คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “...

115

Upload: others

Post on 03-Oct-2020

14 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป
Page 2: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

คํานํา

“ บ ร ร ย า ย ส รุ ป จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ป ร ะ จํ า ป ๒ ๕ ๕ ๖ ”

เปน เอกสาร ท่ีรวบรวมขอมูล ท่ีสํ า คัญของจั งหวัดปตตานี ในระหว า งป พ.ศ . ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕

จากส ว นร าช กา รต า ง ๆ ท่ี เ ก่ี ย วข อ ง เ พ่ื อ เป รี ย บ เ ที ยบและแสดงแนว โ น ม ขอ งส ถิติ ท่ี สํ า คัญ

และเ พ่ือใหสวนราชการ หนวยงานของรัฐ ภาคเอกชนและประชาชนท่ัวไป รวมท้ังคณะตางๆ

ท่ี เ ดิ น ท า ง ม า เ ยี่ ย ม เ ยี ย น จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ไ ด รั บ ท ร า บ ข อ มู ล ท่ี ถู ก ต อ ง ข อ ง จั ง ห วั ด ป ต ต า นี

และสามารถนําไปใชประโยชนในการปฏิบัติงาน การศึกษา และอางอิง ไดอยางถูกตอง

ใ น ก า ร จั ด ทํ า เ อ ก ส า ร บ ร ร ย า ย ส รุ ป จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ป ร ะ จํ า ป ๒ ๕ ๕ ๖

ไ ด รั บ ค ว า ม ร ว ม มื อ แ ล ะ อ นุ เ ค ร า ะ ห ข อ มู ล พ้ื น ฐ า น จ า ก ส ว น ร า ช ก า ร

หนวยงานตางๆท่ีเก่ียวของเปนอยางดีและขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

ท้ั ง นี้ เ อ ก ส า ร บ ร ร ย า ย ส รุ ป จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ป ร ะ จํ า ป ๒ ๕ ๕ ๖ จั ง ห วั ด ฯ

ได มี การปรับปรุ งข อ มูล เ ม่ื อ มีการ เปลี่ ยนข อ มูล ท่ีสํ า คัญๆของแต ละหน วยงานอยู เ ป นประจํ า

เ ผยแพรป ระชาสั ม พันธ ผ าน เ ว็ บ ไซต จั งห วั ดป ตตานี ท่ี www.pattani.go.th ใน 0 หั วข อ

“ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด” หัวขอยอย “บรรยายสรุปจังหวัด” ท้ังในรูปของไฟล Document และ E –

Book อีกชองทางหนึ่ง เพ่ือใหใชประโยชนไดอยางสะดวกยิ่งข้ึน

คณะผูจัดทํา

มกราคม ๒๕๕๖

Page 3: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

สารบัญ

เร่ือง หนา

๑. ประวัติศาสตรจังหวัดปตตานี ๑

๒. สัญลักษณ วิสัยทัศน และประเด็นยุทธศาสตรจังหวัดปตตานี ๓

๓. สภาพท่ัวไป

๓.๑ ท่ีตั้งและอาณาเขต ๑๘

๓.๒ หนวยการปกครอง ๑๙

๓.๓ ประชากรและศาสนา ๒๐

๓.๔ ทรัพยากรธรรมชาติ ๒๓

๓.๕ สภาพภูมิประเทศ ๒๖

๓.๖ สภาพอากาศ ๒๘

๓.๗ โครงสรางพ้ืนฐาน ๓๐

๔. การบริหารราชการจังหวัด ๓๓

๕. สภาพเศรษฐกิจ

๕.๑ ผลิตภัณฑมวลรวม ๓๗

๕.๒ ภาวะสินคาเกษตรท่ีสําคัญ ๓๙

๕.๓ ดานการเกษตร ๓๙

๕.๔ ดานประมง ๔๑

๕.๕ ดานปศุสัตว ๔๕

๕.๖ การคาการลงทุน ๔๘

๕.๗ การคาชายแดน ๔๙

๕.๘ สถานการณแรงงานจังหวัด ๕๐

Page 4: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

เร่ือง หนา

๖. สภาพทางสังคม

๖.๑ การสาธารณสุข ๕๓

๖.๒ การใชและถือครองท่ีดิน ๖๖

๖.๓ การเลือกตั้ง ๖๗

๖.๔ การพัฒนาชุมชน ๗๑

๖.๕ ผลิตภัณฑชุมชนและทองถ่ิน (OTOP) ๗๒

๖.๖ การศึกษา ๗๓

๗. แหลงทองเท่ียว

๗.๑ ศาสนสถาน ๗๕

๗.๒ ธรรมชาต ิ ๗๘

๘. งานประเพณี การละเลนพ้ืนเมือง และอาหารประจําถิ่นท่ีสําคัญ

๘.๑ งานประเพณี ๘๒

๘.๒ การละเลนพ้ืนเมือง ๙๑

๘.๓ อาหารประจําถ่ินท่ีสําคัญ ๙๖

**************************************

Page 5: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

หลั กฐาน เอกสาร โบราณปรากฏนาม เ มื องหรื อรั ฐสํ า คัญแห งหนึ่ งบนแหลมมลายู ซ่ึ งออก เสี ย งตามสํ า เนี ย ง ในแต ละภาษา เช นหลังยา ซูว ห ลั งยา ซี เจี ย (ภ าษาจี น ) ลั งคา โศกะ อิลังคาโศกะ(ภาษาสันสกฤต ภาษาทมิฬ) เล็งกะสุกะ (ภาษาชวา)ลังคะศุกา (ภาษาอาหรับ) ลังกะสุกะ สังกาสุกะ (ภาษามลายู ) โดย นักวิชาการสันนิษฐานวานาจะเปนชื่อเมืองเดียวกันท่ีนาจะเคยตั้ งอยู ในรัฐเคดาห ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย และจังหวัดปตตานีในปจจุบัน นักวิชาการทางประวัติศาสตรและโบราณคดี เ ชื่ อ ว า ป ต ต า นี เ ป น ท่ี แ ว ะ พั ก จ อ ด เ รื อ เ พ่ื อ แ ล ก เ ป ลี่ ย น ซ้ื อ - ข า ย สิ น ค า ร ะ ห ว า ง พ อ ค า ช า ว อิ น เ ดี ย ท า ง ต ะ วั น ต ก กั บ พ อ ค า ช า ว จี น ท า ง ต ะ วั น อ อ ก และชนพ้ืนเมืองบนแผนดินและหมูเกาะใกลเคียงตาง ๆ

นอกจากนี้ยังเชื่อวาเดิมปตตานีเปนอาณาจักรท่ีเกาแกและมีความเจริญรุงเรืองในอดีต เนื่องจากมีหลักฐานทางโบราณคดีวาบริเวณอําเภอยะรัง มีซากรองรอยของเมืองโบราณขนาดใหญซอนทับกันถึง ๓ เ มื อ ง มี ซ า ก โ บ ร าณ ส ถา นแ ล ะศ าส น สถ าน ห ล า ยแ ห ง นอ ก จ า กนี้ ยั ง ค นพ บ โ บ ร า ณ วั ต ถุ จํ า น ว นม า ก โ ด ย วั ต ถุ บ า ง ชิ้ น มี ตั ว อั ก ษ ร ซ่ึ ง นั ก ภ า ษ า โ บ ร า ณ อ า น แ ล ะ แ ป ล ว า เ ป น อั ก ษ ร ป ล ล ว ะ ( อิ น เ ดี ย ใ ต ) ภ า ษาสั น สกฤต เ ขี ยน เป น ค าถ า ใ น พุทธ ศ าสนาลั ท ธิ มห าย านพระ โ พธิ สั ต ว สั ม ฤท ธิ์ และเศษภาชนะดินเผาท่ีมีอายุอยูในราวพุทธศตวรรษท่ี๑๒-๑๓ สอดคลองกับจดหมายเหตุจีนท่ีไดกลาวถึงไว นอกจากนั้นหลักฐานท่ีไดขุดคนพบยังแสดงใหเห็นดวยวาบริเวณท่ีตั้งอําเภอยะรังในปจจุบันเปนชุมชนท่ีมีความเจริญ รุ ง เ รื อ ง ใ น อ ดี ต แ ล ะ ต อ ม า ไ ด ย า ย เ มื อ ง ป ต ต า นี ม า บ ริ เ ว ณ บ า น กรือเซะสันนิษฐานวาเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตรทําใหเมืองเดิมไมเหมาะในการเปนเมืองทาการคา

เมืองปตตานีไดชื่อวาเปนหัวเมืองฝายใตปลายแหลมมลายูท่ีมีฐานะเปนเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยามาตั้งแตรัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑–๒๐๓๑) เปนตนมา จนในปพ.ศ. ๒๐๕๔ โปรตุเกสยึดครองมะละกาไดสําเร็จ และพยายามขยายอิทธิพลทางการคาข้ึนมาทางตอนเหนือของคาบสมุทรมลายู ป ร ะ ก อ บ กั บ พ ร ะ ร า ม า ธิ บ ดี ท่ี ๒ ( พ . ศ . ๒ ๐ ๓ ๔ – ๒ ๐ ๗ ๒ ) ทรงยินยอมใหโปรตุเกสเขามาตั้งสถานีการคาในเมืองชายฝงทะเล เชน นครศรีธรรมราช มะริด ตะนาวศรี และปตตานี ทําใหปตตานีกลายเปนเมืองทาหลักเมืองหนึ่ง แมวาปตตานีจะเปนเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยา แตดวยเหตุท่ีเปนเมืองท่ีมีความเจริญม่ันคงทางเศรษฐกิจ ทําใหเจาเมืองปตตานีตองการความเปนอิสระ และทําการแข็งเมืองอยูบอยครั้งเม่ือมีโอกาส

จ า ก ห ลั ก ฐ า น ท า ง โ บ ร า ณ ค ดี ท่ี พ บ ท่ี เ มื อ ง โ บ ร า ณ ย ะ รั ง ท ร า บ ว า แต เ ดิ มช าว เ มือ งป ตตานี นั บ ถื อศาสนา พุทธและพราหมณ และ เปลี่ ย นมานับ ถื อศาสนา อิสลาม ห ลั ง จ า ก ท่ี อ า ณ า จั ก ร ศ รี วิ ชั ย เ สื่ อ ม อํ า น า จ โ ด ย ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ล จ า ก ร า ช ว ง ศ มั ช ป า หิ ต ใ น ช ว า ท่ี แ ผ อํ า น า จ เ ข า ม า สู แ ห ล ม ม ล า ยู กอใหเกิดความรวมมือดานการเมืองและดานเศรษฐกิจทําใหการคาในภูมิภาคเขมแข็งและสงผลใหศาสนาอิสลามมีความเจริญรุงเรืองข้ึน นอกจากนี้มีการกอสรางมัสยิดเพ่ือใชประกอบศาสนกิจท่ีสําคัญคือ มัสยิดกรือเซะ และมัสยิดบานดาโตะตอมาในรัชสมัยพร ะบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (พ.ศ. ๒๓๒๕–๒ ๓ ๕ ๒ ) ท ร ง โ ป ร ด เ ก ล า ฯ ใ ห ส ม เ ด็ จ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาทยกทัพหลวงมาปราบปรามพมาท่ีมาตีหัวเมืองทางแหลมมลายูจนเรียบรอย แ ล ะ ใ น ป พ . ศ . ๒ ๓ ๒ ๙ ก ร ม พ ร ะ ร า ช วั ง บ ว ร ฯ เ ส ด็ จ ล ง ไ ป ป ร ะ ทั บ ท่ี เ มื อ ง ส ง ข ล า ไ ด มี ก ร ะ แ ส รั บ สั่ ง อ อ ก ไ ป ยั ง หั ว เ มื อ ง ป ต ต า นี เ มื อ ง ไ ท ร บุ รี

๑. ประวัติศาสตรจังหวัดปตตานี

Page 6: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

แ ล ะ เ มื อ ง ต รั ง ก า นู ใ ห ม า ย อ ม เ ป น เ มื อ ง ข้ึ น เ ช น เ ดิ ม แ ต สุ ล ต า น มู ฮั ม ห มั ด พ ร ะ ย า ป ต ต า นี ใ น ข ณ ะ นั้ น ขั ด ขื น ก ร ม พ ร ะ ร า ช วั ง บ ว ร ฯ จึ ง มี รั บ สั่ ง ใ ห พ ร ะ ย า ก ล า โ ห ม ยกกองทัพไปตีเมืองปตตานีไดในป พ.ศ. ๒๓๒๙ โดยไดกวาดตอนครอบครัวและศาสตราวุธมาเปนจํานวนมาก ร ว ม ท้ั ง ป น ใ ห ญ ๒ ก ร ะ บ อ ก แ ต ส า ม า ร ถ นํ า ม า ไ ด เ พี ย ง ก ร ะ บ อ ก เ ดี ย ว จึ ง นํ า ข้ึ น ทู ล เ ก ล า ฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก และทรงโปรดเกล าฯ ใหจารึกชื่อปน “พญาตานี” นับวาเปนปนใหญกระบอกใหญท่ีสุดของประเทศไทย ปจจุบันตั้งอยูหนากระทรวงกลาโหม กรุงเทพมหานคร

- ๒–

ใ น รั ช ส มั ยพระบ าทสม เ ด็ จพร ะ พุท ธ เ ลิ ศหล า นภ าลั ย ( พ . ศ . ๒๓๕๒ – ๒๓๖๗ ) เกิดความไมสงบบอยครั้งจึงโปรดเกลาฯ ใหมีผูกํากับดูแลหัวเมืองมลายู โดยแบงเมืองตานีออกเปน ๗ หัวเมือง ป ร ะ ก อ บ ด ว ย เ มื อ ง ป ต ต า นี เ มื อ ง ย ะ ห ริ่ ง เ มื อ ง ส า ย บุ รี เ มื อ ง ห น อ ง จิ ก เ มื อ ง ร ะ แ ง ะ เมืองรามันหและเมืองยะลาตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดเกลาฯใหยกเลิกวิธีการปกครองแบบจตุสดมภ (เวียง วัง คลัง นา) ตั้งแตป พ.ศ.๒๔๓๕ เปนตนมา โดยจัดการปกครองแบบ ๑๒กระทรวงมีกระทรวงมหาดไทยเปนกระทรวง การแผนดิน จัดการปกครองเปนระบบเทศาภิบาล โ ด ย จั ด แ บ ง เ ป น ม ณ ฑ ล ท ร ง ใ ช น โ ย บ า ย ป ร ะ นี ป ร ะ น อ ม แ ล ะ ดํ า เ นิ น ก า ร เ ป น ข้ั น ต อ น เพ่ือไมใหเกิดการกระทบกระเทือน ตอการปกครองของเจาเมืองท้ัง ๗ หัวเมืองประกอบดวย ปตตานี ยะหริ่ง ส า ย บุ รี ห น อ ง จิ ก ร ะ แ ง ะ ร า มั น ห แ ล ะ ย ะ ล า ซ่ึ ง ข้ึ น กั บ ม ณ ฑ ล น ค ร ศ รี ธ ร ร ม ร า ช มีขาหลวงเทศาภิบาลมณฑลเปนผูวาราชการเมืองดูแล ตอมาในป พ.ศ.๒๔๔๙ ไดแยกหัวเมืองท้ัง ๗ ออกจากมณฑลนครศรีธรรมราช มาตั้งเปนมณฑลปตตานี พรอมท้ังเปลี่ยนฐานะเมืองเปนอําเภอและจังหวัด ไดแก

จังหวัดปตตานี รวมเมืองหนองจิกและเมืองยะหริ่ง จังหวัดสายบุรี รวมเมืองระแงะ จังหวัดยะลา รวมเมืองรามันห

ใ น รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ก เ ก ล า เ จ า อ ยู หั ว เ กิดภาวะเศรษฐกิจของประเทศตกต่ํ าภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในป พ.ศ.๒๔๗๕ รั ฐ บาลจํ า เป นต อ งตั ดทอนร ายจ า ย ให น อ ย ล ง เ พ่ื อ รั กษา เ ส ถี ย รภาพทา งก ารคลั ง ขอ งปร ะ เทศ จึงใหยุบเลิกมณฑลปตตานีคงสภาพเปนจังหวัดยุบจังหวัดสายบุรีเปนอําเภอตะลุบัน(ภายหลังชื่ออําเภอสายบุรี)และแบงพ้ืนท่ีบางสวนของสายบุรี คือ ระแงะและบาเจาะไปข้ึนกับจังหวัดนราธิวาส

ท่ีมา:วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดปตตานี หนา ๒๗ – ๓๓

Page 7: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓–

ตราประจําจังหวัด รูปปนใหญหมายถึง ปนนางพญาตานีซ่ึงมีขนาดใหญท่ีสุด (มีขนาดยาว ๓ วา ศอกคืบนิ้วครึ่ง

กระสุนมีลักษณะกลม มีเสนผาศูนยกลาง ๑๑ นิ้ว) ซ่ึงเปนปนใหญกระบอกสําคัญ ท่ีใชปองกันเมืองปตตานีตลอดมา ชาวเมืองปตตานีจึงถือวาเปนของคูบานคูเมืองมาแตสมัยโบราณ

จังหวัดปตตานี ใชอักษรยอวา "ปน"

คําขวัญจังหวัด "เมืองงามสามวัฒนธรรม ศูนยฮาลาลเลิศล้ํา ชนนอมนําศรัทธา ถ่ินธรรมชาติงามตา ปตตานีสันติสุขแดนใต"

๒. สัญลักษณ วิสัยทัศน และประเด็นยุทธศาสตรจังหวัดปตตาน ี

Page 8: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ธงประจําจังหวัด

-๔–

ดอกไมประจําจังหวัด “ดอกชบา”

ตนไมประจําจังหวัด ชื่อพรรณไม “ตะเคียนทอง”

ชื่อวิทยาศาสตร Hopeaodorata

พ้ืนสีเหลือง

พ้ืนสีเขียว

Page 9: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๕–

การวิเคราะหสภาพแวดลอมและขีดสมรรถนะ ในการดําเนินงานพัฒนาจังหวัดปตตานี (SWOT Analysis)

การจัดทํายุทธศาสตรการพัฒนาของสวนราชการและจังหวัดเปนการเชื่อมโยงยุทธศาสตรลงสูกระทรวงกรมและพ้ืนท่ีระดับกลุมจังหวัดและจังหวัดเปนกระบวนการท่ีทุกภาคสวนมีสวนรวมในการจัดทํายุทธศาสตร การพัฒนาใหสะทอนถึงปญหาความตองการท่ีแทจริงของประชาชนนอกจากนี้การจัดทํายุทธศาสตรหรือ การทบทวนยุทธศาสตรท่ีไดดําเนินการมาแลวนั้นมีจุดมุงหมายเพ่ือใหยุทธศาสตรการพัฒนามีความเหมาะสมและเปนท่ียอมรับของทุกภาคสวนมากข้ึน จั งหวัดปตตานี ไดจัด ทําแผนพัฒนาจั งหวัดปตตานี (ป พ.ศ . ๒๕๕๗ -๒๕๖๐) โดยดําเนินการในการเตรียมจัดทําแผนยุทธศาสตรพัฒนาจังหวัดปตตานี ซ่ึงมีข้ันตอนและดําเนินการดังนี้ ข้ั น ท่ี ๑ เตรียมการจัดทําแผนยุทธศาสตรดําเนินการชี้แจงทําความเขาใจใหผูท่ีมีสวนเก่ียวของทราบถึงวัตถุประสงคความสําคัญแนวทางและข้ันตอนในการจัดทําแผนยุทธศาสตร ข้ันท่ี ๒ รวบรวมขอมูลและจัดทําฐานขอมูลใหครบถวนทันสมัยซ่ึงไดแกขอมูลในดานการเมือง การปกครองเศรษฐกิจสังคม ความม่ันคง และสิ่งแวดลอม ฯลฯ ของจังหวัดรวมท้ังสภาพปญหาของประชาชนในจังหวัด ข้ั น ท่ี ๓ ประเมินสถานภาพปจจุบันของจังหวัดดวยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือระดมความคิดเห็นจากผูบริหารและเจาหนาท่ีท้ังในระดับจังหวัดอําเภอทองถ่ินภาคเอกชนและภาคประชาสังคมท่ีเก่ียวของโดยรวมกันใหความคิดเห็นตอจัด ก า ร ทํ า ร า ง แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด แ ล ะ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ต า ม แ น ว ท า ง ท่ี ก .น .จ . กําหนดดวยการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกท่ีมีผลตอการพัฒนาดานตางๆของจังหวัดไดแกโอกาสและภัยคุกคามหรือขอจํากัดและการวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในของจังหวัดไดแกจุดออนจุดแข็งของจังหวัดเพ่ือตอบคําถา

Page 10: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

มว า ป จ จุ บั น จั ง หวั ด มี สถ านภ าพอยู ณ จุ ด ใด โ ดย ใ ช เ ทคนิ ค SWOT Analysis ซ่ึงไดขอสรุปการวิเคราะหประเมินสภาวะแวดลอมของจังหวัดปตตานีดังตอไปนี้ ส ถ า น ก า ร ณ โ ด ย ร ว ม จังหวัดปตตานีเปนจังหวัดท่ีมีสภาพภูมิประเทศและท่ีตั้งไดเปรียบจังหวัดอ่ืนๆกลาวคือตั้งอยูในแนวเขตรอยตอท่ีสามารถติดตอกับสามจังหวัดภาคใตชายแดน และจังหวัดสงขลา ซ่ึงเปนศูนยกลางทางเศรษฐกิจของภาคใต พ้ืนท่ีมีความสมบูรณเหมาะแกการทําเกษตร เปนแหลงผลิตสินคาเกษตรท่ีสําคัญ ไดแก ยางพารา ขาว และไมผลตลอดจนแนวชายฝงทะเลยาวประมาณ ๑๑๖.๔ กิโลเมตร ถือเปนแหลงประมงทะเลท่ีสําคัญ แ ล ะ ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง สั ต ว น้ํ า เ ช น กุ ง กุ ล า ดํ า กุ ง ข า ว ป ล า ใ น ก ร ะ ชั ง โ ด ย มี โ ค ร ง ส ร า ง พ้ืนฐานรองรับการประมงเชิงพาณิชย เชน ทาเทียบเรือขนาดใหญท่ีรองรับท้ังเรือประมงขนาดใหญและขนาดเล็ก แ ล ะ อ ยู ใ ก ล กั บ แ ห ล ง ทํ า ก า ร ป ร ะ ม ง ใ น อ า ว ไ ท ย แ ล ะ แ ห ล ง ทํ า ก า ร ป ร ะ ม ง ร ะ ห ว า ง ป ร ะ เ ท ศ ซ่ึงจากความอุดมสมบูรณทางการเกษตร ทําใหเกิดอุตสาหกรรมท่ีตอเนื่องจากการเกษตรข้ึนในพ้ืนท่ีจํานวนมาก เ ช น โ ร ง ง า น แ ป ร รู ป สั ต ว น้ํ า โ ร ง ง า น แ ป ร รู ป ผ ล ผ ลิ ต ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร โ ร ง น้ํ า แ ข็ ง ทําใหการคาการลงทุนในจังหวัดปตตานีมีความเชื่อมโยงกับการเกษตรเปนอยางมากนอกจากโรงงานอุตสาหกรรมแล ว ยั ง มี วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ท่ี ทํ า ก า ร แ ป ร รู ป ผ ลิ ต ผ ล ก า ร เ ก ษ ต ร เ กิ ด ข้ึ น เ ป น จํ า น ว น ม า ก แ ล ะ โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ล ะ วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น ต า ง ๆ เ ห ล า นี้ สามารถเชื่อมโยงตลาดสินคากับอัตลักษณของจังหวัดปตตานีท่ีมีความเปนวิถีมุสลิมท่ีไดรับการยอมรับจากท่ัวโลกและเปนแหลงอารยธรรมท่ีสําคัญและมีคุณคาในการผลิตสินคาฮาลาลเจาะตลาดสินคาฮาลาลท้ังในและตางประเทศ ภายใตการสนับสนุนของรัฐบาลท่ีมีนโยบายสนับสนุนใหจังหวัดปตตานีเปนศูนยกลางผลิตภัณฑฮาลาล โดยจะเห็น ได จากแผนพัฒนาเศรษฐ กิจในระดับต างๆ ท้ังระดับชาติ ระดับภาค และกลุ มจั งหวัด ร ว ม ถึ ง แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ กั บ ป ร ะ เ ท ศ ใ น ภู มิ ภ า ค ( IMT-GT) โดยสามารถพัฒนาควบคูกับการทองเท่ียวเชิงวัฒนธรรมท่ีเปนจุดเดนเชิงประวัติศาสตรและอารยธรรม

- ๖–

อ ย า ง ไ ร ก็ ต า ม ภายใตศักยภาพและโอกาสท่ีเอ้ือตอการพัฒนาของจังหวัดปตตานีดังกลาวยังมีปญหาอุปสรรคท่ีจําเปนตองไดรับการ ป รั บ ป รุ ง แ ก ไ ข แ ล ะ พั ฒ น า ไ ด แ ก ปญหาความไมสงบท่ีมี เหตุการณร ายแรงท่ีส งผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินเ พ่ิม ข้ึนอยางตอเนื่อง โดยไมสามารถเชื่ อ ได ว าสา เหตุของเหตุการณความไมสงบเ กิดจากสาเหตุ ใด เปนสา เหตุ ท่ีแท จริ ง แ ต ผ ล ก ร ะ ท บ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ทํ า ใ ห แ ร ง ง า น ใ น พ้ื น ท่ี ข า ด แ ค ล น การ ศึกษา ไม ส ามารถทําการ เ รี ยนการสอนได ตามปกติ เห มือนกับ พ้ืน ท่ี อ่ืนๆ ปญหาการว า ง งาน เนื่องจากโรงงานบางสวนปดกิจการ และปญหาครอบครัว ท่ี เ กิดจากขาดผูนํ าครอบครัว นอกจากนี้ ป ญ ห า สุ ข ภ า พ อ น า มั ย ป ญ ห า ค ว า ม เ สื่ อ ม โ ท ร ม ข อ ง ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ซ่ึงเปนฐานทรัพยากรของการผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรม ปญหาการยอมรับในตัวผลิตภัณฑตางๆ ยังเปนปญหาท่ีตองแกไขเรงดวนเชนเดียวกัน

ทิศทางและจุดเนนในการพัฒนาภายใตแผนพัฒนาจังหวัดปตตานี พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๐ จากการประเมินศักยภาพ และสถานการณแวดลอมของจังหวัดปตตานี ยังมีจุดเนนท่ีสําคัญ ดังนี้

๑ ) ทิ ศ ท า ง ก า ร พั ฒ น า เ ชิ ง รุ ก ( จุ ด แ ข็ ง จ า กศั ก ย ภ า พภ า ย ใ น ข อ งจั ง ห วั ด ผส า น กั บ โ อ ก า สจ า ก สภ า พแ วด ล อ ม ภ า ยน อก ) จะมุงเนนการดําเนินการ ดังตอไปนี้

Page 11: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

- นําจุดแข็งภายในท่ีมีประชากรนับถือศาสนาอิสลาม และมีความเปนมาทางประวัติศาสตรและ มีอัตลักษณท่ีโดดเดนในการเปนศูนยกลางเผยแพรศาสนาอิสลามในดินแดนอุษาคเนยท่ีเรียกขานกันวา“ระเบียงเมก ก ะ ” และการครองตนตามวิถีอิสลามของชาวปตตานีสวนใหญในปจจุบันซ่ึงเปนจุดแข็งเชิงสัญลักษณท่ีโลกมุสลิมใหการยอมรับ นํ ามา เปนป จจั ยสํ า คัญยิ่ ง ท่ีสามารถนํ ามาใชประโยชน ในการสร า งตราสัญลักษณ (Brand) และขยายตลาดสิ นค าและบริ ก ารฮาลาล ไปสู ป ระชาคม มุสลิ ม ท้ั ง ในระดับประ เทศ อนุ ภู มิ ภ าค ภู มิภาคและกลุมลูกค า เป าหมายเฉพาะ (Niche Market) ท่ีกระจายอยู ในภู มิภาคตางๆ ท่ั ว โ ล ก แ ล ะ ก า ร ส ร า ง มู ล ค า เ พ่ิ ม ท า ง ก า ร ท อ ง เ ท่ี ย ว โ ด ย เ ฉ พ า ะ ใ น ก ลุ ม ป ร ะ เ ท ศ มุ ส ลิ ม ข อ ง อ า เ ซี ย น ท่ี มี โ อ ก า ส จ า ก ก า ร เ ป น ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น ท่ีจะทําใหการติดตอและการแลกเปลี่ยนทางการคา และทางวัฒนธรรมท่ีจะมีมากข้ึน

- นําจุดแข็งท่ีอาวปตตานีมีทรัพยากรสัตวน้ํา และเปนแหลงผลิตสินคาประมงท่ีสําคัญ เนื่องจาก มีชายฝงทะเลยาวประมาณ ๑๑๖.๔กิโลเมตร เหมาะแกการทําประมงทะเลและเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง อีกท้ังการมีอุตสาหกรรมตอเนื่องท่ีรองรับวัตถุดิบทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปผลผลิตประมง ซ่ึ ง มี โ ร ง ง า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม แ ป ร รู ป อ า ห า ร ท ะ เ ล แ ล ะ โ ร ง ง า น ป ล า ป น มีศูนยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารฮาลาลปจจัยเหลานี้จะนํามาใชเปนประโยชนในการขับเคลื่อนเชิงรุกท่ีผสานกั บ โ อ ก า ส ท่ี รั ฐ บ า ล มี น โ ย บ า ย ส นั บ ส นุ น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต เ ป น ก ร ณี พิ เ ศ ษ ทํ า ใ ห มี โ อ ก า ส ใ น ก า ร พั ฒ น า ใ น ทุ ก ด า น และโอกาสของการเพ่ิมของประชากรมุสลิมท่ัวโลกท่ีมีความตองการทางอาหารท่ีเพ่ิมข้ึนเชนเดียวกันและการผนวกกับความสัมพันธกับประเทศเพ่ือนบานในอาเซียนสามารถใชเปนประตูสูความสัมพันธทางเศรษฐกิจ การคา การลงทุนและพัฒนาความสัมพันธทางวัฒนธรรมแบบขามพรมแดนระหวางโลกมุสลิมไดอยางสะดวกตามขอตกลงในการประชุม IMT-GT มอบใหไทยเปนเจาภาพดานผลิตภัณฑฮาลาล และบริการฮาลาล - นํ า จุ ด แ ข็ ง ข อ ง ร ว ม ก ลุ ม ข อ ง ภ า ค ป ร ะ ช า ช น เ พ่ื อ แ ก ไ ข ป ญ ห า ต า ง ๆ อ ย า ง เ ข ม แ ข็ ง เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน/หมูบาน เชน กลุมสัจจะออมทรัพยเพ่ือการผลิต กองทุนหมูบาน ก ลุ ม ป ร ะ ม ง พ้ื น บ า น โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย า ง ยิ่ ง กลุมผูผลิตสินคาฮาลาลชุมชนรองรับการพัฒนาซ่ึงมีการรวมกลุมอยางเขมแข็งเปนจํานวนมาก หลายสาขา เชน บูดู ข า ว เ ก รี ย บ ห ม ว ก ก ะ ป เ ย า ะ ผ า ค ลุ ม ผ ม มุ ส ลิ ม ผ ล ไ ม แ ป ร รู ป ปจจัยเหลานี้จะนํามาใชเปนประโยชนในการขับเคลื่อนเชิงรุกท่ีผสานกับโอกาสท่ีรัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต เปนกรณีพิเศษทําให มีโอกาสในการพัฒนาในทุกดาน และโอกาสของการเพ่ิมของประชากรมุสลิมท่ัวโลกและการผนวกกับความสัมพันธกับประเทศเพ่ือนบานในอาเซียนส า ม า ร ถ ใ ช เ ป น ป ร ะ ตู สู ค ว า ม สั ม พั น ธ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร ค า การลงทุนและพัฒนาความสัมพันธทางวัฒนธรรมแบบขามพรมแดนระหวางโลกมุสลิมไดอยางสะดวก

- ๗–

- นํ า จุ ด แ ข็ ง ม า ใ ช ใ น ก า ร พั ฒ น า เ ชิ ง รุ ก จ า ก ก า ร ท่ี มี แ ห ล ง ท อ ง เ ท่ี ย ว ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ และศิลปวัฒนธรรมท่ี เปนมรดกทางประวัติศาสตร เปน ท่ีรู จั กและศรัทธาเลื่อมใสของบุคคล ท่ัวไป ลักษณะสังคมพหุวัฒนธรรมของปตตานีมีจุดรวมสําคัญท่ีสามารถนํามาใชประโยชนในการสรางจุดขายทางดานการทองเท่ียวและพัฒนาผลิตภัณฑอ่ืนท่ีมีลักษณะคลายคลึงกับฮาลาลเพ่ือจับกลุมเปาหมายอ่ืนท่ีไมใชตลาดสินคาและบริการฮาลาล ดังเชนแนวคิดในการพัฒนาครัวสามวัฒนธรรมรองรับการเปนประชาคมอาเซียน - นําจุดแข็งในการมีสภาพภูมิประเทศมีความอุดมสมบูรณเหมาะแกการทําการเกษตรมายกระดับการพัฒนาการเกษตรใน พ้ื น ท่ี ท่ี อ า ศั ย ก า ร เ รี ย น รู จ า ก แ ห ล ง เ รี ย น รู จ า ก โ ค ร ง ก า ร อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก พ ร ะ ร า ช ดํ า ริ จากปราชญชาวบานในจังหวัดใกลเคียงและจากสื่อ องคความรูตางๆ ในการพัฒนาชุมชน การสรางวิถีชีวิต

Page 12: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

แ ล ะ ก า ร ทํ า ก า ร เ ก ษ ต ร ข อ ง จั ง ห วั ด ป ต ต า นี โ ด ย อ า ศั ย ห ลั ก ป รั ช ญ า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง และเกษตรทฤษฏีใหมเปนฐานการพัฒนา

๒ ) ทิ ศ ท า ง ก า ร พั ฒ น า เ ชิ ง ป อ ง กั น (จุดแข็งจากศักยภาพภายในของจังหวัดรับมือกับอุปสรรคจากสภาพแวดลอมภายนอกท่ีมาคุกคาม)

- ใ ช จุ ด แ ข็ ง จ า ก ก า ร ท่ี จั ง ห วั ด มี ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ใ น พ้ื น ท่ี องคกรอุตสาหกรรมท่ีเขมแข็งมาทําหนาท่ีรวมในการสื่อสารขอมูลไปยังนักลงทุนจากภายนอกท่ีขาดความเชื่อม่ันตอ ก า ร ล ง ทุ น ใ น พ้ื น ท่ี เ นื่ อ ง จ า ก เ ห ตุ ก า ร ณ ค ว า ม รุ น แ ร ง ใ น พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต และการนําเสนอขาวสารเพ่ือใหนักลงทุนเหลานี้ไดรับทราบขอมูลจากผูประกอบการดวยกัน

- ใชจุดแข็งจากการท่ีจังหวัดมีการรวมกลุมของภาคประชาชนกลุมการผลิต กองทุนหมูบาน ก ลุ ม ป ร ะ ม ง พ้ื น บ า น กลุมผูผลิตสินคาฮาลาลชุมชนรองรับการพัฒนาซ่ึงมีการรวมกลุมอยางเขมแข็งเปนจํานวนมากมารับมือกับการปองกันการเพ่ิมข้ึนของปจจัยการผลิตมีราคาสูงข้ึน ราคาสินคาทางการเกษตรตกต่ํามีพอคาคนกลางกดราคา ทําใหรายไดเกษตรกรไมแนนอน

- ใชประโยชนจากจุดแข็งท่ีจังหวัดมีสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาคือมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิ ท ย า เ ข ต ป ต ต า นี ใ น ก า ร ส ร า ง ส ร ร ค ผ ล ง า น ท า ง วิ ช า ก า ร น วั ต ก ร ร ม และการวิจัยท่ีนํามาใชในการพัฒนาการทางดานการเกษตร เพ่ือแกไขปญหาในพ้ืนท่ีท่ีมีปจจัยการผลิตมีราคาสูงข้ึน ราคาสินคาทางการเกษตรตกต่ําทําใหรายไดเกษตรกรไมแนนอน

๓ ) ทิ ศ ท า ง ก า ร พั ฒ น า เ ชิ ง แ ก ไ ข (จุดออนจากศักยภาพภายในของจังหวัดท่ีใชโอกาสจากสภาพแวดลอมภายนอกมาแกไข)

- แก ไขจุ ดอ อนของจั งหวัด ท่ี มีผลผลิ ตการ เกษตร มีผลผลิ ตต อ ไร ต่ํ า ฐ านการผลิ ตยั งแคบ เกษตรกรยั งขาดความรู ความเข า ใจ ในการนํ า เทคโนโลยีการผลิต ท่ี เหมาะสมมาใช ในการ เกษตร เ ก ษ ต ร ก ร ส ว น ใ ห ญ ยั ง ค ง ใ ช รู ป แ บ บ แ ล ะ วิ ธี ก า ร ผ ลิ ต แ บ บ ดั้ ง เ ดิ ม โ ด ย อ า ศั ย ป ร ะ โ ย ช น แ ล ะ โ อ ก า ส จ า ก ภ า ย น อ ก ท่ี มี แ ห ล ง เ รี ย น รู จ า ก โ ค ร ง ก า ร อันเนื่องมาจากพระราชดําริจากปราชญชาวบานในจังหวัดใกล เ คียง และจากสื่อ องคความรูต างๆ ในการพัฒนาชุมชน การสรางวิ ถีชีวิต และการทําการเกษตรโดยอาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แ ล ะ เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฏี ใ ห ม ม า ใ ช ป ร ะ โ ย ช น พรอมท้ังการกระตุนการใชประโยชนจากการเขาถึงเทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรูสิ่งใหมท่ีสามารถนํามาใชประ โ ย ช น ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ก า ร ส ร า ง วิ ถี ก า ร เ รี ย น รู และการกาวทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมปตตานีสามารถทําไดงายข้ึน

- แก ไ ขปญห าสิ น ค า ฮ า ล าล ร ะดั บ ชุ ม ช น ท่ี ยั ง ไ ม เ ป น ท่ี ย อม รั บ ด า นม าต ร ฐ านผลิ ตภัณ ฑ ม า ต ร ฐ า น บ ร ร จุ ภั ณ ฑ ข า ด ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล คุ ณ ภ า พ สิ น ค า แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร ต ล า ด และการโลจิสติกสท่ียังไมมีศักยภาพท่ีจะแขงขันไดในตลาด โดยการผสานการสงเสริม องคความรู งบประมาณ และป จ จั ย อ่ื นๆ เ พ่ือการ พัฒนาผลิ ตภัณฑ ของจั งหวั ดสู เ กณฑ ม าตรฐ าน GAP, ISO9001, มกอชจากหนวยงานระดับนโยบาย

- ๘–

- แกไขปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพน้ําเสื่อมโทรม ทรัพยากรสัตวน้ําลดลง และปญหาการกัดเซาะชายฝงอยางรุนแรง ตั้งแตบริเวณชายฝงทะเลในเขตอําเภอหนองจิก อําเภอยะหริ่ง อําเภอปะนาเระ อําเภอสายบุรี สงผลกระทบตอชุมชนชายฝง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง และการทองเท่ียว

Page 13: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

โ ด ย อ า ศั ย ก ล ไ ก ข อ ง ค ว า ม เ ข ม แ ข็ ง ข อ ง เ ค รื อ ข า ย NGO และการบูรณการการทํางานรวมกับเครือขายในพ้ืนท่ีจังหวัดใกล เ คียงท่ีเปนรอยตอเพ่ือการเฝาระวัง แ ล ะ ก า ร จั ด ก า ร แ บ บ มี ส ว น ร ว ม ท่ี เ ข ม แ ข็ ง แ ก ไ ข ป ญ ห า ด า น สุ ข ภ า พ อ น า มั ย โดยเฉพาะปญหาอนามัยแมและเด็กผานกลไกเชิงนโยบาย

๔ ) ทิ ศทา งกา ร พัฒนา เ ชิ ง ก า รตั้ ง รั บ ( จุ ดอ อนจากภายศั กยภ าพภาย ในของจั งห วั ด และเปนอุปสรรคจากสภาพแวดลอมภายนอก ) - ป ญ ห า สุ ข ภ า พ อ น า มั ย แ ล ะ วิ ถี ท า ง ด า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น ยั ง ไ ม เ ข ม แ ข็ ง ป ร ะ ช า ช น ยั ง ข า ด ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ใ น ก า ร ส ร า ง วิ ถี สุ ข ภ า ว ะ ท่ี ดี โ ร ค ท่ี เ ป น ป ญ ห า ข อ ง ชุ ม ช น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ป ญ ห า อ น า มั ย แ ม แ ล ะ เ ด็ ก พ บ ว า อัตราการตายของมารดาและทารกสูงกวาระดับประเทศและภาคใต

- ก า ร ข า ด คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของนักเรียนมีคาเฉลี่ยต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศทุกกลุมสาระ ป ร ะ ก อ บ กั บ นั ก เ รี ย น ป ร ะ ช า ช น บ า ง ส ว น อ า น แ ล ะ เ ขี ย น ภ า ษ า ไ ท ย ไ ม ค ล อ ง สงผลตอการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูในวิชาอ่ืนๆ และการหาความรู เพ่ิมเติม สาเหตุสําคัญ คือขาดแคลนครูเฉพาะสาขาวิชาและการสอนไมตรงวุฒิทางการศึกษา

จากทิศทางการพัฒนาตามศักยภาพ และผลการประเมินสภาพการณภายนอกท่ีจําแนกออกเปน ๔ ทางเลือกขางตน จังหวัดไดนํามาเปนจุดยืน และเข็มมุงในการพัฒนาในรอบปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๐ โดยแบงออกเปน ๔ ดานไดดังนี้

๑ . ด า น ก า ร ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ ก า ร พั ฒ น า แ ห ล ง ผ ลิ ต ผ ล ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร และอาหารฮาลาลท่ีมีคุณภาพระดับมาตรฐานสงออก

๑) การเสริมสรางความเขมแข็งของสถาบันการเกษตร กลุมเกษตรกร พรอมเสริมสรางคุณภาพชีวิตท่ีดี และขีดความสามารถแกเกษตรกรใหเปนผูผลิตผลิตผลทางการเกษตรท่ีมีปริมาณ และคุณภาพท่ีเพียงพอ ตอการปอนสูอุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล

๒ ) ก า ร เ ส ริ ม ส ร า ง ค ว า ม ม่ั น ค ง ด า น อ า ห า ร และทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอมใหมีคุณภาพและเปนฐานรองรับการเปนแหลงผลิตอุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลของจังหวัด และภูมิภาคกลุมจังหวัด

๓ ) ก า ร ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ใ ห เ ป น แ ห ล ง ผ ลิ ต สิ น ค า เ ก ษ ต ร ท่ี มี คุ ณ ภ า พ โดยเนนการพัฒนายกระดับการผลิตสินคาการเกษตรท่ีมีคุณภาพ มีความปลอดภัยไดมาตรฐาน Good Agricultural Practice : GAP มาตรฐาน Q และมาตรฐานการสงออกของผลิตภัณฑนั้น

๔) กา รสร รค ส ร า งนวั ตกร รม เทค โน โลยี และแสว งหาคว ามร ว ม มือ กับ พ้ืน ท่ี ใ กล เ คี ย ง และประเทศเพ่ือนบานเพ่ือการสงเสริมและพัฒนาการผลิตภาคการเกษตรท่ีมีศักยภาพทางการตลาด และเปนวัตถุดิบอุตสาหกรรม ฮาลาลของจังหวัดใหสามารถแขงขันได

๒. ดานการสงเสริมอุตสาหกรรมการเกษตร และพัฒนาผลิตภัณฑอาหารฮาลาล ๑ ) ก า ร ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ใ ห เ ป น แ ห ล ง ผ ลิ ต สิ น ค า แ ป ร รู ป แ ล ะ สิ น ค า ฮ า ล า ล โดยเนนพัฒนากระบวนการผลิตอาหารฮาลาลตั้งแตข้ันตอนการผลิตวัตถุดิบ กระบวนการแปรรูป และบรรจุภัณฑ รวมท้ังการตลาดเชิงรุกโดยพัฒนาครบวงจรท้ังระบบ ครอบคลุมท้ังโรงงานอุตสาหกรรม วิสาหกิจชุมชน แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ฮ า ล า ล ท้ั ง อ า ห า ร ฮ า ล า ล แ ฟ ชั่ น เครื่องแตงกายและบริการตางๆเปนระบบการเกษตรและการผลิตเชิงสรางสรรคเพ่ือการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของจังหวัด สรางงาน สรางอาชีพ และรายไดท่ีม่ันคงแกเกษตรกร

- ๙–

Page 14: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๒) สนับสนุนอุตสาหกรรมการเกษตร และอุตสาหกรรมฮาลาลของจังหวัดให เ กิดมูลคาเ พ่ิม รองรับการสงออก และการเขาสูการแขงขันในประชาคมอาเซียน บนพ้ืนฐานการพัฒนาเชิงสรางสรรค

๓) สงเสริม สนับสนุนการลงทุนภาคอุตสาหกรรม และเครือขายวิสาหกิจเกษตรอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมอาหารฮาลาลในชุมชนใหเขมแข็งสามารถรองรับการสงออก

๔ ) พั ฒ น า โ ค ร ง ส ร า ง พ้ื น ฐ า น การคมนาคมและโลจิสติกสรองรับเกษตรอุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมอาหารฮาลาล

๓. ดานการสรางความม่ันคงในการดํารงชีวิตของประชาชน และสังคม ๑) การพัฒนาจังหวัดใหมีความม่ันคงของประชาชนตามดัชนีชี้วัด ๑๒ มิติความม่ันคงของมนุษย

