ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม...

10
ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชลศาสตร์ เขื่อนปากลาย พงษ์ศักดิ์ สุทธินนทภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้าน อุทกวิทยาและชลศาสตร์ ความปลอดภัยเขื่อน และการเดินเรือ

Upload: others

Post on 10-Jan-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

ข้อสังเกตด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชลศาสตร์

เขื่อนปากลาย

พงษ์ศักดิ์ สุทธินนท์ภาควิชาวิศวกรรมแหล่งน ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้เชี่ยวชาญด้าน อุทกวิทยาและชลศาสตร์ ความปลอดภัยเขื่อน และการเดินเรือ

Page 2: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

parepeadmaeping.com pulp-paperworld.com

เขื่อนไซยะบุรีเขื่อนภูมิพล

เขื่อนเก็บกักน ้า เขื่อนผลิตไฟฟ้าจากน ้าในล้าน ้า

เป็นโรงไฟฟ้าแบบไม่มอีา่งเก็บน า้ ผลติไฟฟ้าโดยอาศยัการไหลของน า้

ตามธรรมชาต ิซ ึง่จะมนี า้ไหลผ่านตลอดทัง้ปี

http://nstda.or.th/rural/public/100%20articles-stkc/13.pdf

(เขือ่นปากลายเป็นเขือ่นประเภทนี)้

เขือ่นขนาดใหญ ่สามารถเก็บกกัน า้ในฤดฝูนและน าไปใชใ้นฤดแูลง้ได ้

และสามารถควบคมุการใชน้ า้ในการผลติกระแสไฟฟ้าเสรมิในชว่งทีม่ี

ความตอ้งการใชไ้ฟฟ้าสงูไดอ้ยา่งตลอดปี

http://nstda.or.th/rural/public/100%20articles-stkc/13.pdf

(Run-of-River Hydro-power Dam)(Storage Dam)

Page 3: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

ช่องทางเดินเรือNavigation locks

ทางระบายน ้าล้นSpillway

อาคารโรงไฟฟ้าPower house

ทางผ่านปลาFish passage

องค์ประกอบหลักของเขื่อนผลิตไฟฟ้าจากน ้าในล้าน ้า

Source: Pak Lay HPP feasibility study review, final report

Page 4: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

การท้าแบบจ้าลองเขื่อนปากลาย

Source: Pak Lay HPP feasibility study review, final report

นอกเหนือจากการใช้แบบจ้าลองทางคณติศาสตร์ (mathematical model) แล้วมีการท้าแบบจ้าลองทางกายภาพ (physical model) เขื่อนปากลาย

เพื่อให้เข้าใจสภาพการไหลได้ดียิ่งขึ น

Page 5: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

ข้อมูลแผ่นดินไหวบริเวณที่ก่อสร้างhttps://earthquake.usgs.gov/earthquakes/map

ความกังวลเรื่องแผ่นดินไหว• ไม่มีรอยเลื่อนมีพลังในระยะ 5 กม • ไม่มีรอยเลื่อนในระยะ 120 กม• การออกแบบภายใต้มาตรฐาน

ต่างประเทศ• อย่างไรก็ตามควรมีการแผนการบริหาร

จัดการความเสี่ยงกรณีเขื่อนที่อยู่เหนือน ้าเกิดการพังและส่งผลต่อเขื่อนปากลาย

ทีต่ ัง้เขือ่นปากลาย

Page 6: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

http://www.terraper.org/web/th/node/1689

อพัเดตเมือ่เดอืนธนัวาคม 2558 ผลกระทบจากเขื่อนในพื นที่ตอนบนของเขื่อนปากลายการเพิ่มขึ้นของระดับน้้าในหน้าแล้งเมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยของปี 2482-2551เช่น ตัวอย่างในช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนพฤษภาคม ปี 2557-2559• ข้อกังวลเรื่องการผันแปรของระดับน้้ารายชั่วโมง, รายวัน ที่อาจผลกระทบต่อ

อาชีพ รายได้ เราต้องการการสื่อสารข้อมูลที่ถูกต้อง ล่วงหน้าเพื่อเตรียมการปรับตัว

ค่าเฉลี่ยของปี 2482-2551

Page 7: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

แผนที่แสดงต้าแหน่งที่ตั งสถานีวัดน ้า

http://www.tnmc-is.org

ข้อมูลระดับน ้า

การติดตามข้อมูลระดับน ้าที่เผยแพร่• http://www.tnmc-is.org• เผยแพร่ข้อมูลรายวันออนไลน์• สถานีเหนือน ้าและท้ายน ้าของเชียงคาน• ใช้เป็นขอ้มูลในสนับสนุนการตัดสินใจใน

พื นที่

Page 8: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

ข้อคิดจากกระบวนการ PNPCA โครงการไซยะบุรี

ประตูระดับต่้าLow level outlets

ข้อคิดจากกระบวนการแจ้งการปรึกษาหารือล่วงหน้าและข้อตกลง (PNPCA) โครงการไซยะบุรี

• หลังจากกระบวนการทั งจากภาครัฐ ภาควิชาการและภาคประชาชน ท้าให้เกิดกระบวนการปรับการออกแบบโครงสร้างตามข้อแนะน้า เช่น การออกแบบประตูระดับต่้าเพื่อให้มีการระบายตะกอนได้ดียิ่งขึ น หรือการออกแบบทางผ่านของปลาที่ค้านึงถึงชนิดของปลาในพื นที่มากยิ่งขึ น

Page 9: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

ข้อสรุป• โครงการปากลายมีการออกแบบทางวิศวกรรมที่อา้งอิงมาตรฐานต่างประเทศ และข้อแนะน้าการออกแบบ

ของคณะกรรมการลุ่มน ้าโขง MRCs หรือเทียบเท่า

• แต่มีข้อเสนอแนะเชิงเทคนิคเพิ่มเติมดังนี • การแชร์ข้อมูลอัตราการไหล, ระดับน ้า, ตะกอนในพื นที่ด้าเนินการ • การบริหารจัดการเขื่อนซึ่งจะส่งผลกระทบต่อระดับน ้าท้ายน ้าที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว (รายชั่วโมง) อาจส่งผล

ต่อการกัดเซาะของตลิ่งท้ายน ้า• ผลกระทบขณะก่อสร้าง และการด้าเนินการเขื่อน ควรถูกแชร์ให้กับผู้อยู่ท้ายน ้า• แผนการเตรียมความพร้อมฉุกเฉิน (Emergency Preparedness Plan (EPP)) กรณีเขื่อนต้นน ้ามีปัญหาควรมี

การเผยแพร่และปรับปรุงให้เหมาะสมกับพื นที่ปลายน ้า• ข้อมูลการออกแบบช่องทางการเดินเรือควรแชร์กับพื นที่ปลายน ้า

Page 10: ข้อสังเกต ด้านวิศวกรรม ความปลอดภัยเขื่อน อุทกวิทยาและชล ...tnmc-is.org/wp-content/uploads/2018/11/19112018_PNPCA_Paklay_1/4.Dr... ·

ขอขอบคุณ