียนจดหมายเป็นวิธีสื่อสารที่เป็นลายลักษณ์อักษรแทนการพูด ถึงแม้ในปัจจุบัน

เทคโนโลยีสื่อสารมีให้เลือกสื่อสารได้หลายช่องทาง แต่จดหมายก็ยังมีความจําเป็นอยู่มาก

4.1.1 รูปแบบของจดหมาย

ในปัจจุบันโลกมีการพัฒนาสื่อสารทางโทรคมนาคมได้สะดวกรวดเร็ว

แต่การสื่อสารชนิดหนึ่งที่ยังมีความสําคัญอย่างยิ่งก็คือการเขียนจดหมาย เพราะสามารถเขียนได้ทุกเวลา

ทุกโอกาสเก็บไว้ได้นาน ซึ่งเราสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 รูปแบบ ดังนี้

-แบบ Full-Block Style

การเขียนจดหมายรูปแบบนี้เป็นที่นิยมใช้กันอย่างมากเนื่องด้วยเป็นรูปแบบที่ สะดวก

และรูปแบบจดหมายที่จดจําได้ง่าย สําหรับรูปแบบ full block จะเขียนทุกส่วนของจดหมาย คือ

the Heading, the Inside Address, the Salutation, the Body of the Letter, the Complimentary Close

and the Signature. ให้ชิดริมกระดาษทางด้านซ้ายมือและให้เป็นแนวเดียวกันลงมา ตั้งแต่บรรทัดแรก

จนบรรทัดสุดท้าย ไม่มีการย่อหน้าเลย ไม่ใช้เครื่องหมายวรรคตอนข้างหลัง แต่ละบรรทัดของตําบล

ที่อยู่ของผู้เขียนและผู้รับจดหมาย และต้องมีชื่อของผู้พิมพ์จดหมายไวข้้างล่างลายเซ็นด้วย

20

รูปที่ 4.1 ตัวอย่าง จดหมายแบบ Full-Block Style

21

-แบบบล็อค (Block Style)

เป็นแบบของการเขียนจดหมายซึ่งมีตําบลที่อยู่ของผู้เขียนจดหมายเขียนไว้ชิดริมกระดาษทาง

ด้านขวามือ ตําบลที่อยู่ของผู้รับจดหมายถูกเขียนไว้ชิดริมกระดาษทางด้านซ้ายมือ (ทั้งสองอย่างนี้ไม ่

ต้องใส่เครื่องหมายวรรคตอนลงข้างท้ายของแต่ละบรรทัด) คําขึ้นต้นจดหมายถูกเขียนไว้ชิดริมกระดาษ

ทางด้านซ้ายเป็นแนวเดียวกันลงมาจากตําบลที่อยู่ของผู้รับจดหมาย ข้อความในตัวจดหมายเขียนให้ชิด

ริมกระดาษทางด้านขวามือ และเขียนเป็นแนวเดียวตรงกันลงมาโดยไม่ต้องย่อหน้า คําลงท้ายของ

จดหมาย และลายเซ็นเขียนนั้นเขียนเป็นแนวเดียวกันลงมา จะต้องเขียนไว้ตรงที่ๆ ห่างจากจุดกึ่งกลาง

ของกระดาษไปทางขวามือเล็กน้อย

รูปที่ 4.2 ตัวอย่าง จดหมายแบบ Block Style

22

-แบบกึ่งบล็อก (Modified Block Style) หรือ (Semi-Block)

เป็นรูปแบบที่เขียนให้ส่วนเลขที่จดหมาย ที่อยู่ของผู้รับ คําขึ้นต้น และสิ่งที่ส่งมาด้วยอยู ่

ชิดเส้นกั้นหน้าและส่วนที่อยู่ของผู้ส่ง วัน เดือน ปี คําลงท้าย ลายมือชื่อ ชื่อเต็ม และตําแหน่ง

อยู่กลางหน้ากระดาษหรือค่อนไปทางขวาเล็กน้อย ส่วนเรื่อง จะพิมพ์กึ่งกลางหน้ากระดาษ

นอกจากนี้ ในส่วนข้อความต้องพิมพ์ให้บรรทัดแรกของข้อความแต่ละย่อหน้าร่นเข้าไปประมาณ

5-10 ระยะตัวอักษร

51Phya Thai Road

Bangkok

December 15, 2012

Singha Buri Company

Singha Buri Road

Singha Buri

Dear Sirs :

I represent

We are

Please contact us

Yours faithfully,

…………………

(Tom Smithinan)

รูปที่ 4.3 ตัวอย่างจดหมายแบบ Modified Block Style

23

4.1.2 โครงสร้างของจดหมาย

โครงสร้างของจดหมายนั้นมีความสําคัญอย่างมาก เพราะการที่ผู้รับจะเกิดความประทับใจ

ในจดหมายของเราหรือไม่นั้น นอกจากจะขึ้นอยู่กับภาษาที่ใช้แล้วยังขึ้นอยู่กับโครงสร้างที่ใช้ด้วย

อีกประการหนึ่ง โดยโครงสร้างของจดหมายนั้นสามารถแบ่งออกได้ดังนี ้

1. Heading (หัวจดหมาย)

หัวจดหมายคือ ที่อยู่ของผู้เขียนจดหมายและวันที่ที่เขียนจดหมาย ซึ่งนิยมเขียนไว้บนมุมด้านขวาหรือ

ซ้ายของจดหมายก็ได้ สําหรับรูปแบบของหัวจดหมายที่นิยมกันนั้นมี รูปแบบดังนี้ Block Form

(แบบบล็อก) เป็นการเขียนให้ตัวแรกของทุกบรรทัดตรงกันหมด

ตัวอย่าง

……………………………. 67/214 Soi Prachasuk

……………………………. Prachachuen Road, Dusit

……………………………. Bangkok.10800,Thailand

……………………………. June 2, 1988

2. Inside Address (ชื่อที่อยู่ของผู้รับจดหมาย)

ชื่อที่อยู่ของผู้รับจดหมาย ซึ่งเขียนหรือพิมพ์ไว้ทางด้านซ้ายบน ถัดจากหัวจดหมายลงมา