ซ่ึ งประกอบด วย ท่ีอยู อา ศัยสุ ขภาพ อาหาร การศึกษา การมีงานทําและมีรายได ครอบครั ว ชุมชนและการสนับสนุนทางสั งคม ศาสนาและวัฒนธรรม ความปลอดภัย ในชี วิตและทรัพยสิน สิทธิและความเปนธรรม การเมือง และสิ่งแวดลอม ทรัพยากร/พลังงาน

๒) การจัดการปญหายาเสพติดแบบครบวงจรตั้งแตการผลิต การจําหนาย การเสพติด การฟนฟู ดวยการบูรณการท่ีมุงสรางชุมชนเขมแข็ง และการมีสวนรวมของชุมชนใหเปนหลักในการมีภูมิคุมกัน

๓) สงเสริม สนับสนุน และยกระดับคุณภาพการศึกษา และการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชน ชุมชนรองรับประชาคมอาเซียน และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองอยางรูเทาทัน

๔) การช วย เหลื อ การ เยี ย วยา การ พัฒนา ศักยภาพผู ไ ด รั บผลกระทบจากความไม ส งบ ประชากร เป าหมายจั งหวั ด ซ่ึ ง ประกอบด ว ย คนจน ผู ด อย โ อกาสทางสั ง คม ผู ป ว ย ผู สู ง อ า ยุ ให เขาถึงสวัสดิการของรัฐ และชุมชนอยางท่ัวถึง เปนธรรม ทันทวงที ตอเนื่องและมีคุณภาพชีวิตท่ีดี ใหพ่ึงพาตนเองไดดวยกระบวนการบูรณการทุกภาคสวนอยางเขมแข็ง

๔. ดานการพัฒนาชุมขนและทองถิ่นใหนาอยู และเปนแหลงสรางงานสรางรายได ๑) สงเสริม และพัฒนาโครงขายการทองเท่ียวของจังหวัดปตตานีใหเชื่อมโยงกับจังหวัดใกลเคียง

ประเทศเพ่ือนบาน และโลกมุสลิม ๒) สงเสริมการนําภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปวัฒนธรรมมาสรรคสรางใหเกิดมูลคาเพ่ิมทางการพัฒนา

เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของทองถ่ิน และจังหวัด ๓) เสริมสรางความเขาใจ และการอยูรวมกันในชุมชนพหุวัฒนธรรมอยางมีความสุข (จีน พุทธ มุสลิม) ๔ ) เ พ่ิ ม ศั ก ย ภ า พ ขี ด ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ชุ ม ช น

แ ล ะ จั ง ห วั ด ใ น ก า ร จั ด ก า ร กั บ ป ญ ห า ด า น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม และเตรียมความพรอมรองรับภัยพิบัติของธรรมชาติ

๕ ) เ ส ริ ม ส ร า ง ง า น ส ร า ง อ า ชี พ ส ร า ง ร า ย ไ ด แ ก ชุ ม ช น และกลุมเปาหมายทางสังคมใหมีศักยภาพในการพ่ึงพาตนเองไดโดยยึดหลักแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๑. การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในของจังหวัด ๑.๑ จุดแข็ง (Strengths) มีปจจัยสําคัญท่ีสามารถนํามาใชประโยชนในการดําเนินงานพัฒนาจังหวัด ดังนี้

๑ ) มี ป ร ะ ช า ก ร นั บ ถื อ ศ า ส น า อิ ส ล า ม ร อ ย ล ะ ๘ ๖ . ๒ ๕ ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร แ ล ะ มี ค ว า ม เ ป น ม า ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร แ ล ะ มี อั ต ลั ก ษ ณ ท่ี โ ด ด เ ด น ในการเปนศูนยกลางเผยแพรศาสนาอิสลามในดินแดนอุษาคเนย ท่ี เรียกขานกันวา“ระเบียงเมกกะ” แ ล ะ ก า ร ค ร อ ง ต น ต า ม วิ ถี อิ ส ล า ม ข อ ง ช า ว ป ต ต า นี ส ว น ใ ห ญ ใ น ป จ จุ บั น เปนจุดแข็งเชิงสัญลักษณท่ีโลกมุสลิมใหการยอมรับในอัตลักษณของเมืองปตตานี สถานะของเมืองปตตานี (Positioning)

Page 15: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๒) อ า วป ตตานี มีทรัพยากรสั ตว น้ํ า และ เป นแหล งผลิ ตสิ นค าประมง ท่ีสํ า คัญ เนื่ อ งจาก มีชายฝงทะเลยาวประมาณ ๑๑๖.๔ กิโลเมตร เหมาะแกการทําประมงทะเล และเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง

- ๑๐–

๓) สภาพภูมิประเทศมีความอุดมสมบูรณเหมาะแกการทําการเกษตร โดยเปนแหลงผลิตพืชเศรษฐกิจ เชน ยางพารา ขาว มะพราว ไมผล มีพ้ืนท่ีเกษตรกรรม รอยละ ๙๑.๒๕ ของพ้ืนท่ี ๔)มีอุตสาหกรรมตอเนื่องท่ีรองรับวัตถุดิบทางการเกษตร โดยเฉพาะการแปรรูปผลผลิตประมง ปจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเลและโรงงานปลาปน ๑๕ โรงงาน ๕ ) จั ง ห วั ด มี ศั ก ย ภ า พ ใ น ก า ร ผ ลิ ต อ า ห า ร ฮ า ล า ล เนื่องจากมีโรงงานแปรรูปอาหารทะเลท่ีมีการผลิตและการจําหนายผลิตภัณฑฮาลาลท้ังในและตางประเทศ แ ล ะ มี ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ี มี ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ท่ี ส า ม า ร ถ ร อ ง รั บ ก า ร ผ ลิ ต และการลงทุนอุตสาหกรรมฮาลาลอีกท้ังยังมีศูนยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑอาหารฮาลาลมีสถาบันการศึกษาในพ้ืนท่ีท่ีสามารถสรางงานทางวิชาการวิจัยเพ่ือการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกลาวได ๖ ) มี ก า ร ร ว ม ก ลุ ม ข อ ง ภ า ค ป ร ะ ช า ช น เ พ่ื อ แ ก ไ ข ป ญ ห า ต า ง ๆ อ ย า ง เ ข ม แ ข็ ง เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน/หมูบาน เชน กลุมสัจจะออมทรัพยเพ่ือการผลิต กองทุนหมูบาน ก ลุ ม ป ร ะ ม ง พ้ื น บ า น โ ด ย เ ฉ พ า ะ อ ย า ง ยิ่ ง กลุมผูผลิตสินคาฮาลาลชุมชนรองรับการพัฒนาซ่ึงมีการรวมกลุมอยางเขมแข็งเปนจํานวนมาก หลายสาขา เชน บูดู ขาวเกรียบ หมวกกะปเยาะ ผาคลุมผม ผลไมแปรรูป

๗) มีแหล งท อ ง เ ท่ี ยวทา งธร รมชาติ และ ศิลปวัฒนธรรม ท่ี เป นมรดกทางประวั ติ ศ าสตร เ ป น ท่ี รู จั ก แ ล ะ ศ รั ท ธ า เ ลื่ อ ม ใ ส ข อ ง บุ ค ค ล ท่ั ว ไ ป ลักษณะสังคมพหุวัฒนธรรมของปตตานีมีจุดรวมสําคัญท่ีสามารถนํามาใชประโยชนในการสรางจุดขายทางดานการทองเท่ียวและพัฒนาผลิตภัณฑอ่ืนท่ีมีลักษณะคลายคลึงกับฮาลาลเพ่ือจับกลุมเปาหมายอ่ืนท่ีไมใชตลาดสินคาและบริการฮาลาล ดังเชนแนวคิดในการพัฒนาครัวสามวัฒนธรรม

๙ ) จั ง ห วั ด มี ส ถ า น ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ อุ ด ม ศึ ก ษ า คื อ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ส ง ข ล า น ค ริ น ท ร วิทยาเขตปตตานีซ่ึงมีผลงานทางวิชาการ และการวิจัยท่ีนํามาใชในการพัฒนาการทางดานเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองในพ้ืนท่ี

๑.๒ จุดออน (Weaknesses) มีเหตุปจจัยสําคัญท่ีตองปรับปรุงแกไขโดยเรงดวน ดังนี้ ๑) ภาพลักษณความไมสงบในพ้ืนท่ี สงผลกระทบตอการพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจ สังคม

และคุณภาพชีวิตของประชาชน ทําใหนักลงทุนขาดความเชื่อม่ันใจในการลงทุนดานอุตสาหกรรมฮาลาล ฟารมขนาดใหญ และโรงงานแปรรูปผลผลิต ไมมีนักลงทุน โรงเรียนไมสามารถจัดการเรียนการสอนไดอยางเต็มท่ี ข า ด แ ค ล น บุ ค ล า ก ร ท า ง ก า ร แ พ ท ย ก า ร ดู แ ล เก็บเก่ียวพืชผลทางการเกษตรไมสามารถดําเนินการไดอยางตอเนื่องเนื่องจากเกรงปญหาความไมปลอดภัย เปนตน ๒) ปญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพน้ําเสื่อมโทรม ทรัพยากรสัตวน้ําลดลง และปญหาการกัดเซาะชายฝงอยางรุนแรง ตั้งแตบริเวณชายฝงทะเลในเขตอําเภอหนองจิก อําเภอยะหริ่ง อําเภอ ปะนาเระ อําเภอสายบุรี สงผลกระทบตอชุมชนชายฝง การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง และการทองเท่ียว ๓ ) ผ ล ผ ลิ ต ก า ร เ ก ษ ต ร มี ผ ล ผ ลิ ต ต อ ไ ร ต่ํ า เ ช น ข า ว ย า ง พ า ร า ไ ม ผ ล แ ม ว า จั ง ห วั ด ป ต ต า นี มี ดิ น ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร ป ลู ก พื ช แ ต ฐ า น ก า ร ผ ลิ ต ยั ง แ ค บ เกษตรกรยังขาดความรูความเขาใจในการนําเทคโนโลยีการผลิตท่ีเหมาะสมมาใชในการเกษตร เชน ก า ร คั ด เ ลื อ ก พั น ธุ พื ช แ ล ะ ใ ช ป จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต ท่ี เ ห ม า ะ ส ม ท่ีสําคัญเกษตรกรสวนใหญยังคงใชรูปแบบและวิธีการผลิตแบบดั้งเดิม จึงทําใหผลผลิตท่ีไดต่ํากวาพ้ืนท่ีอ่ืน

Page 16: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๔ ) สิ น ค า ฮ าล าลร ะดั บชุ ม ชนจํ า นวนมากยั ง ไม เ ป น ท่ี ย อม รั บด านมาต รฐ านผลิ ตภั ณฑ ม า ต ร ฐ า น บ ร ร จุ ภั ณ ฑ ข า ด ร ะ บ บ ก า ร ดู แ ล คุ ณ ภ า พ สิ น ค า ก า ร จั ด ก า ร ต ล า ด และการโลจิสติกสท่ีมีศักยภาพท่ีจะแขงขันไดในตลาด ๕ ) ป ญ ห า สุ ข ภ า พ อ น า มั ย แ ล ะ วิ ถี ท า ง ด า น สุ ข ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น ยั ง ไ ม เ ข ม แ ข็ ง ป ร ะ ช า ช น ยั ง ข า ด ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ใ น ก า ร ส ร า ง วิ ถี สุ ข ภ า ว ะ ท่ี ดี โ ร ค ท่ี เ ป น ป ญ ห า ข อ ง ชุ ม ช น โ ด ย เ ฉ พ า ะ ป ญ ห า อ น า มั ย แ ม แ ล ะ เ ด็ ก พ บ ว า อัตราการตายของมารดาและทารกสูงกวาระดับประเทศและภาคใต

๖ ) ก า ร ข า ด คุ ณ ภ า พ ข อ ง ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เ รี ย น จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของนักเรียนมีคาเฉลี่ยต่ํากวาคาเฉลี่ยของประเทศทุกกลุมสาระ ป ร ะ ก อ บ กั บ นั ก เ รี ย น ป ร ะ ช า ช น บ า ง ส ว น อ า น แ ล ะ เ ขี ย น ภ า ษ า ไ ท ย ไ ม ค ล อ ง สงผลตอการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูในวิชาอ่ืนๆ และการหาความรู เพ่ิมเติม สาเหตุสําคัญ คือขาดแคลนครูเฉพาะสาขาวิชาและการสอนไมตรงวุฒิทางการศึกษา

- ๑๑–

๗ ) ร ะบบก า รบ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ ข ต อุ ตส าหก ร รมป ต ต า นี ยั ง ไ ม มี ป ร ะสิ ท ธิ ภ า พ ท่ี เ พี ย งพ อ ขาดกา รบู รณกา ร ร ะหว า ง ส ว น ร าช ก า ร แล ะก า รดํ า เ นิ น ง านขอ งองค ก า รบ ริ ห า ร ส ว น จั ง ห วั ด ก า ร จั ด ก า ร ส ภ า พ แ ว ด ล อ ม ยั ง ไ ม เ ป น ม า ต ร ฐ า น ก า ร จั ด ก า ร ท่ี เ ป น ส า ก ล มาตรการในการดึงดูดนักลงทุนขาดแผนการดําเนินงาน และการสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาท่ีตอเนื่อง ส วน เขต อุตสาหกรรมฮาลาลป ตตานี ยั ง ไม มี กา รลง ทุน ขาดคว ามพร อมด าน โครงสร า ง พ้ืน ฐาน นักลงทุนขาดความเชื่อม่ันดานความปลอดภัย

๘) ปญหาความยากจน ซ่ึงจังหวัดปตตานีมีครัวเรือนท่ีมีรายไดต่ํากวาเกณฑความจําเปนพ้ืนฐาน (จปฐ.) และเกณฑความยากจนภายใตแผนการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต (๖๔,๐๐๐ บาท/ป ) จํานวนมากและในภาพรวมจังหวัดปตตานีมีมูลคาผลิตภัณฑมวลรวมเฉลี่ยตอหัวต่ําสุดของภาคใต (๕๙,๐๙๒ บาท)

๙) ปญหาอุทกภัย ซ่ึงเกิดเปนประจําทุกปในเขตอําเภอเมือง อําเภอหนองจิก อําเภอสายบุรี และอําเภอกะพอ ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีท่ีมีแมน้ําสายหลักไหลผาน คือ แมน้ําปตตานี และแมน้ําสายบุรี

๑๐) ปญหายาเสพติดท่ียังคงมีการระบาดในพ้ืนท่ีจังหวัดปตตานี โดยเฉพาะอําเภอยะรัง อําเภอ มายอ และอําเภอเมืองปตตานี

๑ ๑ ) โ ค ร ง ส ร า ง พ้ื น ฐ า น ท่ี เ อ้ื อ ต อ ก า ร ข น ส ง ท า ง น้ํ า ไ ม มี ก า ร ใ ช ง า น เ ป น เ ว ล า น า น เนื่องจากขาดการฟนฟูและการดูแลท่ีเหมาะสมใหสามารถรองรับกับอุตสาหกรรมทางทะเลได

๑๒) วิถีชีวิตของประชาชนในชุมชนท่ีเปนชุมชนมุสลิมไมสอดคลองกับการสงเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรม โรงงานอุตสาหกรรมท่ีตองดําเนินการผลิตอยางตอเนื่อง และตองนําเขาแรงงานภาคอุตสาหกรรมจากตางพ้ืนท่ี

๑๓) ผลผลิตจากการทําประมงน้ําลึกในพ้ืนท่ีอาวปตตานี หรือพ้ืนท่ีประมงสากลท่ีข้ึนท่ีทาเทียบเรือปตตานี ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ไ ม ไ ด นํ า ม า เ ป น วั ต ถุ ดิ บ ใ น ก า ร แ ป ร รู ป อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ น จั ง ห วั ด ท้ั ง ห ม ด สวนหนึ่งนําไปเปนวัตถุดิบในเขตพ้ืนท่ีอ่ืนๆทําใหการพัฒนาท่ีครบวงจรไมสามารถท่ีจะดําเนินการไดท้ังท่ีมีอุตสาหกร ร ม ร อ ง รั บ และบางสวนของวัตถุดิบในระบบอุตสาหกรรมของปตตานีตองนําเขามาจากท่ีอ่ืนๆท้ังในและตางประเทศ

๒.การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกของจังหวัด(เฉพาะท่ีสําคัญ) ๒.๑ โอกาส (Opportunities) มีเหตุปจจัยภายนอกท่ีเอ้ือตอการพัฒนาและขับเคล่ือนไปสูความ สําเร็จตามวิสัยทัศนท่ีกําหนดไว ๑) ความตองการอาหารฮาลาลเพ่ิม เนื่องจากการเพ่ิมของประชากรมุสลิมท่ัวโลกโดยในป ๒๕๕๓ โลกมีประชากรมุสลิมประมาณ ๑,๖๐๐ ลานคน หรือรอยละ ๒๓.๔ ซ่ึงคาดวาภายในอีก ๒๐ ป หรือป ๒๕๗๓ จํานวนประชากรมุสลิมจะเพ่ิมข้ึนถึง ๖๐๐ ลานคน หรือรอยละ ๓๕ หรือคิดเปนจํานวน ๒,๒๐๐ ลานคน

Page 17: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๒) ประเทศเพ่ือนบานในอาเซียนสามารถใช เปนประตูสูความสัมพันธทางเศรษฐกิจ การคา การลงทุนและพัฒนาความสัมพันธทางวัฒนธรรมแบบขามพรมแดนระหวางโลกมุสลิมไดอยางสะดวก

๓ ) รั ฐ บ า ล มี น โ ย บ า ย ส นั บ ส นุ น ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ และสังคมจังหวัดชายแดนภาคใตเปนกรณีพิเศษทําใหมีโอกาสในการพัฒนาในทุกดาน

๔) นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาภาคใต และแผนพัฒนากลุมจังหวัด มีแผนสนับสนุนใหจังหวัดปตตานี เปนศูนยกลางอาหารฮาลาล

๕) ขอตกลงในการประชุม IMT-GT มอบใหไทยเปนเจาภาพดานผลิตภัณฑฮาลาล และบริการฮาลาล ๖) แหลงเรียนรูจากโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ จากปราชญชาวบานในจังหวัดใกลเคียง

แ ล ะ จ า ก สื่ อ อ ง ค ค ว า ม รู ต า ง ๆ ใ น ก า ร พั ฒ น า ชุ ม ช น ก า ร ส ร า ง วิ ถี ชี วิ ต และการทําการเกษตรโดยอาศัยหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฏีใหม

- ๑๒–

๗) การเปดกว างของการเข า ถึง เทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชน และชุมชนมีมาก ข้ึน ทํ า ใ ห โ อ ก า ส ใ น ก า ร เ รี ย น รู สิ่ ง ใ ห ม ท่ี ส า ม า ร ถ นํ า ม า ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ใ น ก า ร ส ร า ง วิ ถี ก า ร เ รี ย น รู และการกาวทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมปตตานีสามารถทําไดงายข้ึน

๙ ) รัฐบาลใหความสําคัญกับการสรางความม่ันคงของประชาชนในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใตเปนพิเศษตามดัชนีชี้วัด ๑๒ มิติความม่ันคงของมนุษย ซ่ึงประกอบดวย ท่ีอยูอาศัยสุขภาพ อาหาร การศึกษา การมีงานทําและมีรายได ครอบครัว ชุมชนและการสนับสนุนทางสังคม ศาสนาและวัฒนธรรม ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน สิทธิและความเปนธรรม การเมือง และสิ่งแวดลอม ทรัพยากร/พลังงาน

๙ ) การเปนจังหวัดท่ีอยูใกลเคียงกับดานเขาออกชายแดนท่ีไมไกลเกินไปจะทําใหเกิดความสะดวกในการเขามาเดินทางทองเท่ียวของนักทองเท่ียวจากประเทศเพ่ือนบาน โดยเฉพาะนักทองเท่ียวมุสลิม และชาวจีน

๑๐) การมีระบบการตรวจสอบ และการรับรองคุณภาพมาตรฐานคุณภาพสินคาท้ัง GAP , ISO9001, มกอช เปนตน เปนนโยบายหลักท่ีกระทรวงท่ีเก่ียวของพยายามผลักดันใหสวนราชการในพ้ืนท่ีดําเนินการ ใหผลิตภัณฑของจังหวัดผานมาตรฐาน ซ่ึงมีการสนับสนุนท้ังองคความรู งบประมาณ และปจจัยอ่ืนๆท่ีจําเปน

๑ ๑ ) เ ค รื อ ข า ย NGO ใ น พ้ื น ท่ี ใ ก ล เ คี ย ง ท่ี เ ป น ร อ ย ต อ ส า ม า ร ถ บู ร ณ ก า ร ก า ร ทํ า ง า น ร ว ม กั บ เ ค รื อ ข า ย ข อ ง จั ง ห วั ด เพ่ือการเฝาระวังอนุรักษทรัพยากรทางทะเล และการจัดการแบบมีสวนรวมท่ีเขมแข็ง

๒ . ๒ ภั ย คุ ก ค า ม (Threats)มีเหตุปจจัยภายนอกท่ีไมเอ้ือตอหรือเปนอุปสรรคตอการพัฒนาและขับเคล่ือนไปสูความสําเร็จตามวิสัยทัศนท่ีกําหนดไว ๑ ) รั ฐ มี น โ ยบ าย ในกา ร พัฒนา อุตสาหกรรมฮาล าล แต ข าดกา รผลั ก ดั น ใน ระดั บปฏิ บั ติ แ ล ะ ก า ร บู ร ณ ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น จ า ก อ ง ค ก ร ป ก ค ร อ ง ส ว น ท อ ง ถ่ิ น ซ่ึ ง ทํ า ห น า ท่ี ใ น ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร นิ ค ม อุ ต ส า ห ก ร ร ม อี ก ท้ั ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง รั ฐ บ า ล บ อ ย มีผลตอความตอเนื่องของการสนับสนุนเชิงนโยบาย

๒ ) ป จ จั ย ก า ร ผ ลิ ต มี ร า ค า สู ง ข้ึ น ร า ค า สิ น ค า ท า ง ก า ร เ ก ษ ต ร ต ก ต่ํ า มีพอคาคนกลางกดราคาผลผลิตทางการเกษตร ทําใหรายไดเกษตรกรไมแนนอน

Page 18: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๓ ) นั ก ล ง ทุ น จ า ก ภ า ย น อ ก ข า ด ค ว า ม เ ชื่ อ ม่ั น ต อ ก า ร ล ง ทุ น ใ น พ้ื น ท่ี เนื่องจากเหตุการณความรุนแรงในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต และการนําเสนอขาวสาร

๔ ) ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก ส ภ า ว ะ โ ล ก ร อ น ทํ า ใ ห ธ ร ร ม ช า ติ แ ป ร ป ร ว น เ กิ ด อุ ท ก ภั ย สงผลตอความเสียหายของผลผลิตทางการเกษตร และวิ ถีชีวิตของเกษตรกร สงผลใหผลผลิตมีนอย และไมไดคุณภาพ

๕ ) ก า ร แ ข ง ขั น ข อ ง อุ ต ส า ห ก ร ร ม ป ร ะ ม ง มี สู ง ใ น ข ณ ะ ท่ี ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ ล ด ล ง ทํ า ใ ห ต อ ง มี ก า ร นํ า เ ข า วั ต ถุ ดิ บ จ า ก ป ร ะ เ ท ศ ใ ก ล เ คี ย ง ซ่ึ ง มี ค ว า ม ไ ม แ น น อ น สู ง ใ น ด า น ร า ค า และปริมาณวัตถุดิบท่ีผูประกอบการจะตองใชในกระบวนการผลิตอีกท้ังความพรอมในเชิงการบริหารจัดการของผูปร ะ ก อ บ ก า ร อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ น จั ง ห วั ด ใ ก ล เ คี ย ง เ ช น สงขลาท่ีมีศักยภาพมากกวาผูประกอบการในจังหวัดปตตานีทําใหวัตถุดิบถูกขนสงเขาสูกระบวนการผลิตของโรงงานดังกลาวมากข้ึน

- ๑๓–

วิสัยทัศนจังหวัดปตตานี วิสัยทัศน : แหลงผลิตผลการเกษตรและผลิตภัณฑฮาลาลที่มีคุณภาพ

บนพ้ืนฐานความมั่นคงในการดํารงชีวิต (พ.ศ.๒๕๕๗–๒๕๖๐)

๑. คําอธิบายวิสัยทัศน กา ร กํ า หนดจุ ดหมาย ปล าย ทา ง ( Ends ) ใ นก า ร พั ฒนาจั ง ห วั ดป ต ต านี แบบบู ร ณากา ร

ท่ีใหความสําคัญกับการนําความหลากหลายทางดานวิถีชีวิต จารีตประเพณี ศิลปวัฒนธรรม ความเชื่อ วิ ธี คิ ด แ ล ะ มุ ม ม อ ง ต า ง ๆ ท่ี ส า ม า ร ถ เ ชื่ อ ม โ ย ง ห ล า ก มิ ติ ท่ี เ ก่ี ย ว ข อ ง กั บ ก า ร พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สั ง ค ม แ ล ะ สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ใ น เ ข ต พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ใ ห เ ห็ น เ ป น ภ า พ ร ว ม ( Holistic ) ของการพัฒนาท่ีมุงเนนความสมดุลระหวางความพอเพียงกับความสามารถในการพัฒนาใหกาวทันโลกยุคใหมโดยวา ง ส ถ า น ะ ( Positioning ) ข อ ง จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ใ ห เ ป น แ ห ล ง ผ ลิ ต ผ ล ก า ร เ ก ษ ต ร และผลิตภัณฑฮาลาลท่ีมีคุณภาพบนพ้ืนฐานการดํารงชีวิตในสังคมอยางม่ันคงของประชาชน

แ ห ล ง ผ ลิ ต ผ ล ก า ร เ ก ษ ต ร ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ห ม า ย ถึ ง การ เปนแหล งผลิตสินค า เกษตร ท่ี มีความปลอดภัย ท่ี ไดมาตรฐานเกษตรดี ท่ี เหมาะสมกับการผลิต (GAP)และผลผลิตมีปริมาณและคุณภาพตามความตองการของตลาดและสามารถเปนวัตถุดิบปอนโรงงานอุตสาหกร ร ม ฮ า ล า ล อ ย า ง เ พี ย ง พ อ ไ ด แ ก ผ ล ผ ลิ ต สั ต ว น้ํ า ข า ว แ ล ะ ไ ม ผ ล แ ล ะ พื ช ท า ง เ ลื อ ก ใ ห ม ๆ เ ป น ผ ล ผ ลิ ต ท่ี ไ ด รั บ ก า ร ย อ ม รั บ แ ล ะ เ ชื่ อ ม ม่ั น จ า ก ผู บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ผู ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ต อ เ นื่ อ ง และเปนผลผลิตท่ีเกิดจากทําการเกษตรเชิงสรางสรรค

Page 19: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

แห ล ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ฮ า ล า ล ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ห ม า ย ถึ ง เ มื อ ง ท่ี มี ค ว า ม มุ ง ม่ั น ใ น ก า ร นํ า ป รั ช ญ า วิ ถี ป ฏิ บั ติ ข อ ง ศ า ส น า อิ ส ล า ม ใ น ส ว น ข อ ง ฮ า ล า ล ม า ใ ช เ ป น ธ ง นํ า ( Flagship ) ก า ร พั ฒ น า ท่ี มุ ง ไ ป สู ค ว า ม เ จ ริ ญ รุ ง เ รื อ ง ท้ั ง ท า ง ด า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ สังคมและสิ่งแวดลอมท่ีตั้งอยูบนรากฐานของลักษณะภูมิสังคมแบบพหุวัตถุวัฒนธรรมอยางยั่งยืนโดยการนําหลักคิดใ น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ดํ า เ นิ น วิ ส า ห กิ จ ท่ี ส ะ อ า ด ป ร า ศ จ า ก สิ่ ง ส ก ป ร ก ปฏิกูลหรือสิ่งอ่ืนใดซ่ึงเปนท่ีรังเกียจโดยบัญญัติของศาสนาอิสลาม รวมท้ังของศาสนาอ่ืนท่ีมีลักษณะคลายคลึงกัน อ า ทิ อ า ห า ร เ จ ข อ ง ค น เ ชื้ อ ส า ย จี น ใ น ป ต ต า นี มาเปนกรอบอางอิงในการพัฒนาท่ีใหความสําคัญกับการผลิตเพ่ือการบริโภคในชุมชนทองถ่ินของตนอยางพอเพียง และการผลิตเชิงพาณิชย ท่ี กําหนดใหสินคาและบริการของฮาลาลเปนผลผลิตหลัก (Major Product ) ใ น ก า ร เ จ า ะ ต ล า ด เ ก า แ ล ะ ส ร า ง ต ล า ด ใ ห ม ท่ี เ ป น ก ลุ ม เ ป า ห ม า ย เ ฉ พ า ะ ( Niche Market)โดยมีเปาหมายเปนแหลงผลิตภัณฑฮาลาลซ่ึงผลิตภัณฑฮาลาล ประกอบดวย อาหารฮาลาล ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ฮ า ล า ล แ ฟ ชั่ น มุ ส ลิ ม เ ค รื่ อ ง แ ต ง ก า ย เ ค รื่ อ ง ป ร ะ ดั บ ส ต รี และบริการฮาลาลเพ่ือไปสูการเปนแหลงผลิตภัณฑฮาลาลท่ีมีคุณภาพและไดมาตรฐานสากลเปนผลิตภัณฑตราสัญลักษณของจังหวัดท่ีสรางงาน สรางรายไดแกจังหวัด คว าม ม่ั นค ง ในก า รดํ า ร ง ชี วิ ต ห ม าย ถึ งป ร ะช าช น ใน จั ง ห วั ดป ต ต านี มี ค ว า ม เป น อยู ท่ี ดี มีความม่ันคงในท่ีอยูอาศัย สุขภาพดี มีการศึกษาสูง อาชีพม่ันคงและรายได ท่ีเพียงพอตอการดํารงชีวิต รวมท้ังสภาพครอบครัวท่ีอบอุน และอยูในสังคมท่ีมีความสงบสุข มีความพรอมดานการบริการข้ันพ้ืนฐาน มี สิ่ ง แ ว ด ล อ ม ท่ี ดี มี ท รั พ ย า ก ร ท่ี เ พี ย ง พ อ ต อ ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ มี ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต แ ล ะ ท รั พ ย สิ น ส า ม า ร ถ แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง วิ ถี ชี วิ ต ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม แ ล ะ ป ร ะ เ พ ณี ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด อ ย า ง เ ส รี มีความพรอมรับการเปลี่ยนแปลงสูประชาคมอาเซียนเปนพ้ืนท่ีท่ีคนในจังหวัดและคนภายนอกสามารถทองเท่ียวในจังหวัดไดอยางปลอดภัยและวางใจ

๒. เปาประสงครวม ๒ . ๑ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ฮ า ล า ล ข อ ง จั ง ห วั ด มี คุ ณ ภ า พ ใ น ร ะ ดั บ สิ น ค า ส ง อ อ ก เปนท่ียอมรับของตลาดท้ังในและตางประเทศมีมูลคาผลิตภัณฑฮาลาลไมนอยกวา๒,๕๐๐ลานบาท ๒.๒ ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม เพ่ิมข้ึนไมต่ํากวารอยละ ๔.๖ และ ๒.๙ ๒.๓ ผลิตภัณฑมวลรวมจังหวัดปตตานีเฉลี่ยตอหัวไมนอยกวา ๙๕,๖๔๙บาทตอป ๒.๔ ชุมชนสามารถลดจํานวนเหตุการณความไมสงบท่ีมีผลกระทบตอชีวิตและทรัพยสินไดไมนอยกวา รอยละ ๙๐ ของชุมชนท้ังหมดในจังหวัด

- ๑๔–

๒ .๕ ค า เ ฉ ลี่ ย ข อ ง ดั ช นี ค ว า ม ม่ั น ค ง ข อ ง ม นุ ษ ย จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ท้ั ง ๑ ๒ มิติของการประเมินจากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยไมนอยกวารอยละ ๙๕

๓. ประเด็นยุทธศาสตร ๓.๑ สงเสริม และพัฒนาแหลงผลิตผลทางการเกษตร ใหมีคุณภาพมาตรฐานการสงออก (น้ําหนัก

รอยละ ๓๐) ๓.๒ สรางมูลคาเพ่ิมและขยายชองทางการตลาดผลิตภัณฑฮาลาลและสินคาแปรรูปจากการเกษตร

(น้ําหนักรอยละ ๓๐) ๓.๓ สรางความม่ันคงในการดํารงชีวิตของประชาชน สังคม และสรางความเชื่อม่ันท่ีมีตอรัฐ(น้ําหนักรอยละ ๒๐)

๓.๔ พัฒนาชุมชน และทองถ่ินใหนาอยู เปนแหลงสรางงาน สรางรายไดแกชุมชน(น้ําหนักรอยละ ๒๐)

Page 20: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๑ สงเสริมและพัฒนาแหลงผลิตผลทางการเกษตร ใหมีคุณภาพมาตรฐานการสงออก ๑. เปาประสงค

เพ่ิมปริมาณและคุณภาพผลผลิตทางการเกษตรท่ีตรงกับความตองการของตลาด

๒. ตัวช้ีวัด/คาเปาหมายป ๒๕๕๗-๒๕๖๐

ตัวช้ีวัด คาเปาหมาย

๒๕๕๗

๒๕๕๙

๒๕๕๙

๒๕๖๐

๑.รอยละท่ีเพ่ิมข้ึนของปริมาณผลิตผลทางการเกษตร ๕ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๒.รอยละท่ีเพ่ิมข้ึนของจํานวนแปลง/ฟารมท่ีไดรับการรับรองมาตรฐานการผลิตท่ีดีและเหมาะสม (GAP) (พืช,ปศุสัตว,ประมง)

๕ ๕ ๕ ๕

๓. กลยุทธ จากการวิเคราะหขอมูลดานการเกษตร ไดจัดลําดับความสําคัญของกลยุทธ ดังนี้ ๑) สงเสริมการใชเทคโนโลยีในการเพ่ิมปริมาณ และคุณภาพผลผลิตภาคการเกษตร ๒) ปรับปรุงและพัฒนาปจจัยพ้ืนฐานการผลิตและฐานทรัพยากรใหเอ้ือตอการเกษตร ๓) พัฒนาและสรางความเขมแข็งแกเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร ๔) สงเสริมการผลิตพืชเศรษฐกิจและพืชทางเลือกใหมท่ีสอดคลองกับตลาดผูบริโภค

- ๑๕–

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๒ สรางมูลคาเพ่ิมและขยายชองทางการตลาดผลิตภัณฑฮาลาลและสินคาแปรรูป จากการเกษตร

๑. เปาประสงค ผลิตภัณฑฮาลาลและสินคาแปรรูปจากการเกษตรมีมูลคาการจําหนายเพ่ิมข้ึน

๒. ตัวช้ีวัด/คาเปาหมายป ๒๕๕๗–๒๕๖๐

ตัวช้ีวัด คาเปาหมาย

๒๕๕๗ ๒๕๕๙ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐ ๑. รอยละท่ีเพ่ิมข้ึนของมูลคาการจําหนายผลิตภัณฑฮาลาลและสินคา ๑๐ ๑๒ ๑๔ ๑๖

Page 21: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

แปรรูปจากการเกษตร ๒. จํานวนผลิตภัณฑท่ีไดรับการพัฒนาเพ่ือเพ่ิมมูลคา ๒ ๓ ๔ ๕ ๓. กลยุทธ

จากการวิเคราะหขอมูลดานอุตสาหกรรมไดจัดลําดับความสําคัญของกลยุทธ ดังนี้ ๑ ) พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร วิ ส า ห กิ จ ชุ ม ช น แ ล ะ OTOP

ใหมีขีดความสามารถในการเพ่ิมมูลคาผลิตภัณฑ ๒ ) ส ง เ ส ริ ม แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร ผ ลิ ต

ผลิตภัณฑฮาลาลและสินคาแปรรูปจากการเกษตรใหมีคุณภาพและไดรับมาตรฐานฮาลาล ๓ )

สงเสริมและขยายชองทางการตลาดผลิตภัณฑฮาลาลและสินคาแปรรูปจากการเกษตรท้ังในและตางประเทศ ๔ ) ส ง เ ส ริ ม ก า ร วิ จั ย แ ล ะ พั ฒ น า น วั ต ก ร ร ม เ ท ค โ น โ ล ยี

และเผยแพรองคความรูในการเพ่ิมมูลคาการผลิตและลดตนทุนการผลิตสินคา ๕) สรางแรงจูงใจใหนักลงทุนมาลงทุนในเขตอุตสาหกรรมปตตานี นิคมอุตสาหกรรมฮาลาล

-๑๖–

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๓ สรางความม่ันคงในการดํารงชีวิตของประชาชน สังคม และสรางความเช่ือม่ัน ท่ีมีตอรัฐ

๑. เปาประสงค ประชาชนมีสวนรวมในการสรางความปลอดภัย สามารถดํารงชีวิตในชุมชน/ทองถ่ินอยางมีความสุข

และมีความเชื่อม่ันตอรัฐ ๒. ตัวช้ีวัด/คาเปาหมายป ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐

ตัวช้ีวัด คาเปาหมาย

๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๖

Page 22: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๗ ๙ ๙ ๐ ๑. รอยละของหมูบาน/ชุมชนเขมแข็งและมีสวนรวมในการรักษา ความปลอดภัย

๙๐ ๙๕ ๙๐ ๙๕

๒. รอยละของจํานวนหมูบานสีขาว (หมูบานปลอดยาเสพติด) ๗๐ ๙๐ ๙๐ ๑๐๐ ๓. รอยละของประชากรมีองคความรูและทักษะทางภาษาเพ่ือสื่อสารในประชาคมอาเซียนและสากล

๖๕ ๗๐ ๗๕ ๙๐

๔. รอยละของครัวเรือนท่ีมีรายไดเฉลี่ยต่ํากวาเกณฑ จปฐ. ๓๐,๐๐๐ บาท/คน/ป ลดลงปละ

๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐

๓. กลยุทธ

จากการวิเคราะหขอมูลดานสังคม ไดจัดลําดับความสําคัญของกลยุทธ ดังนี้ ๑) สรางความรูความเขาใจ และเพ่ิมประสิทธิภาพการปองกันแกไขปญหาความไมสงบ ๒) เพ่ิมประสิทธิภาพการปองกันปราบปรามและบําบัดรักษายาเสพติด ๓) ยกระดับคุณภาพการศึกษาและอิสลามศึกษาใหไดมาตรฐานระดับประเทศและมาตรฐานสากล ๔) สรางความเขมแข็งของสถาบันครอบครัวและลดปญหาของเด็กเยาวชนและผูดอยโอกาส ๕) จัดระบบการสงเสริมปองกันและรักษาสุขภาพของประชาชนโดยการมีสวนรวม ๖) เสริมสรางศักยภาพและโอกาสในการทํางานท่ีม่ันคงมีรายไดเพียงพอตอการดํารงชีวิต

- ๑๗–

ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๔ พัฒนาชุมชน และทองถิ่นใหนาอยู เปนแหลงสรางงาน สรางรายไดแกชุมชน ๑. เปาประสงค

ชุมชนมีสวนรวมในการพัฒนาทองถ่ินใหนาอยู และเปนแหลงสรางงาน สรางรายได ๒. ตัวช้ีวัด/คาเปาหมายป ๒๕๕๗–๒๕๖๐

ตัวช้ีวัด คาเปาหมาย

๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๕ ๒๕๖

Page 23: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๗ ๙ ๙ ๐ ๑ . จํานวนหมูบาน/ชุมชนมีสวนรวมในการบริหารจัดการตามแนวปรัชญาเศรษฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง แ ล ะ ใ ช ป ร ะ โ ย ช น ด า น ท รั พ ย า ก ร ธ ร ร ม ช า ติ และสิ่งแวดลอมอยางชาญฉลาด

๕๐/๒๐

๕๐/๒๐

๕๐/๒๐

๕๐/๒๐

๒ . รายไดจากการทองเท่ียวของจังหวัดเพ่ิมข้ึนจากปท่ีผานมาไมนอยกวารอยละ

๒ ๒.๕ ๓ ๓.๕

๓. รายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชน (OTOP) เพ่ิมข้ึน ไมนอยกวา ๑% ของรายไดจากการจําหนายผลิตภัณฑชุมชน (OTOP) เฉลี่ย ๓ ป ยอนหลัง

๑ ๑ ๑ ๑

๔ . อัตราการวางงานจากคาเฉลี่ยของคนวางงานในปท่ีผานมาของจังหวัดปตตานีลดลง ปละ ๕%

๕ ๕ ๕ ๕

๓. กลยุทธ

จากการวิเคราะหขอมูลดานสังคม ไดจัดลําดับความสําคัญของกลยุทธ ดังนี้ ๑) ส ง เ สริ มการ พัฒนา ศักยภาพของกลุ มและชุ มชน เ พ่ือ เป นแหล งสร า งงานสร า ง ร าย ได

ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒) สงเสริมกิจกรรมเพ่ืออนุรักษศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ินการทองเ ท่ียวเชิงวัฒนธรรม

และการทองเท่ียวเชิงนิเวศ ๓) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม โดยการมีสวนรวมของชุมชน ๔) สงเสริมการจัดการแหลงน้ําเพ่ือการปองกันและบรรเทาสาธารณภัยโดยการมีสวนรวมของชุมชน ๕) การพัฒนาโครงสรางพ้ืนฐานและสาธารณูปโภคใหมีความพรอมและมีความสะดวก

- ๑๘-

Page 24: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๓.๑

จังหวัดปตตานี ตั้งอยูภาคใตของประเทศไทย หางจากกรุงเทพฯ ๑,๐๕๕ กม. มีเนื้อท่ีประมาณ ๑,๙๔๐.๓๕ ตร.กม. หรือประมาณ ๑,๒๑๒,๗๒๓ ไร มีอาณาเขตติดตอกับจังหวัดใกลเคียง ดังนี้

ทิศเหนือ ติดตอกับ อาวไทย ทิศใต ติดตอกับ เขตอําเภอเมืองยะลา อําเภอรามัน จังหวัดยะลาและ เขตอําเภอบาเจาะจังหวัดนราธิวาส ทิศตะวันออก ติดตอกับ อาวไทย ทิศตะวันตก ติดตอกับ เขตอําเภอเทพา และอําเภอสะบายอย จังหวัดสงขลา

แผนท่ีแสดงท่ีต้ังและอาณาเขตจงัหวัดปตตานี

ท่ีตั้งและอาณาเขต

๓. สภาพทั่วไป

Page 25: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๑๙-

๓.๒

จั งหวั ดป ตตานี ได แบ งหน ว ยการปกครองออก เป น ๑๒ อํ า เภอ ๑๑๕ ตํ าบล ๖๔๒ หมูบานโดยมีหนวยการปกครองสวนทองถ่ิน ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด ๑ แหง เทศบาล ๑๕ แหง (เทศบาลเมือง ๑ แหง,เทศบาลตําบล ๑๔ แหง ) และองคการบริหารสวนตําบล ๙๙ แหง แยกเปน อบต.ขนาดเล็ก ๒๙ แหง อบต.ขนาดกลาง ๖๙ แหง และ อบต.ขนาดใหญ ๑ แหง

อําเภอ เนื้อท่ี (ตร.กม.)

ตําบล หมูบาน อบต. เทศบาล ชุมชน รอยละของพ้ืนท่ีจังหวัด

ระยะหางจากจังหวัด (กม.)

๑. เมืองปตตานี ๙๖.๙๓๗ ๑๓ ๖๖ ๙ ๒ ๑๙ ๔.๙๙ ๐.๐๕

๒. ยะรัง ๑๙๓.๙๕๒ ๑๒ ๗๒ ๑๒ ๑ - ๙.๔๙ ๑๕

๓. หนองจิก ๒๓๑.๕๒๖ ๑๒ ๗๖ ๑๑ ๒ - ๑๑.๙๓ ๙

๔. โคกโพธิ ์ ๓๓๙.๔๑๔ ๑๒ ๙๒ ๑๒ ๒ - ๑๗.๔๙ ๒๖

๕. ยะหริ่ง ๑๙๖.๙๒๙ ๑๙ ๙๑ ๑๔ ๔ - ๑๐.๑๔ ๑๔

๖. ปะนาเระ ๑๔๔.๐๕๙ ๑๐ ๕๓ ๙ ๒ - ๗.๔๒ ๔๓

๗. มายอ ๒๑๖.๑๓๖ ๑๓ ๕๙ ๑๐ ๑ - ๑๑.๑๔ ๒๙

๙. สายบุรี ๑๗๙.๔๒๔ ๑๑ ๖๔ ๙ ๑ ๒๐ ๙.๒๐ ๕๐

๙. ทุงยางแดง ๑๑๔.๙๗๐ ๔ ๒๓ ๔ - - ๕.๙๓ ๔๕

๑๐. กะพอ ๙๓.๙๑๕ ๓ ๒๗ ๓ - - ๔.๙๓ ๖๙

๑๑. แมลาน ๙๙.๑๙๔ ๓ ๒๒ ๓ - - ๔.๖๐ ๓๐

๑๒. ไมแกน ๕๕.๒๐๑ ๔ ๑๗ ๓ - - ๒.๙๔ ๖๕

รวม ๑,๙๔๐.๓๕๖ ๑๑๕ ๖๔๒ ๙๙ ๑๕ ๓๙ ๑๐๐ -

ท่ีมา : ท่ีทําการปกครองจังหวัดปตตานี พ.ศ. ๒๕๕๖ (จากทําเนียบทองท่ี พุทธศักราช ๒๕๔๖)

หนวยการปกครอง

Page 26: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ประชากรและศาสนา

- ๒๐–

๓.๓

จังหวัดปตตานีเปนอาณาจักรท่ีเกาแกและมีความเจริญรุงเรืองทําใหเปนแหลงศูนยรวมของประชากรหลา ก ห ล า ย เ ชื้ อ ช า ติ ศ า ส น า ม า ตั้ ง แ ต ใ น อ ดี ต ปจจุบันเปนแหลงชุมชนท่ีมีผูอยูอาศัยหนาแนนโดยเฉพาะบริเวณลุมน้ําปตตานี ประชาชนสวนใหญรอยละ ๘๖.๒๕ นับถือศาสนาอิสลาม รอยละ ๑๓.๗๐ นับถือศาสนาพุทธและรอยละ ๐.๐๕ นับถือศาสนาอ่ืน ๆ

จากการสํารวจจํานวนประชากรในหวงเวลา ๓ ป ตั้งแตป พ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๕ (ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๕) ปรากฏวา แนวโนมของประชากรเพ่ิมข้ึนทุกป ดังนี้

แผนภูมิแทง แสดงจํานวนประชากรในหวงเวลา ๓ ป ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕ (ณ เดือนกันยายน ๒๕๕๕) จากการศึกษาเปรียบเทียบปรากฏวาแนวโนมอัตราจํานวนประชากรในชวงป พ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๕ เพ่ิมข้ึนทุกปท้ังนี้ สืบเนื่องมาจากสาเหตุ

๑. อัตราการเกิดท่ีเพ่ิมข้ึนของจํานวนประชากร ๒. อัตราการยายเขาของประชากร

655,259

663,485

669,961

645,000

650,000

655,000

660,000

665,000

670,000

675,000

2553 2554 2555

พ.ศ.

