วิธีการสำรวจ (survey method)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd...

64
เอกสารวิชาการ วิธีการสํารวจ (SURVEY METHOD) โดย นางสาวจิราภรณ ศรีอดุลยพันธุ สวนการใชน้ําชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน

Upload: others

Post on 28-Jun-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

เอกสารวิชาการ

วิธีการสํารวจ (SURVEY METHOD)

โดย

นางสาวจิราภรณ ศรีอดุลยพันธุ สวนการใชน้ําชลประทาน

สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน

Page 2: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

คํานํา เอกสารวิชาการฉบับนี้ไดจัดทําขึ้นเพื่อรวบรวมขอมูลการวิจัยทางดานสังคมศาสตรซ่ึงเกี่ยวกับการวิจัยแบบสํารวจ โดยเฉพาะอยางยิ่งวิธีการสํารวจอันประกอบดวยการหาจุดหรือแปลงสํารวจ การตั้งแปลงทดสอบผลผลิต การสํารวจผลผลิตตอไรและการประมวลผลผลิต เนื่องจากเปนขอมูลที่มีความสําคัญมาก เพราะสามารถที่จะนําไปใชไดโดยตรงสําหรับพนักงานสํารวจ เพื่อที่จะดําเนินการสํารวจผลผลิตตอไรของขาวนาปในเขตสํานักงานชลประทานภายใตโครงการชลประทานประเภทตางๆ

นางสาวจิราภรณ ศรีอดุลยพันธุ นักวิชาการเกษตร 7 ว

มิถุนายน 2548

Page 3: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

สารบัญ

หนา สารบัญ ก สารบัญตาราง ค สารบัญภาพ ง บทที่ 1 วิธีการทางวิทยาศาสตร 1 1.1 ความมุงหมายของวิธีการทางวิทยาศาสตร 1 1.2 การคนควาทางวิทยาศาสตร 1 1.3 ลักษณะวธีิการทางวิทยาศาสตร 2

บทที่ 2 วิธีการวิจยั 5 2.1 วัตถุประสงคของการวิจัย 5 2.2 องคประกอบของการวิจยั 5 2.3 ประเภทของการวิจยั 6

บทที่ 3 การวิจยัทางสังคมศาสตร 12 3.1 ขอจํากัดของการวิจยัทางสังคมศาสตร 12 3.2 ลักษณะ ขอบขายของการวิจัยทางสังคมศาสตร 13

บทที่ 4 การวิจยัแบบสาํรวจ 15 4.1 ความหมายของการวจิัยและการสํารวจ 15 4.2 แบบของการวิจยัดานการสํารวจ 16 4.3 ประชากรและกลุมตัวอยาง 21 4.4 ขอมูลและวิธีการเก็บขอมูล 30 4.5 การวิเคราะหขอมูล 35

บทที่ 5 วิธีการสํารวจ 37 5.1 การวางแผน 37 5.2 การตั้งแปลงทดสอบผลผลิต 38 5.3 การสํารวจผลผลิตตอไร 40

Page 4: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

สารบัญ

หนา บทที่ 5 วิธีการสํารวจ (ตอ)

5.4 การประมวลผลผลิต 45 5.5 การหาจุดหรือแปลงสํารวจ 52

บรรณานุกรม 57

Page 5: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 4.1 การออกแบบตัดขวาง : ความสุขในชีวิตสมรสในฐานะเปนบิดา-มารดา 19 4.2 การแบงกลุมในการวจิัยแบบตัดขวาง 19 4.3 การออกแบบตัดขวาง (ซํ้า) 20

4.4 แสดงจํานวนประชากร และจํานวนกลุมตัวอยางทีจ่ะสุมจากประชากร 29 ดังกลาวของ Krejec และ Morgan

5.5 แบบสํารวจผลผลิตตอไรของขาวหรือแบบสํารวจ จบ.1-26 43 5.6 แบบสํารวจผลผลิตตอไรของขาวหรือแบบสํารวจ จบ.1-27 44 5.7 ตารางการคํานวณผลผลิตตอไร 50 5.8 ตารางการคํานวณผลผลิตเบื้องตนตอไร 51 5.9 ตารางการคํานวณผลผลิตสุทธิตอไร 52