จะปรากฏเฉพาะในจดหมายธุรกิจเท่านั้น (กล่าวคือ จดหมายส่วนตัวไม่นิยมเขียนที่อยู่ส่วนนี้)

สําหรับรูปแบบการเขียนเหมือนกับหัวจดหมาย

3. Salutation (คําขึ้นต้นจดหมาย)

คําขึ้นต้นจดหมาย เปรียบเสมือนคําทักทายเพื่อเริ่มต้นจดหมาย ต้องเขียนหรือพิมพ์ไว้ริมซ้าย

ของกระดาษด้านบนต่อจากหัวจดหมาย สําหรับจดหมายติดต่อระหว่างบุคคล และต่อจากชื่อที่อยู่

ของผู้รับจดหมาย สําหรับจดหมายธุรกิจ คําขึ้นต้นจดหมายอาจเขียนได้หลายแบบขึน้อยู่กับบุคคล

ที่เราเขียนถึงว่ามีความสัมพันธ์กับผู้เขียนอย่างไร

-คําขึ้นต้นสําหรับญาติผู้ใหญ่

My dear…………………….. , เช่น

My dear grandmother, (ย่า, ยาย)

My dear father, (พ่อ)

My dear uncle, (ลุง)

My dear mother, (แม่)

- คําขึ้นต้นสําหรับญาติที่อายุอ่อนกว่า

Dear………… , My dear…………….., My dearest…………….., เช่น

My dearest son, (ลูก)

My dear Jim, (ระบุชื่อญาติ)

-คําขึ้นต้นสําหรับญาต,ิ เพื่อน, ผู้รู้จัก ซึ่งมีวัยใกล้เคียงกัน

Dear………… , My dear…………….., นิยมระบุชื่อ เช่น

24

Dear Surapong,

Dear friend, (เพื่อน)

- คําขึ้นต้นสําหรับบุคคลโดยทั่ว ๆ ไป ที่ทราบชื่อแต่ไม่รู้จักกันอย่างสนิท ถ้าเป็นชาวต่างประเทศ

จะระบุคํานําหน้าชื่อพร้อมนามสกุล แต่ถ้าเป็นคนไทยอาจระบุชือ่แทนนามสกุลได้

Dear…………?

Dear Dr.Young, (Dr. J.N. Young)

Dear Mrs.Supran

Dear Mr.Ferrari (Mr. D.F. Ferrari)

- คําขึ้นต้นสําหรับผู้ใหญ่ที่รู้จัก นับถือ

Dear…………,

Dear Sir, (ผู้ชาย)

Dear Madam, (ผู้หญิง)

Dear teacher, (ครู)

-คําขึ้นต้นจดหมายธุรกิจ

Dear Sir,

Sir,

Gentleman,

Dear………., (ถ้ารู้จักชื่อ)

4. Body of letter (ตัวจดหมาย)

ตัวจดหมาย คือ ข้อความของจดหมายซึ่งเป็นส่วนที่สําคัญที่สุดของจดหมาย เพราะเป็นการสื่อ

ความประสงค์ระหว่าง โดยข้อความในจดหมายปกติแล้วจะแบ่งเป็น 3 ตอน

-ความนํา แสดงการแนะนําตัวหรือบอกสาเหต ุ

-เนื้อความ บอกวัตถุประสงค ์

-สรุป เขียนสรุปเรื่องหรือความมุ่งหวังในอนาคต

5. Complimentary Close (คําลงท้าย)

เมื่อเขียนจดหมายจบแล้ว ต้องมีคําลงท้าย ซึ่งมีหลายแบบขึ้นอยู่กับผู้รับ สําหรับที่นิยมกันโดยทั่วไป

ได้แก ่

Yours sincerely,

Sincerely yours, ด้วยความจริงใจ ใช้กับบุคคลโดยทั่ว ๆ ไป

Sincerely,

With love,

With much love, ด้วยความรัก ใช้กับบุคคลที่คุ้นเคยกันมาก ๆ

Love,

25

6. Signature (การลงนาม)

การลงนามของผู้เขียนจดหมาย แสดงให้รู้ว่าใครเป็นผู้เขียนจดหมายนั้น ถ้าเป็นจดหมายส่วนตัว

อาจเขียนชื่อหรือทั้งชื่อและนามสกุลในลักษณะหวัด หรือหวัดแกมบรรจง หรืออาจเป็นลายเซ็น

(สําหรับบุคคลที่คุ้นเคยมาก ๆ) แต่สําหรับจดหมายธุรกิจนั้น ถัดจากคําลงท้ายจะเป็นลายเซ็น

ถัดลงมาจะเป็นชื่อนามสกุลตัวบรรจง ถัดจากชื่ออาจเป็นตําแหน่ง

รูปที่ 4.4 ตัวอย่าง โครงสร้างของจดหมาย

26

4.1.3 ประเภทของจดหมาย

จดหมายนั้นมีมากมายหลายประเภท แต่ละประเภทของจดหมายที่ใช้ขึ้นอยู่กับเนื้อหาที่ผู้ส่ง

ต้องการจะสื่อถึงผู้รับ และประเภทของจดหมายดังต่อไปนี้เป็นจดหมายที่นิยมใช้ใน

บริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

4.1.3.1 จดหมายส่วนตัว

จดหมายส่วนตัวนี้ ไม่ได้เกี่ยวข้องกับการสั่งซื้อสินค้าหรือการทวงหนี้ แต่เป็นสร้างไมตรีจิตที่ดีต่อกัน

ซึ่งยากที่จะประเมินค่าได้ นอกจากนั้นยังเป็นผลนําไปสู่การทําธุรกิจร่วมกันได้อย่างราบรื่น

เพราะความเห็นอกเห็นใจกันนั่นเอง

จดหมายส่วนตัวเขียนเมื่อมีโอกาสสําคัญๆมาถึง เป็นต้นว่า

เขียนจดหมายแสดงความยินดีต่อเพื่อนร่วมธุรกิจในโอกาสที่บริษัทของเขาขยายเครือข่ายสาขา