ประ

ชาก

ร (

คน

)

1.35%

1.25 %

0.97 %

Page 27: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

จํานวนประชากรระหวางป พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๕

ท่ี อําเภอ จํานวนประชากร (คน) ป ๒๕๕๓ จํานวนหลัง

คาเรือน (หลัง)

จํานวนประชากร (คน) ป ๒๕๕๔ จํานวนหลังคาเรือน (หลัง)

จํานวนประชากร (คน) ป ๒๕๕๕ จํานวนหลังคาเรือน (หลัง)

ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม ชาย หญิง รวม

๑ เมืองปตตานี ๖๐,๔๕๙ ๖๓,๐๕๙ ๑๒๓,๕๑๗ ๓๗,๓๕๖ ๖๑,๐๑๑ ๖๓,๗๒๕ ๑๒๔,๗๓๖ ๓๙,๓๔๓ ๖๑,๔๑๙ ๖๔,๐๔๕ ๑๒๕,๔๖๔ ๓๙,๓๗๑ ๒ สายบุร ี ๓๑,๙๙๗ ๓๒,๙๖๑ ๖๔,๙๕๙ ๑๔,๗๖๙ ๓๒,๓๗๐ ๓๓,๕๕๔ ๖๕,๙๒๔ ๑๕,๒๑๒ ๓๒,๕๗๒ ๓๓,๙๔๙ ๖๖,๔๒๐ ๑๕,๔๙๒ ๓ โคกโพธ์ิ ๓๑,๙๒๙ ๓๓,๒๓๖ ๖๕,๐๖๕ ๑๗,๙๙๔ ๓๒,๐๙๙ ๓๓,๕๗๑ ๖๕,๖๕๙ ๑๙,๒๒๗ ๓๒,๓๑๓ ๓๓,๙๒๗ ๖๖,๑๔๐ ๑๙,๕๑๙ ๔ หนองจิก ๓๕,๗๔๔ ๓๕,๑๙๙ ๗๐,๙๔๒ ๑๕,๓๐๐ ๓๖,๔๑๖ ๓๕,๖๐๖ ๗๒,๐๒๒ ๑๖,๑๐๗ ๓๗,๓๓๗ ๓๕,๙๙๐ ๗๓,๒๑๗ ๑๗,๙๑๐ ๕ ปะนาเระ ๒๑,๖๔๖ ๒๒,๒๖๗ ๔๓,๙๑๓ ๑๐,๔๐๕ ๒๑,๙๒๒ ๒๒,๕๒๓ ๔๔,๓๔๕ ๑๐,๖๓๕ ๒๒,๑๑๙ ๒๒,๗๔๔ ๔๔,๙๖๓ ๑๐,๙๐๓ ๖ มายอ ๒๗,๐๑๒ ๒๙,๐๐๓ ๕๕,๐๑๕ ๑๑,๕๙๒ ๒๗,๔๙๐ ๒๙,๔๓๕ ๕๕,๙๒๕ ๑๑,๙๙๒ ๒๗,๙๗๑ ๒๙,๗๙๙ ๕๖,๖๖๐ ๑๒,๑๓๐ ๗ ยะรัง ๔๒,๕๓๑ ๔๓,๑๑๐ ๙๕,๖๔๑ ๑๙,๒๓๕ ๔๓,๑๙๕ ๔๓,๖๐๐ ๙๖,๗๙๕ ๑๙,๗๗๒ ๔๓,๖๖๓ ๔๓,๙๒๗ ๙๗,๕๙๐ ๑๙,๑๔๑ ๙ ยะหริ่ง ๔๐,๒๑๙ ๔๐,๗๖๒ ๙๐,๙๙๐ ๑๖,๙๗๔ ๔๐,๗๓๒ ๔๑,๒๙๙ ๙๒,๐๒๑ ๑๗,๓๕๒ ๔๑,๐๖๗ ๔๑,๗๒๗ ๙๒,๗๙๔ ๑๗,๖๐๕ ๙ ทุงยางแดง ๑๐,๕๑๙ ๑๐,๙๖๐ ๒๑,๔๗๙ ๔,๕๐๑ ๑๐,๖๖๑ ๑๑,๐๙๙ ๒๑,๗๔๙ ๔,๖๗๔ ๑๐,๗๙๐ ๑๑,๒๑๙ ๒๒,๐๐๙ ๔,๗๗๓

๑๐ ไมแกน ๕,๗๕๓ ๕,๙๑๙ ๑๑,๖๗๑ ๒,๙๕๕ ๕,๙๑๐ ๖,๐๐๓ ๑๑,๙๑๓ ๒,๙๒๓ ๕,๙๙๗ ๖,๐๖๔ ๑๑,๙๕๑ ๒,๙๕๒ ๑๑ กะพอ ๙,๒๗๖ ๙,๓๑๓ ๑๖,๕๙๙ ๓,๖๓๐ ๙,๓๙๖ ๙,๔๗๑ ๑๖,๙๖๗ ๓,๗๒๑ ๙,๕๐๙ ๙,๕๗๐ ๑๗,๐๗๙ ๓,๗๙๓ ๑๒ แมลาน ๗,๕๙๑ ๗,๙๙๙ ๑๕,๔๙๐ ๓,๗๔๔ ๗,๖๕๑ ๗,๙๙๙ ๑๕,๖๓๙ ๓,๙๓๖ ๗,๗๑๗ ๙,๐๕๗ ๑๕,๗๗๔ ๓,๙๙๗

รวม ๓๒๓,๕๗๓

๓๓๑,๖๙๖

๖๕๕,๒๕๙

๑๕๗,๑๔๕

๓๒๗,๖๓๒

๓๓๕,๙๕๓

๖๖๓,๔๙๕

๑๖๑,๖๙๔

๓๓๑,๒๖๔

๓๓๙,๖๙๗

๖๖๙,๙๖๑

๑๖๖,๓๖๕

ท่ีมา : ท่ีทําการปกครองจังหวัดปตตานี ขอมูล ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕

-๒๑-

Page 28: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

- ๒๒– ศาสนา

จังหวัดปตตานีมีประชากรท้ังสิ้น ๖๖๙,๙๖๑ คน ประชากรสวนใหญในจังหวัดปตตานี นับถือศาสนาอิสลาม จํานวน ๕๗๗,๘๑๑ คน คิดเปนรอยละ ๘๖.๒๕ รองลงมาคือศาสนาพุทธ จํานวน ๙๑,๗๙๑ คน คิดเปนรอยละ ๑๓.๗๐ และนับถือศาสนาคริสต/อ่ืน ๆ จํานวน ๓๕๙ คน คิดเปนรอยละ ๐.๐๕ รายละเอียดดังตาราง

การนับถือศาสนาของประชากรในจังหวัดปตตานี ระหวางป ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖

ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต/อ่ืน ๆ

ป พ.ศ. จํานวน ประชากร

รอยละ จํานวน ประชากร

รอยละ จํานวน ประชากร

รอยละ

๒๕๕๔ ๘๐,๘๙๘ ๑๒.๓๙ ๕๗๒,๐๐๘ ๘๗.๖๐ ๕๕ ๐.๐๑

๒๕๕๕ ๘๔,๑๐๗ ๑๒.๗๒ ๕๗๖,๙๑๐ ๘๗.๒๕ ๒๐๑ ๐.๐๓

๒๕๕๖ ๙๑,๗๙๑ ๑๓.๗๐ ๕๗๗,๘๑๑ ๘๖.๒๕ ๓๕๙ ๐.๐๕

ท่ีมา สนง.วัฒนธรรมจังหวัดปตตานี(ขอมูล ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕)

แผนภูมิแสดงสัดสวนของผูนับถือศาสนาตางๆในจังหวัดปตตานีประจําป ๒๕๕๖

หมายเหตุ ขอมูล ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕

Page 29: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๒๓-

ตารางแสดงจํานวนประชากรท่ีนับถือศาสนาในจังหวัดปตตานี จําแนกตามอําเภอ ประจําป ๒๕๕๖

อําเภอ ศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต/อ่ืน ๆ

ประชากร รอยละ ประชากร รอยละ ประชากร รอยละ

๑. เมืองปตตานี ๒๓,๓๒๐ ๑๘.๕๙ ๑๐๑,๗๘๘ ๘๑.๑๓ ๓๕๖ ๐.๒๘

๒. หนองจิก ๘,๘๔๑ ๑๒.๐๘ ๖๔,๓๗๖ ๘๗.๙๒ - -

๓. โคกโพธิ์ ๒๖,๐๙๘ ๗๐.๙๙ ๔๐,๐๔๒ ๒๙.๐๑ - -

๔. ยะรัง ๑,๗๕๐ ๒ ๘๕,๘๔๐ ๙๘ - -

๕. ยะหริ่ง ๔,๖๓๙ ๕.๖๑ ๗๘,๑๕๕ ๙๔.๓๙ - -

๖. มายอ ๑,๐๐๕ ๒ ๕๕,๖๕๕ ๙๘ - -

๗. สายบุรี ๗,๓๑๙ ๑๑.๐๒ ๕๙,๑๐๑ ๘๘.๙๘ - -

๘. ปะนาเระ ๙.๔๖๒ ๒๑.๐๙ ๓๕,๓๙๘ ๗๘.๙๐ ๓ ๐.๐๑

๙. ไมแกน ๓,๑๗๑ ๒๖.๕๓ ๘,๗๘๐ ๗๓.๔๗ - -

๑๐. กะพอ ๘๓๑ ๔.๘๗ ๑๖,๖๒๔ ๙๕.๑๓ - -

๑๑. ทุงยางแดง ๔๐ ๐.๑๘ ๒๑,๙๖๙ ๙๙.๘๒ - -

๑๒. แมลาน ๕,๓๑๕ ๓๗.๖๒ ๑๐,๔๕๙ ๖๒.๓๘ - -

รวม ๙๑,๗๙๑ ๑๓.๗๐ ๕๗๗,๘๑๑ ๘๖.๒๕ ๓๕๙ ๐.๐๕

ท่ีมา สนง.วัฒนธรรมจังหวัดปตตานี(ขอมูล ณ วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕)

๓.๔

(๑) ปาไม จังหวัดปตตานี มีเนื้อท่ีปาตามพระราชบัญญัติปาสงวนแหงชาติ พ.ศ.๒๕๐๗ ท้ังสิ้น ๙๙,๖๔๙ ไร

ป า ไ ม ถ า ว ร ต า ม ม ติ ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี ๒ ๕ , ๙ ๙ ๕ . ๓ ๗ ๕ ไ ร กรมปาไมไดสงมอบพ้ืนท่ีใหสํานักงานปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม ดําเนินการปฏิรูปท่ีดิน ส.ป.ก. ใหแกเกษตรกร ท้ังสิ้น ๙,๒๙๒-๓-๖๙ ไร มีอุทยานแหงชาติ ๒ แหง คืออุทยานแหงชาติบูโด-สุไหงปาดี มีเนื้อท่ีประมาณ ๒๑๓ ,๑๒๕ ไร ครอบคลุม พ้ืน ท่ี ๓ จั งหวัด คือ จั งหวัดปตตานี ( อํา เภอกะพอ เนื้ อ ท่ี ๙ ,๖๐๗ ไร ) จังหวัดยะลาและจังหวัดนราธิวาส และอุทยานแหงชาติน้ําตกทรายขาว มีเนื้อท่ีประมาณ ๔๓,๔๙๒ ไร ครอบคลุม ๓ จังหวัด คือจังหวัดปตตานี (อําเภอโคกโพธิ์ เนื้อท่ี ๑๖,๓๑๒.๕๐ ไร) จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขลา และเขตหามลาสัตวปา ๑ แหง คือเขตหามลาสัตวปาปารังไก สภาพปาสวนใหญของจังหวัดปตตานีเปนปาดิบชื้น ปาชายเลน และปาพรุ

จากขอมูลเม่ือ พ.ศ.๒๕๔๗ จากการแปลภาพถายดาวเทียม Landsat - ๕ ป พ.ศ.๒๕๔๖ - ๒๕๔๗ จังหวัดปตตานี มีเนื้อท่ีปาไมรวม ๕๐,๑๒๕ ไร ปาบก ๒๖,๙๓๗ ไร ปาชายเลน ๒๓,๑๙๙ ไร (เนื้อท่ีปาไม หมายถึง เนื้อท่ีปาทุกชนิดไมวาจะอยูในเขตปาสงวนแหงชาติ อุทยานแหงชาติ หรือเนื้อท่ีปาอ่ืน ๆ)

ทรัพยากรธรรมชาติ

Page 30: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๒๔-

ประเภทของพ้ืนท่ีปาไม

ประเภทพ้ืนท่ีปาไม ทองท่ีอําเภอ จํานวน

เนื้อท่ี (ไร) หมายเหตุ

ปาสงวนแหงชาติ ๑๕ ปา

๙๙,๖๔๙ ตามกฎกระทรวงของ

กระทรวงเกษตรและสหกรณ ๑.ปาเลนยะหริ่ง ยะหริ่ง ๑ ปา ๖,๒๑๒ ๒.ปาเลนยะหริ่ง แปลงท่ี ๒

ยะหริ่ง ๑ ปา ๑,๒๕๐

๓.ปาเลนยะหริ่ง แปลงท่ี ๓

ยะหริ่ง ๑ ปา ๓๗๕

๔.ปาเลนหนองจิก หนองจิก ๑ ปา ๑๒,๑๙๗ ๕.ปาไมแกน ไมแกน ๑ ปา ๔,๐๒๐ ๖.ปาสายโฮ หนองจิก ๑ ปา ๖,๗๕๐ ๗.ปาบาโงจะลาฆี ยะรัง ๑ ปา ๖๒๕ ๙.ปาเขายีโดะ มายอ,ทุงยางแดง,สา

ยบุร ี๑ ปา ๒๒,๕๐๐

๙.ปาบูเกะกุง ๑๐.ปาเขาตูม ๑๑.ปาเทือกเขาเปาะยานิ ๑๒.ปากะรุบี ๑๓.ปาดอนนา ๑๔.ปาบูเกะตางอ

มายอ,ทุงยางแดง ยะรัง ทุงยางแดง

๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา

๑ ปา ๑ ปา

๙๓๓ ๑,๙๕๐

๑๐,๐๐๙ ๒,๕๐๐

๔,๙๔๔ ๑,๒๑๙

อยูในอุทยานแหงชาติ บูโด - สุไหงปาดี

๑๕.ปาเขาใหญ โคกโพธิ ์ ๑ ปา ๒๔,๓๗๕ บางสวนอยูในเขตอุทยานแหงชาติน้ําตกท

รายขาว อุทยานแหงชาติ ๑.อุทยานแหงชาติ บูโด – สุไหงปาดี ๒.อุทยานแหงชาติน้ําตก ทรายขาว

กะพอ โคกโพธิ์

๑ ปา

๑ ปา

๙,๖๐๗

๑๖,๓๑๒.๕๐

ครอบคลุม ๓ จังหวัด คือ ปตตานี ยะลา และนราธิวาสเนื้อท่ีประมาณ ๒๑๓,๑๒๕ ไร ครอบคลุม ๓ จังหวัด คือ ปตตานี ยะลา และสงขลา เนื้อท่ีประมาณ ๔๓,๔๙๒ ไร

Page 31: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๒๕-

ประเภทพ้ืนท่ีปาไม ทองท่ีอําเภอ

จํานวน

เนื้อท่ี (ไร) หมายเหตุ

พ้ืนท่ีปาถาวรตามมติ คณะรัฐมนตรี ๑. ปาไมแกน ๒. ปาเลนหนองจิก ๓. ปาดอนนา แปลง ๑ ๔. ปาดอนนา แปลง ๒ ๕. ปาสายโฮ ๖. ปาเขาใหญ ๗. ปาเทือกเขายีโตะ ๙. ปาบูเกะกุง ๙. ปาเขาตูม ๑๐. ปาบาโงจะลาฆี ๑๑. ปาเทือกเขาเปาะยานิ ๑๒. ปากะรุบี

ไมแกน หนองจิก

๑๒ ปา

๑ ปา

๑ ปา

๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา ๑ ปา

๒๕,๙๙๕.๓๗

๕ ๔,๙๓๔.๓๗๕

๙๙๙

๑,๐๗๑ ๑,๓๙๓ ๓,๐๖๕ ๒,๒๒๓ ๕,๖๙๕

๖๕๖ ๙๕๙

๑,๐๐๔ ๙๐๗

๓,๒๐๐

ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือ วันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๑๔ ตามคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี ๒๙ ธันวาคม ๒๕๓๖

-”- -”- -”- -”- -”- -”- -”- -”- -”- -”-

เขตหามลาสัตวปา ๑.เขตหามลาสัตวปาปารังไก

ปะนาเระ

๑ ปา

๑๕๗-๐-๒๙

ตามประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ เม่ือวันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๒๖

พ้ืนท่ีท่ีกรมปาไมมอบใหสํานักงานการปฏิรูปท่ีดินเพ่ือเกษตรกรรม (ส.ป.ก)ทองท่ีจังหวัดปตตานี เนื้อท่ีรวม ๙,๒๙๒-๓-๖๙ ไร ดังนี้

ลําดับท่ี ปาสงวนแหงชาติ เนื้อท่ี มอบให คงเหลือ

(ไร-งาน-ตารางวา) (พ้ืนท่ีตามการจําแนกการใชประโยชน) (ไร-งาน-ตาราวา) (ไร-งาน-ตารางวา) ๑. ปาสายโฮ ๖,๗๕๐-๐-๐๐ ๒,๕๙๐-๓-๒๕ ๔,๑๕๙-๐-๗๕ ๒. ปาบาโงจะลาฆี ๑,๗๒๕-๐-๐๐ ๑๕๗๐-๒-๔๙ ๑๕๔-๑-๕๒ ๓. ปาเทือกเขาเปาะยานิ ๑๐,๐๐๙-๐-๐๐ ๒,๑๖๐-๐-๐๐ ๗,๙๔๙-๐-๐๐ ๔. ปาเขายโีดะ ๒๙,๐๕๐-๐-๐๐ ๒,๔๙๑-๐-๐๐ ๒๕,๕๖๙-๐-๐๐ ๕. ปาบูเกะกุง ๑,๔๕๐-๐-๐๐ ๑๙๐-๑-๙๕ ๙๕๙-๓-๐๕

รวม ๕ แหง ๔๗,๙๙๓-๐-๐๐ ๙,๙๙๒-๓-๖๙ ๓๙,๖๙๐-๑-๓๒

Page 32: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

หมายเหตุ สําหรับพ้ืนท่ีปาคงสภาพ และพ้ืนท่ีปาเสื่อมโทรม ปจจุบันกรมปาไมและกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืชยังไมมีการสํารวจในพ้ืนท่ี จึงไมมีขอมูลแตอยางใด

-๒๖-

พ้ืนท่ีปาสงวนในจังหวัดปตตานี

ท่ีมา : สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดปตตานี แรธาต ุ

จั ง ห วั ด ป ต ต า นี มี ร า ย ไ ด จ า ก ค า ภ า ค ห ล ว ง แ ร แ ล ะ ค า ธ ร ร ม เ นี ย ม แ ร ไ ม ม า ก นั ก เนื่องจากไดรับสิทธิการทําเหมืองมีประทานบัตรเพียงจํานวน ๑ แปลงท่ีบานเตราะปลิง ตําบลทุงคลา อํ า เ ภ อ ส า ย บุ รี ช นิ ด แ ร หิ น แ ก ร นิ ต ( เ พ่ื อ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร ก อ ส ร า ง ) ปจจุบันไมไดเปดการทําเหมืองผลิตแรแตอยางใดเนื่องจากอยูระหวางการขอใบอนุญาตซ้ือ มี ใช ซ่ึงวัตถุระเบิด (แบบ ป.๕) รายไดท่ีจัดเก็บไดจึงมีเฉพาะคาธรรมเนียมแรเทานั้น

๓.๕

แบงเปน ๓ ลักษณะ ประกอบดวย พ้ืนราบชายฝงทะเล ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีสวนใหญ ประมาณ ๑ ใน ๓ ข อ ง พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด ไ ด แ ก ท า ง ต อ น เ ห นื อ แ ล ะ ท า ง ต ะ วั น อ อ ก ข อ ง จั ง ห วั ด มี ห า ด ท ร า ย ย า ว และเปนท่ีราบชายฝงกวางประมาณ๑๐ – ๓๐กิโลเมตร พ้ืนท่ีราบลุม บริเวณตอนกลาง และตอนใตของจังหวัด

สภาพภูมิประเทศ

Page 33: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

มี แ ม น้ํ า ป ต ต า นี ไ ห ล ผ า น ท่ี ดิ น มี ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร เ ก ษ ต ร ก ร ร ม แ ล ะ พ้ื น ท่ี ภู เ ข า ซ่ึงเปนพ้ืนท่ีสวนนอยอยูทางตอนใตของอําเภอโคกโพธิ์ อําเภอกะพอ และทางตะวันออกของอําเภอสายบุรี

Page 34: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

แผนท่ีแสดงท่ีตั้งและอาณาเขตจังหวัดปตตานี

-๒๗-

Page 35: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๒๘-

๓.๖

ลักษณะอากาศท่ัวไป

จังหวัดปตตานีอยูภายใตอิทธิพลของลมมรสุมท่ีพัดประจําเปนฤดูกาล๒ชนิดคือฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือหรือฤดูหนาวจะมีลมจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงเปนลมเย็นและแหงจากประเทศจีนพัดปกคลุมประเทศไทยทําใหประเทศไทยตอนบนตั้งแตภาคกลางข้ึนไปมีอากาศหนาวเย็นและแหงแลงท่ัวไปแตภาคใตตั้งแตจังหวัดประจวบคีรีขันธลงไปกลับมีฝนตกชุกเพราะลมมรสุมนี้พัดผานอาวไทยจึงพัดพาเอาไอน้ําไปตกเปนฝนท่ัวไปตั้งแตจังหวัดชุมพรลงไปอากาศจึงไม ห น า ว เ ย็ น ดั ง เ ช น ภ า ค อ่ื น ๆท่ีอยูทางตอนบนของประเทศและจังหวัดปตตานีซ่ึงอยูทางดานฝงตะวันออกไดรับอิทธิพลของลมนี้เต็มท่ีจึงมีฝนตกอยูในเกณฑปานกลางและมีอากาศเย็นเปนครั้งคราวลมมรสุมอีกชนิดหนึ่งคือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตซ่ึงพัดผานมหาสมุทรอินเดียจึงพาเอาไอน้ําและความชุมชื้นมาสูประเทศไทยแตเนื่องจากเทือกเขาตะนาวศรีดานตะวันตกซ่ึงปดก้ันกระแสลมเอาไวจึงทําใหบริเวณภาคใตฝงตะวันออกและจังหวัดปตตานีมีฝนนอยกวาภาคใตฝงตะวันตกซ่ึงเปนดานรับลม

ฤดูกาล

ฤดูกาลของจังหวัดปตตานีแบงตามลักษณะของลมฟาอากาศของประเทศไทยออกไดเปน ๒ ฤดู คือ ๑. ฤดูรอนเริ่มตั้ งแตกลางเดือนมกราคมถึงกลางเดือนพฤษภาคมระยะนี้ เปนชวงวางของฤดูมรสุม หลังจากสิ้นฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนืออากาศจะเริ่มรอนและอากาศจะรอนท่ีสุดในเดือนเมษายนและพฤษภาคมแตไม ร อ น มากนักเนื่องจากภูมิประเทศเปนคาบสมุทรอยูใกลทะเลกระแสลมและไอน้ําจากทะเลทําใหอากาศคลายความรอนไปมาก ๒. ฤดูฝนเริ่มตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนมกราคมเปนระยะเวลา ๙ เดือนโดยแบงออกเปน ๒ ชวง คือ ช ว งแรกจะ เริ่ มตั้ งแต เดื อนพฤษภาคมไปจน ถึง เดื อน กันยายนเปนระยะเวลา ๕ เดื อน ชวงนี้จะไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตซ่ึงพัดมาจากมหาสมุทรอินเดียในชวงนี้ฝนจะตกอยางสมํ่าเสมอแตมีปริมาณ ไมมากนัก โดยจะตกในชวงบายถึงคํ่า ซ่ึงแตละเดือนจะมีปริมาณน้ําฝนเฉลี่ยอยูระหวาง ๙๐ – ๑๔๐ มิลลิเมตร ชวงท่ีสองเริ่มตั้งแตเดือนตุลาคมถึงเดือนมกราคมเปนชวงท่ีไดรับมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผานอาวไทย เปนชวงท่ีมีฝนตกมากโดยเฉพาะในเดือนพฤศจิกายนและธันวาคม ปริมาณน้ําฝนสูงถึง ๓๐๐ – ๔๐๐ มิลลิเมตร

อุณหภูมิ

เนื่องจากจังหวัดปตตานีตั้งอยูในคาบสมุทรท่ีเปนแหลมยื่นออกไปในทะเลจึงไดรับอิทธิพลจากลมมรสุมอยางเต็ม ท่ี คือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใตจากมหาสมุทรอินเดียและลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือซ่ึงพัดผานอาวไทยทําใหไดรับไอน้ําและความชุมชื้นมาก อุณหภูมิเฉลี่ยจึงไมสูงมากและอากาศไมรอนจัดในฤดูรอนและจะมีอากาศเย็นไดในบางครั้ง อุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปในชวงระหวางป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ มีคาอยูท่ี ๒๙.๓ องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย ๓๒.๙องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ําสุดเฉลี่ย ๒๓.๙ องศาเซลเซียส ปพ.ศ. ๒๕๕๓ มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุดมีคาเฉลี่ยอยูท่ี

สภาพภูมิอากาศ

Page 36: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๓๓.๓ องศาเซลเซียส ในรอบ ๔ ป วันท่ีมีอุณหภูมิสูงท่ีสุดวัดได ๓๗.๙ องศาเซลเซียส เม่ือวันท่ี ๑๔ เมษายน ๒๕๕๓ และตรวจวัดอุณหภูมิต่ําสุดได ๑๙.๖ องศาเซลเซียสเม่ือวันท่ี ๒๑ มกราคม ๒๕๕๔

-๒๙-

ความช้ืนสัมพัทธ

จังหวัดปตตานี มีความชื้นสัมพัทธอยู ในเกณฑสู ง เนื่องจากไดรับอิทธิพลจากมรสุม ท้ังสองฤดู คือ ม ร สุ ม ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ แ ล ะ ม ร สุ ม ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต มรสุมท้ังสองนี้กอนจะพัดเขาสูบริเวณจังหวัดปตตานีไดพัดผานทะเลและมหาสมุทรจึงไดพาเอาไอน้ําและความชุมชื้นมาดวย ทําใหบริเวณจังหวัดปตตานีมีความชื้นสัมพัทธสูงเปนเวลานานเฉลี่ยตลอดป ๗๔–๗๙ %

ฝน

ป ต ต า นี เ ป น จั ง ห วั ด ท่ี อ ยู ท า ง ภ า ค ใ ต ฝ ง ต ะ วั น อ อ ก จั ด ว า เ ป น จั ง ห วั ด ท่ี มี ฝ น ต ก ต ล อ ด ท้ั ง ป ใ น ฤ ดู ม ร สุ ม ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ จ ะ มี ฝ น ต ก ชุ ก ก ว า ใ น ฤ ดู ม ร สุ ม ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต เ พ ร า ะ อ ยู ท า ง ด า น ต ะ วั น อ อ กไม มี ภู เ ข า สู ง ใ ด ก้ั น จึ ง ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ล จ า ก ม ร สุ ม นี้ เ ต็ ม ท่ี ทํ า ใ ห มี ฝ น ต ก ชุ ก โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ดื อ น ตุ ล า ค ม แ ล ะ พ ฤ ศ จิ ก า ย น ส ว น ใ น ฤ ดู ม ร สุ ม ต ะ วั น ต ก เ ฉี ย ง ใ ต มี ฝ น ต ก น อ ย ก ว า ฤ ดู ม ร สุ ม ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ เ พ ร า ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ มี แ น ว เ ทื อ ก เ ข า ต ะ น า ว ศ รี ป ด ก้ั น ทํ า ใ ห ไ ด รั บ ก ร ะ แ ส ล ม จ า ก ม ร สุ ม นี้ ไ ม เ ต็ ม ท่ี ปริมาณฝนเฉลี่ยของจังหวัดปตตานีอยูในเกณฑดี แตหากเปรียบเทียบภายในภาคเดียวกันมีฝนอยูในเกณฑปานกลาง ในชวงระหวางป ๒๕๕๑ – ๒๕๕๔ ปริมาณน้ําฝนจะอยูในชวง ๑,๕๖๒.๗ มิลลิเมตร ถึง ๒,๔๔๙.๙มิลลิเมตร โดยมีคาเฉลี่ยปริมาณน้ําฝนในรอบ ๔ ปอยูท่ี ๒๑๗๖.๗ มิลลิเมตร มีฝนตกเฉลี่ย ๑๕๖ วัน ปท่ีมีฝนตกมากท่ีสุดคือ ป พ.ศ. ๒๕๕๔ วัดได ๒๔๔๙.๙ มิลลิเมตร มีฝนตก ๑๙๐ วัน ปท่ีมีฝนตกนอยท่ีสุดคือป พ.ศ.๒๕๕๒ วัดปริมาณได ๑๕๖๒.๗ มิลลิเมตร มีฝนตก ๑๔๐ วัน เดือนท่ีมีฝนตกมากท่ีสุดคือ เดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๓ วัดได ๓๖๕.๗มิลลิเมตร เดือนท่ีมีฝนตกนอยท่ีสุด คือ เดือนกุมภาพันธ ๒๕๕๔ วัดได ๔.๕ มิลลิเมตรปริมาณน้ําฝนสูงท่ีสุดใน ๑ วัน วัดได ๒๗๔.๓ มิลลิเมตร เม่ือวันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ ซ่ึงเปนวันท่ีเกิดพายุดีเปรสชั่นพัดผานจังหวัดปตตานีและ พัดเขาฝงท่ี อ.สทิงพระ จ.สงขลา

จํานวนเมฆ

ต ล อ ด ท้ั ง ป จ ะ มี จํ า น ว น เ ม ฆ เ ฉ ลี่ ย ป ร ะ ม า ณ ๖ ส ว น ข อ ง จํ า น ว น เ ม ฆ ๙ ส ว น ใ น ท อ ง ฟ า โดยในฤดูรอนจะมีเมฆเฉลี่ยประมาณ ๔ สวน โดยฤดูฝนจะมีเมฆเฉลี่ยประมาณ ๗ สวน

หมอก ฟาหลัว และทัศนวิสัย

โดยเฉลี่ยแลวจังหวัดปตตานี มีโอกาสเกิดหมอกไดนอยมากประมาณเดือนละ ๑ – ๔ วัน สวนมากจะเกิดระหวางเดือนกุมภาพันธถึงเมษายน วันท่ีเกิดหมอกทัศนวิสัยไมดีเห็นไดไกลไมเกิน ๑ กิโลเมตร ส ว นฟ า หลั ว เ กิ ดม าก ร ะหว า ง เ ดื อนมกร าคม ถึ ง เ มษายนประมาณ ๕ – ๑๒ วั น วันท่ีมีฟาหลัวทัศนวิสัยจะเห็นไดไกลประมาณ ๖–๙ กิโลเมตร ทัศนวิสัยเฉลี่ยเวลา ๐๗.๐๐น. จะเห็นไดไกลประมาณ ๗ – ๙ กิโลเมตร และทัศนวิสัยเฉลี่ยตลอดวันประมาณ ๙– ๑๐ กิโลเมตร

Page 37: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ลม

ระบบห มุน เ วี ย นของลม ในจั งห วั ดป ต ตานี ใ นฤดู ม รสุ มต ะวั นออก เ ฉี ย ง เ หนื อห รื อ ฤดู หน า ว ลมส วนใหญจะพัดจากทิศตะวันออกโดยตลอดจนเข าสู ฤดู รอนตั้ งแต เดื อนพฤศจิกายนจนถึง เมษายน กํ า ลั ง ล ม เ ฉ ลี่ ย ป ร ะ ม า ณ ๖ –๑ ๑ กม./ชม.หลังจากสิ้นฤดูรอนเขาสูฤดูฝนตั้งแตกลางเดือนพฤษภาคมถึงตุลาคมจะเปนลมทิศตะวันตกกําลังลมเฉลี่ยประมาณ ๖–๙กม./ชม.

-๓๐-

พายุหมุนเขตรอน

พายุ ห มุน เขตร อน ท่ีผ านบริ เ วณภาค ใต และ ทํ าคว ามกระทบกระ เ ทื อน ให กั บจั งหวั ดป ตตานี ส ว น ม า ก เ ป น พ า ยุ ดี เ ป ร ส ชั่ น ท่ี มี กํ า ลั ง อ อ น ซ่ึงกอตัวข้ึนในทะเลจีนใตหรือมหาสมุทรแปซิฟคเคลื่อนตัวเขามาในอาวไทยระหวางเดือนตุลาคมถึงธันวาคม พ า ยุ นี้ จ ะ ทํ า ใ ห มี ฝ น ต ก ห นั ก พ า ยุ ล ม แ ร ง แ ล ะ เ กิ ด ส ภ า ว ะ น้ํ า ท ว ม ฉั บ พ ลั น ข้ึ น ไ ด กําลังแรงของลมและคลื่นในทะเลจะทําอันตรายแกเรือตาง ๆและอาคารบานเรือนท่ีอยูตามชายฝงทะเลได

๓.๗

(๑) ไฟฟา

จังหวัดปตตานีมีสํานักงานการไฟฟา ๒ สํานักงาน คือ ๑) สํานักงานการไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดปตตานี รับผิดชอบพ้ืนท่ีอําเภอเมืองปตตานี ยะรัง ยะหริ่ง โคกโพธิ์ หนองจิก และแมลาน และ ๒) สํานักงานการไฟฟา สวนภูมิภาคสายบุรี รับผิดชอบพ้ืนท่ีอําเภอสายบุรี ปะนาเระ มายอ ทุงยางแดง ไมแกน กะพอ มีท่ีทําการไฟฟาท้ังหมด ๑๒ แหง ป ๒๕๕๕ ใชกระแสไฟฟาท้ังสิ้น ๓๘๒,๑๙๐,๒๕๔.๙๓ หนวย และมีจํานวนผูใชไฟฟาท้ังสิ้น ๑๕๔,๖๑๓.๐๐ ราย มีการใชกระแสไฟฟาในพ้ืนท่ีควบคุม กฟจ.ปตตานี จํานวน ๒๙๔,๒๙๔,๕๙๓.๙๙ หนวย จํานวนผูใชไฟฟา ๙๙,๒๒๘ ราย และการใชกระแสไฟฟาในพ้ืนท่ีควบคุม กฟอ.สายบุรี จํานวน ๘๗,๘๙๕,๖๖๐.๙๔ หนวย จํานวนผูใชไฟฟา ๕๕,๓๘๕ ราย

ตารางแสดงการใชกระแสไฟฟาในพ้ืนท่ีจังหวัดปตตานี ตั้งแตเดือน มกราคม – กันยายน ๒๕๕๕

ลําดับท่ี ลักษณะการจําหนายไฟฟา การจําหนายไฟฟา (หนวย) ๑. จํานวนผูใชไฟฟา (ราย) ๑๕๔,๖๑๓ ๒. ท่ีอยูอาศัย ๑๔๖,๔๑๒,๙๑๓.๗๓ ๓. ธุรกิจ/อุตสาหกรรม ๑๘๒,๖๖๔,๖๐๐.๓๕ ๔. สูบน้ําเพ่ือการเกษตร ๑๔๕,๙๘๒.๙๔ ๕. สวนราชการ ๓๒,๒๓๐,๙๐๖.๒๘ ๖. ไฟฟาชั่วคราว ๒,๕๔๐,๖๔๕.๒๕ ๗. ไฟฟาสาธารณะ ๑๕,๔๖๓,๔๒๕.๙๘

โครงสรางพ้ืนฐาน

Page 38: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๘. ไฟฐานปฏิบัติการ ๒,๗๓๑,๗๘๐.๔๐ รวม ๓๘๒,๑๙๐,๒๕๔.๙๓

ท่ีมา : การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดปตตานี/การไฟฟาสวนภูมิภาคสายบุรี

Page 39: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๑- (๒) โทรศัพท

จังหวัดปตตานีมีจํานวนเลขหมายโทรศัพทในป ๒๕๕๕ ท้ังสิ้น ๒๙,๔๙๔ เลขหมาย เปนเลขหมายท่ีมีผูเชาจาก บ ริ ษั ท ที โ อ ที จํ า กั ด ( ม ห า ช น ) จํ า น ว น ๑ ๙ , ๙ ๒ ๓ เ ล ข ห ม า ย ในจํานวนนี้การใชโทรศัพทบานมีการเชาเลขหมายมากท่ีสุด ๑๓,๗๒๖ เลขหมาย คิดเปนรอยละ ๗๒.๕๔ (ลดลงจากป ๒ ๕ ๕ ๔ ร อ ย ล ะ ๑ . ๔ ๔ ) ข อ ง จํ า น ว น เ ล ข ห ม า ย ท้ั ง ห ม ด ร อ ง ล ง ม า เ ป น สวนราชการหนวยธุรกิจและเลขหมายสาธารณะตามลําดับและมีเลขหมายของผูไดรับสัมปทาน คือ บริษัท ทีทีแอนดที จํากัด(มหาชน) จํานวน ๔,๑๖๙ เลขหมาย

ตารางแสดงบริการโทรศัพทในจังหวัด ระหวางป ๒๕๕๐– ๒๕๕๕ ป จํานวน

เลขหมายท่ีมี จํานวนเลขหมายท่ีมีผูเชา จํานวน

เลขหมายTT&T รวม ราชการ บาน ธุรกิจ ท.ศ.ท. สาธารณะ ๒๕๕๐ ๒๕,๗๖๙ ๑๙,๕๗๖ ๑,๗๒๑ ๑๓,๗๔๔ ๑,๖๓๐ ๒๖๔ ๑,๒๑๗ ๗,๙๔๓ ๒๕๕๑ ๒๕,๙๙๗ ๑๙,๖๙๙ ๑,๗๓๐ ๑๓,๙๑๓ ๑,๖๔๗ ๒๖๕ ๑,๒๓๓ ๙,๔๒๐ ๒๕๕๒ ๒๙,๒๒๔ ๒๐,๗๒๗ ๑,๙๙๐ ๑๕,๕๗๔ ๑,๖๕๕ ๒๙๖ ๑,๓๒๒ ๖,๗๗๕ ๒๕๕๒ ๒๙,๒๒๔ ๒๐,๗๒๗ ๑,๙๙๐ ๑๕,๕๗๔ ๑,๖๕๕ ๒๙๖ ๑,๓๒๒ ๖,๗๗๕ ๒๕๕๓ ๒๙,๙๒๐ ๒๐,๕๔๒ ๑,๙๗๐ ๑๕,๒๒๐ ๑,๖๗๙ ๒๙๙ ๑,๓๙๕ ๕,๖๑๐ ๒๕๕๔ ๒๙,๔๒๑ ๒๐,๑๐๖ ๒,๐๑๔ ๑๔,๙๗๖ ๑,๗๐๔ ๒๙๙ ๑,๒๒๕ ๑๐,๗๙๒ ๒๕๕๕ ๒๙,๔๙๔ ๑๙,๙๒๓ ๒,๐๐๔ ๑๓,๗๒๖ ๑,๗๐๔ ๒๙๙ ๑,๒๐๑ ๔,๑๖๙

ท่ีมา :โทรศัพทจังหวัดปตตานี

(๓) ถนน

จั ง ห วั ด ป ต ต า นี มี ร ะ ย ะ ท า ง ถ น น ท่ี ก อ ส ร า ง แ ล ว เ ส ร็ จ ซ่ึงอยูในความรับผิดชอบของสํานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดปตตานี และแขวงการทางปตตานี รวมท้ังสิ้น ๙๔๕.๕๖๔ กม. โดยเปนถนนในความรับผิดชอบของสํานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดปตตานี ๕๐๒.๖๙๐ กม. เ ป นถนนล าดย า ง ๔๔๗ .๙๓๗ กม. เป น ถนนลู ก รั ง ๔๖ .๔๕๙ กม.เป น ถนนคอนกรี ต ๙.๓๙๕ กม . แ ล ะ เ ป น ถ น น ใ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง แ ข ว ง ก า ร ท า ง ป ต ต า นี ๓ ๗ ๗ .๗ ๖ ๙ ก ม . ซ่ึง เปนถนนลาดยางท้ังหมดโดยมีถนนสายหลัก ท่ีสํ า คัญเชื่ อมตอ กับจังหวัดใกล เ คียง คือถนนสาย ๔๓ เชื่ อมตอ กับจั งหวัดสงขลา ถนนสาย ๔๑๐ และ ๔๑๙ เชื่ อมตอ กับจั งหวัดยะลา และถนนสาย ๔๒ เชื่อมตอกับจังหวัดนราธิวาส

Page 40: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๒-

ตารางแสดงระยะทางถนนของจังหวัด จําแนกตามหนวยงานท่ีรับผิดชอบและประเภทผิวจราจร

ความรับผิดชอบ ระยะทาง

(กม.)

ป ๒๕๕๔ ระยะทาง

(กม.)

ป ๒๕๕๕ ชนิดผิวทาง (กม.) ชนิดผิวทาง (กม.)