Page 6: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

สารบัญภาพ

ภาพที่ หนา 1.1 การแบงแยกกลุมการคนควาทางวิทยาศาสตรของ Hempel 2 2.2 การแบงประเภทการวจิัยตามระดับการควบคุม 11 4.3 องคประกอบเชิงระบบของความหมายของการวิจยั 16 4.4 การเปรียบเทยีบสองกลุม วัดครั้งเดียว 17 4.5 การออกแบบ Panel Design อยางงาย 18 4.6 แสดงประชากร กลุมตัวอยางและการอนุมาร 22 4.7 แสดงสวนหนึง่ของตารางเลขสุม 23 4.8 การสุมตัวอยางแบบแยกประเภทหรือแบบเชิงชั้นภูม ิ 24 4.9 แสดงวิธีการสุมแบบหลายขัน้ตอน 26 5.10 แผน Dot Grid แสดงเนื้อทีภ่ายใน (0.40x 25) กม2 38 5.11 แสดงพื้นที่ดนิตัวอยางลงบนแผนที่ 1 : 50,000 ในแตละป 38 5.12 แสดงการตั้งแปลงทดสอบผลผลิต 1 จุด 39 5.13 แสดงตําแหนงจุดสํารวจ ก. ในแผนที่ระวาง 5234 II 53 5.14 แสดงการวดัเสนพิกัด 54 5.15 วิธีการคํานวณจุดสํารวจพกิัดที่ 82503345 55 5.16 แสดงการหาจดุสํารวจบริเวณพื้นที่ 100 ไร 55 5.17 แสดงการหาจดุสํารวจบริเวณพื้นที่ 200 ไร 56

Page 7: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

1

บทท่ี 1 วิธีการทางวิทยาศาสตร

วิทยาศาสตรคือความรูที่ไดมาจากการศึกษาคนควาอยางเปนระบบโดยการสังเกต การสํารวจ การทดสอบหรือการทดลองจากประจักษธรรมชาติ อีกทั้งยังเปนวิชาและสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับการจัดระบบขอเท็จจริง หลักกฎเกณฑและวิธีการตางๆ โดยการวิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบถูกตองตามความเปนจริงเพื่อคนหาความสัมพันธระหวางปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขื้น (บุญธรรม, 2546) 1.1 ความมุงหมายของวิธีการทางวิทยาศาสตร

วิธีการทางวิทยาศาสตรมีความมุงหมายทีสํ่าคัญ 4 ประการ คือ 1.1.1 เพื่อพรรณนา 1.1.2 เพื่ออธิบาย 1.1.3 เพื่อทํานายหรอืคาดการณ 1.1.4 เพื่อควบคุม

1.2 การคนควาทางวิทยาศาสตร การคนควาทางวิทยาศาสตรแบงแยกออกเปน 2 กลุมคือ (Hempel, 1966)

1.1.5 วิทยาศาสตรเชิงประจักษ ประกอบดวยวิทยาศาสตรธรรมชาติและสังคมศาสตร

1.1.6 วิทยาศาสตรเชิงเหตุผล ประกอบดวยตรรกศาสตรและคณิตศาสตร ตอมาไดมีการแบงกลุมวิชาการออกเปน 3 กลุมคือ วิทยาศาสตร สังคมศาสตรและ

มนุษยศาสตร (โดยการวัดสาขาวิชาตรรกศาสตรและคณิตศาสตรไวในกลุมมนุษยศาสตร) วิชาที่จัดเขาเปนวิทยาศาสตรในประเภทแรกหมายถึง วิทยาศาสตร “ธรรมชาติ” ซ่ึงอาจแบง

ออกได 2 กลุม คือ วิทยาศาสตรกายภาพ (physical science) ดัวอยางเชน ฟสิกส เคมี ธรณีวิทยา ดาราศาสตร และวิทยาศาสตรชีวภาพ (biological science) ตัวอยางเชน พฤกษศาสตร สัตววิทยา จุลชีววิทยา พันธุศาสตร ชีววิทยา เปนตน วิชาที่จัดอยูในกลุมสังคมศาสตร มีตัวอยางสําคัญๆ คือ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร เศรษฐศาสตร ศึกษาศาสตร นิติศาสตร จิตวิทยา เปนตน วิชากลุมมนุษยศาสตร ประกอบดวยวิชาตางๆ ที่เกี่ยวกับ “คุณคาความเปนมนุษย” ที่สําคัญๆ คือ ปรัชญา ตรรกศาสตร คณิตศาสตร ภาษาศาสตร นิรุกติศาสตร ประวัติศาสตร ศาสนา วรรณคดี โบราณคดี ศิลปะ เปนตน