หรือแสดงความเสียใจในกรณีที่บริษัทของเขาสูญเสียบุคคลสําคัญ เป็นต้น

โดยปกติแล้ว การเขียนจดหมายส่วนตัวนีจ้ะเป็นหน้าที่ของเลขาพิมพ์ให้เจ้านายเซ็น

ดังนั้นการเขียนจดหมายส่วนตัวจึงเป็นสิ่งที่สําคัญอย่างมากต่อผู้ที่ทําหน้าที่เลขา

ซึ่งอาจแบ่งเป็นหัวข้อสําคัญได้ดังนี้

1. การนัดหมาย (Making an appointment)

2. จดหมายเชิญ (Letters of invitation)

3. จดหมายแสดงความยินด ี (Letters of congratulation)

4. จดหมายแสดงความเสียใจ (Letters of condolence)

1. การนัดหมาย (Making an appointment)

การนัดหมายมีหลายกรณี เช่น นัดเจรจาทางธุรกิจ นัดพบบุคคลสําคัญ

หรือนัดทานอาหารเพื่อเป็นการเชื่อมสัมพันธ์ไมตรี

ซึ่งจดหมายประเภทนี้มีความจําเป็นอย่างยิ่งในการทํางาน

เนื้อหาของจดหมาย ประกอบด้วย

Opening : เป็นการเกริ่น หรือขอบคุณ ก่อนเข้าเนื้อเรื่อง

Focus : บอกถึงรายละเอียดต่างๆในการเชิญ เช่น สถานที่ เวลา

Closing : ขอบคุณผู้รับ

27

Dear Mr. Tim

Thank you for your letter regarding the new contact.

It would be a great pleasure to meet and to discuss this matter with you. I will be available on 4

August at 13.00 p.m. My secretary will call and confirm the day and time with you within a next few

days in case the day and time is not convenient for you. Therefore, an alternative appointment will be

arranged.

I will look forward to meeting you again

Yours sincerely

รูปที่ 4.5 ตัวอย่าง จดหมายการนัดหมาย

2. จดหมายเชิญ (Letters of invitation)

จดหมายเชิญใช้ในโอกาสต่างๆ เช่น เชิญรับประทานอาหาร เชิญรวมงานแต่งงาน งานณาปนกิจ

ศพ เชิญประชุมหรือเข้าร่วมงานสัมนา เป็นต้น

เนื้อหาของจดหมาย ประกอบด้วย

Opening : เกริ่นถึงรายละเอียดคร่าวๆเกี่ยวกับการเชิญ

Focus : บอกรายละเอียดของงาน ที่มา ความเป็นไป

Closing : ขอบคุณผู้รับ

28

รูปที่ 4.6 ตัวอย่าง จดหมายเชิญจาก Linkage

29

รูปที่ 4.7 ตัวอย่างจดหมายเชิญเข้าร่วมอบรมจาก Linkage

30

รูปที่ 4.8 ตัวอย่างจดหมายเชิญเข้าร่วมอบรมจาก INSEAD

31

รูปที่ 4.9 ตัวอย่างจดหายเชิญเข้าร่วมอบรมจาก INSEAD

32

-สํานวนในการเชิญและการตอบรับคําเชิญ

1.เชิญร่วมสัมนา

We would like to invite you to attend a seminar on (ชื่อเรื่อง) which is being held at (สถานที่จัด) on

January 10 ….

(เราใคร่ขอเรียนเชิญท่านเข้าร่วมสัมนาเรื่อง… ซึ่งจัดให้ มีขึ้นที…่ในวันที่ 10 มกราคม พ.ศ.)

2. เชิญร่วมงานทั่วไป

... You and your family are cordially invited to …

(… มีความร่วมยินดี เรียนเชิญคุณและครอบครัวมาร่วม…)

3.การตอบรับ

…thank Mr. and Mrs…. for their kind invitation to the reception ,which they have much pleasure in

accepting.

(…ขอขอบคุณ นายและนาง…ที่กรุณาเชิญร่วมงานเลี้ยงรับรองและยินดีรับคําเชิญของทั้งสองท่าน)

4. การปฏิเสธ

…regret that they are unable to accept Mr. and Mrs …’s kind invitation to be present at…

3. จดหมายแสดงความยินดี (Letters of congratulation)

จดหมายแสดงความยินดีนี้ เป็นสื่อสัมพันธ์และมิตรภาพอันดียิ่ง เพราะผู้รับจะรู้สึกว่าเรา

ให้ความสําคัญแก่เขา และเอาใจใส่เขาอยู่เสมอ จึงทําให้ความสัมพันธ์ของทั้สองฝ่ายแน่นแฟ้นยิ่งขึ้น

โอกาสที่ควรเขียนจดหมายแสดงความยินดีคืออยู่ในช่วงที่ผู้รับประสบความสําเร็จ เป็นต้นว่าได้รับ

การเลื่อนตําแหน่ง หรือวันฉลองครบรอบก่อตั้งบริษัทของเขา เป็นต้น

-สํานวนที่ใช้ในการแสดงความยินด ี

1. It was with great pleasure that we learnt of your appointment as Chairman

Please accept our heartiest congratulations.

(นับเป็นความยินดีอย่างยิ่งที่เราทราบว่าคุณได้รับการแต่งตั้งให้เป็นประธาน

โปรดรับคําแสดงควายินดีจากใจจริงของเรา)

2. May we congratulate you on your appointment/your success…

(ขอแสดงความยินดีที่ คุณได้รับการแต่งตั้งให้เป็น/ที่คุณประสบความสําเร็จ)

3. We wish to express our great pleasure on hearing of your…

(เราขอแสดงความยินดีอย่างยิ่งเมื่อทราบว่าคุณ…)

4. We want to send you our very best wishes.

(เรามีความประสงค์ที่จะส่งความปราถนาดียิ่งมายังคุณ)

33

10 January………

Dear Mr Ayyer,

I am delighted to learn that you have been appointed Regional Mamager for Southeast Asia. I knew

that you would get that well deserved appointment, as the company could not have selected an abler

man. I wish you every success in managing the affairs of the

branch.

My colleagues join me in sending you our warmest congratulations.