ลาดยาง ลูกรัง คอนกรีต ลาดยาง ลูกรัง คอนกรีต สนง. ทางหลวงชนบทจังหวัด

๕๐๒.๖๙๐ ๔๔๗.๙๓๗ ๔๖.๔๕๙ ๙.๓๙๕ ๕๐๒.๖๙๐ ๔๔๗.๙๓๗ ๔๖.๔๕๙ ๙.๓๙๕

แขวงการทาง ปตตานี

๓๔๒.๙๗๔ ๓๔๒.๙๗๔ - - ๓๔๒.๙๗๔ ๓๔๒.๙๗๔ - -

รวม ๙๓๕.๓๔ ๗๙๔.๓๔ ๔๑.๐๐๐ ๐.๓๑๙ ๙๔๕.๕๖๔ ๗๙๐.๗๑๑ ๔๖.๔๕๙ ๙.๓๙๕

ท่ีมา : สํานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดปตตานี/ แขวงการทางปตตานี

Page 41: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๓-

หน วยงานในจั งหวัดปตตานีประกอบด วยหน วยงานผู แทนกระทรวง ทุกกระทรวงยกเว น ๒ ก ร ะ ท ร ว ง ท่ี ไ ม มี ห น ว ย ง า น ผู แ ท น ก ร ะ ท ร ว ง ใ น จั ง ห วั ด คื อ ก ร ะ ท ร ว ง ก า ร ต า ง ป ร ะ เ ท ศ และกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีหนวยงานท่ีมีท่ีตั้งสํานักงานในจังหวัดปตตานี จําแนกได ๕ ประเภท ดังนี้

๑. หนวยงานสวนภูมิภาค จํานวน ๓๓ หนวยงาน อยูในการกํากับควบคุมดูแลของผูวาราชการจังหวัด ๒. หนวยงานสวนกลาง จํานวน ๖๕ หนวยงาน ข้ึนตรงตอสวนกลาง(กรมตนสังกัด) ๓. หนวยงานสวนทองถิ่น จํานวน ๑๑๔ หนวยงาน ประกอบดวย องคการบริหารสวนจังหวัด ๑ แหง เทศบาล ๑๕ แหง องคการบริหารสวนตําบล ๙๙ แหง ๔. หนวยงานรัฐวิสาหกิจ จํานวน ๑๗ หนวยงาน ๕. หนวยงานอิสระ จํานวน ๗ หนวยงาน

โครงสรางการบริหารราชการของจังหวัด

๔. การบริหารราชการ

ผูวาราชการจังหวัด

รองผูวาราชการจังหวัด

หนวยงานสวนกลาง/หนวยงานอสิระ/หนวย

งานรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีท่ีตั้งอยูในจังหวัด

หนวยงานสวนภมูิภาค/สวนราชการประจําจังหวัด องคกรปกครองสวนทองถิ่น

(อบจ./เทศบาลเมือง)

สวนราชการระดับอําเภอ

ข้ึนตรงตอสวนกลาง

หนวยงานสวนทองถิ่น

(เทศบาลตําบล/อบต.) สายการบังคับบัญชา - - - - - สายการประสานงาน

Page 42: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๔-

หนวยงานสวนกลาง

สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี (๑) สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทยจังหวัดปตตานี (๒) กองอํานวยการรักษาความม่ันคงภายในจังหวัดปตตานี (๓) หนวยเฉพาะกิจปตตานี สังกัดกระทรวงกลาโหม (๔) จังหวัดทหารบกปตตานี (๕) กองพันทหารราบท่ี ๓ กรมทหารราบท่ี ๑๕๓ (๖) กองบัญชาการกองพลทหารราบท่ี ๑๕ สังกัดกระทรวงการคลัง (๗) สนง.สรรพากรพ้ืนท่ีปตตานี (๘) สนง.สรรพสามิตพ้ืนท่ีปตตานี (๙) สนง.ธนารักษพ้ืนท่ีปตตานี (๑๐) ดานศุลกากรปตตานี สังกัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย (๑๑) สถานสงเคราะหเด็กปตตานี (๑๒) ศูนยพัฒนาสังคมหนวยท่ี ๓๐ จังหวัดปตตานี (นิคมสรางตนเองโคกโพธิ์) (๑๓) บานพักเด็กและครอบครัวจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (๑๔) สนง.ตรวจบัญชีสหกรณจังหวัดปตตานี (๑๕) โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาปตตานี (๑๖) โครงการชลประทานปตตานี (๑๗) ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงน้ําจืดปตตานี (๑๘) ศูนยเมล็ดพันธุขาวปตตานี (๑๙) ศูนยวิจัยขาวปตตานี (๒๐) ศูนยวิจัยและพัฒนาการเกษตรปตตานี (๒๑) สถานีพัฒนาท่ีดินปตตานี (๒๒) สถานีเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝงจังหวัดปตตานี (๒๓) สถานีวิจัยและทดสอบพันธุสัตวปตตานี (๒๔) สถานีวิทยุประมงชายฝงจังหวัดปตตานี (๒๕) สถานีทดลองการใชน้ําชลประทานท่ี ๗ ปตตานี (๒๖) ศูนยปองกันและปราบปรามประมงทะเลจังหวัดปตตานี

สังกัดกระทรวงคมนาคม (๒๗) สนง.เจาทาภูมิภาคท่ี ๔ สาขาปตตานี (๒๘) แขวงการทางปตตานี (๒๙) สนง.ทางหลวงชนบทจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (๓๐) สํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษ ๖ (สาขาปตตานี) (๓๑) อุทยานแหงชาติน้ําตกทรายขาว สังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (๓๒) สถานีอุตุนิยมวิทยาปตตานี สังกัดกระทรวงพาณิชย (๓๓) สนง.การคาภายในจังหวัดปตตานี (๓๔) สนง.งานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงยุติธรรม (๓๕) สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน จังหวัดปตตาน ี(๓๖) สนง.ยุติธรรมจังหวัดปตตานี (๓๗) เรือนจํากลางจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงแรงงาน (๓๘) สนง.แรงงานจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ (๓๙) สนง.เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปตตานี เขต ๑ (๔๐) สนง.เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปตตานี เขต ๒ (๔๑) สนง.เขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปตตานี เขต ๓ (๔๒) สนง.อาชีวศึกษาจังหวัดปตตานี (๔๓) สนง.สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดปตตานี (๔๔) ศูนยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ ชายแดนปตตานี (๔๕) วิทยาลัยการอาชีพปตตานี

Page 43: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๕-

(๔๖) วิทยาลัยการอาชีพสายบุรี (๔๗) วิทยาลัยอาชีวศึกษาปตตานี (๔๘) วิทยาลัยเทคนิคปตตานี (๔๙) วิทยาลัยประมงปตตานี (๕๐) วิทยาลัยเทคนิคกาญจนภิเษกปตตานี (๕๑) วิทยาลัยชุมชนจังหวัดปตตานี (๕๒) โรงเรียนเบญจมราชูทิศจังหวัดปตตานี (๕๓) โรงเรียนเดชะปตตนยานุกูล (๕๔) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี (๕๕) ศูนยการศึกษาพิเศษประจําจังหวัดปตตานี (๕๖) สนง.การศึกษาเอกชนจังหวัดปตตานี (๕๗) โรงเรียนราชประชานุเคราะห ๔๐ จังหวัดปตตานี

สังกัดกระทรวงสาธารณสุข (๕๘) ศูนยบําบัดรักษายาเสพติดจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงวัฒนธรรม (๕๙) โครงการขุดแตงและบูรณะโบราณสถานเมืองยะรัง สวนราชการไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง (๖๐) ตํารวจภูธรจังหวัดปตตานี (๖๑) สถานีตํารวจทางหลวง ๕ กองกํากับการ ๗ (๖๒) ดานตรวจคนเขาเมืองปตตานี (๖๓) สถานีตํารวจน้ํา ๒ กองกํากับการ ๗ (๖๔) กองรอยตํารวจตระเวนชายแดน ๔๔๔ (๖๕) หนวยพิสูจนหลักฐานจังหวัดปตตานี (๖๖) หนวยตํารวจสันติบาลจังหวัดปตตานี

หนวยงานสวนภมูิภาค

สังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี (๑) สนง.ประชาสัมพันธจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงกลาโหม (๒) ท่ีทําการสัสดีจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงการคลัง (๓) สนง.คลังจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงการทองเท่ียวและกีฬา (๔) สนง.การทองเท่ียวและกีฬาจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรงการพัฒนาสังคมและความม่ันคง ของมนุษย (๕) สนง.พัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย จังหวัดปตตาน ีสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ (๖) สนง.เกษตรและสหกรณจังหวัดปตตานี (๗) สนง.ประมงจังหวัดปตตานี (๘) สนง.ปศุสัตวจังหวัดปตตานี (๙) สนง.เกษตรจังหวัดปตตานี (๑๐) สนง.สหกรณจังหวัดปตตานี (๑๑) สนง.ปฏิรูปท่ีดินจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงคมนาคม (๑๒) สนง.ขนสงจังหวัดปตตานี

สังกัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม (๑๓) สนง.ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม จังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (๑๔) สนง.สถิติจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงพลังงานจังหวัดปตตานี (๑๕) สนง.พลังงานจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงพาณิชย (๑๖) สนง.พาณิชยจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงมหาดไทย (๑๗) สํานักงานจังหวัดปตตานี (๑๘) ท่ีทําการปกครองจังหวัดปตตานี (๑๙) สนง.พัฒนาชุมชนจังหวัดปตตานี (๒๐) สนง.ท่ีดินจังหวัดปตตานี (๒๑) สนง.ปองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดปตตานี (๒๒) สนง.โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดปตตานี (๒๓) สนง.สงเสริมการปกครองทองถ่ินจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงยุติธรรม (๒๔) สนง.คุมประพฤติจังหวัดปตตานี (๒๖) สนง.บังคับคดีจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงแรงงาน (๒๗) สนง.แรงงานจังหวัดปตตานี

Page 44: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๖- (๒๘) สนง.จัดหางานจังหวัดปตตานี (๒๙) สนง.สวัสดิการและคุมครองแรงงานจังหวัดปตตานี (๓๐) สนง.ประกันสังคมจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงวัฒนธรรมจังหวัดปตตานี (๓๑) สนง.วัฒนธรรมจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงสาธารณสุข (๓๒) สนง.สาธารณสุขจังหวัดปตตานี สังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม (๓๓) สนง.อุตสาหกรรมจังหวัดปตตานี

สวนราชการไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรือทบวง (๓๔) สนง.พระพุทธศาสนาจังหวัดปตตานี

หนวยงานรัฐวิสาหกิจ (๑) ทาเทียบเรือประมงปตตานี (๒) ศูนยการกีฬาแหงประเทศไทยจังหวัดปตตานี (๓) ท่ีทําการไปรษณียจังหวัดปตตานี (๔) สวนบริการลูกคาจังหวัดปตตานี (โทรศัพทจังหวัด) (๕) สํานักบริการลูกคา กสท. ปตตานี (๖) การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดปตตานี (๗) การไฟฟาสวนภูมิภาคสายบุรี (๘) การประปาสวนภูมิภาคสายบุรี (๙) สถานีวิทยุ อ.ส.ม.ท.จังหวัดปตตานี (๑๐) สนง.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง จังหวัดปตตานี

(๑๑) สถานีไฟฟาแรงสูงปตตานี (๑๒) สถานีรถไฟปตตานี (๑๓) บริษัทขนสงจํากัด สาขาเดินรถปตตานี (๑๔) ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) (๑๕) ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม แหงประเทศไทย สาขาปตตานี (๑๖) ธนาคารออมสิน สาขาปตตานี (๑๗) ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร 0จังหวัดปตตานี (๑๘) ธนาคารอิสลามแหงประเทศไทย

หนวยงานอิสระ (๑) สนง.อัยการจังหวัดปตตานี (๒) สนง.อัยการจังหวัดแผนกคดีเยาวชน และครอบครัวจังหวัดปตตานี (๓) ศาลจังหวัดปตตานี (๔) ศาลจังหวัดปตตานีแผนกคดีเยาวชน และครอบครัว

(๕) สนง.คณะกรรมการการเลือกตั้งประจํา จังหวัดปตตาน ี(๖) สนง.คณะกรรมการกํากับและสงเสริมการ ประกอบธุรกิจประกันภัยจังหวัดปตตานี (๗) สนง.กองทุนฟนฟูและพัฒนาเกษตรกร สาขาปตตาน ี

หนวยงานสวนทองถิ่น (๑) องคการบริหารสวนจังหวัด ๑ แหง (๒) เทศบาล ๑๕ แหง เทศบาลขนาดใหญ ๑ แหง (เทศบาลเมืองปตตานี) เทศบาลขนาดกลาง ๖ แหง เทศบาลขนาดเล็ก ๘ แหง

(๓) องคการบริหารสวนตําบล ๙๙ แหง ขนาดใหญ ๑ แหง (อบต.บานา) ขนาดกลาง ๖๙ แหง ขนาดเล็ก ๒๙ แหง

Page 45: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัด(GPP = GROWTH PROVINCIAL PRODUCT)

-๓๗-

๕.๑ ผลิตภัณฑจังหวัดจําแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. ๒๕๕๓

สาขาการผลิต พ.ศ.๒๕๕๔ คิดเปนเปอรเซ็นต

ภาคเกษตร ๙,๖๐๔ ๔๕.๑

เกษตรกรรมการลาสัตวและการปาไม ๒,๐๒๒ ๑๐.๖

การประมง ๖,๕๙๒ ๓๔.๕

ภาคนอกเกษตร ๑๐,๔๙๙ ๕๔.๙

การทําเหมืองแรและเหมืองหิน ๑๒ ๐.๑

การผลิตอุตสาหกรรม ๑,๒๓๙ ๖.๕

การไฟฟากาซและการประปา ๔๓๒ ๒.๓

การกอสราง ๔๒๙ ๒.๒

การขายสงการขายปลีกการซอมแซมยานยนตจักรยานยนต

ของใชสวนบุคคลและของใชในครัวเรือน ๒,๕๐๒ ๑๓.๑

โรงแรมและภัตตาคาร ๗๗ ๐.๔

การขนสงสถานท่ีเก็บสินคาและการคมนาคม ๙๙๖ ๕.๒

ตัวกลางทางการเงิน ๓๖๒ ๑.๙

บริการดานอสังหาริมทรัพยการใหเชาและบริการทางธุรกิจ ๙๒๔ ๔.๓

การบริหารราชการแผนดินและการปองกันประเทศ

รวมท้ังการประกันสังคมภาคบังคับ ๑,๕๐๕ ๗.๙

การศึกษา ๑,๔๓๔ ๗.๕

การบริการดานสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห ๔๗๓ ๒.๕

การบริการชุมชนสังคมและบริการสวนบุคคลอ่ืนๆ ๑๙๑ ๑.๐

ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล ๑๖ ๐.๑

ผลิตภัณฑจังหวัด ๑๙,๐๙๓ ๑๐๐

๕. สภาพเศรษฐกิจ

Page 46: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๘-

ผลิตภัณฑจังหวัด จําแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ.๒๕๕๓

จากขอมูล พบวา มูลคาผลิตภัณฑมวลรวมของจังหวัดปตตานีป ๒๕๕๓ มีมูลคา ๑๙,๐๙๓ ลานบาท สําหรับสาขาการผลิตท่ีสรางมูลคามากท่ีสุดของจังหวัด คือ สาขาประมง มีมูลคา ๖,๕๙๒ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๓๔.๕ รองลงมาเปนสาขาเกษตรกรรม การลาสัตว และการปาไม มีมูลคา ๒,๐๒๒ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๑๐.๖ สวนสาขาท่ีสรางมูลคานอยท่ีสุด คือ สาขาการทําเหมืองแรและเหมืองหิน มีมูลคา ๑๒ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๐.๑ รองลงมาเปนสาขาลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล มีมูลคา ๑๖ ลานบาท ตามลําดับ โดยมีสัดสวนคงท่ีคิดเปนรอยละ ๐.๑ เทานั้น

Page 47: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๓๙-

๕.๒

ในภาพรวมภาวะเศรษฐกิจการคา ท่ัวไปของจังหวัดปตตานี ข้ึนอยู กับภาคเกษตรกรรมเปนหลัก โ ด ย มี สิ น ค า เ ก ษ ต ร ท่ี สํ า คั ญ ไ ด แ ก ก า ร ป ร ะ ม ง ร อ ง ล ง ม า คื อ ก า ร เ ก ษ ต ร ด า น ก า ร ทํ า ส ว น ย า ง ซ่ึ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง ป ต ต า นี จ ะ ดี ห รื อ ไ ม ดี ข้ึ น อ ยู กั บ กิ จ ก ร ร ม ๒ ภ า ค นี้ เ ป น สํ า คั ญ สํ า ห รั บ ก า ร ป ร ะ ม ง ใ น ป ต ต า นี มี ผ ล ผ ลิ ต สั ต ว น้ํ า ท่ี จั บ ไ ด เ ป น ลํ า ดั บ ต น ๆ ของประเทศและมีท า เ รื อ ซ่ึ งสร า ง โดยภาครั ฐ ท่ี มีขนาดใหญ มี อุตสาหกรรมตอ เนื่ องจากการประมง

เกษตรกรรมฯ 2,022 ลานบาท, 10.6 %

การประมง 6,582 ลานบาท, 34.5 %

การทําเหมืองแรและเหมืองหิน 12 ลานบาท,

0.1 % การผลิตอุตสาหกรรม 1,238 ลานบาท, 6.5 %

การไฟฟา กาซ และการประปา 432 ลานบาท, 2.3 %

การกอสราง 428 ลานบาท, 2.2 %

การขายสงฯ 2,502 ลานบาท, 13.1 %

โรงแรม และภัตตาคาร 77 ลานบาท,

0.4 %

การขนสงฯ 996 ลานบาท, 5.2 %

ตัวกลางทางการเงิน 362 ลานบาท, 1.9 %

บริการดานอสังหาริมทรัพยฯ 824

ลานบาท, 4.3 %

การบริหารราชการแผนดินฯ 1,505 ลานบาท, 7.9 %

การศึกษา 1,434 ลานบาท, 7.5 %

การบริการดานสุขภาพ

ฯ 473 ลานบาท,2.5 % การบริการชุมชนฯ 191 ลานบาท, 1.0 %

ลูกจางในครัวเรือนสวนบุคคล 16 ลานบาท,

0.1 %

ผลิตภัณฑจังหวัดปตตานี พ.ศ. 2553

ภาวะสินคาเกษตรท่ีสําคัญ

Page 48: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

สวนราคายางนั้นก็เปนปจจัยท่ีทําใหใหเศรษฐกิจของปตตานีมีพ้ืนฐานท่ีแข็งแกรงพอสมควร ยางพารา ป ๒๕๕๕ ยางแผนดิบชั้น ๓ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ ๙๖.๕๖ บาท น้ํายางสด ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ ๙๓.๑๙ บาท เม่ือเทียบกับป ๒๕๕๔ พบวา ราคาลดลงรอยละ -๒๐.๕๖ และ -๒๐.๔๒ ตามลําดับ

๕.๓

จังหวัดปตตานีมีพ้ืนท่ีเกษตรกรรม ๙๗๒,๒๖๙ ไร คิดเปนรอยละ ๗๙.๓๓ ของพ้ืนท่ีจังหวัดปตตานี ครัวเรือนเกษตรกรจํานวน ๙๒,๖๕๑ ครัวเรือน โดยมีพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญและผลผลิตในป ๒๕๕๕ ดังนี้

(๑) ยางพารา เปนพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญอันดับหนึ่งของจังหวัด พ้ืนท่ีเพาะปลูก ๓๙๔,๙๐๑ไร เปดกรีดแลว ๓๑๐,๓๕๙ ไร ผลผลิตรวม ๙๑,๑๓๙.๕๗ ตัน มูลคาการผลิต ๗,๙๓๔.๔๗ ลานบาท ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ ๙๖.๕๖ บาท ครัวเรือนท่ีปลูกยางพารา ๓๖,๗๗๙ ครัวเรือน คิดเปนรอยละ ๓๙.๗๐ ของครัวเรือนเกษตรกรท้ังจังหวัด

(๒) ขาว ฤดูทํานาป ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ทําท้ังนาปและนาปรังรวมเนื้อท่ี ๑๓๖,๗๙๗ ไร รวมผลผลิตขาว ๕๖,๕๑๗.๗๖ ตัน มูลคาการผลิตรวม ๕๙๓.๙๔ ลานบาท ครัวเรือนท่ีทํานา ๓๕,๑๖๒ ครัวเรือน คิดเปนรอยละ ๓๗.๙๕ ของครัวเรือนเกษตรกรท้ังจังหวัด

(๓) ไมผลท่ีสําคัญ จังหวัดมีพ้ืนท่ีปลูกไมผล จํานวน ๕๐,๙๕๗ ไร มูลคา ๓๔๑.๒๙ ลานบาท ไดแก - ลองกอง ครัวเรือนท่ีปลูกลองกอง ๑๒,๔๖๒ ครัวเรือน เนื้อท่ีปลูกท้ังหมด ๑๙,๗๑๗ ไร

เนื้อ ท่ีใหผลผลิต ๑๔,๒๒๑ ไร ผลผลิตเฉลี่ย ๓๙.๕๗ กก./ไร ผลผลิตรวม ๒๒๖.๗๖ ตัน มูลคาการผลิต ๙.๒๖ลานบาท ราคาเฉลี่ย ๓๙.๑๕ บาท/กก.

- ทุเรียนพันธุดี ครัวเรือนท่ีปลูก ๗,๐๑๙ ครัวเรือน เนื้อท่ีปลูกท้ังหมด ๙,๙๙๔ ไร เนื้อท่ีใหผลผลิต ๗,๙๕๒ ไร ผลผลิตเฉลี่ย ๓๗๑ กก./ไร ผลผลิตรวม ๓,๔๖๙.๑๗ ตัน มูลคาการผลิต ๖๙.๙๑ ลานบาท ราคาเฉลี่ย ๒๐.๙๔ บาท/กก.

- ทุเรียนพันธุ พ้ืนเมือง ครัวเรือนท่ีปลูก ๙๕๒ ครัวเรือน เนื้อท่ีปลูกท้ังหมด ๑,๒๙๙ ไร เนื้อท่ีใหผลผลิต ๑,๒๖๐ ไร ผลผลิตเฉลี่ย ๖๐๓กก./ไร ผลผลิตรวม ๗๕๑.๙๙ ตัน มูลคาการผลิต ๕.๗๙ ลานบาท ราคาเฉลี่ย ๙.๙๐ บาท/กก.

- สมโอ เนื้อท่ีใหผลผลิต ๓,๓๖๓ ไร ผลผลิต ๓,๕๙๙.๐๙ ตัน มูลคา ๔๕.๑๓ ลานบาท ราคาเฉลี่ย ๑๑.๒๖ บาท/กก.

- เงาะพันธุดี เนื้อท่ีใหผลผลิต ๒,๕๔๒ ไร ผลผลิต ๒,๑๕๓.๕๓ ตัน มูลคา ๒๙.๓๖ ลานบาท ราคาเฉลี่ย ๑๓.๕๖ บาท/กก.

(๔) ไมยืนตนท่ีสําคัญ ท่ีปลูกในจังหวัด (ไมรวมยางพารา) จํานวน ๗๖,๙๖๐ ไร มูลคา ๔๐๖.๐๔ ลานบาท ไดแก

-๔๐-

ดานการเกษตร

Page 49: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

รูปภาพพืชเศรษฐกิจท่ีสําคัญของจังหวัดปตตานี

-๔๑-

- มะพราว เนื้อ ท่ี ใหผลผลิต ๕๙,๒๙๙ ไร ผลผลิต ๕๓,๙๕๒.๙๙ ตัน มูลคา ๓๔๓.๑๙ ลานบาทราคาเฉลี่ย ๖.๖๙ บาท/ผล

- ปาลมน้ํามัน เนื้อท่ีใหผลผลิต ๓,๗๐๒ ไร ผลผลิต ๖,๐๑๐.๑๐ ตัน มูลคา ๒๐.๙๓ ลานบาทราคาเฉลี่ย ๔.๙๓ บาท/กก.

Page 50: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

- สะตอ เนื้อท่ีใหผลผลิต ๑,๒๖๐ ไร ผลผลิต ๙๒๙.๗ ตัน มูลคา ๓๙.๒๕ ลานบาทราคาเฉลี่ย ๔๗.๒๙ บาท/กก.

(๕) พืชไร จังหวัดปตตานีมีพ้ืนท่ีเพาะปลูกพืชไร จํานวน ๑๕,๑๑๕ ไร ใหมูลคาผลผลิตรวม ๒๓๔.๗๓ ลานบาท พืชไรท่ีสําคัญไดแก แตงโม ถ่ัวเขียว ถ่ัวลิสง ขาวโพด ออย มันเทศ ถ่ัวหรั่ง เปนตน (๖) พืชผัก จังหวัดปตตานีมีพ้ืนท่ีเพาะปลูกพืชผัก จํานวน ๙,๐๕๑ ไร ใหมูลคาผลผลิตรวม ๑๖๕.๘๘ ลานบาท มีพืชผักท่ีสําคัญไดแก แตงกวา ถ่ัวฝกยาว พริกข้ีหนูสวน พริกหยวก บวบ คะนากวางตุง เปนตน

๕.๔

จังหวัดปตตานีมีความยาวชายฝงท้ังหมด ๑๑๖.๔๐ กิโลเมตร ครอบคลุมพ้ืนท่ีอําเภอชายทะเล ๖ อําเภอประกอบดวย อําเภอหนองจิก อําเภอเมืองปตตานี อําเภอยะหริ่ง อําเภอปะนาเระ อําเภอสายบุรี และอําเภอไมแกน

อุตสาหกรรมการประมง

จังหวัดปตตานีมีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีรองรับการแปรรูปวัตถุดิบภาคการประมงท่ีสําคัญดังนี้ - อุตสาหกรรมแปรรูปสัตวน้ํา ๙ โรง - อุตสาหกรรมหองเย็น ๔ โรง - อุตสาหกรรมปลาปน ๑๐ โรง - อุตสาหกรรมซอมคานเรือ ๓ ราย - อุตสาหกรรมโรงน้ําแข็งซอง ๑๒ โรง

ประมงทะเล

ตาราง สรุปผลการสํารวจเรือประมงและการจดทะเบียนเรือไทย ป ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖

จํานวนเรือประมง ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ ๒๕๕๖ รวม

สํารวจ(ลํา) ๓,๗๗๐ ๑๗๐ ๐ ๓,๙๔๐

จดทะเบียน (ลํา) ๖๗๖ ๕๙๗ ๑๖๐ ๑,๔๓๓

-๔๒-

ตารางแสดง เท่ียวเรือประมงข้ึนทา ปริมาณสัตวน้ํา และมูลคาของการทําประมงทะเล ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ – ๒๕๕๔

ดานประมง

Page 51: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ป เรือประมงขึ้นทา ปริมาณสัตวนํ้า

มูลคา (ลานบาท) หมายเหต ุ(เที่ยว) (กิโลกรัม)

๒๕๔๗ ๑๐,๑๘๒ ๑๒๕,๐๙๖,๙๑๗ ๒,๙๖๙,๕๑๓,๒๔๔ ๒๕๔๘ ๙,๑๐๑ ๑๒๔,๐๒๑,๘๗๔ ๓,๓๒๖,๗๒๓,๕๘๔ ๒๕๔๙ ๘,๕๕๕ ๙๓,๔๒๒,๘๕๐ ๓,๐๗๙,๗๒๘,๕๐๙ ๒๕๕๐ ๘,๒๘๒ ๗๗,๔๑๐,๒๑๗ ๓,๓๙๒,๓๔๔,๒๙๘ ๒๕๕๑ ๕,๔๐๐ ๖๖,๔๘๒,๘๑๗ ๒,๘๘๐,๗๖๓,๓๓๑ ๒๕๕๒ ๔,๘๘๒ ๘๔,๕๕๘,๘๒๓ ๒,๘๔๓,๖๕๗,๒๖๒ ๒๕๕๓ ๕,๗๗๕ ๙๑,๙๖๓,๘๕๖ ๓,๐๘๐,๑๑๑,๖๘๘ ๒๕๕๔ ๖,๓๙๓ ๖๙,๘๓๐,๖๒๑ ๓,๔๒๖,๒๘๖,๒๗๐

กราฟแสดงปริมาณสัตวน้ํา (ตัน) และมูลคา (ลานบาท) ของการทําประมงทะเล ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗–๒๕๕๔

-๔๔-

-๔๓-

ประมงน้ําจืด

ตารางแสดงปริมาณสัตวน้ํา และมูลคา ของการทําประมงน้ําจืด ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘–๒๕๕๔

t0

t20,000,000

t40,000,000

t60,000,000

t80,000,000

t100,000,000

t120,000,000

t140,000,000

t2546 t2548 t2550 t2552 t2554 t2556

ปริมาณสัตวนํ้า(กิโลกรัม)

ปริมาณสัตวน้ํา

(กิโลกรัม)

t4,000,000,000มูลคา่ (ล้านบาท)

t0

t500,000,000

t1,000,000,000

t1,500,000,000

t2,000,000,000

t2,500,000,000

t3,000,000,000

t3,500,000,000

t4,000,000,000

t2546 t2548 t2550 t2552 t2554 t2556

มูลคา (ลานบาท)

มูลคา (ลานบาท)

Page 52: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

t0

t1,000

t2,000

t3,000

t4,000

t5,000

t6,000

2546 2548 2550 2552 2554 2556

ปริมาณสัตวนํ้า (ตัน)

ปริมาณสัตวน้ํา (ตัน)

ป ปริมาณสัตวนํ้า

มูลคา (ลานบาท) หมายเหต ุ(ตัน)

๒๕๔๘ ๒,๒๐๗ ๖๙.๓๕ ๒๕๔๙ ๓,๐๐๙ ๑๐๐.๔๕ ๒๕๕๐ ๔,๙๖๐ ๑๙๑.๙๙ ๒๕๕๑ ๔,๒๔๗ ๑๙๒.๓๔ ๒๕๕๒ ๔,๓๕๙ ๑๙๐.๗๗ ๒๕๕๓ ๔,๙๖๐ ๑๙๙.๖๙ ๒๕๕๔ ๔,๑๖๑ ๒๖๙.๖๙

กราฟแสดงปริมาณสัตวน้ํา (ตัน) และมูลคา (ลานบาท) ของการทําประมงน้ําจืด ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๔

-๔๔-

ประมงชายฝง

t0.00

t50.00

t100.00

t150.00

t200.00

t250.00

t300.00

2546 2548 2550 2552 2554 2556

มูลคา ( ลานบาท )

มูลคา (ลานบาท)

Page 53: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ตารางแสดง ปริมาณสัตวน้ํา และมูลคา ของการทําประมงชายฝง ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘–๒๕๕๔

ป ปริมาณสัตวน้ํา

มูลคา (ลานบาท) หมายเหตุ (ตัน)

๒๕๔๘ ๑๐,๙๗๗.๙๓ ๑,๔๐๒.๑ ๒๕๔๙ ๑๐,๒๐๗.๗๕ ๑,๒๓๗.๔ ๒๕๕๐ ๙,๐๖๗.๑๐ ๑,๐๙๒.๕ ๒๕๕๑ ๙,๗๕๑ ๑,๑๖๑.๖ ๒๕๕๒ ๙,๙๐๖ ๑,๐๗๔.๙ ๒๕๕๓ ๑๐,๐๒๐ ๑,๒๐๐.๖ ๒๕๕๔ ๑๐,๗๐๙ ๑,๔๒๙.๒

กราฟแสดงปริมาณสัตวน้ํา (ตัน) และมูลคา (ลานบาท) ของการทําประมงชายฝง ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘ - ๒๕๕๔

-

๔๕-

๕.๕

ดานปศุสัตว

Page 54: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

เกษตรกรในจังหวัดปตตานี มีการเลี้ยงปศุสัตวเพ่ือการคา หรือเพ่ือการจําหนายในภาพรวมท่ีเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะโค , แพะ-แกะ เนื่องจากการสนับสนุนอยางตอเนื่องจากภาครัฐ ซ่ึงเปนท่ีตองการของประชาชนในพ้ืนท่ี อาทิ เชน โครงการสงเสริมการเลี้ยงแพะเชิงพาณิชยและโครงการสงเสริมเลี้ยงแพะรายยอยสู เกษตรกร ซ่ึ ง ดํ า เ นิ น ก า ร ตั้ ง แ ต ป พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๑ จ น ถึ ง ป จ จุ บั น ป พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๕ เ ช น โครงการสงเสริมการเลี้ยงแพะเชิงพาณิชยในสวนปาลม,โครงการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตปศุสัตวในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแ ด น ภ า ค ใ ต , โ ค ร ง ก า ร เ พ่ิ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ก า ร เ ลี้ ย ง แ พ ะ ใ น เ ก ษ ต ร ก ร ร า ย ย อ ย , โครงการพั ฒน า เ ค รื อ ข า ย การผ ลิ ต และการตลาดแ พะ -แก ะ , โ ค ร ง การเ ลี้ ย ง แ กะ รอง รั บอาหารฮาลาล เ พ่ื อ ก า ร ส ง อ อ ก ใ น พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต ( ก ลุ ม จั ง ห วั ด ภ า ค ใ ต ช า ย แ ด น ป ๒ ๕ ๕ ๓ ) ,โครงการสงเสริมและพัฒนาอาชีพการเลี้ยงสัตวในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง ๒ ๕ ๕ ๕ , โครงการกระจายพันธุและปรับปรุงพันธุแกะรองรับสินคาฮาลาลในจังหวัดชายแดนภาคใต(กลุมจังหวัดภาคใตชายแดน ป ๒ ๕ ๕ ๕ - ๒ ๕ ๕ ๗ ) แ ล ะ น อ ก จ า ก นี้ เ ก ษ ต ร ก ร ส ว น ใ ห ญ ซ่ึ ง เ ป น เ ก ษ ต ร ก ร ร า ย ย อ ย มีการ เลี้ ย งสั ตวป ก เ พ่ือบริ โภคภายในครั ว เ รื อนและเหลื อจํ าหน าย เปนรายได เสริ ม มีจํ านวนมาก ข้ึน เนื่องจากมีการสงเสริมจากภาครัฐหนวยงานตางๆ หรือองคกรทองถ่ิน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปริมาณการเลี้ยงสัตวของจังหวัดปตตานี ป ๒๕๕๕ แบงเปนชนิดสัตวท่ีสําคัญๆ ดังนี้ ๑. โค เนื้ อ จํ านวน๖๖ ,๙๒๒ ตั ว เกษตรกร ๑๙ ,๙๕๑ ราย ปริมาณการ เลี้ ย ง เ พ่ิม ข้ึนตั้ งแต ป

๒ ๕ ๕ ๒ ส ว น ใ ห ญ เ ป น เ ก ษ ต ร ก ร ร า ย ย อ ย จํานวนการเลี้ยงมีแนวโนมเพ่ิมข้ึนเม่ือเทียบกับปริมาณการเลี้ยงในปท่ีผานมาเนื่องจากมีการสงเสริมจากภาครัฐโดยเฉพ า ะ ด า น ก า ร ผ ส ม เ ที ย ม โ ค พั น ธุ ดี และเกษตรกรเห็นวามีความเสี่ยงดานราคาและตนทุนดานอาหารสัตวนอยกวาสัตวชนิดอ่ืน จําหนายไดราคาท่ีสูงข้ึน ซ่ึงปริมาณการเลี้ยงยังไมเพียงพอตอความตองการบริโภคในพ้ืนท่ี

๒. กระบือ มีปริมาณการเลี้ยงทรงตัวเม่ือเทียบกับปท่ีผานมา มีจํานวน ๑,๕๙๖ ตัว เกษตรกร ๒๙๖ ราย ๓. แพะ มีจํานวน ๔๐ ,๔๗๖ ตัว เกษตรกรจํานวน ๙ ,๒๒๔ ราย ปริมาณการเลี้ยงแพะเพ่ิมข้ึน

เม่ือเทียบกับปท่ีผานมาเนื่องจากมีการสงเสริมการเลี้ยงแพะท้ังรายยอยและเชิงพาณิชยต าม โครงการตางๆ จากภาครัฐโดยเฉพาะ ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๓ -๒ ๕ ๕ ๕ แ ล ะ มี แ น ว โ น ม ป ริ ม า ณ ก า ร เ ลี้ ย ง ท่ี เ พ่ิ ม ข้ึ น เ นื่ อ ง จ า ก แ ม แ พ ะ อยูระหวางการใหผลผลิตจากการดําเนินโครงการ

๔. แกะ มีจํานวน ๒๐,๐๓๒ ตัว เกษตรกร ๓,๖๓๒ ราย มีปริมาณการเลี้ยงเพ่ิมข้ึนเม่ือเทียบกับ ปท่ีผานมา แ ล ะ มี แ น ว โ น ม ป ริ ม า ณ ก า ร เ ลี้ ย ง ท่ี เ พ่ิ ม ข้ึ น เ ช น เ ดี ย ว กั บ แ พ ะ แ ต มี อั ต ร า ก า ร เ พ่ิ ม ท่ี น อ ย ก ว า เนื่องจากภาครัฐเริ่มสงเสริมสนับสนุนเกษตรกรอยางจริงจังในป๒๕๕๓เปนตนมาและมีขอบเขตหรือโครงการสงเสริมท่ีนอยกวาแพะ

๕ . สุ ก ร มี จํ า น ว น ๗ , ๐ ๓ ๙ ตั ว เ ก ษ ต ร ก ร ๓ ๙ ๓ ร า ย ปริมาณการเลี้ยงสุกรทรงตัวเม่ือเทียบกับปท่ีผานมาเนื่องจากเกษตรกรประสบปญหาดานตนทุนการเลี้ยงคาอาหารสัตว ท่ีมีราคาสูงข้ึนอยางตอเนื่อง สุกรมีชีวิตหนาฟารมราคาไมแนนอน คาดวาปริมาณการเลี้ยงจะไมเ พ่ิมข้ึน คงมีแตเฉพาะรายท่ีเลี้ยงอยูเดิม โดยปรับปริมาณการเลี้ยงใหเขากับสถานการณดานราคาและตนทุนดานอาหารสัตว ๖. ไก ไข มีจํานวน ๑๙ ,๙๖๙ ตัว เกษตรกร ๔๒๖ ราย จํานวนเ พ่ิม ข้ึนเ ม่ือเทียบกับป ท่ีผานมา ส ว น ใ ห ญ เ ป น เ ก ษ ต ร ก ร ร า ย ย อ ย และไดรับการสงเสริมการเลี้ยงไกไขเพ่ือบริโภคในครัวเรือนแบบเศรษฐกิจพอเพียงจากภาครัฐและองคกรปกครองสวนท อ ง ถ่ิ น ป ริ ม า ณ ก า ร เ ลี้ ย ง ค า ด ว า จ ะ ไ ม เ พ่ิ ม ข้ึ น เ นื่ อ ง จ า ก เ ป น ร า ย ท่ี เ ลี้ ย ง อ ยู เ ดิ ม และไมมีการลงทุนหรือขยายการเลี้ยงเชิงการคาเพ่ิมข้ึน

Page 55: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๔๖-

๗ . เ ป ด ไ ข มี จํ า น ว น ๙ ๕ , ๒ ๕ ๖ ตั ว เ ก ษ ต ร ก ร ๔ , ๐ ๑ ๙ ร า ย ปริมาณการเลี้ยงเพ่ิมข้ึนเม่ือเทียบกับปท่ีผานๆมาและสวนใหญเปนเกษตรกรรายยอยเนื่องจากไขเปดเปนท่ีตองการบริโภคในพ้ืนท่ี ราคาไมแปรปรวนมาก เกษตรกรสามารถลดตนทุนคาอาหารสัตวไดโดยใชวัสดุท่ีหาไดในพ้ืนท่ี เชน ผลพลอยไดจากการทําการประมง และมีการสงเสริมจากภาครัฐตามโครงการตางๆในป ๒๕๕๓-๒๕๕๕

๘. ไกเนื้อ จํานวน ๓๑๑ ,๒๐๕ ตัว เกษตรกร ๔๓๔ ราย ปริมาณการเลี้ยงในชวง ๓ ปท่ีผานมา มี จํ า น ว น เ พ่ิ ม ข้ึ น ใ น อั ต ร า ท่ี ท ร ง ตั ว เ นื่ อ ง จ า ก ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร บ ริ ษั ท ผู ผ ลิ ต ไ ก เ นื้ อ ใ น พ้ื น ท่ี ไ ด ถ อ น ตั ว อ อก นอ ก เ ข ต พ้ื น ท่ี ไ ป ขย าย ฐ าน กา รผ ลิ ต ใ น พ้ื น ท่ี จั ง ห วั ด ต อน บน เ ช น ส ง ขล า พัท ลุ ง เนื่องจากปญหาความไมสงบในพ้ืนท่ี โดยใชวิธีขนยายไกใหญเขามาจําหนายและบริโภคในพ้ืนท่ีแทนการเลี้ยงในพ้ืนท่ี

๙ . เ ป ด เ ท ศ มี จํ า น ว น ๓ ๓ ๒ , ๕ ๙ ๐ ตั ว เ ก ษ ต ร ก ร ๑ ๖ , ๖ ๗ ๙ ร า ย ป ริ ม า ณ ก า ร เ ลี้ ย ง เ ป ด เ ท ศ มี เ พ่ิ ม ข้ึ น เ ม่ื อ เ ที ย บ กั บ ป ท่ี ผ า น ๆ ม า แ ล ะ มี แ น ว โ น ม เ พ่ิ ม ข้ึ น เนื่องจากมีการสงเสริมการเลี้ยงในเกษตรกรรายยอยจากภาครัฐ ภายใตโครงการเลี้ยงสัตวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง และโครงการสงเสริมการเลี้ยงสัตวปก ภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง ในชวง ๓ ปท่ีผานมา

๑๐. ไกพ้ืนเมือง มีจํานวน ๗๐๒,๖๗๔ ตัว เกษตรกร ๒๙,๑๑๙ ราย ปริมาณการเลี้ยงไกพ้ืนเมือง มี ป ริ ม า ณ เ พ่ิ ม ข้ึ น เ ม่ื อ เ ที ย บ กั บ ป ท่ี ผ า น ๆ ม า แ ล ะ มี แ น ว โ น ม เ พ่ิ ม ข้ึ น เ นื่ อ ง จ า ก มี ก า ร ส ง เ ส ริ ม ก า ร เ ลี้ ย ง ใ น เ ก ษ ต ร ก ร ร า ย ย อ ย จ า ก ภ า ค รั ฐ ภายใตโครงการเลี่ยงสัตวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงและโครงการสงเสริมการเลี้ยงสัตวปกภายใตแผนปฏิบัติการไทยเขมแข็ง ในชวง ๓ ปท่ีผานมา

ตารางแสดงปริมาณการเล้ียงสัตวของจังหวัดปตตานีป๒๕๕๕

ชนิดสัตว จํานวนสัตว(ตัว) จํานวนเกษตรกร(ราย) ๑. โคเนื้อ ๖๖,๙๒๒ ๑๙,๙๕๑ ๒. กระบือ ๑,๕๙๖ ๒๙๖ ๓. แพะ ๔๐,๔๗๖ ๙,๒๒๔ ๔. แกะ ๒๐,๐๓๒ ๓,๖๓๒ ๕. สุกร ๗,๐๓๙ ๓๙๓ ๖. ไกไข ๑๙,๙๖๙ ๔๒๖ ๗. เปดไข ๙๕,๒๕๖ ๔,๐๑๙ ๙. ไกเนื้อ ๓๑๑,๒๐๕ ๔๓๔ ๙. เปดเทศ ๓๓๒,๕๙๐ ๑๖,๖๗๙ ๑๐. ไกพ้ืนเมือง ๗๐๒,๖๗๔ ๒๙,๑๑๙

Page 56: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๔๗-

Page 57: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๔๘-

๕.๖

ปงบประมาณ ๒๕๕๕ (ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๕) จังหวัดปตตานีมีผูจดทะเบียนรวมท้ังสิ้น ๙๗ ราย ทุนจดทะเบียนรวม ๒๗๕.๐๕ ลานบาท จําแนกเปน บริษัทจํากัด ๓๓ ราย ทุนจดทะเบียน ๒๐๙.๗๐ ลานบาท หางหุนสวนจํากัด ๖๔ ราย ทุนจดทะเบียน ๖๖.๓๕ ลานบาท เม่ือเทียบกับการจดทะเบียนในชวงเวลาเดียวกันของป ๒๕๕๔ พบวา จํานวนผูจดทะเบียนลดลง ๑ ราย (- ๑.๐๒%) และทุนจดทะเบียนเพ่ิมข้ึน ๙๖.๙๕ ลานบาท (+ ๔๖.๑๕%) โดยในวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ มีจํานวนนิติบุคคลท่ีคงอยู จํานวน ๙๖๙ ราย

ตารางแสดงจํานวนผูจดทะเบียนและเงินทุนจดทะเบียน

ปงบประมาณ

บริษัทจํากัด หางหุนสวนจํากัด รวม

ราย ทุน

(ลานบาท)

ราย ทุน

(ลานบาท)

ราย ทุน

(ลานบาท)

๒๕๕๒ ๒๓ ๗๗ ๖๙ ๑๕๖.๖๒ ๙๑ ๒๓๓.๖๒

๒๕๕๓ ๓๐ ๙๖.๔๒ ๗๒ ๗๙.๙๐ ๑๐๒ ๑๗๕.๓๒

๒๕๕๔ ๓๗ ๑๑๙.๗๐ ๖๑ ๖๙.๕๐ ๙๙ ๑๙๙.๒๐

๒๕๕๕ ๓๓ ๒๐๙.๗๐ ๖๔ ๖๖.๓๕ ๙๗ ๒๗๕.๐๕

ธุรกิจท่ีมีทุนจดทะเบียนสูงสุด ปงบประมาณ ๒๕๕๕

การคา-การลงทุน

Page 58: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ลําดับ ชื่อกิจการ ทุน (ลานบาท) ประเภทธุรกิจ ๑ บจ. สงวน ไบโอ-เพาเวอร ๑๐๐ ผลิตพลังงานไฟฟา ๒ บจ. ปาลมพัฒนาไบโอแกส ๕๐ การผลิตผลิตภัณฑเพ่ือใชเปนพลังงานทดแทน ๓ บจ. ขาวทองคอนกรีต ๑๐ ผลิตและจําหนายคอนกรีตผสมเสร็จ

ท่ีมา : สํานักงานพัฒนาธุรกิจการคาจังหวัดปตตานี

กิจการท่ีไดรับการสงเสริมจาก BOI ป ง บ ป ร ะ ม า ณ ๒ ๕ ๕ ๕ ( ตุ ล า ค ม ๒ ๕ ๕ ๔ – กั น ย า ย น ๒ ๕ ๕ ๕ ) จั งหวั ดป ตตานี ไ ม มี กิ จการ ท่ี ได รั บอนุ มั ติ ส ง เ ส ริ มกา รลง ทุนจาก ศูนย เ ศ รษฐ กิจการลง ทุนภาค ท่ี ๕ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน (BOI) แตอยางใด

ปงบประมาณ จํานวนโครงการ เงินลงทุน (ลานบาท) แรงงานไทย (คน) ลักษณะธุรกิจ ๒๕๕๒ - - - ๒๕๕๓ ๑ ๒๐๐.๐๐ ๕๐ ผลิตน้ํามันปาลมดิบ

(บ.ปาลมพัฒนาชายแดนใต จํากัด) ๒๕๕๔ - - - ๒๕๕๕ - - -

ท่ีมา : ศูนยเศรษฐกิจการลงทุนภาคท่ี ๕ สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน -๔๙-

การลงทุนในเขตนิคมอุตสาหกรรมฮาลาล ปจจุบัน ภาครัฐ ได ดํ า เนินการในสวนของสาธารณูปโภค เชน ระบบไฟฟา ประปา และถนน

ร ว ม ท้ั ง มี ก า ร จั ด ตั้ ง ศู น ย บ ริ ก า ร เ บ็ ด เ ส ร็ จ ค ร บ ว ง จ ร ( OSS) เพ่ือใหบริการผูประกอบการอุตสาหกรรมฮาลาลแบบครบวงจร โดยจังหวัดไดใหหนวยงานราชการท่ีเก่ียวของ ร ว มดํ า เ นิ น ก า ร พิ จ า รณา ใ ช ป ร ะ โ ยช น ศู น ย พัฒ นาและ กร ะจ ายสิ น ค า ผ ลิ ต ภัณฑ ฮ า ล าล ใ นนิ คม ฯ โ ด ย ใ ห ก ลุ ม วิ ส า ห กิ จ ท่ี อ ยู บ ริ เ ว ณ นิ ค ม เ ข า ใ ช ป ร ะ โ ย ช น และมอบให อุตสาหกรรมจั งหวัดปตตานี เปน เจ าภาพหลักในการดํ า เนินการในส วนของภาคเอกชน ไดบริหารจัดการพัฒนาพ้ืนท่ีโดยเปดใหนักลงทุนเขามาลงทุน โดยปจจุบันมีผูประกอบการสนใจลงทุนดําเนินธุรกิจ จํานวน ๑๓ ราย และอยูระหวางการสรางโรงงานตนแบบใหแกผูประกอบการ