Page 8: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

2

การวิจัยในกลุมวิชาทั้งสามนี้มีลักษณะไมเหมือนกันมากนัก เพราะกลุมวิชาทั้งสามมีธรรมชาติที่แตกตางกันในกลุมวิชาวิทยาศาสตรเราสามารถวิจัยโดยการทดลองไดงายกวากลุมสังคมศาสตร หรือกลุมมนุษยศาสตร เพราะวิทยาศาสตรธรรมชาติตามนิยามขางตนเกี่ยวของกับส่ิงที่ไมใช “คน” เชน สัตวหรือส่ิงของซึ่งมีความซับซอนนอยกวาคน และควบคุมไดงายกวาคน วิชาทางสาขามนุษยศาสตรบางสาขา เชน ตรรกศาสตร และคณิตศาสตรไมอาจนํามา “ทดลอง” ได เพราะมีลักษณะ “สมบูรณในตัว” สวนประวัติศาสตรก็ไมอาจนํามาทดลองได เพราะเปนเรื่องที่เกิดขึ้นแลว เปนตน

ภาพที่ 1.1 การแบงแยกกลุมการคนควาทางวิทยาศาสตรของ Hempel

ฟสิกส

เคมี

ชีววิทยา และ

สาขาวิชาในแวดวงหรือ

เกี่ยวของ (border areas)

วิทยาศาตรธรรมชาติ

(nationral sciences)

สังคมวิทยา

รัฐศาสตร

มานุษยวิทยา

เศรษฐศาสตร

ประวัติศาสตร

สาขาวิชาอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของทางสังคม

สังคมศาสตร

(social sciences)

วิทยาศาสตรเชิงประจัก

(empirical sciences)

ตรรกศาสตร (logic)

คณิตศาสตร (mathematics)

วิทยาศสตรเชิงเหตุผล

(non-emporocal sciences)

การคนควาทางงวิทยาศสตร

(scientific inquiry)

ที่มา Hempel , 1966

1.3 ลักษ

การสํารวจ การตรวจสอบ การทดสอบหรือการทดลอง ฯลฯ ซ่ึง ลักษณะดังนี้ (บุญธรรม, 2546)

ณะวิธีการทางวิทยาศาสตร วิธีการทางวิทยาศาสตรที่ใชศึกษาคนควาหาคําตอบในสิ่งที่ยังไมรูเกีย่วกับปรากฏการณที่

เกิดขึ้นรอบๆ ตัวเรา อาจจะเปนการสังเกตมี

2

Page 9: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

3

1.3.1 สามารถหาขอเท็จจริง หรือ เก็บขอเทจ็จริงได (factual) วิธีการทางวิทยาศาสตรเปนวิธีการทํางานซึ่งสามารถคนหา เก็บขอเท็จจริงหรือขอมูลที่

สังเกตเห็นหรือที่แสดงใหดูได เชน ถาเราตองการศึกษาคนควาวาชาวเขาเผาตางๆ มีชีวิตความเปนอยูอยางไร เราก็ตองไปสํารวจหาขอเท็จจริงในถิ่นที่เขาอยู ไปสังเกตการดําเนินชีวิตและสอบถามหาความเป ากรูไดโดยตรง

า ในแตละหนวยของสังคมหรือในสิ่งแวดลอมตางๆ มีเรื่องหรือปญหาใหศึกษาคน

ไดอยางเ ม ทาํใหไดขอมูลสมบูรณเพื่อการสรุปผลที่ถูกตอง

องกันในขอมูลที่จะเก็บ และเมื่อไดมาแล อมูลตรงตามวัตถุประสงค

(scientific mind) จะพยายามคนหาวาอะไรคือความถูกตอง ยุติธรรม และดีงาม จะตองตื่นตัว อยากรู

นจริงในทุกสิ่งที่อยากเห็นหรืออย1.3.2 วิเคราะหได (analytical) สังคมของเรามักซับซอนและบางเรื่องก็สับสน เมื่อเราตองการศึกษาคนควาก็ตองแยกแยะ

ออกมาศึกษาองคประกอบ จากหนวยใหญแยกออกมาเปนหนวยยอย จากเรื่องใหญแยกออกมาเปนเร่ืองรองหรือเล็ก เพื่อจะไดศึกษาคนควาในแตละสวนแตละเรื่องไดละเอียดถ่ีถวน ทั้งนี้แลวแตเร่ืองที่เราจะทําการศึกษาคนคว

ความากมาย 1.3.3 เชื่อถือได (reliable) วิธีการทางวิทยาศาสตรตองอาศัยขอมูลตรงหรือจากตวัอยาง (sample) ที่เปนตวัแทนซึ่งเชื่อถือพยีงพอและเก็บไดมาในชวงเวลาที่เหมาะส1.3.4 ตรงตามความเปนจริง (objective) นักวิทยาศาสตรหรือนักวิจัย เมื่อสังเกตสิ่งใดก็ยอมเห็นตรงกันตามความเห็นจริง หากไม