Yours sincerely,

…………………

รูปที่ 4.10 ตัวอย่าง จดหมายแสดงความยินด ี

4. จดหมายแสดงความเสียใจ (Letters of condolence)

เมื่อเพื่อนร่วมธุรกิจ หรือมิตรสหายประสบความสูญเสียบุคคลผู้เป็นที่รัก หรือนับถือ

หรือประสบโชคร้ายใดๆก็แลว้แต่ เราควรเขียนจดหมายแสดงความเสียใจ

-สํานวนที่ใช้ในการแสดงความเสียใจ

1. We were most grieved to here of Mr…’s dealth

(เราเสียใจอย่างสุดซึ้ง ที่ได้ทราบการจากไปของคุณ…)

2. The sudden and unexpected passing of Mr… has, I am sure, created a gap in your

company which cannot be filled easily.

(การจากไปอย่างกระทันหัน

และไม่คาดคิดของนาย…เราแน่ใจว่าจะเกิดช่องว่างขึ้นในบริษัทของคุณอย่างแน่นอน

เพราะไม่อาจหาใครมาแทนเขาได้โดยง่าย)

3. The extremely sad news of Mr…’s death is something that I can still hardly believe. It is

impossible to put into words how I feel.

34

(ข่าวอันสลดใจอย่างยิ่ง เกี่ยวกับการจากไปของนาย…เป็นบางสิ่งบางอย่างที่เราไม่อยากจะเชื่อเลย

และไม่อาจจะบรรยายออกมาเป็นคําพูดได้ว่าเรารู้สึกอย่างไร)

Dear Jane,

Please accept our heartfelt sympathy in this hour of sadness on

the death of your beloved father. We shall always remember him as one

the kindest and most considerate men it has ever been our fortune to know.

If there is anything either of us can do for you, please do not

hesitate to call upon us.

Cordially,

John and Elizabeth

รูปที่ 4.11 ตัวอย่าง จดหมายแสดงความเสียใจ

4.1.3.2 จดหมายธุรกิจ

เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกันระหว่างบริษัท ห้างร้าน และองค์กรต่าง ๆ เพื่อติดต่อกัน

ในเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจ พาณิชยกรรม และการเงิน ซึง่บริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

ใช้จดหมายประเภทนี้ในการติดต่อสื่อสารกับบริษัทอื่นๆอย่างเป็นประจํา

35

รูปที่ 4.12 ตัวอย่าง จดหมายธุรกิจ จากHarvard Business Review

36

รูปที่ 4.13 ตัวอย่างจดหมายธุรกิจจาก NEC

37

4.1.4 คําศัพท์และสํานวน

คําศัพท์และสํานวนต่างๆที่ใช้เขียนในจดหมาย เป็นสิ่งที่สําคัญในการเขียนจดหมาย

เนื่องจากการเลือกใช้คําศัพท์และสํานวนที่ดีสามารถทําให้ผู้รับเข้าใจสิ่งที่ผู้เเขียนต้องการจะสื่อได้อย่าง

ชัดเจน และมีประสิทธิภาพ ซึ่งจากการทําหน้าที่เลขา ผู้จัดทําได้ศึกษาและรวบคําศัพท์และสํานวน

ดังต่อไปนี้

-สํานวนที่พบบ่อย

Salutation-

คําทักทาย

• Dear Mr. Brown

• Dear Ms. White

• Dear Sir

• Dear Madam

• Dear Sir or Madam

• Gentlemen

Starting

ประโยคเริ่มต้น

• We are writing

- to inform you that ...

- to confirm ...

- to request ...

- to enquire about ...

• I am contacting you for the following reason...

• I recently read/heard about ..... and would like to know ....

• Having seen your advertisement in ..., I would like to ...

• I would be interested in (obtaining / receiving) ...

• I received your address from ----- and would like to ...

Referring to

previous

contact

อ้างถึงเรื่องที่เคย

ติดต่อกันมาก่อน

• Thank you for your letter of March 15.

• Thank you for contacting us.

• In reply to your request, ...

• Thank you for your letter regarding ...

• With reference to our telephone conversation yesterday...

• Further to our meeting last week ...

• It was a pleasure meeting you in London last month.

• I enjoyed having lunch with you last week in Tokyo.

• I would just like to confirm the main points we discussed

on Tuesday.

38

Making a request

ร้องขอ / ขอร้อง

• We would appreciate it if you would ...

• I would be grateful if you could ...

• Could you please send me ...

• Could you possibly tell us / let us have ...

• In addition, I would like to receive ...

• It would be helpful if you could send us ...

• I am interested in (obtaining / receiving) ...

• I would appreciate your immediate attention to this matter.

• Please let me know what action you propose to take.

Offering help

เสนอให ้

ความช่วยเหลือ

• Would you like us to ...?

• We would be happy to ...

• We are quite willing to ...

• Our company would be pleased to ...

Giving good news

แจ้งข่าวดี

• We are pleased to announce that ...

• I am delighted to inform you that ..

• You will be pleased to learn that ...

Giving bad news

แจ้งข่าวร้าย

• We regret to inform you that ...

• I'm afraid it would not be possible to ...

• Unfortunately we cannot / we are unable to ...

• After careful consideration we have decided (not) to ...

Apologizing

ขออภัย

§ We are sorry for the delay in replying to ...

§ I regret any inconvenience caused (by) ...

§ I would like to apologize for the (delay, inconvenience)...

§ Once again, please accept my apologies for ...

Enclosing documents

แนบเอกสาร

§ I am enclosing ...

§ Please find enclosed ...

§ You will find enclosed ...

39

Closing remarks

กล่าวสรุปความ

§ If we can be of any further assistance, please let us know.

§ If I can help in any way, please do not hesitate to

contact me.

§ If you require more information ...

§ For further details ...

§ Thank you for taking this into consideration.

§ Thank you for your help.

§ We hope you are happy with this arrangement.

§ We hope you can settle this matter to our satisfaction.

Referring to future

business กล่าวถึงธุรกิจที่จะทํา

ต่อไปในอนาคต

§ We look forward to a successful working relationship in

the future.

§ We would be (very) pleased to do business with your

company.