แนวโนมการลงทุน ป ๒๕๕๖ แ น ว โ น ม ก า ร ล ง ทุ น ข อ ง ป ๒ ๕ ๕ ๖

ยั งคงมีการลงทุนในประเภทอุตสาหกรรมทางด านเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมท่ีตอ เนื่ อง เปนหลัก โ ด ย เ ฉ พ า ะ พื ช เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ท่ี สํ า คั ญ เ ช น ป า ล ม น้ํ า มั น ย า ง พ า ร า ทํ า ใ ห นั ก ล ง ทุ น ก ล า ท่ี จ ะ ล ง ทุ น เพ่ือรองรับกับภาคอุตสาหกรรมท่ีมีแนวโนมดี ข้ึน แตท้ังนี้ยังมีปจจัยท่ีมีผลตอการตัดสินใจในการลงทุน เชน ขาดแคลนวัตถุดิบท่ีใชในการผลิตน้ํามันปาลม ปญหาแรงงาน และปญหาความไมสงบใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต เปนตน

๕.๗

การคาชายแดน

Page 59: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

การคาชายแดนท่ีผานดานศุลกากรปตตานี ปงบประมาณ ๒๕๕๕ (ตุลาคม ๒๕๕๔ – กันยายน ๒๕๕๕) มีมูลคาการคารวม ๐.๐๔๑ลานบาทลดลงจากปงบประมาณ ๒๕๕๔รอยละ ๙๙.๗๕ โดยมีสินคานําเขาท่ีสําคัญ คือ เสื้อผา ของใชสวนบุคคล (แชมพู หัวเข็มขัด พัดลม ซอสถ่ัวเหลือง แมคคาเรลกระปอง)

ปงบประมาณ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ ๒๕๕๕ มูลคา (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท)

มูลคาการคา ๓.๗๖ ๑๖.๔๙ ๐.๐๔๑ มูลคาการนําเขา ๓.๗๖ ๑๖.๔๙ ๐.๐๔๑ มูลคาการสงออก - - -

ท่ีมา : สํานักงานพาณิชยจังหวัดปตตานี

ลั ก ษ ณ ะ ก า ร ค า ช า ย แ ด น ข อ ง จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ค า ส ง อ อ ก – นําเขาสินคาจากประเทศมาเลเซียจะนําเขา – สงออก ทางดานสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส ดานปาดังเบซาร แ ล ะ ด า น ส ะ เ ด า จั ง ห วั ด ส ง ข ล า สํ า ห รั บ ด า น ศุ ล ก า ก ร ป ต ต า นี เ ป น ท า เ รื อ ท่ี ตื้ น เ ขิ น เ รื อ ข น ส ง สิ น ค า ไ ม ส า ม า ร ถ เ ข า ม า รั บ ส ง สิ น ค า ไ ด ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร จึ ง ต อ ง ส ง อ อ ก – นําเขาสินคาทางดานจังหวัดใกลเคียงดังกลาว

สิ น ค า ท่ี นํ า เ ข า ม า ใ น ลั ก ษ ณ ะ ม า กั บ เ รื อ ป ร ะ ม ง ข อ ง ม า เ ล เ ซี ย เ พ่ื อ นํ า ม า อุ ป โ ภ ค -บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ไ ด แ จ ง กั บ ด า น ศุ ล ก า ก ร ป ต ต า นี ไ ว มิ ไ ด ทํ า ก า ร ซ้ื อ ข า ย สํ า ห รั บ ใ น ป ๒ ๕ ๕ ๓ มูลคาการคาสูงเนื่องจากเรือขนถายน้ํามันดีเซลเปนการถายลําเพ่ือขนไปสงออกพมาทางชายแดนจังหวัดระนองตอไป

-๕๐-

การสนับสนุนพัฒนาตลาดสินคา OTOP ๑) โครงการเสริมสรางศักยภาพ/ขยายชองทางการตลาดผลิตภัณฑจังหวัดปตตานี โดยไดดําเนินกิจกรรม ดังนี้ ๑.๑ จัดงานแสดงและจําหนายผลิตภัณฑจังหวัดปตตานี “ของดีปตตานี Open House of Pattani’s Best” จํานวน ๕ ครั้ง ยอดจําหนายและยอดสั่งซ้ือรวม ๓,๑๙๔,๓๓๕ บาท ๑.๒ เจรจาธุรกิจกับรานจําหนายของฝากของท่ีระลึกในภูมิภาคอ่ืน จํานวน ๕ ราน ไดแก - รานรัชนีไหมไหม และรานโกลเดนเพลส สาขาหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ และ - รานบัวตอง รานแมกิมบวย รานจันทรทิพย จังหวัดชลบุรี รวมมูลคาท้ังสิ้น ๙๐,๐๐๐ บาท และรานคาบางสวนไดรับสินคาเพ่ือทดสอบตลาด ๑.๓ จัดทําสื่อประชาสัมพันธ Brand ปตตานี ผานสื่อตางๆ ไดแก หนังสือพิมพ นิตยสารนิสา ปฏิทินตั้งโตะ ปาย Bill Board และ Kiosk ๑.๔ เพ่ิมชองทางการตลาดผานแคตตาล็อกสั่งซ้ือสินคา

Page 60: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๒) กิจกรรมสงเสริมและพัฒนาการตลาดสินคาและบริการของจังหวัด (One Province One Product- OPOP) : ข า ว เ ก รี ย บ / ด อ ก ไ ม ป ร ะ ดิ ษ ฐ ป ๒ ๕ ๕ ๕ ตามโครงการเพ่ิมสมรรถนะการบริหารจัดการเศรษฐกิจการคาจังหวัด ๒.๑ ประสานผูประกอบการเขารวมการฝกอบรม/สัมมนาเพ่ือพัฒนาทักษะการผลิต/การตลาด ๒.๒ ประสานผูประกอบการเขารวมงานแสดง/จําหนายสินคาในประเทศ จํานวน ๑๔ ครั้ง รายไดจากการจําหนายและยอดสั่งซ้ือรวม ๒,๑๑๒,๙๙๐ บาท ๒.๓ จัด Display มุมสินคา OPOP เพ่ือการประชาสัมพันธผลิตภัณฑในสถานท่ีตางๆ ๒.๔ ใหคําแนะนําการพัฒนาผลิตภัณฑ บรรจุภัณฑ รูปแบบ การจดเครื่องหมายการคาแก - ผูประกอบการและการเขารวมงานแสดงสินคา/การเจรจาการคาในตางประเทศ

๕.๘

โครงสรางกําลังแรงงาน จากการสํารวจภาวการณทํางานของประชากรจังหวัดปตตานี ณ วันท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ ประชากรอายุ ๑๕ ปข้ึนไป มีจํานวน ๕๓๙,๑๙๐ คน เปนผูอยูในกําลังแรงงาน ๓๗๐,๓๓๙ คน คิดเปนรอยละ ๖๙.๗ ของประชากรท่ีมีอายุ ๑๕ ปข้ึนไป และเปนผู ท่ีไมอยูในกําลังแรงงาน ๑๖๙,๙๔๑ คน คิดเปนรอยละ ๓๑.๓ สําหรับกลุมผูท่ีอยูในกําลังแรงงานท้ังหมด ๓๗๕,๓๓๒ คน นั้น แยกเปน

๑. ผูมีงานทํา จํานวน ๓๖๑,๐๙๒ คน คิดเปนอัตรารอยละ ๙๕.๕ ของผูอยูในกําลังแรงงาน

๒. ผู ว า ง ง า น ซ่ึ ง ห ม า ย ถึ ง ผู ท่ี ไ ม มี ง า น ทํ า แ ล ะ พ ร อ ม ท่ี จ ะ ทํ า ง า น มี จํ า น ว น ๙ ,๒ ๙ ๗ ค น

หรือคิดเปนอัตราการวางงาน รอยละ ๒.๕

๓. ผู ท่ี ร อ ฤ ดู ก า ล

หมายถึงผู ท่ีไมไดทํางานและไมพรอมท่ีจะทํางานเนื่องจากจะรอทํางานในฤดูกาลเพาะปลูกตอไป

ซ่ึงในการสํารวจครั้งนี้ไมมีผูท่ีรอฤดูกาลในกําลังแรงงาน

-๕๑-

แผนภูมิ โครงสรางประชากรจังหวัดปตตานี ไตรมาสท่ี ๒ ป ๒๕๕๕

สถานการณแรงงานจังหวัดปตตานี

ประชากรอายุ ๑๕ ปข้ึนไป

๕๓๙,๑๘๐ คน

ผูอยูในกําลังแรงงาน

๓๗๐,๓๓๙ คน ๖๘.๗%

ผูไมอยูในกําลังแรงงาน

๑๖๘,๘๔๑ คน ๓๑.๓%

ผูท่ีมีงานทํา

๓๖๑,๐๙๒ คน

๖๗ ๐%

Page 61: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ประชากรและกําลังแรงงาน จังหวัดปตตานี ณ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕ มีประชากรอายุ ๑๕ ปข้ึนไปรวมท้ังสิ้น ๕๓๙,๑๘๐ คน เปนผูอยูในกําลังแรงงาน ๓๗๐,๓๓๙ คน โดยจําแนกเปนผูมีงานทํา ๓๖๑,๐๙๒ คน เปนชาย ๒ ๐ ๖ ,๒ ๕ ๕ ค น ห ญิ ง ๑ ๕ ๔ ,๘ ๓ ๘ ค น ห รื อ คิ ด เ ป น ร อ ย ล ะ ๕ ๗ . ๑ แ ล ะ ๔ ๒ . ๙ ต า ม ลํ า ดั บ ไมมีผูท่ีรอฤดูกาลในจํานวนผูมีงานทํารอยละ ๒๘.๙ เปนเกษตรกรรม การปาไม และการประมง รองลงมาคือ การขายสง การขายปลีก การซอมแซมยานยนต รถจักรยานยนตคิดเปนรอยละ ๑๙.๑ ผูวางงาน ๙,๒๔๗ คน เปนชาย ๔,๙๓๓ คน หญิง ๔,๓๑๔ คน หรือ มีอัตราการวางงานรอยละ ๒.๕ โดยอัตราการวางงานของชายสูงกวาหญิง คือ ชายรอยละ ๒.๗ เปรียบเทียบกับหญิงรอยละ ๒.๓ สถานการณแรงงานตางดาว โดยการจัดระบบการจางงานแรงงานตางดาวหลบหนีเขาเมืองสัญชาติพมา ลาว กัมพูชา จํานวนท้ังสิ้น ๘๒๘ คน พมา จํานวน ๓๐๖ คน กัมพูชา จํานวน ๕๐๕ คน และลาว จํานวน ๑๗ คน

การดําเนินงานในชวงไตรมาสท่ี ๒ ป ๒๕๕๕ (เดือนเมษายน – มิถุนายน ๒๕๕๕)

ก า ร บ ริ ก า ร จั ด ห า ง า น จั ง ห วั ด ป ต ต า นี ณ ๓ ๐ มิ ถุ น า ย น ๒ ๕ ๕ ๕ มีตําแหนงงานวางท่ีแจงผานสํานักงานจัดหางานจังหวัดปตตานี ๙๗๙ อัตรา ผูลงทะเบียนสมัครงาน ๙๔๑ คน และมีผูท่ีสามารถบรรจุงานได ๑,๐๓๒ คน ดานอาชีพ พบวา อาชีพท่ีมีตําแหนงงานวางสูงสุด คือ อาชีพงานพ้ืนฐาน ๒๖๑ คน คิดเปนรอยละ ๒๖.๖๙ รองลงมาคือ อาชีพเสมียนเจาหนาท่ี ๒๕๓ คน คิดเปนรอยละ ๒๕.๙๖ และพนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด ๑๖๒ คน คิดเปนรอยละ ๑๖.๕๖ สําหรับอาชีพท่ีมีการบรรจุสูงสุด คือ อาชีพเสมียน เจาหนาท่ี ๓๒๔ คน คิดเปนรอยละ ๓๑.๓๙ รองลงมาอาชีพงานพ้ืนฐาน ๒๖๓ คน คิดเปนรอยละ ๒๕.๔๙ และอาชีพพนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด ๑๖๖ คน คิดเปนรอยละ ๑๖.๐๙ อาชีพท่ี มีผู ลงทะเบียนสมัครงานสูงสุด คือ อาชีพงานพ้ืนฐาน ๒๖๓ คน คิด เปนรอยละ ๒๗.๙๔ รองลงมา คืออาชีพ เส มียน เจ าหน า ท่ี ๑๖๔ คน คิด เปนรอยละ ๑๗.๔๒ และอาชีพพนักงานบริการ พนักงานขายในรานคาและตลาด ๑๖๔ คน คิดเปนรอยละ ๑๗.๔๒ ตามลําดับ

-๕๒-

แรงงานไทยในตางประเทศ จังหวัดปตตานีมีจํานวนแรงงานทํางานตางประเทศ จํานวน ๑๕ คน โดยทํางานในประเทศอินโดนีเซีย จํานวน ๗ คน ซาอุดิอาระเบีย ๕ คน สหรัฐอเมริกา บรูไน และดูไบ อยางละ ๑ คน การพัฒนาศักยภาพแรงงาน มีการฝกเตรียมเขาทํางานในจังหวัดปตตานี ผูเขารับการฝก ๑๙๒ คน ผู ผ า น ก า ร ฝ ก จํ า น ว น ๑ ๖ ๒ ค น ก ลุ ม อ า ชี พ ท่ี มี ผู เ ข า รั บ ก า ร ฝ ก ม า ก ท่ี สุ ด คื อ กลุมอาชีพชางอุตสาหกรรมศิลปผูเขารับการฝก จํานวน ๕๙ คน ผูผานการฝก จํานวน ๕๕ คน คิดเปนรอยละ ๙๔.๙๒ การฝกเสริมทักษะฝมือในจังหวัดปตตานี มีผูเขารับการฝก ๔๓ คน ผูผานการฝก ๔๒ คน คิดเปนรอยละ ๙๗.๖๗ การฝกยกระดับฝมือแรงงาน มีผูเขารับการฝก จํานวน ๖๙๕ คน ผูผานการฝก จํานวน ๖๙๑ คน คิดเปนรอยละ ๙๙.๔๑ กลุมอาชีพท่ีมีผูเขารับการฝกมากท่ีสุดคือ อาชีพธุรกิจและบริการ มีผูเขารับการฝก ๕๖๑ คน ผูผานการฝก ๕๕๙ คน คิดเปนรอยละ ๙๙.๖๔ รองลงมาคือกลุมอาชีพชางเครื่องกล มีผูเขารับการฝก ๖๐ คน ผูผานการฝก ๖๐ คน

ผูวางงาน

๙,๒๔๗ คน

๑.๗%

ผูท่ีรอฤดูกาล

-

ทํางานบาน

๕๗,๗๓๘ คน

๑๐.๗%

เรียนหนังสือ

๕๒,๒๙๑ คน

๙.๗%

อ่ืนๆ

๕๘,๘๑๒ คน

๑๐.๙%

Page 62: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

คิดเปนรอยละ ๑๐๐ และการทดสอบมาตรฐานฝมือแรงงานในจังหวัดปตตานี ผูเขารับทดสอบฯ จํานวน ๑๕๒ คน ผูผานทดสอบฯ ๑๔๖ คน คิดเปนรอยละ ๙๖.๐๕ จํานวนสถานประกอบการและลูกจาง มีสถานประกอบการท้ังหมด ๒,๓๐๐ แหง ลูกจาง ๑๗,๒๖๗ คน สวนใหญอยูในสถานประกอบการขนาด ๑ – ๔ คน จํานวน ๑,๕๙๐ แหง รองลงมาอยูในสถานประกอบการขนาด ๕ – ๙ คน จํานวน ๔๕๑ แหง มีสถานประกอบการขนาด ๑,๐๐๐ คนข้ึนไป จํานวน ๑ แหง การตรวจแรงงาน การตรวจสถานประกอบการในจังหวัดปตตานี จํานวน ๑๖๔ แหง มีลูกจางผานการตรวจ ๔ ,๗ ๓ ๔ ค น ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ท่ี ต ร ว จ ส ว น ใ ห ญ เ ป น ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ก า ร ข น า ด เ ล็ ก ก ล า ว คื อ อยูในขนาดของสถานประกอบการ ๑๐ –๑๙ คน จํานวน ๑๑๕ แหง ๒๐ – ๔๙ คน จํานวน ๑๙ แหง ๕ – ๙ คน จํานวน ๑๕ แหง และสถานประกอบการปฏิบัติถูกตองตามกฎหมายทุกแหง การตรวจความปลอดภัยในการทํางาน มีการตรวจความปลอดภัยในสถานประกอบการ จํานวน ๗๐ แหง ลูกจางท่ีผานการตรวจ จํานวน ๒,๗๙๔ คน พบวาสถานประกอบการท่ีปฏิบัติถูกตองตามกฎหมาย ทุกแหง

ท่ีมา :สถานการณแรงงานจังหวัดปตตานี ไตรมาส ๑ - ๒ ป ๒๕๕๕ (มกราคม – มิถุนายน)

การประกันสังคม กองทุนประกันสังคม ป ๒๕๕๔ มีสถานประกอบการท่ีข้ึนทะเบียนประกันสังคม จํานวน ๑ ,๖๗๙ แหง จํานวนผูประกันตน ๙๑ ,๑๔๐ คน รับแจงการขอรับประโยชนทดแทน จํานวน ๕ ,๙๐๙ ราย วินิจ ฉัยการขอรับประโยชนทดแทน ๕ ,๕๖๓ ราย รับ เ งินสมทบ จํ านวน ๑๙๖ ,๕๒๖ ,๙๙๙.๓๙ บาท จายเงินประโยชนทดแทน จํานวน ๙๓,๒๓๕,๕๖๒.๗๐ บาท กองทุนเงินทดแทน มีสถานประกอบการท่ีข้ึนทะเบียน จํานวน๑,๓๗๒ แหง จํานวนลูกจาง ๑๓,๕๐๖ คน รับแจงการประสบอันตราย ๑๖๒ ราย วินิจฉัยการประสบอันตราย จํานวน ๑๗๙ ราย รับเงินสมทบจํานวน ๓,๕๕๗,๓๙๑.๒๙ บาท จายเงินทดแทน จํานวน ๒,๙๖๔,๙๒๙.๙๐ บาท การเลิกจางงาน มีสถานประกอบการท่ีเลิกจาง จํานวน ๖๖ แหง และมีลูกจางถูกเลิกจาง ๙๗ คน นายจางปฏิบัติตามกฎหมายครบถวนท้ัง ๓๑ แหง และลูกจางท่ีถูกเลิกจางไดรับสิทธิตามกฎหมายทุกคน ท่ีมา :สถานการณแรงงานจังหวัดปตตานี ป ๒๕๕๔ (มกราคม – ธันวาคม)

-๕๓-

๖.๑

แผนภาพโครงสรางประชากรจังหวัดปตตานีจําแนกตามอายุและเพศ ป ๒๕๕๔

กลุมอายุ (ป)

การสาธารณสุข

๖ . สภาพทางสังคม

Page 63: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ท่ีมา:ทะเบียนราษฎร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ณ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔

กลุมอายุ (ป)

ท่ีมา : หลักประกันสุขภาพ db_pop+สํารวจ ณ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๔

1.591.161.3

1.852.34

2.813.143.073.21

3.514.18

4.614.29

4.093.99

4.19

1.881.29

1.542.14

2.492.89

3.373.24

3.493.61

4.024.47

4.184.06

3.914.11

>7570-7465-6960-6455-59

50 - 5445 - 4940 - 4435 - 3930 - 3425 - 29

20-2415-1910-14 5-09 0-04

012345

FEMALE

0 1 2 3 4 5 6

MALE

1.710.971.04

1.431.84

2.112.9

3.243.45

3.674.15

4.544.81

5.014.64

3.95

2.461.241.18

1.582.06

2.33.14

3.363.5

3.774.04

4.374.674.72

4.393.75

>7570-7465-6960-6455-59

50 - 5445 - 4940 - 4435 - 3930 - 3425 - 2920-2415-1910-14 5-09 0-04

0123456

FEMALE

0 1 2 3 4 5 6

MALE

รอยละ

รอยละ

Page 64: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

กลุมอายุ (ป)

ประชากรdbpop+สํารวจ ๓๐ มิ.ย. ๕๔

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔

ชาย หญิง รวม รอยละ ชาย หญิง รวม รอยละ ชาย หญิง รวม รอยละ ๐–๔ ๒๕,๒๗๐ ๒๕,๓๕๕ ๕๑,๕๒๕ ๗.๙๐ ๒๕,๑๒๒ ๒๕,๑๔๐ ๕๑,๒๕๒ ๗.๕๗ ๒๕,๙๒๕ ๒๕,๔๑๓ ๕๒,๒๓๙ ๗.๗๐ ๕–๙ ๓๑,๙๓๗ ๓๐,๒๗๒ ๕๒,๒๐๙ ๙.๕๒ ๓๒,๑๒๔ ๓๐,๒๔๐ ๕๒,๓๕๔ ๙.๓๑ ๓๑,๕๐๗ ๒๙,๗๕๙ ๕๑,๒๗๕ ๙.๐๓

๑๐–๑๔ ๓๓,๓๓๓ ๓๑,๗๗๙ ๕๕,๑๑๑ ๙.๙๕ ๓๓,๙๙๓ ๓๒,๔๕๐ ๕๕,๔๕๓ ๙.๙๒ ๓๓,๙๙๙ ๓๑,๙๙๙ ๕๕,๙๙๙ ๙.๗๓ ๑๕–๑๙ ๓๑,๒๙๙ ๓๐,๓๙๐ ๕๑,๕๙๙ ๙.๔๔ ๓๒,๐๓๓ ๓๐,๙๕๗ ๕๒,๙๙๐ ๙.๓๙ ๓๒,๕๒๒ ๓๑,๗๑๕ ๕๔,๓๓๗ ๙.๔๙ ๒๐–๒๔ ๒๗,๑๙๙ ๒๗,๐๕๕ ๕๔,๒๕๓ ๙.๓๐ ๒๙,๗๔๐ ๒๙,๐๔๗ ๕๗,๗๙๗ ๙.๕๓ ๓๐,๙๑๙ ๒๙,๕๗๕ ๕๐,๔๙๕ ๙.๙๒ ๒๕–๒๙ ๒๕,๕๒๐ ๒๕,๒๕๕ ๕๐,๙๗๕ ๗.๗๙ ๒๕,๕๐๕ ๒๕,๕๕๕ ๕๓,๐๕๑ ๗.๙๒ ๒๙,๑๓๙ ๒๗,๔๓๙ ๕๕,๕๗๗ ๙.๑๙ ๓๐–๓๔ ๒๓,๓๕๔ ๒๓,๕๓๓ ๔๕,๙๙๗ ๗.๑๙ ๒๔,๑๙๒ ๒๔,๙๙๙ ๔๙,๐๙๑ ๗.๓๓ ๒๔,๙๐๕ ๒๕,๕๗๓ ๕๐,๔๗๙ ๗.๔๔ ๓๕–๓๙ ๒๓,๑๙๙ ๒๓,๕๙๒ ๔๕,๗๗๐ ๗.๑๕ ๒๓,๗๙๐ ๒๓,๗๙๐ ๔๗,๕๙๐ ๗.๑๑ ๒๓,๓๙๔ ๒๓,๗๑๙ ๔๗,๑๑๓ ๕.๙๔ ๔๐–๔๔ ๒๑,๑๙๐ ๒๒,๓๒๗ ๔๓,๕๑๗ ๕.๕๕ ๒๑,๗๕๔ ๒๒,๗๕๒ ๔๔,๕๑๕ ๕.๕๕ ๒๑,๙๙๔ ๒๒,๗๙๔ ๔๔,๗๙๙ ๕.๕๐ ๔๕–๔๙ ๑๗,๕๗๕ ๑๙,๒๓๓ ๓๕,๙๐๙ ๕.๕๕ ๑๙,๗๓๑ ๒๐,๓๗๕ ๓๙,๑๐๕ ๕.๙๔ ๑๙,๕๕๗ ๒๑,๒๙๗ ๔๐,๙๕๔ ๕.๐๔ ๕๐–๕๔ ๑๓,๐๑๕ ๑๔,๕๐๐ ๒๗,๕๑๕ ๔.๒๑ ๑๓,๕๑๑ ๑๔,๙๑๓ ๒๙,๕๒๔ ๔.๒๕ ๑๔,๓๔๓ ๑๕,๕๒๑ ๒๙,๙๕๔ ๔.๔๒ ๕๕–๕๙ ๑๒,๒๔๕ ๑๓,๒๔๑ ๒๕,๔๙๕ ๓.๙๐ ๑๒,๔๗๙ ๑๓,๕๕๕ ๒๕,๑๓๕ ๓.๙๐ ๑๒,๕๐๑ ๑๓,๙๙๓ ๒๕,๔๙๔ ๓.๙๐ ๕๐–๕๔ ๗,๕๗๔ ๙,๗๕๙ ๑๕,๔๓๓ ๒.๕๑ ๙,๗๐๙ ๙,๔๓๕ ๑๙,๑๔๕ ๒.๗๑ ๙,๕๙๔ ๑๐,๗๓๓ ๒๐,๔๒๗ ๓.๐๑ ๕๕–๕๙ ๗,๙๔๙ ๙,๐๒๙ ๑๕,๙๗๗ ๒.๕๙ ๗,๕๔๑ ๙,๗๗๙ ๑๕,๔๒๐ ๒.๔๕ ๗,๐๒๓ ๙,๐๓๗ ๑๕,๐๕๐ ๒.๒๒ ๗๐–๗๔ ๕,๑๕๙ ๙,๕๙๙ ๑๔,๙๕๕ ๒.๒๗ ๕,๕๕๗ ๙,๐๓๔ ๑๕,๕๙๑ ๒.๓๔ ๕,๕๑๕ ๙,๓๙๓ ๑๕,๐๐๙ ๒.๒๑ >๗๕ ๑๑,๕๗๗ ๑๕,๑๐๔ ๒๗,๕๙๑ ๔.๒๔ ๑๒,๙๕๔ ๑๗,๕๗๕ ๓๐,๕๓๐ ๔.๕๕ ๑๑,๕๐๗ ๑๕,๗๒๓ ๒๙,๓๓๐ ๔.๑๙ รวม ๓๑๙,๕๙๒ ๓๒๙,๒๑๑ ๕๔๙,๙๐๓ ๑๐๐.๐๐ ๓๒๙,๙๓๕ ๓๓๙,๕๑๙ ๕๕๙,๕๕๕ ๑๐๐.๐๐ ๓๓๕,๕๕๕ ๓๔๒,๙๙๔ ๕๗๙,๕๓๙ ๑๐๐.๐๐

-๕๔-

Page 65: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๕๕-

ตารางจําแนกกลุมอายุ

๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔ กลุมอายุ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ จํานวน รอยละ ๐-๑๔ ๑๗๙,๙๔๕ ๒๗.๕๙ ๑๙๐,๐๗๙ ๒๕.๙๐ ๑๙๐,๙๐๒ ๒๕.๙๒

๑๕-๕๙ ๓๙๔,๐๐๑ ๕๐.๗๓ ๔๐๙,๕๙๐ ๕๑.๐๔ ๔๑๓,๔๔๑ ๕๑.๓๒ >๕๐ ๗๕,๙๕๗ ๑๑.๕๙ ๙๐,๗๙๕ ๑๒.๐๗ ๗๙,๙๙๐ ๑๑.๙๕

อายุขัยเฉลี่ย N/A ชาย ๕๐.๕๕ หญิง ๕๗.๓๐ ชาย ๕๔.๓๑ หญิง ๕๙.๒๕ ประชากรท้ังหมด

๕๔๙,๙๐๓

๕๕๙,๕๕๕

๕๗๔,๒๒๓ อัตราวัยพ่ึงพิง

๕๔.๕๗

๕๓.๙๓

๕๓.๐๙

จากตารางพบวา แนวโนมประชากร ๓ ปยอนหลังระหวางป ๒๕๕๒–๒๕๕๔ พบวา โดยจําแนกตามมีประชากรในกลุมอายุ ๐-๔ มีแนวโนนลดลง คิดเปนรอยละ ๒๗.๕๙,๒๕.๙๐ และ ๕.๙๒ ตามลําดับป ประชากรในกลุมอายุ ๑๕-๕๙ มีแนวโนมเพ่ิมข้ึน คิดเปนรอยละ ๕๐.๗๓,๕๑.๐๔ และ ๕๑.๓๒ ตามลําดับป ประชากรกลุมอายุ >๕๐มีแนวโนมลดลง ๑๑.๕๙, ๑๒.๐๗ และ ๑๑.๙๕ ตามลําดับป โดยมีอัตราวัยพ่ึงพิงมีแนวโนมลดลงคิดเปนรอยละ ๕๔.๕๗,๕๓.๙๓และ ๕๓.๐๙ ตามลําดับป

แผนภาพโครงสรางประชากรจังหวัดปตตานีจําแนกตามอายุและเพศ ป ๒๕๕๔

กลุมอายุ (ป)

1.591.161.3

1.852.34

2.813.143.073.21

3.514.18

4.614.29

4.093.99

4.19

1.881.29

1.542.14

2.492.89

3.373.24

3.493.61

4.024.47

4.184.06

3.914.11

>7570-7465-6960-6455-59

50 - 5445 - 4940 - 4435 - 3930 - 3425 - 2920-2415-1910-14 5-09 0-04

012345

FEMALE

0 1 2 3 4 5 6

MALE

รอยละ

รอยละ

รอยละ

กลุมอาย ุ(ป) กลุมอาย ุ(ป)

Page 66: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๕๖- ๑.๒ สถานการณแนวโนมดานสุขภาพ

ด านสถานสุขภาพของประชาชนในจั งหวัดปตตานี ประชากร มีอายุคาด เฉลี่ ย เ ม่ือแรกเ กิดป ๒ ๕ ๕ ๔ จํ า แ น ก เ ป น เ พ ศ ช า ย ๖ ๐ . ๖ ๕ เ พ ศ ห ญิ ง ๖ ๗ .๓ ๐ ตั้ ง แ ต ป ๒ ๕ ๕ ๑ อัตราเกิดและอัตราตายตอพันประชากรมีแนวโนมคงท่ี ป ๒๕๕๑-๒๕๕๔ อัตราเพ่ิมของประชากรตอประชากร ๑๐๐ ค น มี แ น ว โ น ม ค ง ท่ี เ ช น กั น เ ท า กั บ ๑ . ๓ ๑ , ๑ . ๒ ๐ , ๑ . ๒ ๗ แ ล ะ ๑ . ๓ ๐ แตยังคงสูงอยูมากเม่ือเปรียบเทียบกับระดับประเทศและจังหวัดใกล เ คียง (ระดับประเทศ รอยละ ๐.๕ ระดับภาคใตรอยละ ๐.๙๐ และระดับเขต ๑.๐ ท่ีมา : สถิติสาธารณสุขป ๒๕๕๓) อัตรามารดาตายเทากับ ๒๓.๖๕ ตอแสนการเกิดมีชีพ และทารกตายเทากับ ๑๑.๖๗ ตอพันการเกิดมีชีพ ซ่ึงยังคงมีอัตราท่ีสูงกวาเกณฑท่ีกําหนด (มารดาตายระดับประเทศ ๑๐.๒ ระดับภาคใต ๙.๗ ระดับเขต ๑๗.๕ และเกณฑทารกตายระดับประเทศ ๗.๐ ระดับภาคใต ๙.๓ ระดับเขต ๙.๙ (ท่ีมา : สถิติสาธารณสุขป ๒๕๕๓)

กลุมโรคท่ีเปนสาเหตุการตาย อันดับท่ี ๑ และ ๒ ตอเนื่องท้ัง ๓ ปท่ีผานมา คือ อุบัติเหตุอ่ืน (ๆถูกยิง, พลัดตก, หกลม, จมน้ํา) และโรคมะเร็งทุกชนิด อันดับ ๓ และ ๔ คือ โรคหัวใจทุกชนิด และติดเชื้อในกระแสเลือด (รายละเอียดตามตารางท่ี๔) ผูเสียชีวิตดวยอุบัติเหตุอ่ืนๆในกลุมโรคท่ีเปนสาเหตุการตายอันดับ ๑ ในป ๒๕๕๒-๒๕๕๔ มีอัตราตายเทากับ ๖๑.๙๒, ๓๙.๐๖ และ ๔๖.๐๙ ตอประชากรแสนคน ตามลําดับ ในป ๒๕๕๔ อุบัติเหตุท่ีเปนสาเหตุการตายสูงสุด ได แก ถูก ทําร ายด วยอาวุ ธปน ท่ี ไม ระบุชนิด อัตราตาย ๒๔.๒๖ ตอประชากรแสนคน รองลงมา คือ อุบัติ เหตุจากเหตุการณ ท่ีไมระบุเจตนาอัตราตาย ๑๑.๔๔ ตอประชากรแสนคน พลัดตก, หกลม, จมน้ํา , ไฟฟาดูดอัตราตาย ๙.๙๕ ตอประชากรแสนคน และทํารายตัวเอง เชน แขวนคอ อัตราตาย ๑.๕๒ ตอประชากรแสนคน ผูเสียชีวิตดวยโรคมะเร็งทุกชนิด อยูในอันดับ ๒ ในป ๒๕๕๒-๒๕๕๓ มีอัตราตายเทากับ ๓๒.๙๖ และ ๒๙.๔๑ ตอประชากรแสนคน ในป ๒๕๕๔ โรคมะเร็งท่ีเปนสาเหตุการตายสูงสุดเปนอันดับ ๓ อัตราตายเทากับ ๓๔.๖๔ ไดแก มะเร็งอ่ืน ๆ (เนื้องอกราย ไมระบุตําแหนง) อัตราตาย ๒๕.๙๔ ตอประชากรแสนคน รองลงมาคือ มะเร็งปอด อัตราตาย ๕.๔๙ ตอประชากรแสนคน มะเร็งเตานม อัตราตาย ๑.๕๒ ตอประชากรแสนคน และมะเร็งปากมดลูก อัตราตาย ๑.๐๗ ตอประชากรแสนคนมะเร็งตับ อัตราตาย ๐.๖๑ ตอประชากรแสนคน ผูเสียชีวิตดวยโรคหัวใจทุกชนิด อยูในอันดับ ๔ ในป ๒๕๕๒ มีอัตราตาย ๒๗.๙๗ ตอประชากรแสนคนอันดับท่ี ๓ ในป ๒๕๕๓ มีอัตราตายเทากับ ๒๗.๐๒ และอันดับท่ี ๒ ในป ๒๕๕๔ มีอัตราตายเทากับ ๓๕.๗๑ ผู เสียชีวิตดวยติดเชื้อในกระแสเลือด ในป ๒๕๕๒ อยู ในอันดับท่ี ๓ มีอัตราตาย เทากับ ๓๑.๖๑ ตอประชากรแสนคน สําหรับ ในป ๒๕๕๓-๒๕๕๔ อยูในอันดับท่ี ๔ มีอัตราตายเทากับ ๒๔.๒๔ และ ๒๒.๒๙ ตอประชากรแสนคน (รายละเอียดตามตารางท่ี๔ – ๕ ) ดานสาเหตุการปวยของผูปวยนอก พบวา อัตราผูปวยนอก ๑๐ อันดับแรก ยังเปนกลุมเดียวกัน คือโรคระบบทางเดินหายใจ ตั้งแตป ๒๕๕๒-๒๕๕๔ สําหรับป ๒๕๕๔ กลุมโรคท่ีเปนสาเหตุสําคัญ ๓ อันดับแรก พบวา ผูปวยโรคระบบทางเดินหายใจยังมีอัตราปวยสูงท่ีสุดเทากับ ๔๗,๓๓๑.๐๖ ตอประชากรแสนคน รองลงมา คือ โรคระบบยอยอาหาร อัตราปวยเทากับ ๓๑,๑๑๕.๖๕ ตอประชากรแสนคน และโรคระบบไหลเวียนเลือด อัตราปวยเทากับ ๓๐,๒๙๔.๕๑ ตอประชากรแสนคน (ตารางท่ี ๒ ) เ ม่ื อ พิ จ า ร ณ า โ ร ค ท่ี ต อ ง เ ฝ า ร ะ วั ง ท า ง ร ะ บ า ด วิ ท ย า ใ น ป ๒ ๕ ๕ ๒ -๒ ๕ ๕ ๔ พ บ ว า โรคท่ีมีอัตราปวยสูงสุดของทุกปคือ โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน สําหรับในป ๒๕๕๔ ลําดับท่ี ๒ คือ โรคตาแดง และลําดับ ท่ี ๓ คือ โรคสุกใส และลํ าดับ ท่ี ๔ คือ โรคปอดบวม นอกจากนี้ ยั งพบว า ตั้ งแตป ๒๕๕๒ โรคไขหวัดใหญและอหิวาตกโรค และป ๒๕๕๓ อาหารเปนพิษ เริ่มเปนปญหามากข้ึนทําใหติดอันดับ ๑ ใน ๑๐ อันดับแรกของโรคท่ีตองเฝาระวังทางระบาดวิทยา (ตารางท่ี ๗ )

Page 67: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๕๗- ๑.๓ ขอมูลสถานะสุขภาพ

ตารางท่ี ๑ สถานสุขภาพของประชาชนจังหวัดปตตานี ป ๒๕๕๑– ๒๕๕๔

สถานะสุขภาพ ป ๒๕๕๑ ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔

จํานวน อัตรา จํานวน อัตรา จํานวน อัตรา จํานวน อัตรา อัตราเกิด :ประชากรพันคน ๑๒,๒๖๙ ๑๙.๑๐ ๑๑,๙๙๗ ๑๙.๖๙ ๑๒,๑๓๒ ๑๙.๗๓ ๑๒,๖๙๖ ๑๙.๙๖

อัตราตาย :ประชากรพันคน ๓,๙๒๕ ๕.๙๖ ๔,๒๓๒ ๖.๖๐ ๓,๙๓๓ ๖.๐๗ ๔,๑๙๕ ๖.๙๕ อั ต ร า ก า ร เ พ่ิ ม ป ร ะ ช า ก ร :ประชากรรอยคน

๙,๔๔๓ ๑.๓๑ ๗,๗๖๕ ๑.๒๐ ๙,๑๙๙ ๑.๒๗ ๙,๕๐๑ ๑.๓๐

อัตรามารดาตายประชากร : การเกิดมีชีพแสนคน

๕ ๔๐.๗๖ ๕ ๔๑.๖๙ ๔ ๓๒.๙๗ ๓ ๒๓.๖๕

อัตราทารกตาย:การเกิดมีชีพพันคน ๑๓๔ ๑๐.๙๒ ๑๔๓ ๑๑.๙๒ ๑๓๑ ๑๐.๙๐ ๑๔๙ ๑๑.๖๗

ท่ีมา :สํานักนโยบายและยุทธศาสตร (ป พ.ศ.๒๕๕๑ - ๒๕๕๔)(ใชฐานประชากรทะเบียนราษฎร ๓๑ ธ.ค. ๕๓)

ตารางท่ี ๒ จํานวนและอัตราปวยผูปวยนอก ตอประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ตามกลุมสาเหตุการปวย ๑๐ อันดับแรก จังหวัดปตตานี ป ๒๕๕๒-๒๕๕๔ (กลุมโรคตาม ICD-๑๐)

ลํ าดับ

สาเหตุการปวย ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔

จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ

๑. โรคระบบ หายใจ

๓๓๗,๓๙๖ ๕๒,๕๓๙.๕๑ ๑ ๓๒๖,๖๓๖ ๕๐,๔๓๖.๐๖ ๑ ๓๑๕,๑๙๒ ๔๗,๓๓๑.๒๑ ๑

๒. โรคอาการและ อาการแสดง

๑๙๔,๗๕๐ ๓๐,๓๒๖.๙๑ ๒ ๑๖๙,๔๖๕ ๒๖,๐๑๒.๗๙ ๔ ๑๕๖,๒๓๗ ๒๓,๙๔๓.๕๕ ๕

๓. โรคระบบยอย อาหาร

๑๙๐,๐๒๙ ๒๙,๕๙๑.๗๔ ๓ ๑๙๗,๗๐๙ ๓๐,๕๒๙.๓๖ ๒ ๒๐๔,๑๒๔ ๓๑,๑๑๕.๖๕ ๒

๔. โรคระบบ กลามเน้ือ

๑๖๗,๙๓๗ ๒๖,๑๕๑.๕๓ ๔ ๑๖๔,๖๐๐ ๒๕,๔๑๕.๙๙ ๕ ๑๗๔,๕๙๒ ๒๖,๖๔๓.๒๑ ๔

๕. โรคระบบ ไหลเวียนเลือด

๑๖๓,๙๗๖ ๒๕,๕๓๔.๗๑ ๕ ๑๗๑,๓๙๑ ๒๖,๔๖๓.๐๔ ๓ ๑๙๙,๕๐๙ ๓๐,๒๙๔.๕๑ ๓

๖. โรคติดเชื้อและ ปรสิต

๙๕,๔๒๖ ๑๔,๙๕๙.๙๕ ๖ ๙๑,๗๑๐ ๑๔,๑๖๐.๙๙

๗ ๗๙,๗๒๓ ๑๒,๐๑๔.๐๓ ๙

๗.

โรคเกี่ยวกับ ตอมไรทอ โภชนาการและเมตตาบอริซัม

๙๔,๕๑๗ ๑๔,๗๑๙.๔๐ ๗ ๑๑๑,๔๗๗ ๑๗,๒๑๓.๒๓ ๖ ๑๓๓,๙๖๙ ๒๐,๔๒๙.๗๙ ๖

๙. โรคผิวหนัง ๙๕,๕๑๐ ๑๓,๓๑๕.๙๑ ๙ ๙๗,๖๙๖ ๑๓,๕๔๑.๑๙ ๙ ๙๑,๓๖๙ ๑๒,๔๑๗.๙๔ ๗

๙.

สาเหตุจาก ภ า ย น อ ก อื่ น ๆ ท่ีทําใหปวยหรือตาย

๕๙,๗๖๓ ๙,๑๕๐.๗๑ ๙ ๖๖,๓๑๓ ๑๐,๒๓๙.๔๓ ๙ ๔๔,๓๑๐ ๖,๗๖๒.๒๑ ๑๐

๑๐. โรคตา รวม สวนประกอบ ของตา

๔๔,๐๒๙ ๖,๙๕๖.๒๙ ๑๐ ๔๑,๗๔๗ ๖,๔๔๖.๑๙ ๑๐

๑๑ โรคระบบ สืบพันธุรวมปสสาว

๔๕,๓๙๓ ๖,๙๒๕.๙๖ ๙

Page 68: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ท่ีมา : รายงาน ๕๐๔ ขอมูล เดือนมกราคม -ธันวาคม ของทุกป (ป ๒๕๕๔ ใชประชากรทะเบียนราษฎร ๓๑ ธ.ค.๕๓) -๕๘-

ตารางท่ี ๓ จํานวนและอัตราผูปวยในตอประชากรแสนคน ตามสาเหตุการปวย ๑๐ อันดับแรก จังหวัด

ปตตานี ป พ.ศ.๒๕๕๒ - ๒๕๕๔ (กลุมโรคตาม ICD-๑๐)

ลําดับ ท่ี

สาเหตุการปวย ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔

จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ

๑ โรคแทรกซอนในการตั้งครรภ การ เจ็บครรภ ก า ร ค ล อ ด ระยะหลังคลอดและภาวะ อ่ื น ๆ ทางสูติกรรมท่ีมิไดระบุไว ท่ี อ่ื น เ ช น ภาวะบวมและมีโปรตีนใน ป ส ส า ว ะ ความดันโลหิตสูงระหวางตั้ งครรภ รกเกาะต่ํ า ตก เลื อด หลั ง คลอด ฯลฯ

๙,๑๒๙ ๑,๒๖๕.๙๗ ๑ ๙,๓๙๗ ๑,๒๙๕.๐๔ ๒ ๑๐,๔๕๖ ๑,๕๙๕.๗๐ ๒

๒ คลอดปกติ (คลอดเดี่ยว) ๗,๔๙๕ ๑,๑๖๕.๕๙ ๒ ๗,๓๕๙ ๑,๑๓๖.๑๕ ๓ ๗,๙๕๐ ๑,๒๑๓.๒๖ ๓

๓ ค ว า ม ผิ ด ป ก ติ อ่ื น ๆ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ใ น ร ะ ย ะ ปริ กําเ นิด เชน ทารก ในครรภไดรับผลกระทบจ า ก แ ม ภ าวะขาดออกซิ เ จน ปอดบวมแตกําเนิด ฯลฯ

๕,๐๙๒ ๗๙๒.๙๔ ๕ ๕,๕๐๕ ๙๕๐.๐๓ ๔ ๖,๓๔๗ ๙๖๙.๖๒ ๔

๔ อ า ก า ร อาการแสดงและสิ่งผิดปกติท่ีพบไดจากการตรวจทางคลินิกและหองปฏิบัติ ก า ร เ ช น ป ว ด ท อ ง เ ป น ล ม ปสสาวะลําบาก ป ว ด ศี ร ษ ะ ไ ข ไ ม ท ร า บ ส า เ ห ตุ ชักไมทราบสาเหตุ ฯลฯ

๕,๔๓๑ ๙๔๕.๗๓ ๔ ๕,๔๓๙ ๙๓๙.๖๙ ๕ ๕,๕๕๐ ๙๔๖.๙๙ ๖

Page 69: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๕ โรคความดันโลหิตสู ง เชนความดันโลหิตสูง ไ ม ท ร า บ ส า เ ห ตุ โรคหัวใจจากความดัน โรคไตจากความดัน ฯลฯ

๔,๙๓๓ ๗๕๒.๖๑ ๖ ๔,๕๔๙ ๗๐๒.๒๖ ๙ ๕,๖๔๗ ๙๖๑.๙๐ ๕

ลําดับ

ท่ี สาเหตุการปวย

ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔

จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ

๖ โ ร ค ติ ด เ ชื้ อ อ่ื น ๆ ข อ ง ลํ า ไ ส เ ช น โรคบิดจากเชื้อชิเกลล า โรคติดเชื้ออามีบาอาหารเปนพิษจากเชื้อแบคทีเรียอ่ืนท่ีไมไดจําแนกไวท่ีใด

๔,๑๒๑ ๖๔๑.๗๓ ๙ ๔,๕๗๙ ๗๐๖.๙๙ ๖ ๔,๔๑๕ ๖๗๓.๗๙ ๙

๗ โรคอ่ืนของระบบยอยอา ห า ร เ ช น โ ร ค ใ น ช อ ง ป า ก ต อ ม นํ้ า ล า ย หลอดอาหารอักเสบ อ า ห า ร ไ ม ย อ ย แผลในกระเพาะอาหาร ฯลฯ

๔,๕๙๙ ๗๑๔.๔๕ ๗ ๔,๑๒๑ ๖๓๖.๓๓ ๑๐ ๔,๖๐๑ ๗๐๒.๑๗ ๙

๘ ความผิดปกติเก่ียวกับตอมไรทอ โภชนาการ และเมตาบอริซึม อ่ืน ๆ เชน นํ้าตาลในเลือดต่ํา ตอมพาราไทรอยดทํางานนอย ขาดวิตามิน ขาดแคลเซียม

๗,๐๙๐ ๑,๑๐๒.๕๑ ๓ ๙,๖๓๙ ๑,๓๓๓.๙๕ ๑ ๑๒,๙๓๓ ๑,๙๗๓.๗๒ ๑

๙ โรคตดิเช้ือและปาราสิตอ่ืนๆ เชน กาฬโรค ฉ่ีหนู โรคเรื้อน คอตีบ ไอกรน ซิฟลิส ไขเลือดออก ฯลฯ

๓,๗๐๕ ๕๗๖.๙๕ ๙ ๔,๕๕๗ ๗๐๓.๖๕ ๗

๑๐ โรคเบาหวาน เชน ท่ีพ่ึงและไมพ่ึงอินซูลิน เบาหวานท่ีเก่ียวกับ

๒,๙๖๖ ๔๔๖.๓๐ ๑๐

Page 70: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๕๙-

-๖๐-

ภาวะทุพโภชนาการ และเบาหวานท่ีมีระบุชนิด ฯลฯ

๑๑ โรคไขเลือดออกเด็งกี และไขจากไวรัสอ่ืนท่ีมียุงเปนพาหะ

๔,๔๕๔ ๖๙๗.๗๔ ๙

ลําดับ

ท่ี สาเหตุการปวย

ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔

จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ

๑๒ โรคของเลือดและอวัยวะสรางเลือดและความผิดปกติบางอยางของกลไกภูมิคุมกัน เชน โลหิตจางจากการขาดส า ร อ า ห า ร , โลหิตจางจากเม็ดเลือด แ ด ง แ ต ก , ไขกระดูกฝอ เปนตน

๕,๐๐๗ ๗๖๔.๑๓ ๗

๑๓ โรคแบบอ่ืนของระบบห า ย ใ จ เ ช น การติดเช้ือเฉียบพลันแ

๓,๒๓๐ ๔๙๒.๙๓ ๑๐

Page 71: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ท่ีมา:รายงาน ๕๐๕ (ขอมูลเดือนมกราคม -ธันวาคม ของทุกป)

ตารางท่ี ๔ จํานวนและอัตราการตายตอประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน ตามกลุมสาเหตุการตาย ๑๐ อันดับแรก จังหวัดปตตานี ปพ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔

ลําดับ ท่ี

สาเหตุการตาย ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔

จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ จํานวน อัตรา อันดับ ๑ อุบัติเหตุอ่ืน ๆ ๓๙๗ ๖๑.๙๒ ๑ ๓๒๕ ๓๙.๐๖ ๑ ๓๐๒ ๔๖.๐๙ ๑ ๒ โรคมะเร็งทุกชนิด ๒๑๑ ๓๒.๙๖ ๒ ๑๙๔ ๒๙.๔๑ ๒ ๒๒๗ ๓๔.๖๔ ๓ ๓ ติดเช้ือในกระแสเลือด ๒๐๓ ๓๑.๖๑ ๓ ๑๕๗ ๒๔.๒๔ ๔ ๑๔๖ ๒๒.๒๙ ๔ ๔ โรคหัวใจทุกชนิด ๑๗๙ ๒๗.๙๗ ๔ ๑๗๕ ๒๗.๐๒ ๓ ๒๓๔ ๓๕.๗๑ ๒ ๕ โรคหอบ ๙๙ ๑๓.๙๖ ๕ ๙๕ ๑๓.๑๒ ๗ ๖ โรคความดันโลหิตสูง ๙๖ ๑๓.๓๙ ๖ ๗๙ ๑๒.๒๐ ๙ ๙๒ ๑๒.๙๗ ๙

๗ โรคเบาหวาน ๙๖ ๑๓.๓๙ ๖ ๙๔ ๑๔.๕๑ ๖ ๙๙ ๑๓.๕๙ ๗ ๙ อัมพาต ๗๗ ๑๒.๐๐ ๙ ๙ อุบัติเหตุจราจร ๗๙ ๑๒.๓๐ ๙ ๗๙ ๑๒.๐๔ ๙ ๑๐๔ ๑๕.๙๔ ๕

๑๐ โรคปอดบวม ๗๑ ๑๑.๐๖ ๑๐ ๗๔ ๑๑.๔๓ ๑๐ ๗๙ ๑๒.๐๖ ๑๐ ๑๑ โรคหลอดเลือดสมอง ๑๐๙ ๑๖.๙๓ ๕ ๙๕ ๑๔.๕๐ ๖ ๑๒ โรคไตวาย ๙๐ ๑๒.๒๑ ๙

ท่ีมา : สํานักนโยบายและยุทธศาสตร (ขอมูลเดือนมกราคม – ธันวาคม ของทุกป)

-๖๑-

ตารางท่ี ๕ สาเหตุการตาย ๑๐ อันดับแรก ป พ.ศ. ๒๕๕๔ (กลุมโรคตาม ICD -๑๐)

ลําดับท่ี สาเหตุการตาย จํานวนปวย (รง.๕๐๕)

จํานวนตาย (มรณบัตร)

อัตราตาย:ประชากร แสนคน

อัตราปวย ตาย:๑๐๐

๑ อุบัติเหตุอ่ืน ๆ(W๐๐-W๙๙, X๐๐-X๙๙, Y๐๐-Y๙๙) - ถูกทํารายดวยอาวุธปนไมระบุชนิด (X๙๑–Y๐๙) - พลัดตก ,หกลม ,จมนํ้า ,ไฟฟาดูด (W๐๐-W๙๙ ,X๐๐–X๓๙, X๔๐–X๔๙, X๕๐–X๕๙, X๖๐–X๖๙,X๙๕-X๙๐, Y๑๐-Y๑๙,Y๙๖) - อุบัติเหตุจากเหตุการณท่ีไมระบุเจตนา (Y๒๐–Y๓๖, Y๔๐ , Y๙๔–Y๙๙) - ทํารายตัวเอง เชน แขวนคอ , ยิงตัวตาย (X๗๐–X๙๔)

๒,๖๙๔

๔๒๔ ๑,๙๔๕

๓๙๙

๑๗

๓๐๒

๑๕๙ ๕๙

๗๕

๑๐

๔๖.๐๙

๒๔.๒๖ ๙.๙๕

๑๑.๔๔

๑.๕๒

๑๑.๒๕

๓๗.๕ ๓.๑๔

๑๙.๙๔

๕๙.๙๒

๒ โรคหัวใจทุกชนิด (I๐๕-I๐๙, I๒๐-I๒๙, I๓๐-I๕๒) ๕,๒๐๑ ๒๓๔ ๓๕.๗๑ ๔.๕๐ ๓ โรคมะเร็งทุกชนิด (C๐๐-C๙๕, D๐๐-D๐๙) ๓๓๕ ๒๒๗ ๓๔.๖๔ ๖๗.๗๖

บบอ่ืนของทางเดินหายใจสวนลาง,ความผิดปกติของระบบหายใจหลังทําหัตถการ,โรคแบบอ่ืนของเยื่อหุมปอด เปนตน

Page 72: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

- มะเร็งปากมดลูก (C๕๓) - มะเร็งเตานม (C๕๐) - มะเร็งตับ (C๒๒) - มะเร็งปอด (C๓๔) - อ่ืน ๆ(เน้ืองงอกรายไมระบุตําแหนง)

๔๖ ๑๑๙ ๙๑ ๙๙ -

๗ ๑๐ ๔

๓๖ ๑๗๐

๑.๐๗ ๑.๕๒ ๐.๖๑ ๕.๔๙

๒๕.๙๔

๑๕.๒๒ ๙.๔๐ ๔.๙๔

๔๐.๔๕

๔ ติดเช้ือในกระแสเลือด (A๔๑) ๒,๐๙๒ ๑๔๖ ๒๒.๒๙ ๗.๐๑ ๕ อุบัติเหตุจราจร (V๐๑-V๙๙) ๑,๖๙๕ ๑๐๔ ๑๕.๙๔ ๖.๑๔ ๖ โรคหลอดเลือดสมอง(I๖๐-I๖๙) ๙๔๒ ๙๕ ๑๔.๕๐ ๑๐.๐๙ ๗ โรคเบาหวาน (E๑๐-E๑๔) ๒,๙๙๐ ๙๙ ๑๓.๕๙ ๒.๙๙ ๙ โรคความดันโลหิตสูง ( I๑๐–I๑๕) ๕,๖๔๗ ๙๒ ๑๒.๙๗ ๑.๔๕ ๙ โรคไต (N๑๗-N๑๙) ๑,๖๔๗ ๙๐ ๑๒.๒๑ ๔.๙๖

๑๐ โรคปอดบวม (J๑๒-J๑๙) ๒,๙๒๓ ๗๙ ๑๒.๐๖ ๒.๗๐

ท่ีมา : สํานักนโยบายและยุทธศาสตร (เดือนมกราคม–ธันวาคม ๒๕๕๔) ประชากรทะเบียนราษฎร ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๔

-๖๒- ๑.๔ โรคท่ีตองเฝาระวังทางระบาดวิทยา

ตารางท่ี ๖ จํานวนและอัตราปวยตอประชากร ๑๐๐,๐๐๐ คน โรคท่ีตองเฝาระวังทางระบาดวิทยา ๑๐ อันดับแรก จังหวัดปตตานี ป ๒๕๕๒ - ๒๕๕๔

ลําดับ ท่ี

โรคท่ีตอง เฝาระวัง

ป ๒๕๕๒ ป ๒๕๕๓ ป ๒๕๕๔ จํานวน อัตรา อัน

ดับ จํานวน อัตรา อัน

ดับ จํานวน อัตรา อัน

ดับ ๑ โรคอุจจาระรวงเ

ฉียบพลัน ๑๑,๙๙๙ ๑,๙๓๓.๙๙ ๑ ๑๓,๐๓๗ ๑,๙๔๗.๑๑ ๑ ๑๐,๓๐๙ ๑,๕๒๙.๐๒ ๑

๒ โรคตาแดง ๔,๔๑๗ ๖๙๖.๒๑ ๓ ๑,๙๖๗ ๒๙๓.๗๙ ๓ ๑,๙๒๙ ๒๙๖.๑๑ ๒ ๓ โรคปอดบวม ๑๑,๒๔ ๑๗๓.๒๔ ๕ ๑,๒๗๙ ๑๙๑.๐๒ ๔ ๙๔๙ ๑๔๐.๖๑ ๔ ๔ ไขไมทราบ

สาเหตุ ๑,๓๑๖ ๒๐๒.๙๔ ๔ ๙๑๐ ๑๒๐.๙๙ ๕ ๕๔๗ ๙๑.๑๓ ๕

๕ โรคสุกใส ๙๔๙ ๑๓๐.๗๐ ๖ ๗๙๒ ๑๑๙.๒๙ ๖ ๙๕๕ ๑๔๑.๖๔ ๓ ๖ โรคไขเลือดออก ๗๑๖ ๑๑๐.๓๖ ๗ ๓,๒๐๙ ๔๗๙.๑๒ ๒ ๑๕๕ ๒๒.๙๙ ๑๐ ๗ โรคชิกุนคุนยา ๔,๕๔๒ ๗๐๐.๐๖ ๒ ๘ งูสวดั ๑๖๙ ๒๔.๙๒ ๙

Page 73: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๙ โรคหัด ๒๑๐ ๓๑.๑๕ ๗ ๑๐ โรควัณโรคปอด ๒๙๙ ๔๔.๕๔ ๙ ๑๙๕ ๒๗.๖๓ ๑๐ ๑๕๗ ๒๓.๒๙ ๙ ๑๑ ไขหวัดใหญ ๔๙๖ ๗๖.๔๕ ๙ ๒๑๕ ๓๒.๑๑ ๙ ๑๒ อหิวาตกโรค ๙๔ ๑๑๕.๙๗ ๑๐ ๖๐๐ ๙๐.๒๑ ๗ ๑๓ อาหารเปนพิษ ๒๔๙ ๓๗.๑๙ ๙ ๓๐๖ ๔๕.๓๙ ๖

ท่ีมา: รายงาน ๕๐๖ งานระบาดวิทยา (ขอมูลเดือนมกราคม - ธันวาคม ของทุกป)

ตารางท่ี ๗ สถานการณโรคท่ีตองเฝาระวังทางระบาดวิทยา ๑๐ อันดับแรก จังหวัดปตตานี ป พ.ศ. ๒๕๕๔

ลําดับท่ี โรคท่ีตองเฝาระวัง จํานวน ปวย

อัตราปวย :ประชากร แสนคน

จํานวน ตาย

อัตราตาย :ประชากร แสนคน

อัตราปวย :ตายประชากร

แสนคน

๑ โรคอุจจาระรวงเฉียบพลัน ๑๐,๓๐๙ ๑,๕๒๙.๐๒ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๒ โรคตาแดง ๑,๙๒๙ ๒๙๖.๑๑ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๓ โรคสุกใส ๙๕๕ ๑๔๑.๖๔ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๔ โรคปอดบวม ๙๔๙ ๑๔๐.๖๑ ๓ ๐.๔๔ ๐.๓๒ ๕ ไขไมทราบสาเหต ุ ๕๔๗ ๙๑.๑๓ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๖ อาหารเปนพิษ ๓๐๖ ๔๕.๓๙ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๗ โรคหัด ๒๑๐ ๓๑.๑๕ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๙ งูสวัด ๑๖๙ ๒๔.๙๒ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๙ โรควัณโรคปอด ๑๕๗ ๒๓.๒๙ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐

๑๐ โรคไขเลือดออก ๑๕๕ ๒๒.๙๙ ๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐

ท่ีมา: รายงาน ๕๐๖ (ขอมูล เดือนมกราคม -ธันวาคม ๒๕๕๔)

Page 74: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ปญหาสาธารณสุขท่ีสําคัญท่ีตองมุงเนนดําเนินงานในพ้ืนท่ี

ภาวะสุขภาพในกลุมวัยตางๆ

๑. กลุมหญิงต้ังครรภ และหลังคลอด

๒. เด็ก ๐ – ๕ ป ๒. เด็กวัยเรียน (๖ – ๑๒ ป)

๓. เด็กวัยรุน (ตํ่ากวา ๒๐ ป)

๔. กลุมอายุ (๓๐ – ๖๐ ป

๕. ผูสูงอายุ (๖๐ ป ขึ้นไป)

มารดาตาย ๓ ราย (๒๕.๖๔ ตอแสนการเกิดมีชีพ โดย ๒ รายจากการแทง และ ๑ รายจากภาวะหัวใจลมเหลว

- โภชนาการ(น้ําหนักนอยกวาเกณฑ ๖.๕๓%), พัฒนาการลาชา ๒๓.๔% - IQ = ๙๑.๐๖ (ลําดับที่๗๕) - เด็กฟนผุ (๑๘ เดือน=๒๑.๑๓%, ๓ ป = ๖๕.๓๗%

โรคหัด, คอตีบ = ๑๘๘.๔๓, ๗.๕๔ ตอแสนประชากร

๑. อุจจาระ รวง ๒. ปอดบวม ๓. ตาแดง ๔. สุกใส ๕. อาหาร เปนพษิ

เด็กอาย ุ๑๒ ป ฟนผุ ๖๕.๘๑%

อุจจาระรวง ตาแดง สุกใส ปอดบวม

ยาเสพติด พบสูงสุดในอาชีพรับจางและใชแรงงาน, ยาบาระบาดในกลุมผูใชแรงงาน, ไดรับการบําบัดโดยระบบสมัครใจ ๗๑%, ผูรับการบําบัดใชยาเสพติด คือ ยาบา, เฮโรอีนและกัญชา ตามลําดับ

ต้ังครรภกอนวัย อันควร มารดา คลอดบุตรอายุ ๑๐.๒๒% เสียชีวิต ๑ ราย (เกณฑ<๑๐%) อายุตํ่าสุด ๑ : ป)

โรคเร้ือน (HT=๖๐.๐๕%, DM=๕๐.๖๗%,หัวใจขาดเลือด=๖๙.๒๔%, หลอดเลือดสมอง=๖๘.๓๑%)

๑. อุจจาระ รวง ๒. ตาแดง ๓. สุกใส ๔. อาหาร เปนพิษ

๑. อุจจาระ รวง ๒. ตาแดง ๓. สุกใส ๔. ไข - เลือดออก ๕. อาหาร เปนพิษ

๑. อุจจาระ รวง

๒. ตาแดง ๓. ปอดบวม

๔. อาหาร เปนพษิ

โรคเร้ือน (กลุมเส่ียงสูง DM=๑๔.๔๕%, HT=๔.๕๘% บุหร่ี อันดับ ๑ ของประเทศ ๔๒.๗%)

-๖๓-

Page 75: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๖๔-

สถานการณ สภาพปญหาของพ้ืนท่ี จังหวัดปตตานี มีหนวยบริการปฐมภูมิเขตเมืองและชนบท ซ่ึงกระจายครอบคลุมทุกพ้ืนท่ี จํานวนท้ังสิ้น จํานวน ๑๔๒ แหง โดยจําแนกเปนโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลท่ัวไป ๑๑๗ แหง หนวยบริการปฐมภูมิในโรงพยาบาล ๑๑ แหง หนวยบริการปฐมภูมินอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ๓ แหง โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล (รพ.สต.) ขนาดใหญ ๙ แหง และศูนยสุขภาพชุมชนเมือง ๒ แหง ดังนี้

อําเภอ

จํานวนรพ.สต./ศสม./PCU (แหง) เปาหมายการพัฒนา ตามนโยบายกระทรวง(แหง) รพ.สต.

ศสม. PCU รวม

ท้ังส้ิน เล็ก กลาง ใหญ รวม รพ.สต.

ขนาดใหญ ศสม. รวม

เมือง - ๙ ๒ ๑๐ ๒ ๑ ๑๓ ๒ ๒ ๔ สายบุรี ๔ ๗ ๑ ๑๒ - ๒ ๑๔ ๑ - ๑ โคกโพธิ ์ ๒ ๙ ๑ ๑๒ - - ๑๓ ๑ - ๑ หนองจิก ๓ ๑๒ - ๑๕ - ๒ ๑๗ - - ๑ แมลาน ๓ ๒ - ๕ - ๑ ๖ - - - มายอ ๔ ๗ ๑ ๑๒ - ๑ ๑๓ ๑ - - ยะรัง ๒ ๑๐ ๓ ๑๕ - ๑ ๑๖ ๓ - ๑ ทุงยางแดง - ๓ - ๓ - ๑ ๔ - - - ยะหริ่ง ๖ ๑๑ ๑ ๑๙ - ๑ ๑๙ ๑ - - ปะนาเระ ๗ ๗ - ๑๔ - ๑ ๑๕ - - ๑ ไมแกน ๕ - - ๕ - ๑ ๖ - - - กะพอ ๒ ๓ - ๕ - ๑ ๖ - - -

รวมท้ังสิ้น ๓๙ ๗๙ ๙ ๑๒๖ ๒ ๑๓ ๑๔๒ ๙ ๒ ๑๑

จังหวัดปตตานี มีนโยบายและกระบวนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและเครือขาย ผานกลไกคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพภาครัฐเพ่ือตอบสนองนโยบายรัฐบาลระดับจังหวัดและคณะกรรม ก า ร ป ร ะ ส า น ง า น ส า ธ า ร ณ สุ ข ร ะ ดั บ อํ า เ ภ อ ( ค ป . ส อ . ) ห รื อ CUP Board ตลอดจนทีมนําการพัฒนาคุณภาพในระดับจังหวัดและอําเภอ (Quality Realization Team : QRT และ Quality Improvement Team: QIT) ซ่ึ ง มี ที ม ส ห ส า ข า วิ ช า ชี พ เปนแกนหลักสําคัญในการทําหนาท่ีผูหลอเลี้ยงและขับเคลื่อนการพัฒนาท้ังดานปจจัยนําเขา (Input) กระบวนการ (Process) ภายใตการบูรณาการเกณฑและมาตรฐานตาง ๆ อาทิ เชน เกณฑการข้ึนทะเบียน เกณฑ รพ.สต./ศสม. และเกณฑการพัฒนาคุณภาพ เปนตน ตลอดจนดํา เนินการควบคุม กํากับ ติดตามและประเมินผล เ พ่ื อ ใ ห เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ แ บ บ พ ว ง บ ริ ก า ร ห รื อ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ บ บ Single Managementโดยการนํากรอบคุณภาพของ Malcolm Baldrige National Quality Award

การบริหารจัดการระบบปฐมภูมิในเขตเมืองและเขตชนบท จังหวัดปตตานี

Page 76: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

มาประยุกตเปนกรอบการพัฒนาใหเกิดการจัดการท่ัวท้ังองคกร เปนเกณฑคุณภาพเครือขายบริการปฐมภูมิ (Primary Care Award : PCA)

-๖๕-

ผลการดําเนินงาน การพัฒนาคุณภาพเครือขายบริการและหนวยบริการปฐมภูมิ ตามเกณฑ (Primary Care Award : PCA)

ในปงบประมาณ ๒๕๕๕ พบวา ทุกแหงไดรับการพัฒนาคุณภาพผานเกณฑ (PCA)

จ า ก ส ถ า น ก า ร ณ ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง ด า น ส ถ า น ก า ร ณ ค ว า ม ไ ม ส ง บ ทํ า ใ ห ก า ร ดํ า เ นิ น ชี วิ ต ข อ ง ป ร ะ ช า ก ร จั ง ห วั ด ป ต ต า นี เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ท้ังดานเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดลอมทําใหวิถีการดํารงชีวิตของคนปตตานีภายใตบริบทแวดลอมท่ีเต็มไปดวยความเสี่ ย ง ท้ั ง ท า ง ด า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ชี วิ ต แ ล ะ ท รั พ ย สิ น ส ง ผ ล ต อ ร ะ บ บ สุ ข ภ า พ ซ่ึงเชื่อมโยงกอใหเกิดปญหาสุขภาพจากโรควิถีชีวิตท่ีสัมพันธเก่ียวโยงซ่ึงกันและกันในโรคสําคัญ๕โรคไดแกโรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคหัวใจโรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็งท่ีเปนภาระทางดานสุขภาพเศรษฐกิจสังคมหากไ ม ส า ม า ร ถ ส กั ด ก้ั น ป ญ ห า ตั้ ง แ ต ต น เ ห ตุ จ น ถึ ง ป ล า ย เ ห ตุ อ ย า ง เ ป น ร ะ บ บ ค ร บ ว ง จ ร ก็จะทาใหแนวโนมสถานการณปญหาทวีความรุนแรงมากข้ึนซ่ึงตามตัวชี้วัดของการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ในประ เด็ นหลั ก ท่ี ๑ การดํ า เนิ น งาน เ พ่ื อ ส น อ ง น โ ย บ า ย แ ล ะ ป ญ ห า เ ร ง ด ว น ใ น หั ว ข อ ท่ี ๑ . ๒ ม า ต ร ก า ร ก า ร ส ร า ง สุ ข ภ า พ เ พ่ื อ ล ด ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก โ ร ค ไ ม ติ ด ต อ เ รื้ อ รั ง ๕ โ ร ค ดั ง ก ล า ว ไ ด กํ า ห น ด ตั ว ชี้ วั ด คื อ ร อ ย ล ะ ข อ ง โ ร ง พ ย า บ า ล ส ง เ ส ริ ม สุ ข ภ า พ ตํ า บ ล ( ร พ . ส ต . ) ขนาดใหญผานเกณฑตําบลจัดการสุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ตามมาตรฐานท่ีกําหนด (รอยละ ๑๐ ของ รพ.สต. ขนาดใหญ ผานเกณฑ ระดับดีมากข้ึนไป) ซ่ึงในพ้ืนท่ีจังหวัดปตตานี มีโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลขนาดใหญ จํานวน ๙ แหง และศูนยสุขภาพชุมชนเมือง (ศสม.) จํานวน ๒ แหง

ก า ร พั ฒ น า ตํ า บ ล จั ด ก า ร สุ ข ภ า พ ดี วิ ถี ชี วิ ต ไ ท ย จึ งถือเปนยุทธศาสตร สํ า คัญในการปฏิรูประบบสุขภาพเนื่ องจากการใหความสําคัญกับชุมชนทองถ่ิน เปนเจาของสุขภาวะชุมชนโดยประชาชนชุมชนเครือขายท้ังภาครัฐและทองถ่ินเขามามีสวนรวมอยางเขมแข็งในการดําเนิน ง า น พั ฒ น า และขับเคลื่อนพลังชุมชนรวมกันอยางตอเนื่องเกิดเปนระบบสุขภาพชุมชนท่ีครอบคลุมถึงสุขภาวะและความม่ันคงในชีวิตไดอยางยั่งยืน จังหวัดปตตานีจึงไดดําเนินการ ในเรื่องการสรางกระบวนการมีสวนรวมใหเกิดข้ึนในพ้ืนท่ีเปาหมายดังกลาว เพ่ือใหครอบคลุมทุกอําเภอจึงปฏิบัติงานรวมกับกลุมเปาหมายพ้ืนท่ีท่ีไมไดเปนพ้ืนท่ี รพ.สต. ขนาดใหญดวย โดยรวมครอบคลุมท้ังจังหวัด จํานวน ๑๗ แหง (เกณฑตัวชี้วัดท่ีตางกัน) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ ๑) สงเสริม ใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูกระบวนการทํางานชุมชนโดยใชชุมชนเปนฐานใหเกิดการทํางานแบบเครือขาย ๒) เ ส ริ ม ส ร า ง ร ะ บ บ สุ ข ภ า พ ใหมีคุณภาพและมาตรฐานท่ีกําหนดเปนตัวชี้วัดเชิงคุณภาพเพ่ือใหประชาชนมีสุขภาพดีโดยมีตําบลจัดการสุขภาพท่ีเขมแข็งต า ม เ ก ณ ฑ ท่ี กํ า ห น ด ๓ ) รพ.สต.ขนาดใหญผานเกณฑการประเมินตําบลจัดการสุขภาพดีวิ ถีชีวิตไทยตามเกณฑมาตรฐานท่ีกําหนด (ระดับดีมากข้ึนไป)

การพัฒนาเครือขายโรคเรื้อรังระดับอําเภอและจังหวัด ตามยุทธศาสตรสุขภาพภาพดีวิถีไทย

Page 77: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๖๖-

การเฝาระวังและคัดกรองโรคซึมเศรา และเส่ียงตอการฆาตัวตาย

ผลการดําเนินงานในป ๒๕๕๕(ขอมูลตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕) พบวามีประชาชนไดรับการคัดกรองโรคซึมเศราดวย ๒Q ท้ังหมด จํานวน ๒๐,๐๕๐ คน พบมีภาวะเสี่ยง จํานวน ๒,๒๔๙ คน คิดเปนรอยละ ๑๑.๒๑ เม่ือประเมินตอดวย ๙Q พบวามีภาวะเสี่ยง จํานวน ๗๒๙ คน คิดเปน รอยละ ๓ ๒ .๓ ๖ แ ล ะ เ ม่ื อ ป ร ะ เ มิ น ด ว ย ๙ Q พ บ มี ภ า ว ะ เ สี่ ย ง จํ า น ว น ๖ ๙ ค น คิ ด เ ป น ร อ ย ล ะ ๙ .๓ ๔ และมีผูปวยโรคซึมเศราท่ีเขาถึงบริการ จํานวน ๕๗๑ คน

การเยียวยาจิตใจผูไดรับผลกระทบจากสถานการณความไมสงบ

ป ๒๕๕๕ (ขอมูลตั้งแต ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๕) มีเปาหมายผูไดรับผลกระทบท้ังสิ้น จํานวน ๓ ๑ ๒ ร า ย ใ น จํ า น ว น นี้ บ า ด เ จ็ บ ๑ ๙ ๐ ร า ย เ สี ย ชี วิ ต ๑ ๒ ๒ ร า ย สามารถเขาถึงบริการและไดรับการเยียวยาฟนฟูจิตใจ จํานวน ๓๐๓ ราย คิดเปนรอยละ ๙๗.๑๑มีผูท่ีมีภาวะเสี่ยง PTSD จํานวน ๒๙ราย และเม่ือประเมินดวย PISCES-๑๙ พบวามีภาวะเสี่ยง ๓๗รายซ่ึงในการดําเนินงานท่ีผานมา ไมพบผูพยายามฆาตัวตายหรือฆาตัวตายสําเร็จในกลุมของผูไดรับผลกระทบจากสถานการณความไมสงบ อ า จ เ ป น เ พ ร า ะ ใ น พ้ื น ท่ี มี ก า ร ทํ า ง า น แ บ บ เ ป น ที ม ส ห วิ ช า ชี พ เ จ า ห น า ท่ี มี ค ว า ม รู ทั ก ษ ะ และประสบการณ ในการเยี ยวยาจิตใจ ตลอดจนมี เครื อข ายสุ ขภาพจิต ซ่ึ งได แก อสม. แกนนํ าชุมชน ทํ า ให ส ามารถ เข า ถึ งข อ มู ล ได ร วด เร็ ว และช วย อํ านวยความสะดวกในการประสานงานใน พ้ื น ท่ี ทําใหเกิดการดูแลซ่ึงกันและกันภายในชุมชน

๖.๒

การออกเอกสารสิทธิ มีพ้ืนท่ีออกเอกสารสิทธิแลว จํานวน ๔๗๙,๑๐๓ แปลง เนื้อท่ี ๗๖๙,๕๙๙ ไร และสามารถเปรียบเทียบเอกสารสิทธิแตละประเภทตอพ้ืนท่ีออกเอกสารสิทธิท้ังหมด ดังนี้

๑. เอกสารสิทธิประเภท โฉนดท่ีดิน ๓๖๕,๙๑๖ แปลง เนื้อท่ี ๕๐๑,๐๓๖ ไร คิดเปนรอยละ ๖๕.๑๐ ๒. เอกสารสิทธิ น.ส.๓ ก ๙๔,๖๙๕ แปลง เนื้อท่ี ๑๗๔,๓๒๑ ไร คิดเปนรอยละ ๒๒.๖๕

การใชและถือครองท่ีดิน

การเยียวยาจิตใจผูไดรับผลกระทบจากสถานการณความไมสงบ จังหวัดปตตานี

Page 78: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๓. เอกสารสิทธิ น.ส.๓ ๑๖,๖๓๑ แปลง เนื้อที ๗๑,๔๖๖ ไร คิดเปนรอยละ ๙.๒๙ ๔. เอกสารสิทธิประเภทใบจอง ๙๐๑ แปลง เนื้อท่ี ๓,๙๗๐ ไร คิดเปนรอยละ ๐.๕๑ ๕. หนังสือสําคัญสําหรับท่ีหลวง (นสล.)

๑,๑๖๐ แปลง เนื้อท่ี ๑๙,๙๐๖ ไร คิดเปนรอยละ ๒.๔๔

-๖๗-

แผนภูมิแสดงประเภทเอกสารสิทธิ

พ้ืนท่ีออกเอกสารสิทธิท้ังหมด ๗๖๙,๕๙๙ ไร

ท่ีมา : สํานักงานท่ีดินจังหวัดปตตานี ขอมูล ณ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕

๖.๓ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดปตตานี จังหวัดปตตานี แบงเขตเลือกตั้ง เปน ๔ เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เขตเลือกตั้งละ ๑ คน รวม ๔ คน การเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เม่ือวันท่ี ๓ กรกฎาคม ๒๕๕๔ ผูมีสทิธิเลือกตั้ง ๔๒๒,๑๑๔ คน มาใชสิทธิเลือกตั้ง ๓๒๔,๓๗๒ คน คิดเปนรอยละ ๗๖.๙๔ บัตรเสีย ๒๙,๙๖๙ บัตร คิดเปนรอยละ ๙.๒๑ บัตรไมประสงคลงคะแนน ๑๑,๐๗๑ คิดเปนรอยละ ๓.๔๑

สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดปตตานีประกอบดวย

เขตเลือกตั้งท่ี ๑ นายอันวาร สาและ พรรคประชาธิปตย

โฉนดรอยละ 65.10

น.ส.3 ก รอยละ 22.65

น.ส.3 รอยละ 9.28

ใบจอง รอยละ 0.51

นสล. รอยละ 2.44

การเลือกตั้ง

Page 79: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

เขตเลือกตั้งท่ี ๒ นายอิสมาแอลเบญอิบรอฮีม พรรคประชาธิปตย เขตเลือกตั้งท่ี ๓ นายอนุมัติ ซูสารอ พรรคมาตุภูมิ

เขตเลือกตั้งท่ี ๔ นายสมมุติ เบ็ญจลักษณ พรรคภูมิใจไทย

การเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปตตานี จังหวัดปตตานี มีสมาชิกวุฒิสภา จํานวน ๒ คน เปนสมาชิกวุฒิสภาท่ีมาจากเลือกตั้ง เม่ือวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๕๑ จํานวน ๑ คน และสมาชิกวุฒิสภาจากการสรรหา จํานวน ๑ คน

สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปตตานีจากการเลือกตั้งเม่ือวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๕๑ นายวรวิทย บารู อายุ ๖๒ ป การศึกษาปริญญาเอกอาชีพนักวิชาการ

สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดปตตานีจากการสรรหาเม่ือป ๒๕๕๔ นายอนุศาสน สุวรรณมงคลอายุ ๕๓ ป การศึกษา ปริญญาโท อาชีพ นักธุรกิจ

Page 80: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

แผนที่การแบงเขตเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดปตตานี ป ๒๕๕๕ -๖๘-

Page 81: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๖๙-

รูปแบบการแบงเขตเลือกตั้งจังหวัดปตตานี

เขตเลือกตัง้ที่ ๑ ประชากร (คน)

เขตเลือกตัง้ที่ ๒ ประชากร (คน)

เขตเลือกตัง้ที่ ๓ ประชากร (คน)

เขตเลือกตัง้ที่ ๔ ประชากร (คน)

อําเภอเมืองปตตานี ๑๒๓,๕๑๗ อําเภอหนองจิก ๗๐,๙๔๒ อําเภอสายบุรี ๖๔,๙๕๘ อําเภอยะรัง ๘๕,๖๔๑ อําเภอยะหริ่ง ๑๐ ตาํบล ๕๕,๑๓๑ อําเภอโคกโพธิ ์ ๖๕,๐๖๕ อําเภอปะนาเระ ๔๓,๙๑๓ อําเภอมายอ ๕๕,๐๑๕ - ตําบลบางป ู- ตําบลยาม ู- ตําบลตะโละกาโปร - ตําบลแหลมโพธิ ์- ตําบลราตาปนยัง - ตําบลตาแกะ - ตําบลตะโละ - ตําบลปยามุมัง - ตําบลตาลีอายร - ตําบลปุลากง

อําเภอแมลาน ๑๕,๔๙๐ อําเภอไมแกน ๑๑,๖๗๑ อําเภอทุงยางแดง ๒๑,๔๗๘ อําเภอกะพอ ๑๖,๕๘๙ อําเภอยะหร่ิง ๘ ตําบล - ตําบลหนองแรต - ตําบลจะรัง - ตําบลสาบัน - ตําบลตอหลัง - ตําบลตันหยงจึงงา - ตําบลบาโลย - ตําบลตันหยงดาลอ - ตําบลมะนังยง

๒๕,๘๔๙

๑๗๘,๖๔๘ ๑๕๑,๔๙๗ ๑๖๒,๙๘๐ ๑๖๒,๑๓๔

-๗๙-

คาเฉลี่ยประชากรท้ังจังหวัด ๔ เขต ๆ ละ ๑๖๓,๘๑๕ คน เขตเลือกตั้งท่ี ๑ ตางจากคาเฉลีย่ ๑๔,๘๓๓ คน คิดเปนรอยละ ๙.๐๕ เขตเลือกตั้งท่ี ๒ ตางจากคาเฉลีย่ - ๑๒,๓๑๘ คน คิดเปนรอยละ - ๗.๕๒ เขตเลือกตั้งท่ี ๓ ตางจากคาเฉลีย่ - ๘๓๕ คน คิดเปนรอยละ - ๐.๕๑ เขตเลือกตั้งท่ี ๔ ตางจากคาเฉลีย่ - ๑,๖๘๑ คน คิดเปนรอยละ - ๑.๐๓

Page 82: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๐-

สรุปผลการใชสิทธิเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร จังหวัดปตตานี

เลือกตั้งวันท่ี ๓ กรกฏาคม ๒๕๕๔

รายการ

รวม จังหวัดปตตานี

เขตเลือกต้ัง ท่ี๑

เขตเลือกต้ัง ท่ี๒

เขตเลือกต้ัง ท่ี๓

เขตเลือกต้ัง ท่ี๔

๑.๑จํานวนผูมสีิทธิเลือกตั้ง ๔๒๒,๑๑๔ ๑๑๓,๙๙๐ ๙๙,๙๔๔ ๑๐๖,๓๙๐ ๑๐๑,๙๐๐

๑.๒จํานวนผูมาใชสิทธิ ๓๒๔,๓๗๒ ๙๖,๐๑๙ ๗๖,๕๑๐ ๙๕,๙๑๔ ๗๕,๙๒๙

๒.๑จํานวนบัตรเลือกตั้งท่ีไดรับจัดสรร (ฉบับ) ๔๓๕,๒๙๙ ๑๑๙,๗๕๔ ๑๐๒,๒๔๔ ๑๑๐,๙๒๕ ๑๐๓,๔๖๖

๒.๒จํานวนบัตรเลือกตั้งท่ีใช (บัตร) ๓๒๔,๓๗๒ ๙๖,๐๑๙ ๗๖,๕๑๐ ๙๕,๙๑๔ ๗๕,๙๒๙

๒.๒.๑บัตรดี (ฉบับ) ๒๙๓,๔๓๒ ๗๕,๗๙๐ ๖๕,๔๗๓ ๗๖,๓๓๑ ๖๕,๙๓๙

๒.๒.๒บัตรเสีย (ฉบับ) ๒๙,๙๖๙ ๖,๖๓๖ ๗,๗๔๙ ๗,๕๔๙ ๗,๙๓๖

๒.๒.๓บัตรท่ีไมประสงคลงคะแนน (ฉบับ) ๑๑,๐๗๑ ๓,๕๙๓ ๓,๒๙๙ ๒.๐๓๕ ๒.๑๕๕

๒.๓จํานวนบัตรเลือกตั้งท่ีเหลือ (ฉบับ) ๑๑๐,๙๑๗ ๓๒,๗๓๕ ๒๕,๗๓๔ ๒๔,๙๑๑ ๒๗,๕๓๗

รอยละจํานวนผูมาใชสิทธิเลือกตั้ง ๗๖.๙๔ ๗๕.๔๖ ๗๖.๕๕ ๙๐.๗๖ ๗๔.๕๙

รอยละจํานวนบัตรเสยี ๙.๒๑ ๗.๗๑ ๑๐.๑๓ ๙.๗๙ ๑๐.๔๕

รอยละจํานวนบัตรไมประสงคลงคะแนน ๓.๔๑ ๔.๑๙ ๔.๓๐ ๒.๓๗ ๒.๙๔

Page 83: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๑-

๖.๔ สรุปผลการดําเนินงานกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองจังหวัดปตตานี ขอมูลท่ัวไปเกี่ยวกับกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง จังหวัดปตตานี มีจํานวนกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง รวม ๖๖๗ กองทุน (๑๒ อําเภอ) แยก เป นกอง ทุนห มู บ าน จํ านวน ๖๔๑ กอง ทุน กอง ทุนชุ มช น เ มื อ ง จํ า นวน ๒๖ กอง ทุน มีเงินทุนจัดสรรจากรัฐบาลจํานวน ๖๖๗,๐๐๐,๐๐๐.๐๐ บาท ไดรับเงินเพ่ิมทุน ระยะท่ี ๑ (AAA)จํานวน ๙ ,๔ ๐ ๐ ,๐ ๐ ๐ .๐ ๐ บ า ท ไ ด รั บ เ งิ น เ พ่ิ ม ทุ น ร ะ ย ะ ท่ี ๒ จํ า น ว น ๙ ๑ , ๒ ๐ ๐ , ๐ ๐ ๐ . ๐ ๐ บ า ท กูเงินจากสถาบันการเงินอ่ืน จํานวน ๙,๐๐๐,๐๐๐.๐๐บาท มีเงินออมจากการสะสมของสมาชิกกองทุน จํานวน ๒๙,๕๒๙,๙๖๕.๔๕ บาท รวมมีเงินทุนท่ีรัฐบาลจัดสรรและเงินออม จํานวน ๙๐๔,๑๒๙,๙๖๕.๔๕ บาท การดําเนินงานการจดทะเบียนนิติบุคคลกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง

จังหวัดปตตานี มีจํานวนกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง ท้ังสิ้น ๖๖๗ กองทุน ไดผานการ จดทะเบียนนิติบุคคลกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองจํานวน ๔๖๓กองทุน คิดเปนรอยละ ๖๙.๔๑อีก๒๐๔กองทุน ท่ี ต อ ง มี ก า ร พั ฒ น า ส ร า ง ค ว า ม รู ค ว า ม เ ข า ใ จ เ พ่ิ ม เ ติ ม แ ล ะ ต อ ง ติ ด ต า ม อ ย า ง ใ ก ล ชิ ด เพ่ือใหจดทะเบียนเปนนิติบุคคลตอไป

จังหวัดปตตานี มีสถาบันการเรียนรูกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองจํานวน ๑ แหง คือ กองทุนหมูบานบานคลองต่ํา หมูท่ี ๔ ตําบลปะนาเระ อําเภอปะนาเระ จังหวัดปตตานี

ปญหาและอุปสรรคการดําเนินงานกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง ๑ . ปญหาความไมสงบในจังหวัดชายแดนภาคใตมีผลทําใหการปฏิบัติงานของคณะกรรมการกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง รวมถึงเจาหนาท่ีภาครัฐท่ีมีสวนเก่ียวของ ขาดขวัญและกําลังใจ ทําใหไมสามารถปฏิบัติงานไดเต็มท่ี ๒. ปญหาการยายท่ีอยูของคณะกรรมการและสมาชิกกองทุนฯไมอยูในพ้ืนท่ีทําใหการประสานงาน และเก็บขอมูลไมสามารถทําไดตามแผนท่ีวางไว ๓. ปญหาหนี้คางชําระของคณะกรรมการและสมาชิกกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองบางคน ทํ า ใ ห ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ไ ม เ ป น ป จ จุ บั น และเม่ือขาดการบริหารงานนานเขาทําใหกองทุนไมมีความเคลื่อนไหวในการดําเนินงาน ๔ . ปญหาด าน เอกสารการดํ า เ นิ น ง านกอง ทุนฯ สูญหาย ถูก ไฟ ไหม และน้ํ า ท ว ม ทําใหการบริหารงานไมตอเนื่องยากแกการตรวจสอบใหถูกตอง

๕. ปญหาการบริหารงานของคณะกรรมการ เนื่องจากกองทุนหมูบานและชุมชนเมืองบางสวน มีคณะกรรมการ แตการปฏิบัติงานจริง ๆ มีเพียงไมก่ีคน ทําใหเกิดปญหาในการขับเคลื่อนการดําเนินงานทุกดาน

๖ . ป ญ ห า ค ว า ม ไ ม โ ป ร ง ใ ส ใ น ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เม่ือมีการเปลี่ยนคณะกรรมการไมมีการสงมอบเอกสารและงานของชุดเกา ทําใหยากตอการบริหารงานในชุดใหม

การพัฒนาชุมชน

Page 84: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๒-

๖.๕

ในป ๒๕๕๕จังหวัดปตตานี สงเสริมผลิตภัณฑชุมชน (OTOP) จํานวน ๙๖๑ ผลิตภัณฑ จากผูประกอบการ ๔๙๐ กลุม โดยในคราวคัดสรรผลิตภัณฑ OTOP ครั้งลาสุด ป ๒๕๕๓ มีผลิตภัณฑเขาคัดสรร จํานวน ๗๑ ผลิตภัณฑ ไดรับการจัดระดับดีเดน ๕ ดาว จํานวน ๑๖ ผลิตภัณฑ, ระดับ ๔ ดาว จํานวน ๒๔ ผลิตภัณฑระดับ ๓ ดาว จํานวน ๑๗ ผลิตภัณฑ และระดับ ๒ ดาว จํานวน ๒๔ ผลิตภัณฑ ในป ๒๕๕๕ มีกิจกรรมดําเนินการ ดังนี้ ๑) พัฒนาผลิตภัณฑ OTOP จํานวน ๗๒ ผลิตภัณฑ ๒) เพ่ิมประสิทธิภาดานการผลิต แกผูผลิตผูประกอบการ OTOP จํานวน ๑ รุน ๓) สงเสริมชองทางการตลาด “OTOP Mobile to The Factory and Festival” จํานวน๑ ครั้ง สามารถสรางรายได เปนเงิน ๑๐๙,๐๐๐ บาท สําหรับยอดรายไดการจําหนายสินคา OTOP ของจังหวัดปตตานี ยอนหลัง ๓ ป ดังนี้