§ I would be happy to have an opportunity to work with

your firm.

Referring to future

contact กล่าวถึงการติดต่อกัน

ในอนาคต

§ I look forward to seeing you next week.

§ Looking forward to hearing from you, ...

§ Looking forward to receiving your comments,

§ I look forward to meeting you on the (date).

§ I would appreciate a reply at your earliest convenience.

§ An early reply would be appreciated.

Ending business letters

คําลงท้าย

◊ Sincerely, }

◊ Yours sincerely,} for all customers / clients

◊ Sincerely yours,}

◊ Yours faithfully, in more formal letters

◊ Regards, for those you already know and/or

with whom

you have a working relationship

40

4.1.5 คําศัพท์ที่พบบ่อย

a cash payments journal สมุดรายวัน จ่ายเงินสด

absorption การรวมธุรกิจเล็กเข้าด้วยกันกับธุรกิจใหญ ่

accounts payable ledger สมุดบัญชีแยกประเภทเจ้าหนี ้

acquisition การขยายกิจการแบบเข้าไปซื้อ

advertisement การโฆษณา

agent นายหน้า หรือ ตัวแทนที่ได้รับมอบหมายในการซื้อหรือขาย

หรือในการทําสัญญา

annual report รายงานผลการดําเนินงานและฐานะการเงินขององค์กรธุรกิจ

ประจําป ี

assignment การมอบหมาย

auditor เจ้าหน้าที่ผู้สอบบัญช ี

average collection period ระยะเวลาในการเก็บหนี้โดยเฉลี่ย

basic earning power ratio อัตราผลตอบแทนจากการดําเนินงานต่อสินทรัพย์

benefit ผลตอบแทนของโครงการ , ประโยชน์ที่ได้รับ

black market ตลาดมืด

blacklist บัญชีดํารายชื่อบุคคลหรือองค์การซึ่งถูกถือว่ามีเครดิตไม่ด ี

เสี่ยงต่อการติดต่อทําธุรกิจด้วย

bond พันธบัตร

brainstorming การระดมสมองเพื่อร่วมคิดแก้ปัญหา

budget งบประมาณ

business cycle วัฏจักรหรือวงจรทางธุรกิจ

business plan แผนธุรกิจ

caller ผู้โทรมาติดต่อ

capital budgeting การวางแผนการลงทุนที่คาดว่าจะให้ผลตอบแทนในอนาคต

capital budgets งบประมาณลงทุน

capitalist นายทุน

carbon paper กระดาษอัดสําเนา

cash budgets งบประมาณเงินสด

41

clerk เสมียน, เจ้าพนักงาน

client ลูกค้า

clipping สิ่งที่ตัดออกมา (จากนิตยสาร ฯลฯ)

colleague เพื่อนร่วมงาน

commerce พาณิชยกรรม

committee คณะกรรมการผู้ได้รับแต่งตั้งมา เพื่อพิจารณาและรายงานต่างๆ

confidential document เอกสารลับ

consumption การบริโภค การใช้สินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของคน

copying machine เครื่องถ่ายเอกสาร

cost of goods sale ต้นทุนขาย

co-worker เพื่อนร่วมงาน

current assets สินทรัพย์หมุนเวียน

current liabilities หนี้สินหมุนเวียน

current ratio อัตราส่วนทุนหมุนเวียน

design & packaging สินค้าที่เน้นการออกแบบและบรรจุภัณฑ ์

discharge ปลดคนงานออก

dividend เงินปันผล

economic policy นโยบายทางเศรษฐกิจ

enfranchise ให้สิทธิในการออกเสียง

engagement การนัดหมาย/หมั้น

executive เจ้าหน้าที่บริหาร ผู้ทําหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผนและการควบคุมดูแล

expenses ค่าใช้จ่าย

factory manager ผู้จัดการโรงงาน

factory supplies วัสดุโรงงงาน

fair trade สินค้าที่ปฏิบัติอย่างเป็นธรรม

financial statement งบการเงิน

freight cost ค่าใช้จ่ายขนส่งเรือ /เครื่องบิน

goods in process สินค้าที่อยู่ช่วงการผลิต

human skill ความสามารถที่จะทํางานร่วมกับคนอื่นอย่างมีประสิทธิภาพ

income tax ภาษีรายได้ หรือภาษีเงินได้ (ภ.ง.ด)

42

inflation ภาวะเงินเฟ้อ

informal ไม่เป็นทางการ

internal audit การตรวจสอบบัญชีภายในบริษัท

internal rate of return วิธีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน

inventory management การจัดการสินค้าคงเหลือ

inventory turnover อัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์คงเหลือ

investment project analysis การวิเคราะห์โครงการลงทุน

investment การลงทุน

invoice ใบส่งของ

leader ผู้นํา

liabilities หนี้สิน

license ใบอนุญาต

liquidity สภาพคล่อง สภาพที่พร้อมจะเปลี่ยนสินทรัพย์เป็นเงินสด

managing director กรรมการผู้จัดการ

mass production การผลิตสินค้าที่ได้มาตรฐานเดียวกันเป็นจํานวนมาก

meeting การประชุม

merger รวมเป็นบริษัทเป็นบริษัทเดียวกัน

message ข่าวสาร

negotiation การเจรจาต่อรอง

net profit กําไรสุทธ ิ

offer เสนอ

office manager ผู้จัดการสํานักงาน

operating budgets งบประมาณดําเนินงาน

overtime การทํางานล่วงเวลา

partnership การเป็นหุ้นส่วนกันทางกฎหมายของคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป

patent กรรมสิทธิ์ การคุ้มครองสิทธิผู้ที่ประดิษฐ์คิดค้น

preparation การเตรียมพร้อม

priority สิทธิพิเศษ/ก่อน

procedure การจัดกระบวนการทํางาน จากกิจกรรมหนึ่งไปสู่อีกกิจกรรมหนึ่ง

production manager ผู้จัดการฝ่ายผลิต

43

propose เสนอ

purchasing department แผนกจัดซื้อ

raw materials วัตถุดิบ

recommend แนะนํา/รับรอง

reinforcement สิ่งจูงใจหรือผลตอบแทน

remittance การส่งเงิน/โอนเงิน

report รายงาน

resolution ข้อตกลงหลังจากการประชุมกันอย่างเป็นทางการในองค์การ

return on equity อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของเจ้าของ

revenue or sales รายได้หรือยอดขาย

4.2 การเขียนอีเมล

คือ วิธีการติดต่อสื่อสารด้วยหนังสือแบบใหม่ แทนจดหมายบนกระดาษ แต่ใช้วิธีข้อความในรูป

ของสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์จากคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังผู้รับอีกเครื่องหนึ่ง

การเขียนอีเมล ไม่ว่าจะสําหรับธุรกิจ หรือเหตุผลทางสังคม โดยปกติจะเขียนในแบบไม่เป็นทางการ

มากกว่าการเขียนจดหมาย เพราะฉะนั้นจึงควรเขียนหัวข้อให้กับอีเมลเสมอ ซึ่งควรจะรวบรัด

และบ่งบอกถึงวัตถุประสงค์ได้ในคําเพียงสองสามคํา

ที่นิยมกันสําหรับการเริ่มใช้อีเมล์ธุรกิจไม่ตายตัวนัก แม้ว่าโดยปกติจะใช้ชื่อต้นสําหรับทั้งธุรกิจ

และอีเมลส่วนตัว แต่หากรู้จักผู้รับไม่จําเป็นต้องใช้คําว่า Dear การพูดโดยทั่วไป

ประโยคของอีเมลธุรกิจควรจะรวบรัด และเข้าถึงวัตถุประสงค์ หากมีการแนบเอกสารพร้อมกับอีเมล

อย่าลืมกล่าวถึงในข้อความในอีเมล

การลงท้ายอีเมลส่วนตัว

สามารถใช้ข้อความเดียวกันกับจดหมายแบบไม่เป็นทางการที่นิยมกันสําหรับการลงท้ายอีเมลธุรกิจ

ไม่ตายตัวนัก โดยผู้จัดทําได้แบ่งหัวข้อออกเป็น

4.2.1 โครงสร้างของอีเมล

โครงสร้างของอีเมล ประกอบไปด้วย

-To : คือ ที่อยู่ของผู้ที่จะได้รับข้อความนั้น

-Cc : คือ การส่งขอความนี้ให้หลายคน

-Subject : คือ บอกประเภทข้อความว่าชื่อเรื่องอะไรจะได้ใช้อ้างอิงกันถูกต้อง

-Attachment : คือ การแนบแฟ้มไปกับจดหมาย อนึง่เวลารับจดหมายถ้ามีข้อความ

แนบมาก็คลิ๊กเข้าไปด ู

44

รูปที่ 4.14 ตัวอย่างส่วนประกอบอีเมล

4.2.2 รูปแบบการเขียนอีเมล

อีเมล โดยปกติมักเขียนปนกันระหว่างการเขียนอย่างเป็นทางการ(Formal )ที่มักใช้จดหมาย

และไม่เป็นทางการ (Informal) Email ส่วนใหญ่จะเป็นการเขียนที่อยู่ในรูปแบบกลางๆ(Neutral)

หรือไม่เป็นทางการ (Informal) แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาให้เหมาะสมกับผู้รับด้วยว่าเป็นใคร

ถ้าเป็นระดับผู้ใหญ่ เนื้อหาที่เขียน ก็ต้องเป็นทางการ

โครงสร้างของการเขียน Email ประกอบด้วย

1.ชื่อเรื่อง ( Subject)

2.คําทักทาย /ชื่อผู้ที่เขียนถึง (Name)

3.เนื้อหา

4.สรุปก่อนจบ (Final comment)

5.การลงท้าย (Close)

6.ลงชื่อผู้ส่ง

45

1.ชื่อเรื่อง( Subject)

หลักในการเขียน ถ้าเป็น Subject ใหม่ – ตั้งเป็นวลี หรือ ประโยคสั้นๆ

เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เราต้องการสื่อ เช่น

- Request for …

- Meeting on date …

- Seminar on ….

- Dinner Talk by Mr. P. Brown

- Good to Learn

Subject กรณีตอบเรื่องที่เขาเขียนมา

- Re : ชื่อเรื่องเดิม

2. คําทักทาย

Formal หรือ เป็นกลางๆ : มักขึ้นต้นคล้ายเรียน ใช้ Dear ตามด้วย Mr.,Mrs.,Ms +ชื่อคน เช่น Dear Mr.

Sun , Dear K.Naree ถ้าไม่รู้จักชื่อใช้ Dear Sir /Madam, ถ้าส่งถึงหลายคนพร้อมกัน ก็ใช้ Dear All, Dear

Colleague, Informal : คล้ายกล่าวสวัสดี ใช้ Hi / Hello ต่อด้วยชื่อหรือไม่ก็ได้ หรือใช้ Dear

ต่อด้วยชื่อก็ได้ เช่น Dear Mary, หรือจะใส่ชือ่ไปเฉยๆเลยก็ได้ เช่น Mary,

กรณี คนไทย มักนิยมใช้คํานําหน้าชื่อว่า

- คุณ ใช้คํานําหน้าชื่อหรือตัวย่อว่า Khun , K. เช่น Khun Malee,

- พี่ ใช้คํานําหน้าชื่อหรือตัวย่อว่า Pi ,P., P’, P` เช่น P’Ming,

- น้อง ใช้คํานําหน้าชื่อหรือตัวย่อว่า Nong , N.,N’, N` เช่น N’Tong

3. เนื้อหา

• การเขียนครั้งแรกควรมีการแนะนําตัวเอง ถ้าอีกฝ่ายยังไม่รู้จักเรา

• การอ้างเหตุผลที่ที่เขียนมา เช่น

- I am writing in connection with ….

- I am writing with regard to …..

- I’m writing about ….

- Your name was given to me by …

- I got your name from ..

- We would like to point out that ..

- Please note that ….

• การอ้างถึงเรื่องที่เขาเขียนมา เช่น

- Please refer to your email regarding +ชื่อเรื่อง

- Regarding หรือ Concerning (เกี่ยวกับ) + ชื่อเรื่อง

- Thank you for your email of….