ปงบประมาณ ยอดรายได(บาท) รอยละท่ีเพ่ิมข้ึน/ลดลง หมายเหตุ ๒๕๕๓ ๙๑๗,๔๗๗,๓๙๒ - ๒๕๕๔ ๙๑๙,๖๐๖,๔๗๓ + ๐.๑๒ ๒๕๕๕ ๑,๐๐๕,๓๙๕,๖๑๒ + ๙.๔๕

หมายเหตุ : จากขอมูลตามคํารับรองการปฏิบัติราชการ ป ๒๕๕๓ - ๒๕๕๕ ๔) สนับสนุนการดําเนินงานศูนยบริการสงเสริมเศรษฐกิจฐานราก จํานวน ๑๒ ศูนยบริการ ในพ้ืนท่ี ๑๒ อําเภอ จังหวัดปตตานีมีการดําเนินงานดานการพัฒนาทุนชุมชน ดังนี้ ๑. กลุมออมทรัพยเพ่ือการผลิต จํานวน ๑๓๑ กลุม มีสมาชิก ๒๐,๙๙๓ คน มีเงินสัจจะสะสม ๓๒๐,๙๖๗,๔๓๐ บาท ระดับการพัฒนากลุม ระดับ ๑ จํานวน ๓๙ กลุม, ระดับ ๒ จํานวน ๔๔ กลุม และระดับ ๓ จํ า น ว น ๔ ๙ ก ลุ ม ( ข อ มู ล ณ วั น ท่ี ๓ ๐ กั น ย า ย น ๒ ๕ ๕ ๔ ) มี ก ลุ ม อ อ ม ท รั พ ย ฯ จัดตั้งเปนสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน จํานวน ๖ แหง ๒. มีสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ท่ีดําเนินการโดยกรมการพัฒนาชุมชน จํานวน ๔ แหง ๓. กองทุนหมูบานและชุมชนเมือง จํานวน ๖๖๗ กองทุน จดทะเบียนนิติบุคคลแลว ๔๖๓ กองทุน ได รั บกา ร เ พ่ิม ทุนระยะ ท่ี ๒ แล ว ๔๐๗กอง ทุน อยู ร ะหว า งกระบวนการขอ เ พ่ิ ม ทุน ๕๖ กอง ทุน และจัดตั้งศูนยเรียนรูกองทุนหมูบาน ๑ แหง คือ ศูนยเรียนรูกองทุนหมูบานคลองต่ํา หมูท่ี๔ ตําบลปะนาเระ อําเภอปะนาเระ จังหวัดปตตานี ๔. กองทุนโครงการแกไขปญหาความยากจน (กข.คจ.) จํานวน ๒๗๖ หมูบาน/กองทุน (เงินทุนกองทุนละ ๒๙๐,๐๐๐ บาท)สนับสนุนเงินยืมแกครัวเรือนยากจนเปาหมาย จํานวน ๑๔,๒๕๓ ครัวเรือน

ผลิตภัณฑชุมชนและทองถิ่น (OTOP)

Page 85: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๓-

๖.๖

การจั ดการ ศึกษาของจั งหวั ดป ตตานี ตามพระราชบัญญัติ ก าร ศึกษาแห งชาติพ .ศ .๒๕๔๒ แ ล ะ ต า ม โ ค ร ง ส ร า ง ใ ห ม ข อ ง ก า ร ป ฏิ รู ป ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร พ . ศ . ๒ ๕ ๔ ๒ และตามโครงสรางใหมของการปฏิรูปกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ มีการจัดการศึกษาแบงออกเปน ๓ รู ป แ บ บ คื อ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า น อ ก ร ะ บ บ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ต า ม อั ธ ย า ศั ย มีหนวยงานรับผิดชอบการดําเนินงานดานการศึกษา ดังนี้สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปตตานี เขต ๑ ,๒ ,๓ สั ง กั ด สํ า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ้ื น ฐ า น ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร รับผิดชอบการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานระดับการศึกษากอนประถม ถึงมัธยมศึกษาตอนตน (โรงเรียนขยายโอกาส) นอกจากนี้ มี หน วยงานต า งสั ง กัด ท่ีตั้ งอยู ใน เขต พ้ืน ท่ีการ ศึกษาประถม ศึกษาป ตตานี เ ขต ๑ ,๒ ,๓ รวมจัดการศึกษาดังนี้

๑. สังกัด สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาปตตานี เขต ๑,๒,๓

๓๒๐โรงเรียน ครู ๔,๓๗๓ คน นักเรียน ๗๑,๗๙๙ คน

๒. สังกัด สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๑๕

๑๗ โรงเรียน คร ู๓๒๘ คน นักเรียน ๖,๖๔๓ คน

๓. สังกัดสํานักงานการศึกษาเอกชน - โรงเรียนเอกชนสอนสามัญ ๓๗ โรงเรียน ครู ๘๐๕คน นักเรียน ๒๐,๘๙๘ คน - โรงเรียนเอกชนสามัญควบคูศาสนา ๖๖ โรงเรียน ครู ๓,๗๒๔ คน นักเรียน ๕๒,๙๗๓ คน - โรงเรียนสอนศาสนาอยางเดียว ๒๙ โรงเรียน ครู ๑๓๙ คน นักเรียน ๒,๔๖๙ คน -โรงเรียนเอกชนประเภทอาชีวศึกษา ๑ โรงเรียน ครู ๑๓ คน นักเรียน ๙๒ คน - สถาบันปอเนาะ ๒๑๙ แหง ครู ๖๗๘ คน นักเรียน ๑๙,๙๕๕คน - ศูนยการศึกษาอิสลาม ประจํามัสยิด(ตาดีกา)

๖๔๑ แหง ครู ๓,๘๑๐คน นักเรียน ๖๔,๐๗๔ คน

๔. สังกัดกรมอาชีวศึกษา ๕โรง ครู ๑๗๔ คน นักเรียน ๓,๓๙๔ คน ๕. สังกัดอุดมศึกษา ๒ แหง ครู ๒๙๙ คน นักเรียน๓,๙๐๙ คน ๖. สังกัดสํานักบริหารงาน การศึกษาพิเศษ

๒ โรง ครู ๖๐ คน นักเรียน ๕๙๒ คน

๗. สังกัดสํานักงาน พระพุทธศาสนาแหงชาติ

๑ โรง ครู ๑๔ คน นักธรรม ๒๐ คน

๙. สังกัดเทศบาล ๕ โรง ครู ๑๗๗ คน นักเรียน๓,๗๒๗ คน

การศึกษา

Page 86: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป
Page 87: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

สภาพการจัดการศึกษา (เปรียบเทียบขอมูลยอนหลัง๓ป) สังกัด สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา ปตตานี เขต ๑,๒,๓

ปการศึกษา๒๕๕๕ (ขอมูล ๑๐มิ.ย. ๕๕) ปการศึกษา๒๕๕๔ (ขอมูล ๑๐มิ.ย. ๕๔) ปการศึกษา๒๕๕๓ (ขอมูล ๑๐มิ.ย. ๕๓)

เขตพ้ืนที่การศึกษา สังกัด / ระดบั สถานศึกษา จํานวน (คน) อัตราสวน สถานศึกษา จํานวน (คน) อัตราสวน สถานศึกษา จํานวน (คน) อัตราสวน

(แหง) นักเรียน ครู นักเรียน/ครู (แหง) นักเรียน ครู นักเรียน/ครู (แหง) นักเรียน ครู นักเรียน/ครู

กระทรวงศึกษาธิการ สพป.ปน. (กศ.ขั้นพื้นฐาน) ๓๒๐ ๗๑,๗๙๙ ๔,๒๗๓ ๑๗:๐๑ ๓๒๐ ๗๔,๓๘๖ ๔,๘๒๕ ๑๕:๐๑ ๓๒๑ ๘๐,๓๒๔ ๔,๙๐๓ ๑๖:๐๑

สกอ. (อ.๑ - ม.๖) ๑๖ ๘,๓๙๗ ๓๓๓ ๒๕:๐๑ ๑๐ ๕,๙๕๓ ๔๕๖ ๑๔:๐๑ ๗ ๔,๗๓๙ ๓๐๒ ๑๖:๐๑

สกอ. (ป.ตรี - ป.เอก) ๒ ๓,๘๐๘ ๒๘๙ ๑๓:๐๑ ๒ ๑๐,๕๖๓ ๒๙๐ ๓๖:๐๑ ๒ ๑๐,๒๕๙ ๒๖๖ ๓๙:๐๑

สกอ. (อนุปริญญา) - - - - - - - - - - - -

สกอ. (ปริญญาตรี) - - - - - - - - - - - -

สอศ. (ปวช. - ปวส.) ๕ ๓,๓๙๔ ๑๗๔ ๒๐:๐๑ ๕ ๓,๙๖๑ ๒๔๑ ๑๖:๐๑ ๕ ๓,๘๙๗ ๒๕๓ ๑๕:๐๑

เอกชน (กศ.ขั้นพื้นฐาน) ๔๔ ๓๓,๗๒๖ ๑,๕๐๗ ๒๒:๐๑ ๔๐ ๓๐,๒๕๑ ๑,๓๐๐ ๒๓:๐๑ ๓๗ ๒๗,๘๖๕ ๑,๗๗๐ ๑๖:๐๑

เอกชนสอนศาสนาอยางเดียว ๑๒ ๘๖๘ ๔๖ ๑๙:๐๑ ๑๒ ๘๘๔ ๓๓ ๒๗:๐๑ ๑๔ ๙๓๑ ๔๒ ๒๒:๐๑

เอกชน (ปวช. - ปวส.) ๑ ๙๕ ๑๐ ๑๐:๐๑ ๑ ๒๐๕ ๑๔ ๑๕:๐๑ ๑ ๑๙๒ ๒๒ ๙:๐๑

สถาบันศึกษาปอเนาะ ๒๑๙ ๑๙,๙๕๕ ๖๗๘ ๒๙:๐๑ ๒๐๘ ๑๘,๓๙๕ ๕๙๑ ๓๑:๐๑ ๒๐๔ ๑๗,๐๘๓ ๖๓๘ ๒๗:๐๑

ศูนยการศึกษาอิสลามประจํามัสยิด (ตาดีกา) ๖๔๐ ๖๔,๐๗๓ ๓,๗๑๐ ๑๗:๐๑ ๖๓๕ ๖๕,๓๓๓ ๒,๘๒๙ ๒๓:๐๑ ๖๓๓ ๕๗,๔๑๖ ๒,๒๒๒ ๒๖:๐๑

สํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ๒ ๕๘๒ ๖๐ ๑๐:๐๑ ๒ ๔๔๖ ๕๔ ๘:๐๑ ๒ ๕๗๗ ๖๔ ๙:๐๑

กระทรวงวัฒนธรรม สํานักพระพุทธศาสนา ๑ ๒๐ ๑๔ ๑:๐๑ ๑ ๓๘ ๗ ๕:๐๑ ๑ ๔๓ ๗ ๖:๐๑

กระทรวงมหาดไทย เทศบาล (กศ.ขั้นพื้นฐาน) ๕ ๓,๗๒๗ ๑๗๗ ๒๒:๐๑ ๕ ๓,๘๓๓ ๑๗๘ ๒๒:๐๑ ๕ ๔,๐๖๖ ๑๘๓ ๒๒:๐๑

รวม ๑,๒๖๗ ๒๑๐,๔๔๔ ๑๑,๒๗๑ ๑,๒๔๑ ๒๑๔,๒๔๘ ๑๐,๘๑๘ ๑,๒๓๒ ๒๐๗,๓๙๒ ๑๐,๖๗๒

ท่ีมา : สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปตตานี เขต ๑,๒,๓

-๗๔-

Page 88: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๕-

๗.๑

(๑) มัสยิดกลางจังหวัดปตตานี มัสยิดกลางจังหวัดปตตานี ตั้งอยูถนนยะรัง เสนทางยะรัง-ปตตานี ในเขตเทศบาลเมืองปตตานี

ส ร า ง ข้ึ น ด ว ย เ ห ตุ ท่ี รั ฐ บ า ล ไ ด ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม สํ า คั ญ ข อ ง ศ า ส น า อิ ส ล า ม ว า เ ป น ศ า ส น า ท่ี ป ร ะ ช า ช น ช า ว ป ต ต า นี ส ว น ใ ห ญ นับถืออยางเครงครัด อันจะนํามาซ่ึงสันติสุข จึงไดพิจารณาจัดสรางมัสยิดกลางใหมีขนาดใหญและสวยงามท่ีสุด ในจั งหวั ด เ พ่ือ ใช เป นสถาน ท่ีประกอบศาสน กิจของชาว ไทย มุสลิ ม อีก ท้ั ง เ พ่ื อ เป น ท่ี เ ชิ ดชู เ กี ย รติ เ ป น ศ รี ส ง า แ ก ช า ว ไ ท ย ผู นั บ ถื อ ศ า ส น า อิ ส ล า ม ท่ั ว ป ร ะ เ ท ศ โ ด ย เ ริ่ ม ก อ ส ร า ง ใ น ป พ .ศ .๒ ๔ ๙ ๗ ใ ช เ ว ล า ดํ า เ นิ น ก า ร ส ร า ง ป ร ะ ม า ณ ๙ ป ฯ พ ณ ฯ น า ย ก รั ฐ ม น ต รี จ อ ม พ ล ส ฤ ษ ดิ์ ธ น ะ รั ช ต ทําพิธีเปดใชมัสยิดกลางปตตานี เม่ือวันท่ี ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๖

มัสยิดกลางจังหวัดปตตานี มีลักษณะสวยงามยิ่ง ตั้งอยูบนฐานรูปทรงคลายกับวิหารท่ีทัชมาฮาลของอินเดีย ตรงกลางเปนอาคารมียอดโดมขนาดใหญและมีโดมบริวาร ๔ทิศ มีหอคอยอยูสองขางสูงเดน เปนสงา บริเวณดานหนามัสยิดมีสระน้ําสี่ เหลี่ยมขนาดใหญ ภายในมัสยิดมีลักษณะเปนหองโถง มีระเบียงสองขาง ด า น ใ น มี บั ล ลั ง ก ท ร ง สู ง แ ล ะ แ ค บ เ ป น ท่ี สํ า ห รั บ “ค อ ฏี บ ” ยื น อ า น คุ ฏ บ ะ ฮ หอคอยสองขางเดิมใช เปนหอกลางสําหรับตีกลองเปนสัญญาณเรียกให มุสลิมมารวมปฏิบัติศาสนกิจ แตปจจุบันใชเปนท่ีตั้งลําโพง เครื่องขยายเสียงแทนเสียงกลอง และปจจุบันไดขยายดานขางออกไปท้ัง ๒ ดาน และสรางหอบังพรอมขยายสระน้ําและท่ีอาบน้ําละหมาดทําใหดูสงางามยิ่งข้ึน

๗. แหลงทองเที่ยว

ศาสนสถาน

Page 89: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๖-

(๒) ศาลเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว

ศาลเจาแมลิ้มกอเหนี่ยวหรือศาลเลงจูเกียง เปนศาลท่ีประดิษฐานรูปแกะสลักของเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว พระหมอ เจาแมทับทิม ตั้งอยู ท่ีถนนอาเนาะรู อําเภอเมืองปตตานี ศาลเจาแหงนี้เปนท่ีเคารพสักการะของ ชาวจีนและชาวไทยโดยท่ัวไปประวัติการสรางหรือความเปนมาของศาลเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว มีการเลาสืบตอ ๆ กันมาเปนตํานานท่ีเก่ียวกับประวัติเมืองปตตานี

จากการศึกษาจากบันทึกในสมัยราชวงศเหม็ง(พ.ศ. ๒๐๖๔-๒๑๐๙) เม่ือประมาณกวา ๔๐๐ ป กลาววา ลิ้ ม ก อ เ ห นี่ ย ว แ ล ะ พ่ี ช า ย ชื่ อ ลิ้ ม โ ต ะ เ ค่ี ย ม เ ป น ช า ว เ มื อ ง ฮุ ย ไ ล แ ข ว ง เ มื อ ง แ ต จิ๋ ว เดิ มลิ้ ม โต ะ เ ค่ียมรั บราชการอยู ท่ี เ มือ งดั งกล าว เ ม่ือสิ้ นบุญบิ ดาแล วจึ งมารั บราชการ ท่ี เ มืองจั่ วจิ ว ในชวงท่ีโจรสลัดญี่ปุนกําเริบหนัก ทางเมืองหลวงไดแตงตั้งขุนพล เช็กกีกวง เปนแมทัพเรือปราบสลัดญ่ีปุน จึ ง เปนโอกาสดีของ คู อริ ท่ีจะใสความลิ้ ม โต ะ เ ค่ียม ลิ้ ม โต ะ เ ค่ียมจึ งหนี ไปยั ง เกาะกีลุ ง (เกาะไตหวัน ) และหนีต อ ไปยั ง เกาะลู วอน (ฟลิปป นส ) แต ต องปะทะ กับกอง เ รื อของส เปน ท่ียึ ดครองอยู ห ลั ง จ า ก นั้ น ลิ้ ม โ ต ะ เ ค่ี ย ม จึ ง เ ดิ น ท า ง ม า ยั ง ป ต ต า นี ไ ด ทํ า ง า น เ ป น น า ย ด า น เ ก็ บ ภ า ษี ตอมาไดสรางทาเรือพาณิชยแหงหนึ่งชื่อ “โตะเคี่ยม”

ภายหลัง ลิ้มโตะเค่ียมไดเขารับนับถือศาสนาอิสลาม มีภรรยาเปนเชื้อพระวงศของเจาเมืองปตตานี เปน ท่ี โปรดปรานของเจ า เ มืองปตตานี จนได รับบรรดาศักดิ์ เปนหัวหนาด านเก็บสวยสาอากรต าง ๆ ท า ง เ มื อ ง จี น ม า ร ด า แ ล ะ น อ ง ส า ว สื บ เ ส า ะ ข า ว ก็ ไ ม ท ร า บ ลิ้ ม กอ เหนี่ ย วน อ งส าวจึ ง ขออนุญาตมารดาออกติ ดตาม พ่ีช ายและนํ า กอง เ รื อมา ถึ ง เ มื อ งป ตตานี ไ ด พ บ พ่ี ช า ย แ ล ะ ข อ ร อ ง ใ ห พ่ี ช า ย เ ดิ น ท า ง ก ลั บ เ มื อ ง จี น พ่ีชายไดรับปากกับเจาเมืองปตตานีไววาจะสรางมัสยิดประจําเมืองใหแลวเสร็จ ลิ้มกอเหนี่ยวไมละความพยายาม จึ ง ข อ พั ก อ ยู ท่ี เ มื อ ง ป ต ต า นี ต อ ไ ป เ พ่ื อ ห า โ อ ก า ส อั น ค ว ร ชั ก ช ว น ใ ห พ่ี ช า ย ก ลั บ ต อ ม า เ มื อ ง ป ต ต า นี เ กิ ด ก า ร ก บ ฏ แ ย ง ชิ ง กั น เ ป น ใ ห ญ ภ า ย ห ลั ง เ จ า เ มื อ ง ถึ ง แ ก อ นิ จ ก ร ร ม ลิ้มโตะเค่ียมจึงเขารวมตอสู กับกบฏ ลิ้มกอเหนี่ยวเขาชวยพ่ีชาย แตพิจารณาเห็นวาสูขาศึกไมไดจึงฆาตัวตาย ไมยอมตายดวยอาวุธของศัตรู จากการกระทําอยางอาจหาญและเด็ดเดี่ยวเยี่ยงชายชาตรีของลิ้มกอเหนี่ยว ไดกอใหชาวจีนในปตตานีมีความศรัทธาในตัวลิ้มกอเหนี่ยวจึงแกะสลักรูปลิ้มกอเหนี่ยวประดิษฐานไวท่ีศาลเจาใกลมัสยิดกรือเซะ ท่ีลิ้มโตะเค่ียมสรางไวไมสําเร็จ

ต อมาภายหลั งปรากฏว า มี คว าม ศักดิ์ สิ ทธิ์ จน เป น ท่ี เ ลื่ อ งลื อ ท่ั ว ไป อีกตํ านานหนึ่ ง กล า ว ว า เ ม่ื อ ลิ้ ม ก อ เ ห นี่ ย ว ไ ด ฟ ง คํ า ป ฏิ เ ส ธ ข อ ง พ่ี ช า ย ท่ี ไ ม ย อ ม เ ดิ น ท า ง ก ลั บ เ มื อ ง จี น จึ ง อ ธิ ษ ฐ า น ข อ ใ ห ก า ร ก อ ส ร า ง มั ส ยิ ด ก รื อ เ ซ ะ ไ ม สํ า เ ร็ จ แ ล ะ ผูกคอตายท่ีตนมะมวงหิมพานตใกลมัสยิดกรือเซะตามคําสัญญาท่ีใหไวกับมารดากอนจะออกเดินทางมาตามหาพ่ีชาย

Page 90: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๗-

(๓) วัดชางให หรือวัดราษฎรบูรณะ วั ด ช า ง ใ ห ห รื อ วั ด ร า ษ ฎ ร บู ร ณ ะ

เปนท่ีรูจักกันดีของชาวพุทธท้ังในและตางประเทศตั้งอยูริมทางรถไฟสายหาดใหญ-สุไหงโก-ลก หรือทางรถยนต ส ายป ตตานี–หนองจิ ก -นา เกตุ -นาประดู -ยะลา ห า ง จ ากตลาดนาประดู ป ระมาณ ๔ กิ โ ล เ มตร และหางจากตัวเมืองปตตานี ๓๐ กิโลเมตรวัดชางให ตั้งอยูหมูท่ี ๒ ตําบลควนโนรี อําเภอโคกโพธิ์ เปนวัดเกาแก สรางข้ึนมากวา ๓๐๐ ปแลว ไมทราบชัดวาใครเปนผูสราง แตจากตํานานความเชื่อกลาววา พระยาแกมดํา เจาเมืองไทรบุรี ตองการหาชัยภูมิสําหรับสรางเมืองใหมใหกับนองสาว จึงไดเสี่ยงอธิษฐานปลอยชางออก เดินปาโดยมีเจาเมืองไพรพลและบริวารออกเดินติดตาม เวลาลวงเลยไปหลายวันจนกระท่ังวันหนึ่งชางเสี่ยงทาย ได หยุ ดอยู ท่ี ป า พร อม ท้ั ง เดิ นวน เวี ยนแล ว ร อ ง ข้ึน ๓ ครั้ ง พระยาแก มดํ า ถือ เป นนิ มิตหมาย อันดี จึ ง จ ะ ใ ช บ ริ เ ว ณดั ง กล า ว ส ร า ง เ มื อ ง แต น อ ง ส า ว ไม ช อ บ จึ ง ใ ห ช า ง ออ ก เ ดิ น ท า งห า ทํ า เ ล ใ ห ม พ ร ะ ย า แ ก ม ดํ า จึ ง ส ร า ง วั ด ต ร ง บ ริ เ ว ณ ดั ง ก ล า ว แ ท น แ ล ว ข น า น น า ม ว า “วัดชางให”หลังจากท่ีพระยาแกมดําไดเดินทางกลับถึงเมืองไทรบุรี ไดนิมนตพระภิกษุองคหนึ่งซ่ึงชาวบานเรียกวา “ทานลังกา”หรือ “สมเด็จพะโคะ”หรือ “หลวงพอทวดเหยียบน้ําทะเลจืด” มาเปนเจาอาวาสองคแรก ทานลังกาไดเดินทางธุดงคไปมาระหวางเมืองไทรบุรีกับวัดชางใหและไดสั่งลูกศิษยวาถาทานมรณภาพขอใหนําศพไปทําการฌาปนกิจ ณ วัดชางให เม่ือทานมรณภาพท่ีเมืองไทรบุรี

Page 91: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๗๘-

๗.๒

(๑) อุทยานแหงชาติน้ําตกทรายขาว

ธรรมชาติ

Page 92: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

อุทยานแหงชาติน้ําตกทรายขาวครอบคลุมพ้ืนท่ีปาสงวนแหงชาติปาเขาใหญ และปาสงวนแหงชาต ิ ปาเทือกเขาสันกาลาคีรีของพ้ืนท่ี ๓ จังหวัด (ปตตานี ยะลาและสงขลา) ตั้งอยู ในทองท่ีตําบลปาบอน ตํ า บ ล ท ร า ย ข า ว ตํ า บ ล น า ป ร ะ ดู อํ า เ ภ อ โ ค ก โ พ ธิ์ สภาพปาโดยท่ัวไปของอุทยานแหงชาติน้ําตกทรายขาวเปนปาดิบชื้น ประกอบดวย พรรณไม หลากหลายชนิด เปนปาตนน้ําลําธารท่ีสําคัญของจังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขลา (๒) น้ําตกโผงโผง

ตั้ งอยู บ ริ เ วณหน วย พิ ทักษ ฯ ท่ี ทข .๑ หมู ท่ี ๙ บ านโผงโผง ตํ าบลปากลอ อํ า เภอโคกโพธิ์ ลั กษณะ เป นน้ํ า ต กชั้ น เ ดี ย ว ท่ี ไ ห ลตกจ ากหน า ผ า มอ ง เ ห็ น ไ ด ใ น ร ะยะ ไกลสู ง ร า ว ๑๐๐ เ ม ต ร จากชั้นบนไหลดวยความรุนแรง แลวหักเลี้ยวมาลงอีกชั้นกอนตกลงไปยังแองน้ํ าขนาดใหญ ซ่ึงรอบ ๆ จะมีโขดหินใหนั่งพักผอน และเลนน้ําได นับเปนน้ําตกสูงและสวยงามมากแหงหนึ่ง

-๗๙-

(๓) น้ําตกอรัญวาริน

Page 93: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ตั้งอยูท่ีหมูท่ี ๔ ตําบลทุงพลา อําเภอโคกโพธิ์ ลักษณะเปนสายน้ําไหลลดหลั่นเปนเชิงชั้นประมาณ ๖ ชั้นดวยกัน ชั้นบนสุดน้ําไหลท้ิงตัวจากผาสูงราว ๓๐ เมตร คดเค้ียวตามแนวโขดหินรอบ ๆ อบอวลดวยกลิ่นไอธรรมชาติของปาดิบชื้น

(๔) หาดตะโละกาโปร

ต้ังอยูท่ี ตําบลตะโละกาโปร อําเภอยะหริ่ง ลักษณะเปนหาดทรายทอดตัวยาวขนานไปกับทิวสนรมรื่น

มีสายน้ําพาคลื่นเคลื่อนมากระทบฝง ในวันท่ีอากาศปลอดโปรงน้ําทะเลจะมีสีคราม ทรายเปนสีทองสวยงามมาก เหมาะสําหรับพักผอนหยอนใจ หากเลยไปยังหมูบานประมงจะมีเรือกอและจอดเรียงรายอยู เปนทิวแถว ซ่ึงชาวบานแถบนี้จะพาเรือออกไปทําประมงแลวนํากลับมา โดยจะลากข้ึนมาเก็บในชวงเชา (๕) หาดแฆแฆ

-๘๐-

Page 94: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ตั้งอยู ท่ี หมู ท่ี ๔ ตําบลบานน้ําบอ อําเภอปะนาเระ ลักษณะเปนชายหาดซ่ึงมีความสวยงามและ

น า เ ท่ี ย ว ท่ี สุ ด แ ห ง ห นึ่ ง ข อ ง ป ต ต า นี ช า ย ห า ด โ ค ง เ ว า มี ค ว า ม ย า ว เ ป น ร ะ ย ะ ท า ง ไ ก ล ท ร า ย มี สี ท อ ง ล ะ เ อี ย ด ติ ด กั บ น้ํ า ท ะ เ ล สี ค ร า ม ใ น วั น ฟ า ใ ส นอกจากนั้นยังมีโขดหินขนาดใหญรูปรางแปลกตาจํานวนมากท่ีเกิดข้ึนเอง จึงมีลักษณะคลาย สวนหินธรรมชาติ ไ ด รั บคว ามนิ ยมจากนั กท อ ง เ ท่ี ย วท อ ง ถ่ิ นและต า ง ถ่ิ นแว ะ เ วี ยนมา พักผ อน เ ล นน้ํ า กั น อยู เ ส มอ บริเวณชายหาดไดจัดทําเปนซุมศาลาพักรอน คําวา “แฆแฆ” เปนภาษามลายู แปลวา “อึกทึกครึกโครม”

(๖) หาดราชรักษ

ตั้ ง อ ยู ท่ี ห มู ท่ี ๔ ตํ า บ ล บ า น น้ํ า บ อ อํ า เ ภ อ ป ะ น า เ ร ะ อ ยู ติ ด กั บ ห า ด แ ฆ แ ฆ ลักษณะเปนหาดทรายกว างลอมรอบดวยโขดหินกลมมนนอยใหญ อีกท้ังยั ง มี เนินและหุบเขาเตี้ ยๆ ส า ม า ร ถ ข้ึ น ไ ป ช ม วิ ว ทิ ว ทั ศ น ไดอยางสวยงาม เหมาะสําหรับการพักผอนในชวงเชาและเย็น

-๘๑-

Page 95: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

(๗) หาดวาสุกรี

ต้ังอยูในเขตเทศบาลตําบลตะลุบัน อําเภอสายบุรี เรียกอีกชื่อหนึ่งวา “ปาตาตีมอ” ลักษณะเปน หาดทรายกวาง และขาวสะอาด มีความลาดชันนอย ทอดตัวเปนแนวยาว รมรื่นดวยทิวสน เหมาะแกการ พักผอน เลนน้ําและประกอบกิจกรรมริมชายหาดตามอัธยาศัย (๙) แหลมตาชี

ต้ั ง อ ยู ท่ี ตํ า บ ล แ ห ล ม โ พ ธิ์ อํ า เ ภ อ ย ะ ห ริ่ ง เ รี ย ก อี ก ชื่ อ ห นึ่ ง ว า “ แ ห ล ม โ พ ธิ์ ” เปนสันทรายท่ีกอตัว ข้ึนจากคลื่นลมจนกลายเปนแหลมยื่นยาวงอกออกไปในทะเล ระยะกวา ๑๙ กม. แ ล ะ จ ะ ง อ ก เ พ่ิ ม ข้ึ น ทุ ก ป ด า น น อ ก ข อ ง อ า ว เ ป น ห า ด ท ร า ย ท อ ด ตั ว ย า ว ต ล อ ด จึงสามารถมองเห็นทัศนียภาพท่ีสวยงามของชายหาดคอนขางเงียบสงบ ไมมีคลื่น แตจะมีลมพัดเย็นสบาย ใ น ย า ม เ ช า เ ห็ น พ ร ะ อ า ทิ ต ย ข้ึ น เ ห นื อ แ ผ น น้ํ า แ ล ะ ใ น ย า ม เ ย็ น ส า ม า ร ถ ช ม พ ร ะ อ า ทิ ต ย ต ก ลับเมืองปตตานีไดอยางสวยงาม ตลอดจนภาพวิถีชีวิตของชาวบานซ่ึงดํารงอาชีพประมง

Page 96: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๘.๑

ขนบธรรมเนียมประเพณี

ประเพณีแหเจาแมล้ิมกอเหนี่ยว

ใ น วั น ข้ึ น ๑ ๕ คํ่ า เ ดื อ น ๓ ข อ ง ทุ ก ป จ ะ มี ง า น ส ม โ ภ ช เ จ า แ ม ลิ้ ม ก อ เ ห นี่ ย ว ง า น ส ม โ ภ ช นี้ จ ะ มี ค ว า ม ยิ่ ง ใ ห ญ ม โ ห ฬ า ร มี ป ร ะ ช า ช น จ า ก ต า ง จั ง ห วั ด ข อ ง ไ ท ย แ ล ะ จ า ก ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ื อ น บ า น เ ดิ น ท า ง ห ลั่ ง ไ ห ล ม า ช ม ง า น นมัสการเจาแมกันอยางเนืองแนน ปกติจะมีการจัดงานประมาณ ๗ วัน ๗ คืน นับตั้งแตวันข้ึน ๙ คํ่า เดือน ๓ บรรดารานคามาเปด ขายของคลาย ๆ กับงานประจําปท่ัว ๆ ไป มหรสพ ๒ อยางท่ีขาดเสียมิได คือ ง้ิว และมโนหรา จะจัดใหแสดงบนโรงถาวรหนาศาลเจา เพราะถือวาเจาแมชอบดูศิลปะการแสดงท้ัง ๒ อยางนี้มาก นอกจากนั้นยังมีการเชิดสิงโต หนังกลางแปลงจอยักษ และอ่ืน ๆ อีกมากมาย

คืนวันข้ึน ๑๔ คํ่า บริเวณงานจะยิ่งคึกคักเปนพิเศษ เพราะผูคนจะหลั่งไหลมาอยางเต็มท่ี ทางมูลนิธิ เทพปูชนียสถานจะจัดการแสดงตาง ๆ ท่ี เราใจผูคนมากยิ่ง ข้ึน เชน จัดแหมังกรทองและจุดพรุตระการตา ภายในศาล เ จ า ผู ค นจ ะ เบี ย ด เ สี ย ดยั ด เ ยี ย ด เ ข า สั ก กา ระ เ จ า แม เ ด็ ก ๆ วั ย รุ น ผู ใ หญ วั ย ฉกร ร จ ตระเตรียมจองคานหามกันคึกคัก เพ่ือรวมพิธีอันสําคัญยิ่งของงานท่ีจะเริ่มตนเชาตรูไปจนถึงเท่ียงวันรุงข้ึน นั่นคือ การแหพระรอบเ มือง และการหามพระลุยไฟตอนเช าตรู ของวัน ข้ึน ๑๕ คํ่ า ท ามกลางเสียงกลอง และเสียงประทัดประดังจนแสบแกวหู ขบวนคานหามเริ่มทยอยออกจากศาลเจา โดยธรรมเนียมปฏิบัติ พระหมอจะเปนคานหามนําตามดวยคานหามเจาแมลิ้มกอเหนี่ยว เปนอันดับ ๒แลวจึงตอดวยคานหามพระองคอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม

ค า น ห า ม แ ต ล ะ ค า น ห า ม จ ะ มี ผู ห า ม ๔ –๖ ค น แตละคนไดรับผายันตสีแดงของเจาแมผูกขอมือไวเปนท่ีสังเกตนอกจากขบวนหามพระ ยังมีขบวนแหสิงโต ขบวนแหปาย ขบวนหาบกระเชาดอกไม และขบวนกระจับปสีซอ เปนแถวยาวเหยียดไปตามถนน ประชาชนท้ัง ๒ ฟากถนนท่ีเลื่อมใสศรัทธา จะจัดโตะบูชา จุดธูปกราบไหวคานหามพระจะแยกยายกันไปตามบานตาง ๆ ใ ห ค น ไ ด สั ก ก า ร ะ ท่ั ว ถึ ง บ า ง ค า น ห า ม จ ะ ล ง ว า ย ข า ม แ ม น้ํ า ป ต ต า นี จ ว บ จ น เ ว ล า ใกลเท่ียงทุกคานหามจะกลับถึงศาลเจาเพ่ือรอกระทําพิธีกรรมหามพระลุยไฟ อันเปนพิธีกรรมท่ีสําคัญสุดยอด ของงาน กองไฟถูกกอดวยถานไฟรอไวกลางลานดินหนาศาลเจา ขนาดประมาณ ๓ x ๙ เมตร กองพูนสูงเทียมหัวเขา

๘. งานประเพณี การละเลนพ้ืนเมืองและอาหารประจําถิ่นที่สําคัญ

งานประเพณี

-๘๒-

Page 97: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

มีพนักงานคอยกระพือพัดใหไฟลุกแดงจนไดท่ี เม่ือไดเวลา น้ํามนตจากโองมังกรใบใหญ ถูกนํามาราดรดผูหาม คานหามจนชุมโชก เพ่ือสรางขวัญและกําลังใจแลว คานหามแตละคานหามก็ถูกหามฝาไปในกองไฟดวยเทา ท่ีเปลาเปลือยคานหามละ ๓ เท่ียว จนครบทุกคานหาม

-๘๓-

ประเพณีวันชิงเปรต หรืองานเดือนสิบ หรืองานสารทไทย

เปนงานประเพณีของชาวพุทธ ในจังหวัดปตตานี ท่ีทํากันในเดือน ๑๐ ของจันทรคติทุกป ปละ ๒ ครั้ง แตถาปใดมีเดือน ๙ สอง ครั้ง จะมีงาน ๓ ครั้ง ซ่ึงแตละครั้งจะเรียกวันแตกตางกันไป เชน ถาจัดครั้งแรก เรียกวันรับเปรตวันสงเปรตเปนประเพณีทําบุญเพ่ืออุทิศสวนกุศลใหแกบรรพบุรุษผูลวงลับไปแลว

ประเพณีทําบุญเดือนสิบเกิดจากความเชื่อวา บรรพบุรุษของตนท่ีลวงลับไปแลว บางพวกก็ไปสูท่ีชอบ บา งพ ว ก ไ ปสู ท่ี ชั่ ว ไ ด รั บ ทุ ก ข ท ร ม า น ต า ง ๆ น าน า แล ะ ไ ด รั บ ค ว า มอ ดอ ย า ก อย า ง แ สน ส า หั ส ผู มี บ า ป ก ร ร ม ต อ ง ไ ป ท น ทุ ก ข ท ร ม า น เ ป น เ ป ร ต อ ยู ใ น อ บ า ย ภู มิ พญายมบาลผู ทําหนา ท่ีลงทัณฑในยมโลกจะไดปลดปลอยเปรตเหลานี้ ใหมาเยือนโลก เยี่ ยมลูกหลาน พรอม ท้ั งรับส วน กุศล ท่ีลูกหลาย อุทิศให โดย กําหนดทําปละ ๒ครั้ ง คือวันแรม ๑ คํ่ า เดือนสิบ เปนวันรับตายายหรือรับเปรต ครั้งท่ี ๒ในวันแรม ๑๕ คํ่า เดือนสิบ เปนวันสงตายายหรือสงเปรต

ก อ น วั น ทํ า บุ ญ ช า ว บ า น จ ะ เ ต รี ย ม อ า ห า ร แ ล ะ ข น ม เ ดื อ น สิ บ ซ่ึงเปนขนมท่ีทําข้ึนในการทําบุญเดือนสิบโดยเฉพาะ สําหรับชาวปตตานีอาจจะแตกตางจากจังหวัดอ่ืนบาง แตท่ีสําคัญซ่ึงขาดไมได คือ ขนมเจาะหู กับขาวตมหอดวยใบกะพอเปนหลัก นอกนั้นจะใชขนมอ่ืนก็ได เชน ขนมลา ขนมเทียน เมือถึงวันงานชาวบานก็จะเตรียมสํารับกับขาว ขนม ขาวตม ผลไมไปถวายพระ แตท่ีเปนพิเศษ คือ ข า วของสํ าหรั บ เปรต นิ ยมนํ าอาหารมาหอด วย ใบกะพ อ เป นรูปสาม เหลี่ ยม เห มือนกับหอข าวต ม บางหออาจมีเหรียญหรือธนบัตร เสร็จแลวรอยเปนพวง

การมาทําบุญท่ีวัด นอกจากการเลี้ยงพระซ่ึงเปนภาระกิจปกติแลว ทุกคนจะนําอาหารมารับประทาน ร ว ม กั น แล ะ เป น พิ เ ศษ คื อ นํ า ข นม ข า ว ต ม ม า แจก ผู สู ง อ า ยุ ท่ี นั บ ถื อ ก า รตั้ ง อ า ห า ร ให เ ป ร ต นิ ย ม ตั้ ง บ น ร า น เ ป ร ต ท่ี ทํ า ไ ว สู ง

Page 98: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

บางแหงนอกจากจะตั้งรานเปรตในวัดแลวยังทํานอกวัดดวยเพ่ือใหเปรตบางจําพวกท่ีบาปหนาท่ีไมสามารถ เขาวัดไดมีโอกาสไดรับสวนบุญอันนี้

-๘๔-

ประเพณีลากพระ หรือชักพระ

มี ห ล า ย จั ง ห วั ด ท่ี จั ด ป ร ะ เ พ ณี นี้ เ ป น ป ร ะ จํ า ทุ ก ป ใ น วั น อ อ ก พ ร ร ษ า สําหรับจังหวัดปตตานีมีงานชักพระท่ีจัดเปนงานเทศกาลประจําป มีการลากพระมาชุมนุมกัน คืองานชักพระ อําเภอโคกโพธิ์ และงานชักพระ อําเภอปะนาเระ

ป ร ะ เ พ ณี ล า ก พ ร ะ ห รื อ ชั ก พ ร ะ ต ร ง กั บ วั น แ ร ม ๑ คํ่ า เ ดื อ น ๑ ๑ ซ่ึ ง เ ป น วั น ออกพรรษาทางภ าคกลา ง มีปร ะ เพ ณีตั กบ าตร เท โ ว ห รื อ คํ า เ ดิ ม ว า “เ ท โ ว โ รหนะ” ซ่ึงมีท่ีมาของประเพณีและวิธีการทําพิธีคลายกับประเพณีลากพระของขาวใต และมีเหตุผลในการจัดงานนี้ คือ เ ม่ือครั้ ง ท่ีองคพระสัมมาสัมพุทธเจ า เสด็จแสดงธรรมเทศนาโปรดพุทธมารดา ณ สวรรคชั้ นดาวดึงส ห รื อ ดุ สิ ต เ ท พ พิ ภ า พ นั้ น พระองคไดเสด็จกลับมายังมนุษยโลกทางบันไดแกวถึงประตูเมืองสังกัสสะในตอนเขาตรูวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ ตรงกับวันออกพรรษา พุทธบริษัทตางยินดีจึงอัญเชิญพระพุทธองคข้ึนประทับบนบุษบกท่ีไดจัดเตรียมไว แลวแหแหนกลับยังท่ีประทับ

กลาวสําหรับจังหวัดปตตานีแลว มีประเพณีลากพระเดือน ๕ ท่ีวัดคอกควาย อําเภอปะนาเระ เป นการลากพระบนบก ตรง กับวั นแรม ๑ คํ่ า เดื อน ๕ ของ ทุกป ปฏิบั ติ สื บตอ กันมานับร อยป มีวัตถุประสงคเพ่ือความสนุกสนานภายหลังจากวันวางท่ีเปนประเพณีวันสรงน้ําพระ และทําบุญกระดูกปูยาตายาย ตรงกับวันข้ึน ๑๕ คํ่า เดือน ๕

Page 99: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

สําหรับการเตรียมการทางวัดจะจัดเตรียมเรือพระ ซ่ึงมีท้ังลากในน้ํา ถามีลําน้ํา ถาไมมีน้ําก็ลากเรือบก มีแทนประดิษฐานพระพุทธรูปบนเรือพระ มีหลังคาทําเปนบุษบกหรือชาวบานเรียก พนม ตกแตงสวยงาม สวนชาวบานเตรียมอาหารท่ีสําคัญ คือ ขาวตมหอดวยใบพอ

เ ม่ื อ ถึ ง วั น ง า น จ ะ เ ริ่ ม ต น ท่ี วั ด ช า ว บ า น นํ า ข า ว ต ม มั ด ม า บ ร ร ทุ ก ใ น เ รื อ พ ร ะ เ ม่ื อ พ ร ะ ฉั น เ ส ร็ จ ส ร ร พ แ ล ว ก็ ช ว ย กั น ล า ก เ รื อ พ ร ะ อ อ ก จ า ก วั ด ไ ป สู ท่ี ห ม า ย ป ร ะ ม า ณ ว า ใ ห ไ ป ถึ ง ท่ี ห ม า ย ก อ น เ ว ล า พ ร ะ ฉั น เ พล พ อ ต ก บ า ย ล า ก เ รื อ พ ร ะ ก ลั บ วั ด ขากลับนี้ก็จะเปนชวงสนุกสนานท่ีชาวบานทุกเพศทุกวัยมาเลนสนุกกันตลอดเวลาของการชักพระจะมีการตีกลอง ฆอง ประโคมตลอดเวลา ส วนรูปแบบการจัด ก็แตกตางกันไป เชน บางวัด มีงานมหรสพแสดงท่ีวัด บางแหงนําเรือพระไปคางคืนมีการแสดงเปนงานเทศกาล บางแหงนําเรือพระไปคางคืนมีการแสดงเปนงานเทศกาล บางแหง ลากพระไปกลับก็จบกัน เปนตน

-๘๕-

ประเพณีแหเจาพอเลาเอ่ียกง หรือ ประเพณีพระอีกง

ราววันแรม ๒ คํ่า และ ๓ คํ่า เดือน ๓ บริเวณศาลเจาบางตะโละ ฝงตรงขามตําบลตะลุบัน และบริเวณ ศาลเจาแมแหงใหม ในเขตเทศบาลตําบลตะลุบัน อําเภอสายบุรี โดยผลัดกันจัดงานสมโภชในแตละแหงปเวนป เจาพอเลาเอ่ียกงนี้เปนท่ีนับถือของชาวไทยพุทธในอําเภอสายบุรีและใกลเคียง โดยมีเรื่องเลาวา เม่ือประมาณ ๑ ๕ ๐ ป ม า แ ล ว มี ช า ว ป ร ะ ม ง ท่ี นั บ ถื อ ศ า ส น า อิ ส ล า ม ได ลากอวนติด เอาทอนไม ท่ี มี รอยแกะสลัก เปนรูปพระจีน ข้ึนมาด วยจึ งจับ โยน ข้ึนไปบนหาดทราย นายคงซ่ึงนับถือศาสนาพุทธจึงยกข้ึนมาดู ทําใหเกิดปาฏิหาริย คือ นายคงซ่ึงปวยเปน โรคคุตทะราดท่ีฝาเทา ไ ด ก อ ด รู ป พ ร ะ ไ ว แ น น แ ล ะ พ า วิ่ ง ย่ํ า ไ ป บ น ก อ ห ญ า ลู ก ล ม อั น แ ห ล ม ค ม และไดวางรูปพระนั้นลงบริเวณท่ีตั้งศาลเจาบางตะโละในปจจุบัน สวนคุดทะราดท่ีฝาเทาก็หายเปนปลิดท้ิง เหตุอันอัศจรรยนี้เลื่องลือไปท่ัว ชาวบานจึงแหแหนกันไปดูและกราบไวบูชา

Page 100: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ประเพณีแหลาซัง หรือท่ีชาวไทยมุสลิมเรียกวา “บูยอบือแน”