- Re your email …….

46

- I apologize for not getting in contact with you before now. -กรณีตอบช้า

- Sorry for late reply – กรณีตอบช้า

• การแนบเรื่อง/ส่งfile (Attachment) เช่น

-Please find the attachment.

-Please find the attachment herewith.- ความหมายคล้าย “ตามเรื่อง/เอกสาร แนบพร้อมนี”้

-I am pleased to attach herewith the annual report for….

-Please kindly find out attached file of…..

-Please find attached report.

-Please see attached file.

-I’ve attached….

-I’m sending you …. as a pdf file.

-Here is the …. you wanted.

-See attached.

• การขอข้อมูล (Asking for information) เช่น

- Could you give me some information about…

- I would like to know …

- I’d be grateful if you could ...

- Could you please send me…

- Could you please hand/ forward me…

- Please send me ….

- I’d appreciate your help on this.

• การให้/แจ้งข้อมูล เช่น

- I’m writing to let you know that ….

- I would like to inform you that …

- Just a note to say …

- Please be informed that ….

-I am delighted to tell you that ….

-We regret to inform you that …-กรณีบอกข่าวไม่ดี/ปฏิเสธ

4.สรุปก่อนจบ (Final comment)

- I am looking forward to seeing you in the near future.

- I will prepare it accordingly.-กรณีบอกว่าจะเตรียมการตามที่เขาขอหรือที่สัญญากันไว้

- Thank you for your cooperation.

-Thank you for your kind assistance.

- Thank you for your help.

47

- Please do not hesitate to contact us again if you require any further information.

- Please feel free to contact me.

-Talk to you soon.

- I’ve got to end it now.

- I have to go.

- Got to go now.

- Keep in touch.

- Have a nice weekend.

- See you later.

- See you soon.

- Bye for now.

5.การลงท้าย (Close)

- Regards,

- Best regards,

- With best regards,

- With kind regards,

- Warm regards,

- Warmest regards,

- Thanks and Regards,

- Yours sincerely,

- With love,

- All the best,

6.การลงชื่อ

ลงชื่อมี/ไม่มีนามสกุล ถ้าเป็นทางการ และต้องการให้เขาทราบรายละเอียดเกี่ยวกับตัวเรา จะใส่ชื่อ

ตําแหน่ง ที่อยู่ โดยพิมพ์ชิดด้านซ้ายท้ายการลงชื่อ เช่น

Ratri Srinuan

Plant Manager

Tel: +66 2456789

Fax: +66 2456789

email :[email protected]

http://www.danoplant.com

48

รูปที่ 4.15 ตัวอย่าง โครงสร้างอีเมล ขอบคุณถึงบริษัท ซีพี ออลล์ จํากัด (มหาชน)

4.2.3 ประโยค คําศัพท์ในการใช้อีเมลและคําย่อที่พบบ่อยในอีเมล

- ประโยคที่นิยมใช้เขียนอีเมล

ในกรณีที่เป็นทางการ ให้ใช้คําขึ้นต้นว่า

Dear Mr. / Ms. / Dr. / Professor + นามสกุลผู้รับ + comma (,) หรือ colon (:)

อาทิเช่น “Dear Mr. Hogan:” หรือ “Dear Ms. Lane,” เป็นต้น

โดยถ้าเป็นผู้หญิง คุณอาจจะใช้คําว่า “Ms.” ซึ่งจะเหมาะกวา่คําว่า “Miss” (นางสาว) หรือ “Mrs.” (นาง)

เพราะสามารถใช้ได้ทั้งกับผู้หญิงที่ยังโสดหรือแต่งงานแล้วก็ได้ และต้องตามด้วยนามสกุล

และให้ลงท้ายด้วยเครื่องหมาย comma (,) หรือ colon (:) ซึ่งถ้าใช้ colon จะเป็นทางการกว่า comma

• ในการเขียน e-mail จะต่างจากการขึ้นต้นจดหมายทั่วไป เพราะสามารถละคําว่า “Dear” ได้ เช่น “Ms.

Lane,” เป็นต้น

• กรณีที่ไม่สามารถระบุชื่อผู้รับได้ อาจจะใช้วลีว่า “To Whom It May Concern:” หรือ “Dear Sir or

Madam:” ซึ่งแปลเป็นภาษาไทยได้ว่า “เรียนท่านผู้ที่เกี่ยวข้อง” หรืออาจใช้ “Dear + ตําแหน่ง” ก็ได ้เช่น

“Dear Sales Manager:”, “Dear Customer:” หรือจะละคําขึ้นต้นไปเลยก็ได้ แต่ห้ามใช้ “Dear + ชื่อบริษัท”

เช่น “Dear X company:”

ช อเร อง ค าท กทาย

เน อหา

สร ปก อนจบ ค าลงท าย

ช อผ ส ง

49

• สําหรับคําลงท้าย การเขียนอีเมล มักจะไม่ต้องลงท้ายด้วย “Sincerely,” หรือ “Your truly,”

เหมือนจดหมาย แต่มักจะนิยมใช้ “Regards,” หรือ “Best regards,” แล้วลงชื่อผู้ส่งในบรรทัดต่อมา

ซึ่งถ้าไม่เคยติดต่อผู้รับมาก่อนและอยากให้เป็นทางการ อาจจะลงท้ายด้วยชื่อต้นและนามสกุล

แบบเต็มยศ เช่น

I am looking forward to hearing from you.

Stefan Gill

การอ้างถึงการติดต่อครั้งก่อน (Previous Contact)

แบบเป็นทางการ (Formal)

- Thank you for your e-mail of …(ขอบคุณสําหรับ e-mail ของคุณเรื่อง…)

- Further to your last e-mail, …(อ้างถึง e-mail ล่าสุดของคุณ, ...)

- I apologize for not getting in contact with you before now.

(ต้องขอโทษด้วยที่ไม่ได้ติดต่อคุณก่อนหน้านี้)

แบบไม่เป็นทางการ (Informal)

- Thanks for your e-mail. (ขอบใจสําหรับ e-mail ของคุณ)

- Re your e-mail, … (อ้างถึง e-mail ของคุณ, ...)

- Sorry I haven’t written for ages, but I’ve been really busy. (ขอโทษที่ไม่ได้เขียนหาคุณมานาน

ฉันยุ่งจริงๆ)

จุดประสงค์ของการเขียน e-mail (Reason for Writing)

แบบเป็นทางการ (Formal)

- I am writing in connection with…หรือ I am writing with regard to…

(ฉันเขียนมาเกี่ยวกับ...)

- In reply to your e-mail, here are… (เพื่อตอบ e-mail ของคุณ, นี่คือ...)

- Your name was given to me by… (ฉันได้ชื่อของคุณมาจาก...)

- We would like to point out that… (เราอยากจะชี้แจงว่า...)

แบบไม่เป็นทางการ (Informal)

- Just a short note about…หรือ I’m writing about… (ฉันเขียนมาเกี่ยวกับ...)

- Here’s the … you wanted. (นี่คือ ... ที่คุณต้องการ)

- I got your name from… (ฉันได้ชื่อของคุณมาจาก...)

- Please note that… (ขอให้ทราบว่า...)

ให้ข้อมูล (Giving Information)

แบบเป็นทางการ (Formal)

- I’m writing to let you know that…(ฉันเขียนมาเพื่อให้คุณทราบว่า...)

- We are able to confirm that…(เราอยากจะยืนยันว่า...)

- I am delighted to tell you that…(ฉันดีใจที่จะบอกคุณว่า...)

50

- We regret to inform you that…(เราเสียใจที่จะแจ้งให้คุณทราบว่า...)

แบบไม่เป็นทางการ (Informal)

- Just a note to say… (แค่อยากจะบอกว่า...)

- We can confirm that… (เรายืนยนัว่า...)

-คําศัพท์ในการใช้อีเมล

เพื่อให้ง่ายและรวดเร็วในการใช้อีเมล ผู้จัดทําจึงได้รวบรวมคําศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับอีเมล ดังต่อไปนี้

Archive คําสั่งหรือที่อยู่สําหรับการเก็บสํารองข้อมูล (Backup)

Attached File การส่งไฟล์แนบไปกับอีเมล

Inbox ที่อยู่ที่เก็บเมลที่มีคนอื่นส่งเข้ามา

BCC: Blind Carbon Copy หมายถึงการส่งสําเนาเมลของเรา ไปให้บุคคลอื่นๆ ด้วย

โดยคนที่ได้รับเมลอื่นๆ จะไม่ทราบ

CC: Carboy Copy หมายถึงการส่งสําเนาเมลของเรา ไปให้บุคคลอื่นๆ ด้วย

Deleted Items ที่อยู่ที่เก็บเมลที่ถูกลบไว้ สามารถกู้เมลกลับคืนได้จากโฟลเดอร์นี ้

Draft ทีอยู่ที่เก็บเมลที่เรากําลังเขียน หรืออาจเขียนยังไม่เสร็จ

Email Account / Email Address หมายถึงชื่อที่อยู่อีเมลของเรา ตัวอย่างเช่น [email protected]

เป็นต้น

เพื่อเป็นการระบุตัวตนของเรา

Forward การส่งเมลที่ได้รับจากคนหนึ่ง ไปยังอีกคนหนึ่ง

Outlook Express โปรแกรมสําหรับรับส่งเมลในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

โปรแกรมนี้จะมาพร้อมกับ Windows สําหรับเวอร์ชั่นใหม่

ได้ถูกเปลี่ยนเป็น Microsoft Mail แทน

Microsoft Outlook ก็เป็นอีกหนึ่งโปรแกรมสําหรับรับส่งเมล จาก Microsoft แต่เป็น

เวอร์ชั่นที่สูงกว่า Outlook Exress, Microsoft Mail

และเป็นโปรแกรมที่ต้องซื้อเพิ่มเติมด้วย

Reply All การตอบกลับเมลที่ได้รับ ไปยังทุกๆ คนที่มีรายชื่ออีเมลในเมล

ฉบับนั้น ทั้งในช่อง To และ ช่อง CC

(ส่วนบนของในเมลที่เราเขียนขึ้นมา)

Reply การตอบกลับเมลที่ได้รับ ไปยังผู้ส่งถึงเราเท่านั้น

New Mail การเขียนเมล์ฉบับใหม่ มีความหมายเดียวกับ Compose

51

Out of Office คําสั่งในการกําหนดรายละเอียดว่า เราไม่ได้อยู่ในสํานักงาน

เวลามีใครส่งเมลถึงเรา จะได้รับตอบกลับเมลแบบอัตโนมัต ิ

Outbox ที่อยู่ที่เก็บเมลที่เรากําลังส่งออกไป (กําลังส่ง)

Send/Receive คําสั่งในการส่งเมลออก และตรวจสอบเมล์ใหม่เข้ามาในขณะเดียวกัน

Send items ที่อยู่ที่เก็บเมลที่เราได้จัดส่งออกไปแล้ว

Web Mail หมายถึงการเช็คอีเมลผ่านทางเว็บไซต์โดยตรง

-คําย่อในอีเมล

เนื่องจากในการเขียนอีเมลส่วนใหญ่มักเขียนแบบไม่เป็นทางการ มักจะใช้ที่สั้น กระชับ

เพื่อความรวดเร็ว เพราะฉะนั้นเราจะมักเห็นตัวย่อในอีเมลอยู่บ่อยครั้ง

ดังนั้นผู้จัดทําจึงได้รวบรวมตัวย่อที่มักพบบ่อย มาดังนี ้

ASAP As Soon as Possible

AAMOF As a Matter of Fact

BBL Be Back Later

B4 Before

CU See You

EZ Easy

2U2 To You Too

P.S. Post script

LTNS Long Time no See

JIC Just in case

T Telephone

E Email

Thks & Rgrds Thanks and Regards

cc carbon copy

pto please turn

RSVP please reply

52

รูปที4่.16 ตัวอย่างอีเมลที่มีคําย่อ

53

รูปที4่.17 ตัวอย่างอีเมลที่มีคําย่อ

T: +65 6322 2762

E:Carmen…