เปนพิธีฉลองนา หรือ ซังขาว ปจจุบันประเพณีนี้จะเหลืออยู เฉพาะท่ีตําบลควน อําเภอปะนาเระ โ ด ย จ ะ จั ด ใ ห มี ข้ึ น ภ า ย ห ลั ง จ า ก เ ก็ บ เ ก่ี ย ว ข า ว เ รี ย บ ร อ ย แ ล ว ร า ว เ ดื อ น ๕ ห รื อ เ ดื อ น ๖ พิ ธี ดั ง ก ล า ว จ ะ มี ก า ร ทํ า หุ น รู ป ผู ช า ย ผู ห ญิ ง จากฟางขาวแตละหมูบานแลวนํามาจับคูกันและจัดเปนรูปขบวนแหไปวางไวบนศาลเพียงตาพรอมเครื่องสังเวยตาง ๆ

-๘๖-

อาทิ ขาวเจา ขาวเหนียว ขาวตม (ขาวเหนียวหอใบกะพอแลวตมใหสุก)ไขตม หลังจากนั้นผูอาวุโสในหมูบาน ท า น ห นึ่ ง จ ะ ก ล า ว คํ า บ ว ง ส ร ว ง แ ต ง ง า น ใ ห กั บ รู ป ซั ง ข า ว เ ส ร็ จ พิ ธี แ ล ว ช า ว บ า น ก็ ช ว ย กั น นํ า รู ป ดั ง ก ล า ว ไ ป เ ก็ บ ไ ว อ ย า ง เ ป น ร ะ เ บี ย บ ใ น น า ใ ก ล ๆ กับท่ีตั้งศาลเพียงตากอนจะแยกยายจากกัน จุดประสงคของประเพณีนี้เพ่ือเปนการแสดงความขอบคุณเจาแมโพสพ หรือพระเจาท่ีดลบันดาลใหพืชผลอุดมสมบูรณ และเพ่ือความสนุกสนานรื่นเริงหลังการ เก็บเก่ียว

ประเพณีลงเล หรือลงทะเล

เปนประเพณีของชาวไทยพุทธในอําเภอไมแกน ท่ีจัดข้ึนในเดือน ๙ ของทุกป (ในชวงวันเขาพรรษา) ปจจุบันประเพณีลงเลในอําเภอไมแกน มีจัดอยู ๓ แหง คือ

Page 101: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๑. ชายหาดบานละเวง

๒. บานไมแกน (จัดท่ีวัดไมแกน)

๓. บานใหญ

ซ่ึ ง ก า ร ทํ า พิ ธี แ ล ะ ค ว า ม เ ชื่ อ ส ว น ใ ห ญ ก็ จ ะ เ ห มื อ น ๆ กั น ในท่ีนี้จะขอกลาวถึงเฉพาะการทําพิธีของชาวบานตรัง (โคกนิบง) บานปาเครง บานสารวัน บานดินเสมอ และบานมวงชุม ซ่ึงจัดท่ีบริเวณชายหาดบานละเวงเทานั้นตามคําบอกเลาของคนเฒาคนแก บอกวาประเพณีลงเลนี้ มีการทํามาเปนรอยปแลว วัตถุประสงคของการทําก็เพ่ือไหวสิ่งศักดิ์สิทธิ์เก่ียวกับทะเล คือพระเทพสุวรรณ หรือพระเวทสุ วรรณ หรือท า ว เวทสุ วรรณ ซ่ึ งชาวบ าน เชื่ อว า คือผู รั กษาชายฝ งทะเล เ พ่ือขอขมา และชวยใหการทํามาหากินสะดวก ตลอดจนชวยปกปกรักษาจากโรคภัยตาง ๆ ป ร ะ เ พ ณี ล ง เ ล ต า ม ค ว า ม เ ชื่ อ ข อ ง ช า ว บ า น อี ก อ ย า ง ก็ คื อ จ ะ ต อ ง จั ด ใ น วั น จั น ท ร เ ท า นั้ น จ ะ จั ด ทํ า พิ ธี ใ น วั น อ่ื น ไ ม ไ ด แ ล ะ จ ะ ต อ ง จั ด ท่ี ช า ย ห า ด บ า น ล ะ เ ว ง เ ท า นั้ น เ ช น กั น (บริเวณท่ีจัดทําพิธีในปจจุบันคือหนาโรงเรียนบานละเวง) ซ่ึงเรื่องนี้ไดรับการบอกเลาจากชาวบานวา ในป พ.ศ.๒๕๑๙เพ่ือความสะดวก ชาวบานไดรวมกันจัดทําพิธีลงเลข้ึนท่ีบริเวณสะพานขามคลองบานสารวัน เม่ือทําพิธีผานไปแลวปรากฏวา หมอเขาทรงในหมูบาน ไดเขาทรงแลวบอกวา เขาไมยอม (พระเทพสุวรรณ) จ ะ ข อ ชี วิ ต ค น ใ น ห มู บ า น ๙ ชี วิ ต แ ล ว ก็ เ กิ ด เ ห ตุ ก า ร ณ ต า ม ท่ี ห ม อ เ ข า ท ร ง บ อ ก ไ ว จ ร ิง โดยคนท่ีเสียชีวิตก็เปนคนท่ีมีสุขภาพแข็งแรงและปกติดีทุกอยางและเสียชีวิตโดยไมทราบสาเหตุ จนครบ ๙ คน ตามท่ีหมอเขาทรงบอก ในปตอ ๆ มาจนถึงปจจุบันชาวบานจึงกลับไปทําพิธีท่ีชายหาดบานละเวงเหมือนเดิม โดยใชสถานท่ีของโรงเรียนบานละเวง เปนสถานท่ีทําพิธีในภาคกลางคืน

-๘๗-

ประเพณีลงเล จะเริ่มโดยชาวบานสารวัน บานมวงชุม บานตรัง (โคกนิบง) บานปาเครง บานดินเสมอ ไปรวมตัวกันท่ีโรงเรียนบานละเวงในตอนกลางวันของวันจันทร และจะทําทับ (กระทอม) ของตนเองหรือรวมกันทํา จะทํากับขาวกินรวมกันในสวนของพิธีกรรมนั้น จะมีการนิมนตพระสงฆมาสวดทําพิธีและเชิญหมอทําพิธี ๓ คน มีการตั้งศาลเพียงตา ตั้งเครื่องสังเวยตาง ๆ มีการจัดทําคทา (ลักษณะเปนพุม ใชสําหรับปกเทียน มีเสาสําหรับปก ลงดิน) เม่ือพระสงฆสวดทําพิธีและหมอทําพิธีเสร็จแลว จะมีการประโคมเครื่องดนตรี คือกาหลอ มีการรํามโนราหรอบศาลเพียงตา และชาวบานจะรอง ไชโย ชวยกันยกคทาปกลงดิน เปนอันเสร็จพิธีในภาคกลางคืน และในคืนนี้ชาวบานก็จะนอนท่ีกระทอมท่ีจัดทําไว

พิธีกรรมในภาคกลางวัน (วันอังคาร) มีการเลี้ยงพระเชา เสร็จแลวหมอท้ัง ๓ คน จะเริ่มทําพิธีท่ีบริเวณ ศาลเพียงตา โดยการอัญเชิญสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ใหมาชวยปกปกรักษาและนําโรครายตาง ๆ ออกไปจากหมูบาน ในการขอนั้นจะลงทายดวยคําวา “ปลอย” เม่ือหมอกลาวถึงคําวาปลอย ชาวบานท่ีรวมพิธีจะรับคําวา “ปลอย” พรอม ๆ กัน ในอีกสวนหนึ่งประชาชนจะนําไมไผ ตนกลวย (หยวก) เชือก ซ่ึงตางคนตางชวยกันหามา มาประกอบเปนแพเตรียมไวขนาดกวางประมาณ ๒ เมตร ยาว ๒ เมตร ใสเครื่องเซนตาง ๆจากศาลเพียงตา มีการตัดเล็บ เสนผม ใสไปในแพดวย แลวใชเชือกผูกลากไปไวชายทะเลเม่ือพระสงฆฉันภัตตาหารเพลเสร็จ จะมีการประโคมดนตรี แลวนิมนตพระสงฆไปท่ีบริเวณชายทะเลท่ีแพถูกลากไปรออยูกอนแลว

พระส งฆ จ ะ ทํ า พิ ธี ส ว ดช ยั น โ ต ใ นขณะ ท่ีหมอ ก็ จ ะ ทํ า พิ ธี เ ส ร็ จ แล ว ช า ว บ า น จ ะต อ ง ไ ช โ ย ตอจากนั้นก็จะมีการชวยกันลากแพสูทะเลใชเรือลากลงสูทะเล เปนอันเสร็จพิธีดังกลาว

Page 102: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ประเพณีแหนก

เ ป น ป ร ะ เ พ ณี พ้ื น เ มื อ ง ข อ ง จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต เ ช น ป ต ต า นี ย ะ ล า น ร า ธิ ว า ส ซ่ึ ง ได กระ ทํ าสื บ เนื่ อ ง กันมา เป น เ วลานาน จั ด ข้ึน เป นครั้ ง คราวตาม โอกาส เ พ่ือคว ามสนุ กรื่ น เ ริ ง เ ป น ป ร ะ เ พ ณี ท่ี แ ส ด ง อ อ ก เ ก่ี ย ว กั บ ค ว า ม คิ ด ริ เ ริ่ ม ส ร า ง ส ร ร ค ใ น ศิ ล ป ะ และอาจจัดข้ึนในโอกาสเพ่ือเปนการแสดงคารวะ แสดงความจงรักภักดีแกผู ใหญ ท่ีควรเคารพนับถือ หรือในโอกาสตอนรับแขกเมือง บางทีอาจจะจัดข้ึนเพ่ือความรื่นเริงในพิธีการเขาสุหนัต หรือท่ีเรียกวา “มาโซะยาวี” หรือจัดข้ึนเพ่ือการประกวดเปนครั้งคราว

-๘๘-

จากตํานานบอกเลากลาวถึงความเปนมาของประเพณีแหนกวาเริ่มท่ียาวอ (ชวา) กลาวคือ มี เ จ า ผู ค ร อ ง น ค ร แ ห ง ย า ว อ พ ร ะ อ ง ค ห นึ่ ง มี พ ร ะ โ อ ร ส แ ล ะ พ ร ะ ธิ ด า ห ล า ย พ ร ะ อ ง ค พ ร ะ ธิ ด า อ ง ค สุ ด ท อ ง ท ร ง เ ป น ท่ี รั ก ใ ค ร ข อ ง พ ร ะ บิ ด า เ ป น อ ย า ง ยิ่ ง จึงไดรับการเอาอกเอาใจท้ังจากพระบิดาและขาราชบริพาร ตางพยายามแสวงหาสิ่งของและการละเลนมาบําเรอ ในจํานวนสิ่งเหลานี้มีการจัดทํานกและจัดตกแตงอยางสวยงามแลวมีขบวนแหแหนไปรอบ ๆ ลานพระท่ีนั่ง เปนท่ีพอพระทัยของพระธิดาเปนอยางยิ่ง จึงโปรดฯ ใหมีการจัดแหนกถวายทุก ๗ วัน

อี ก ตํ า น า น ห นึ่ ง ว า ช า ว ป ร ะม ง ได นํ า เ ห ตุ ม หั ศ จ ร ร ย ท่ี ไ ด พบ เ ห็ น ม า จ ากท อ งทะ เ ล ขณ ะ ท่ี ต ร ะ เ ว น จั บปล าม า เ ล า ว า พ ว ก เ ข า ไ ด เ ห็ น พ ญ า น ก ตั ว ห นึ่ ง ส ว ย ง า ม อ ย า ง ม หั ศ จ ร ร ย ผุ ด ข้ึ น ม า จ า ก ท อ ง ท ะ เ ล แ ล ว บิ น ท ะ ย า น ข้ึ น สู อ า ก า ศ แ ล ว ห า ย ลั บ ไ ป สู ท อ ง ฟ า พ ร ะ ย า เ มื อ ง จึ ง ซั ก ถ า ม ถึ ง รู ป ร า ง ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง น ก ป ร ะ ห ล า ด ตั ว นั้ น ต า งคนต า ง ก็ ร าย ง านแตกต า ง กั นตามส ายต าขอ งแต ล ะคน พ ระย า เ มื อ งตื่ น เ ต น แล ะยิ น ดี ม า ก ลูกชายคนสุดทองก็รบเราจะใครไดชมพระยาเมืองจึงปาวประกาศรับสมัครชางผูมีฝมือหลายคนใหประดิษฐรูปนกตามคําบอกเลาของชาวประมงซ่ึงไดเห็นรูปท่ีแตกตางกันนั้น ชางท้ังหลายประดิษฐรูปนกข้ึนรวม ๔ ลักษณะ คือ

Page 103: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

๑. นกกาเฆาะซูรอ หรือ นกกากะสุระ นกชนิดนี้ตามการสันนิษฐานนาจะเปน “นกการเวก” เปนนกสวรรค ท่ีสวยงามและบินสูงเทียมเมฆ การประดิษฐมักจะตกแตงใหมีหงอนสูงแตกออกเปนสี่แฉก น ก ช นิ ด นี้ ช า ว พ้ื น เ มื อ ง เ รี ย ก ว า “น ก ทู น พ ลู ” เพราะบนหัวมีลักษณะคลายบายศรีพลูท่ีประดับในถาดเวลาเขาขบวนแหทําเปนกนกลวดลายสวยงามมาก มั ก นํ า ไ ม ท้ั ง ท อ น ม า แ ก ะ ส ลั ก ส ว น ต า น ก จ ะ ป ร ะ ดั บ ด ว ย ลู ก แ ก ว สี ทํ า ใ ห ก ล อ ก ก ลิ้ ง ไ ด มีงายื่นออกมาจากปากคลายงาชางเล็ก ๆ พอสมกับขนาดของนก

๒. นกกรุดา หรือ นกครุฑ มีลักษณะคลายกับครุฑท่ีเห็นโดยท่ัวไป

๓ . น กบื อ เ ฆ า ะม าศ ห รื อ นกยู ง ท อ ง มี ลั ก ษณ ะคล า ย กับน กก า เ ฆ า ะ ซู ร อ ม า ก การประดิษฐตกแตงรูปนกพญายูงทองนั้น ตองทํากันอยางประณีตถ่ีถวน และใชเวลามาก

๔. นกบุหรงซีงอ หรือ นกสิงห มีรูปรางคลายราชสีห ตามคตินกนี้มีหัวเปนนกแตตัวเปนราชสีห ตามนิทานเลากันวามีฤทธิ์มาก ท้ังเหาะเหินเดินอากาศและดําน้ําได ปากมีเข้ียวงานาเกรงขาม

ใ น ก า ร ป ร ะ ดิ ษ ฐ น ก นิ ย ม ใ ช ไ ม เ นื้ อ เ ห นี ย ว เ ช น ไ ม ต ะ เ คี ย น ไ ม ก า ยี ร นํามาแกะเปนหัวนกเนื้อไมเหลานี้ไมแข็งไมเปราะจนเกินไป สะดวกในการแกะของชาง ท้ังยังทนทานใชการไดนานป สําหรับตัวนกจะใชไมไผผูกเปนโครง ติดคานหาม แลวนํากระดาษมาติดรองพ้ืน ตอจากนั้นก็ตัดกระดาษสีเปนขน ป ร ะ ดั บ ส ว น ต า ง ๆ สี ท่ี นิ ย ม ไ ด แ ก สี เ ขี ย ว สี ท อ ง (เ ก รี ย บ ) สีนอกนั้นจะนํามาใชประดับตกแตงเพ่ือใหสีตัดกันแลดูเดนข้ึน

การจัดขบวนแหนก ในการจัดรูปขบวนแหนก ตามธรรมเนียมโบราณมีการจัดรูปขบวนดังนี้ ๑. ดนตรีนําหนาขบวนนก ประกอบดวย คนเปาปชวา ๑ คน กลองแขก ๑ คู ใชคนตี ๒ คน ฆองใหญ ๑ใบ ใชคนหามและคนดีฆองรวม ๒ คน ดนตรีนี้จะบรรเลงนําหนาขบวนนกไปจนถึงจุดหมาย ๒ . ข บ ว น บุ ห ง า สิ เ ร ะ (บ า ย ศ รี ) จั ด เ ป น ข บ ว น ท่ี ส ว ย ง า ม ผูทูนพานบายศรีตองเปนสตรีแตงกายดวยเสื้อผาหลากสีสันตามประเพณีทองถ่ิน ๓. ขบวนผูดูแลนก ทํานองเดียวกับจตุลังคบาท ทหารประจําเทาชางของแมทัพสมัยโบราณ ใชคน ๒ คน แต งกายแบบนั กรบ มือ ถือกริ ซ เดิ นนํ าหน านก คัด เลื อกจากผู ชํ านาญการร ายรํ า สิ ล รํ ากริ ซ รํ าหอก อั น เ ป น ศิ ล ป ะ ก า ร ต อ สู อ ย า ง ห นึ่ ง ข อ ง ช า ว มุ ส ลิ ม เ ม่ื อ ข บ ว น แ ห ไ ป ถึ ง จุ ด ห ม า ย ห รื อ อ า คั น ตุ ก ะ พั ก อ ยู ดู แ ล น ก ก็ จ ะ ใ ช ศิ ล ป ะ ก า ร ร า ย รํ า ซี ล ะ รํ า ก ริ ซ รํ า ห อ ก ใ ห แ ข ก ช ม อี ก ด ว ย สําหรับจํานวนคนหามมากนอยแลวแตขนาดและน้ําหนักของนก นกขนาดใหญอาจใชคนหามถึง ๑๖คน แตละคนแตงเครื่องแบบพลทหาร ถือหอกเปนอาวุธ

-๘๙-

๔. ขบวนพลกริซ ขบวนพลหอก ผูคนในขบวนแตงกายอยางนักรบสมัยโบราณ ถือหอก กริซ เดินตามหลังขบวนนก ดุจเหลาทหารหาญเคลื่อนเขาสูสมรภูมิอันมีพระราชาเปนผูนํา จํานวนทหารกริซ ทหารหอก มีมากเทาไร ก็จะทําใหขบวนแหนกดูนาเกรงขามมากยิ่งข้ึนเทานั้น

ประเพณีของชาวไทยมุสลิม

Page 104: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

การเกิด และการโกนผมไฟ

รองศาสตราจารยเสาวนีย จิตตหมวด ไดกลาวไวในหนังสือวัฒนธรรมอิสลามเก่ียวกับการเกิดวา “องค อั ลลอฮ”เ ป นผู ใ ห รู ปลั กษณ ของมนุ ษย โ ดยพระองค ท ร งส ร า งมนุษย คนแรก ข้ึนมาจากดิ น แ ล ว ท ร ง เ ป า วิ ญ ญ า ณ เ ข า ไ ป คื อ ท า น น บี อ า ดั ม แ ล ะ คู ค ร อ ง ข อ ง ท า น คื อ พ ร ะ น า ง ฮ า ว า จากนั้นมนุษยชาติก็กําเนิดข้ึนมาดวยพระประสงคของพระองคโดยผานจากการผสมกันของเชื้ออสุจิกับไขในมดลูก ซ่ึงเปนเพศใดก็แลวแตพระประสงค พระองคไดประทานโองการไววา “เราไดสรางมนุษยจากแกนแทของดิน แ ล ว เ ร า ไ ด ทํ า ใ ห เ ข า เ ป น เ ชื้ อ อ สุ จิ อ ยู ใ น ท่ี พั ก อั น ม่ั น ค ง เ ร า ไ ด ส ร า ง ใ ห เ ชื้ อ อ สุ จิ เ ป น ก อ น เ ลื อ ด แลวเราไดสรางใหกอนเลือดเปนกอนเนื้อ แลวเราไดทําใหกอนเนื้อมีกระดูก แลวเราไดหุมกระดูกดวยเนื้อ แลวเราได ใหมีวิญญาณทําใหเขาเกิดมาเปนอีกกําเนิดหนึ่ง ดังนั้นความจําเริญยิ่งแตอัลลอฮ ผูทรงเปนเลิศยิ่งแหงปวงผูสราง”

เม่ือเด็กคลอด หลังจากตัดสายสะดือ และอาบน้ําทําความสะอาดทารกแลว ผูมีความรูทางศาสนาจะทําพิธี อซาน คือ พูดกรอกหูขวา และอิกอมะฮคือ เปลงเสียงเบา ๆ กรอกหูซาย เปนภาษาอาหรับ มีใจความวา “อั ลลอฮ ผู ท ร ง ยิ่ ง ใหญ อ งค อั ล ลอฮ ผู ท ร ง ยิ่ ง ใหญ ข า ขอปฏิญาณว า ไ ม มี พร ะ เ จ า อ่ื น ใด อีกแล ว น อ ก จ า ก อ ง ค อั ล ล อ ฮ ข า ข อ ยื น ยั น ว า ท า น น บี มู ฮั ม มั ด เ ป น ศ า ส น ทู ต ข อ ง พ ร ะ อ ง ค จงมาสูการปฏิบัติละหมาดเถิดจงมาในทางท่ีมีชัยเถิด แทจริงขาไดยืนละหมาดแลว องคอัลลอฮผูทรงยิ่งใหญ ไมมีพระเจาอ่ืนใดนอกจากองคอัลลอฮ”

การทําพิธีจะเปลงเสียงเบา ๆ กรอกท่ีหูขวากอน ตามขอความท่ีกลาวมาแลว วรรคละ ๒ เ ท่ียว โดยไมตองกลาววรรคท่ี ๖ แลวจึงทําอิกอมะฮกลาววรรคละครั้งเดียวทุกวรรค

-๙๐-

เ ม่ื อ เ ด็ ก ค ล อ ด ไ ด ๗ วั น จ ะ ทํ า พิ ธี โ ก น ผ ม ไ ฟ ตั้ ง ชื่ อ แ ล ะ ทํ า พิ ธี เ ชื อ ด สั ต ว

ในการตั้งชื่อเพ่ือเปนมงคลจะตั้งชื่อเปนภาษาอาหรับ โดยใชนามของพระศาสดา หรือคําท่ีมีความหมายดีงาม เชน มูฮํามัด หะมัด เปนตน สําหรับการเชือดสัตวหรือเรียกเปนภาษาอาหรับวา “อะกีเกาะฮ” นั้น ถ า เ ป น ลู ก ช า ย จ ะ เ ชื อ ด แ พ ะ ห รื อ แ ก ะ ๒ ตั ว ถ า เ ป น ผู ห ญิ ง จ ะ เ ชื อ ด แ พ ะ ห รื อ แ ก ะ ๑ ตั ว ก า ร เ ชื อ ด สั ต ว ไ ม จํ า เ ป น ต อ ง ทํ า ทุ ก ค ร อ บ ค รั ว ท้ั ง นี้ ข้ึ น อ ยู กั บ ฐ า น ะ ข อ ง ค รอบครั ว ด ว ย

Page 105: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

จุดมุงหมายของการเชือดสัตวก็เพ่ือพลีตอพระผูเปนเจาท่ีประทานทารกใหเกิดมา และใหการคุมครองทารก หลังจากเชือดสัตวแลวก็แบงเนื้อสัตวท่ีเชือดใหกับญาติพ่ีนอง บริจาคเปนทาน และไวรับประทานเอง

การเขาสุหนัต การเขาสุหนัต หรือ มาโซะยาวี เปนพิธีกรรมอยางหนึ่งของอิสลามท่ีมุสลิมทุกคนถือปฏิบัติอยางเครงครัด

คําวา มาโซะยาวี เปนภาษามลายูถ่ิน หมายถึง การขริบหนังหุมปลายอวัยวะเพศ มาโซะยาวี ในอดีตนิยมทําเม่ือเด็กอายุได ๒๐ ป แตปจจุบันนิยมทําเม่ือเด็กอายุระหวาง ๖-๑๕ ป

บางประเทศ เชน ซาอุดิอาระเบีย นิยมทํามาโซะยาวีหลังคลอดไมก่ีวัน วัตถุประสงคของการทํามาโซะยาวี เ พ่ื อ ค ว า ม ส ะ ด ว ก ใ น ก า ร ทํ า ค ว า ม ส ะ อ า ด อ วั ย ว ะ เ พ ศ อั น จ ะ มี ผ ล ต อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ศ า ส น กิ จ คื อก า ร ทํ า ล ะหมาด ใ นข อ ท่ี ว า ต อ ง ชํ า ร ะล า ง ร า ง ก า ย ให ส ะอ า ดก อนก า ร ล ะหมาด นอกจ ากนั้ น เพ่ือปองกันการเกิดโรคท่ีจะสงผลถึงเพศสัมพันธ การขริบหนังหุมปลายอวัยวะเพศ เปนสิ่งท่ีทานศาสดาตองปฏิบัติ และใหปฏิบั ติในสังคมของชาวไทยมุสลิม จึงนิยมเรียกการขริบนี้วา “คอตั่น”สวนภาษามลายูใช ศัพทวา “มาโซะยาวี”

-๙๑- ๘.๒

การละเลนพ้ืนบาน นาฎศิลป และดนตรี

การละเลนพ้ืนเมือง

Page 106: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

รองเง็ง

รองเง็ง มีวัฒนาการมาจากการเตนรําพ้ืนเมืองของชาวเสปนหรือโปรตุเกส ซ่ึงนํามาแสดงในแหลมมลายู เม่ือคราวท่ีไดมาติดตอทําการคา จากนั้นชาวมลายูพ้ืนเมืองไดดัดแปลงเปนการแสดงท่ีเรียกวา “รองเง็ง” สําหรับในจังหวัดชายแดนภาคใตมีการเตนรองเง็งมาเปนเวลาชานาน ตั้งแตสมัยกอนการยกเลิกการปกครอง ๗ ห ัว เ ม ือ ง โ ด ย ท่ี นิ ย ม เ ต น กั น เ ฉ พ า ะ ใ น วั ง ข อ ง เ จ า เ มื อ ง ฝายชายท่ีไดรับการเชิญเขารวมงานรื่นเริงในวังจับคูเตนกับฝายหญิงซ่ึงเปนบริวารในวังและมีหนาท่ีเตนร็องเง็งไดแพร ห ล า ย ไ ป สู ช า ว บ า น โ ด ย ท่ี ใ ช เ ป น ร า ย ก า ร ส ลั บ ฉ า ก ข อ ง ม ะ โ ย ง ซ่ึงมุงแตความสนุกสานและเงินรายไดเปนสําคัญไมรักษาแบบฉบับท่ีสวยงามซํ้ายังเอาจังหวะเตนรําอ่ืน ๆ เชน รุมบา แซมบา ฯลฯ เขาไปปะปนดวย ทําใหคนท่ีเคยเตนรองเง็งมาแตเดิมมองเห็นวา รองเง็งไดเปลี่ยนไปในทางท่ีไมดี จึงพากันเสื่อมความนิยมไปชั่วระยะหนึ่ง

ใน พ.ศ. ๒๔๙๔ ได มีการรื้อฟนรองเง็งข้ึนมาอีกครั้ งหนึ่ ง โดยทานขุนจารุวิ เศษศึกษาการ ศึ ก ษ า ธิ ก า ร อํ า เ ภ อ เ มื อ ง ป ต ต า นี ไ ด นํ า เ พ ล ง ร อ ง เ ง็ ง ดั้ ง เ ดิ ม ๒ เ พ ล ง คื อ ล า กู ดู ว อ แ ล ะ เ ม า ะ อี นั ง ช ว า ม า ป รั บ ป รุ ง ท า เ ต น ข้ึ น จ า ก ร อ ง เ ง็ ง ข อ ง เ ดิ ม เพ่ือแสดงในงานปดอบรมศึกษาภาคฤดูรอนของคณะครูจังหวัดปตตานี ปรากฏวารองเง็งกลายเปนท่ีแปลกใหม และไดรับความสนใจจากคนท่ัวไปเปนอยางยิ่ง อีกครั้งหนึ่ง

ตอมาสมาคมงัต สมาคมของชาวมุสลิมในจังหวัดปตตานีซ่ึงติดตอไปมาหาสูระหวางปตตานี กลันตัน มาเลเซียอยู เสมอ ไดนํา เอาเพลงจินตาซายัง ปู โจะปชั ง เลนัง ฯลฯ เข ามาเผยแพร ในประเทศไทย ทําใหเพลงรองเง็งมีเพ่ิมมากข้ึน ประกอบกับมีผูศึกษาคนควาเพ่ิมเติมและประดิษฐดัดแปลงทาเตนข้ึนใหม เชน จากทาเดินของหนังตะลุง และทารําของไทยทําใหเพลงรองเง็งมีเพ่ิมมากข้ึนซ่ึงรวบรวมไดถึง ๑๓ เพลง

-๙๒-

Page 107: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

เพลงและเนื้อรองเพลงรองเง็ง เพลงท่ีใช มีอยู ๑๓ เพลง คือ ลากูดูวอ จินตาซายัง เมาะอีนังลามา อาเนาดิดิ๊ดึนดังซายัง บุหงารําไปหรือรุมบารองเง็ง มาสแมระหจินโยดี วักตูมาลีม ฮารี เลนนัง เมาะอินังบารู เมาะอินังแลเงาะ และเมาะอินังชวา แตปจจุบันนี้ท่ีปรากฏวายังมีการเตนอยูเพียง ๙เพลง คือ ลากูดูวอ เลนนัง ปูโจะปซัง เมาะอินังชวา จินตาซายัง เมาอินังลามา อาเนาะดิดิ๊ บุหงารําไป หรือรุมบารองเง็ง ในการจัดการแสดง ผูจัดการแสดง ผูจัดนิยมจัดแสดงเพียงครั้งละ ๓ – ๕ เพลง โดยเลือกจาก ๙ เพลง ดังกลาว

สถานท่ีและโอกาสท่ีแสดง แตเดิมรองเง็งในประเทศไทยนั้นมีเลนกันเฉพาะในบรรดา ผูสูงศักดิ์ เชน ใ น วั ง ข อ ง พ ร ะ ย า พิ พิ ธ เ ส น า ม า ต ย ใ น โ อ ก า ส รื่ น เ ริ ง ส นุ ก ส า น โดยเจาภาพจัดเตรียมผูเตนฝายหญิงไวเปนคูเตนของแขกท่ีรับเชิญมาในงาน เชน งานเลี้ยงหรืองานพิธีการตาง ๆ ดังนั้น ผูเตนจึงมีเปนจํานวนมาก สถานท่ีเตนจึงตองเปนหองโถงท่ีมีขนาดกวางพอสมควร จุคูเตนไดจํานวนมาก

ซีละ

ซีละ เปนการตอสูปองกันตัวแบบหนึ่ งของชาวไทยมุสลิม เนื่องจากมีกระบวนทา ท่ีสงางาม ภายหลังจึงจัดให มีการแสดงซีละเพ่ือดูศิลปะทารํา มากกวาจะตอสูจริง ๆ นิยมเลนในงานมงคลท่ัวไป โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือตอนรับแขกบานแขกเมือง

-๙๓-

Page 108: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

ลิเกฮูลู

ลิเกฮูลู เปนการละเลนพ้ืนบานแถบจังหวัดชายแดนภาคใต ท่ีไดรับความนิยมมากประเภทหนึ่ง คําวา “ลิเก” หรือ “ดิเกร” เปนศัพทเปอรเซีย มีความหมาย ๒ ประการ คือ

๑. หมายถึงเพลงสวดสรรเสริญพระเจา ปกติการขับรองเนื่องในเทศกาลวันกําเนิดพระนบี ชาวมุสลิมเรียกงานเมาลิด เลยเรียกการสวดดังกลาวนี้วา “ดิเกรเมาลิด”

๒. หมายถึงกลอนเพลงโตตอบนิยมเลนกันเปนกลุมหรือเปนคณะ เรียกวา “ลิเกฮูลู”

บ า ง ท า น เ ล า ว า ลิ เ ก ฮู ลู ไ ด รั บ แ บ บ อ ย า ง ม า จ า ก ค น พ้ื น เ มื อ ง เ ผ า ซ า ไ ก ซ่ึงมีการเลนอยางหนึ่งเรียกตามภาษามลายูวา “มะนอฆอออแฆสาแก” แปลเปนภาษาไทยวา มโนหราคนซาไก กลาวคือ เขาเอาไมไผมาตัดทอนสั้น ทะลวงปลองออกใหกลวงหัวกลวงทายแลวเอาเปลือกไมหรือกาบไม เชน กาบหมาก มาหุม หรือ เสียบติดไวขางหนึ่ง อีกขางหนึ่งเปดไว แลวใชไมหรือมือตีขางท่ีหุม ทําใหเกิดเสียงดัง แ ล ว ร อ ง รํ า ทํ า เ พ ล ง ขั บ แ ก กั น ต า ม ป ร ะ ส า ชาวปา วากันวากระบอกไมไผท่ีหุมกาบไมขางหนึ่งนั้น ไดกลายเปนรํามะนาและบานอ ท่ีใชกันมาจนทุกวันนี้

ผูรูบางทานกลาววา ลิเกฮูลูเอาแบบอยางการเลนลําตัดของไทยผสมเขาไปดวย บางทานเลาวา ในสมัยปกครอง ๗หัวเมือง ถามีงานพิธีตาง ๆ เชน เขาสุหนัต มาแกปูโละ เจาเมืองตาง ๆ มารวมพิธีและชมการแสดง เชน มะโยง โนรา และละไป ละไปนั้น คือ การรองเพลงลําตัดภาษาอาหรับและเรียก “ซีเกรมัรฮาแบ” กา ร ร อ ง เ ป นภ าษาอาห รั บ ถึ ง แม จ ะ ไพ เ ร า ะแต คน ไม เ ข า ใ จ จึ ง นํ า เ อ า เ นื้ อ เพล งภาษา พ้ื น เ มื อ ง รองใหเขากับจังหวะรํามะนา จึงกลายมาเปนลิเกฮูลูสืบทอดจนถึงปจจุบัน

-๙๔-

Page 109: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

วิธีการละเลนกอนการแสดงลิเกฮูลูนั้น จะมีการรองปนตนอีนัง กอน ตัวอยางบทปนตนอินัง เชน บูรงตะตือเบะ บูรงฌือลาโตะ ตือรือแบมือแลวอ ตาญงตะตานิ มีเตาะตาเบะ ซือลากอดาโตะ ดาตู บือตือรอ ดารีซีนี

(นกตะตือเบะ นกฌือลาโตะบินรอนเหนือแหลมตานี ขอคารวะพระผูทรงศรีภูบดีและโอรสแหงสถาน)

กลาวกันวาเจาเมืองตานีสมัยอดีต มักเรียกคณะปนตนอินังท่ีมีชื่อเสียงเขาไปแสดงในวัง โดยเฉพาะเนื่อง ใ น พิ ธี เ ข า สุ ห นั ด ลู ก ช า ย ต อ ม า ค ณ ะ ป น ต น อิ นั ง ก็ เ ป ลี่ ย น ม า แ ส ด ง ลิ เ ก ฮู ลู ชาวบานมักเรียกการแสดงประเภทนี้แตกตางกัน เชน ท่ีกลันตันเรียก “ลิเกบารัต” หรือ “บาฆะ” (ลิเกตะวันตก) ปตตานี เรียก “ลิเกฮูลู” (ลิเกเหนือ) ผูเลนลิเกฮูลูหลายทานกลาวถึงการฝกวา บางคนขามฝงไปเรียนท่ีกลันตัน โดยใชเวลาประมาณ ๑ เดือน สมัยโบราณไมมีการฝกหัดผูหญิงเลนลิเกฮูลู แตสมัยนี้ดาราลิเกฮูลูหลายคนเปนหญิง เ ช น ค ณ ะ เ จ ะ ลี เ ม า ะ ซ่ึ ง มี ลู ก คู เ ป น ห ญิ ง ล ว น และบางคนเปนดาราโทรทัศนอันเปนยอดนิยมของมาเลเซียปจจุบันลิเกฮูลูเปนยอดนิยมของชาวไทยมุสลิม น อ ก จ า ก จ ะ แ ส ด ง ใ น ง า น ม า แ ก ปู โ ล ะ ง า น สุ ห นั ต ง า น เ ม า ลิ ด ง า น ฮ า รี ร า ย อ แ ล ว แมแตสถานีวิทยุในทองถ่ินก็จัดรายการเสนอลิเกฮูลูและเปนท่ีชื่นชอบของชาวบานท่ัวไป

มะโยง ม ะ โ ย ง เ ป น ก า ร แ ส ด ง เ พ่ื อ เ ฉ ลิ ม ฉ ล อ ง ห รื อ เ พ่ื อ ค ว า ม รื่ น เ ริ ง กําเนิดของมะโยงมีผูสันนิษฐานแตกตางกันไปหลายกระแส ดังนี้

Page 110: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๙๕-

๑. มะโยงเปนการแสดงท่ีเกิดจากในวังของเมืองปตตานี เปนครั้งแรก เม่ือประมาณ ๔๐๐ ป มาแลว จากนั้นแพรหลายไปทางกลันตัน ๒. พิจารณาจากรูปศัพท ซ่ึงกลาววา คําวา “มะโยง” มาจากคําวา “มัคฮียัง” (MAKHIANG) แปลวา เ จ า แ ม โ พ ส พ เ นื่ อ ง จ า ก พิ ธิ ทํ า ข วั ญ ข า ว ใ น น า ข อ ง ช า ว มุ ส ลิ ม ใ น ส มั ย โ บ ร า ณ นั้ น จะมีหมอผูทําพิธีทรงวิญญาณเจาแมโพสพเปนการแสดงความกตัญูท่ีเจาแมโพสพมีเมตตาประทานน้ํานมมาใหเปนเม ล็ ด ข า ว เ พ่ื อ เ ป น โ ภ ช น า ห า ร ข อ ง ม นุ ษ ย ต ล อ ด ท้ั ง เ พ่ื อ ข อ ค ว า ม ส ม บู ร ณ พู น สุ ข ค ว า ม ส วั ส ดิ ม ง ค ล ใ ห บั ง เ กิ ด แ ก ช า ว บ า น ท้ั ง หล าย ใ น พิ ธี จ ะ มี ก า ร ร อ ง รํ า บ ว งส ร ว งด ว ย ซ่ึงในภายหลังไดวิวัฒนาการมาเปนละครท่ีเรียกวา “มะโยง” ๓ . ม ะ โ ย ง เ ป น ก า ร แ ส ด ง ท่ี ไ ด รั บ อิ ท ธิ พ ล ม า จ า ก ช ว า ตั้ ง แ ต ค รั้ ง โ บ ร า ณ แ ล ว เ ป น ท่ี นิ ย ม แพรหลายในหมูชาวไทยมุสลิมในบริเวณจังหวัดชายแดนภาคใต และไดอธิบายเพ่ิมเติมโดยกลาวถึงท่ีมาของคําวา มะโยง คําวา มะ หรือเมาะ แปลวา แม สวนโยง หรือโยง เปนพระนามของเจาหญิงพระองคหนึ่งแหงชวา จึงชวนใหสันนิษฐเครื่องดนตรี นิยมใชกันอยู ๓ ชนิด คือ รือบะ จํานวน ๑ - ๒ คน กลองแขก ๓ หนา จํานวน ๒ ใบ และฆองใหญเสียงทุมแหลมอยางละใบ มะโยงบางคณะยังมีเครื่องดนตรีอีก ๒ ชิ้น คือ กอเลาะ(กรับ) จํานวน ๑ คู และจือแระ จํานวน ๓ – ๔ อัน (จือแระ ทําดวยไมไผยาวประมาณ ๑๖–๑๙ นิ้วใชตี)ผูแสดง มะโยงคณะหนึ่ง ๆ มีคนประมาณ ๒๐–๓๐ คน เปนลูกคู เลนดนตรี ๕ – ๗ คน นอกนั้นเปนผูแสดงและเปนผูชวยผูแสดงบาง ผูแสดงหรือตัวละครสําคัญมี ๔ ตัว คือ

๑ . ปะ โ ย ง ห รื อ เ ป าะ โ ย ง แสด ง เป นพร ะ เ อก มี ฐ านะ เป นก ษั ตริ ย ห รื อ เ จ า น า ย ตัวปะโยงจะใชผูหญิงรางแบบบางหนาตาสะสวย มีเสนห ขับกลอมเกง น้ําเสียงดี เปนผูแสดง ๒ .ม ะ โ ย ง ห รื อ เ ม า ะ โ ย ง แ ส ด ง เ ป น น า ง เ อ ก มีฐานะเปนเจาหญิงหรือสาวชาวบานธรรมดาตามแตเนื้อเรื่องท่ีแสดง ใชผูหญิงรางแบบบาง หนาตาดีเปนผูแสดง ๓. ปอรันมูดอ แสดงเปนตัวตลกตัว ท่ี ๑ มีฐานะเสนาคนสนิทหรือคนใชใกลชิดของปะโยง ใชผูชายหนาตาทาทางนาขบขันชวนหัว เปนผูแสดง ปอรันมูดอ จะพูดจาตลกคะนอง สองแงสองมุม ฉลาดทันคน กลาหาญ แตบางครั้งโงทึบและขลาดกลัว ตาขาว ๔. ปอรันดูวอ แสดงเปนตัวตลกตัวท่ี ๒มีฐานะเปนเสนาคนสนิทตัวรองของเปาะโยง เปนเพ่ือสนิทของ ปอรันมูดอ จะเปนตัวท่ีคอยสนับสนุนใหปอรันมูดอสามารถตลกจี้เสนไดมากข้ึน

โรงหรือเวทีแสดง ปจจุบันโรงมะโยงปลูกเปนเพิงหมาแหงน ยกพ้ืนสูงประมาณ ๑เมตร กวาง ๕ – ๖ เมตร ยาว ๙ – ๑๐ เมตร จากทายโรงประมาณ ๑ – ๒ เมตร จะก้ันฝา ๓ ดาน คือ ดานทายกับดานขางท้ังสอง ดานหนาใชฉากปดก้ันใหมีชองออกหนาโรงไดเนื้อท่ีดานทายโรงใชเปนท่ีแตงกายเก็บของและพักผอนนอนหลับ ด า น ห น า โ ร ง เ ป น โ ล ง ท้ั ง ๓ ด า น จ า ก พ้ื น ถึ ง ห ลั ง ค า ด า น ห น า สู ง ป ร ะ ม า ณ ๓ .๕ เ ม ต ร ชายหลังดานหนานี้จะมีระบายปายชื่อคณะอยางโรงลิเกหรือโนรา สวนใตถุนโรงใชเปนท่ีพักหลับนอนไปดวย โอกาสท่ีแสดง มะโยงจะแสดงในงานเฉลิมฉลองงานเทศกาลหรืองานรื่นเริงอ่ืนๆ ตามท่ีเจางานรับไปแสดง ปกติแสดงในเวลากลางคืนโดยเริ่มแสดงราว ๑๙ นาฬิกา เลิกเวลาประมาณ ๑ นาฬิกา

Page 111: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๙๖-

อาหารประจําถิ่นท่ีสําคัญ (๑) นาซิดาแฆ

อาหารพ้ืนเมืองท่ีมีเอกลักษณเฉพาะตัวและอรอยมาก รสชาติ หวาน มัน หอมดวยสวนผสมตาง ๆ บวกกับกรรมวิธีการปรุงท่ีสะอาดตามแบบฉบับชาวอิสลาม (๒) ไกกอและ

เนื้อไกนุมเจือดวยรสกลมกลอมของเครื่องปรุง

Page 112: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๙๗-

(๓) สะเตะเนื้อ

ส ว น ใ ห ญ จ ะ เ ป น ส ะ เ ต ะ เ นื้ อ วั ว แ ล ะ เ นื้ อ ไ ก ลั ก ษ ณ ะ ค ล า ย กั บ ห มู ส ะ เ ต ะ ท า ง ภ า ค ก ล า ง เพียงแตของปตตานีจะตองทานแกลมกับขาวอัดและอาจาด

(๔) โรตีมะตะบะ

เปนอาหารข้ึนชื่อท่ีอยูคูกับชาวมุสลิม ใชแปงโรตีหอไสไวภายในจะเปนเนื้อวัว หรือเนื้อไก ผสมเครื่องเทศ รสหอมหวานกลมกลอม

Page 113: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

-๙๘-

(๕) ซอเลาะพริกหยวก

(๖) รอเยาะ

เปนอาหารวางชนิดหนึ่ง มีคุณคาทางอาหารลักษณะเชนเดียวกับสลัด

........................................

Page 114: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป

นายประมุข ลมุล ผูวาราชการจังหวัดปตตานี นายเสรี ศรีหะไตร รองผูวาราชการจังหวัดปตตานี

นายรณวิชย ณ สงขลา หัวหนากลุมงานยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัด รักษาการในตําแหนง หัวหนาสํานักงานจังหวัดปตตานี วาท่ีรอยตรีพงศธร รัตนประพันธ หัวหนากลุมงานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร นายสุบัญชา อินทฤทธิ ์ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ นายเกียรติศักดิ์ เทพแสง นายชางไฟฟาชํานาญงาน นายทนงศักดิ์ ไทรงาม นักวิชาการคอมพิวเตอรชํานาญการ

วาท่ีรอยตรีพงศธร รัตนประพันธ หัวหนากลุมงานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร นายสุบัญชา อินทฤทธิ ์ นักวิเคราะหนโยบายและแผนชํานาญการ นายเกียรติศักดิ์ เทพแสง นายชางไฟฟาชํานาญงาน นายทนงศักดิ์ ไทรงาม นักวิชาการคอมพิวเตอรชํานาญการ นายสุชาติ เบ็ญจวรรณ พนักงานประจําสํานักงาน นางวรรณี แกวศรี พนักงานประจําสํานักงาน นางศรีแพร มีศรีสวัสดิ์ พนักงานประจําสํานักงาน นางสาวยุวดี จํานงคพันธ เจาหนาท่ีบันทึกขอมูลและผลิตสื่อ

ที่ปรึกษา

จัดทําขอมูลและกราฟก

บรรณาธิการ

Page 115: คํานํา103.28.101.10/briefprovince/filedoc/94000000.pdf · คํานํา “ บรรยายสุปจร ังหัดปว ตตานี ประจําป