ตรงก็ตองพิจารณาหาสาเหตุ ตัวอยางเชน เมื่อเรามองดูสุนัขตัวหนึ่ง คนอื่นที่ดูก็เห็นพองตองกันวานั่นคือสุนัข แตเมื่อเราไปงานประกวดสุนัขซึ่งสภาพแวดลอมตางกัน อาจมีขอสงสัยวานั่นคือสุนัขหรือไม objective หรือ objectivity หมายถึง การเห็นพองตองกันในหมูบุคคลที่สังเกตอะไรอยูวาสิ่งนั้นคืออะไร และแปลความหมายของสิ่งนั้นไปทางเดียวกันตรงตามความเปนจริง ในงานวิทยาศาสตรหรืองานวิจัยเราเกี่ยวของกับการเห็นตรงกัน หรือเห็นพองตองกันเกี่ยวกับขอมูลหรือขอเท็จจริงที่เรากําลังคนหา และเมื่อพบแลวก็ตองแนใจวานั่นคือขอมูลท่ีประสงค กลาวอีกนัยหนึ่งไดวา ในงานวิทยาศาสตรหรืองานวิจัย เราตองมีความเห็นที่สอดคล

วก็ตองยอมรับตรงกันวาเปนข1.3.5 ไมลําเอียง (impartial) วิธีการทางวิทยาศาสตรเปนวิธีการที่ชวยแกปญหา นักวิจัยมีทัศนคติทางวิทยาศาสตร คือ

เปนความรูสึกของนักวิจัยในการใชวิธีการทางวิทยาศาสตรดวยความสนใจ เต็มใจ และซ่ือสัตยตองานหรืออาจมีความลําเอียงในบางครั้ง ซ่ึงจะแตกตางกันไปในแตละบุคคล จําเปนตองมีการตรวจสอบ ทบทวนความเชื่อของตนเอง และศึกษาหาความคิดใหมๆ ผูมีใจเปนวิทยาศาสตร

3

Page 10: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

4

อยากเห็น สนใจและตื่นเตนกับการคนพบสิ่งใหมๆในโลกของเรา มีจิตใจเปดกวาง ไมลําเอียง และมีทัศนคติที่ดีในการใฝหาความรูซ่ึงไมมีวันจบสิ้น

4

Page 11: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

5

บทท่ี 2 วิธีการวิจัย

การวิจัยเปนการศึกษาคนควาหรือสํารวจตรวจสอบอยางจริงจังเชนเดียวกับการศึกษา

คนควาทางวิทยาศาสตร โดยเฉพาะอยางยิ่งการสํารวจตรวจสอบหรือการทดลองที่มุงจะคนหาและแปลความหมายของ

1. ขอเท็จจริงในปรากฏการณตางๆ หรือ 2. การปรับปรุงทฤษฎีหรือกฎเกณฑเมื่อไดขอเท็จจริงใหมๆ หรือ 3. การนําทฤษฎี กฎเกณฑใหมหรือปรับปรุงแลวไปประยุกตกับงานหรือกิจกรรมตางๆ

2.1 วัตถุประสงคของการวิจัย งานวิจัยเปนเรื่องสําคัญที่กอใหเกิดประโยชนกับมวลมนุษยเปนอันมาก ดังจะเห็นไดจาก

วัตถุประสงคของการวิจัย ดังนี้ (บุญธรรม , 2546) 2.1.1 เพื่อคนควาหาคําตอบในสิ่งที่ยังไมรู ความรูใหมๆ หรือเปนการเพิ่มพูนความรูที่มีอยู

เดิมใหสมบูรณเพื่อวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยางใด 2.1.2 เพื่อศึกษาหรือคนควาหาความสัมพันธระหวางปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้น ซ่ึงมีทั้งที่

อยูใกลตัวเราและหางไกลออกไป 2.1.3 เพื่อประดิษฐส่ิงใหมๆ หรือสรางสรรคส่ิงใหมๆ แนวทางใหมๆ ใหเกิดขึ้น 2.1.4 เพื่อสรางกฎเกณฑ หลักการ แนวคิด ทฤษฎีใหมๆ หรือปรับปรุงของเดิมใหเขากับ

สภาวการณที่เปลี่ยนแปลงไป เชน การพิสูจนสมมติฐานและทฤษฎีตางๆ 2.1.5 เพื่อเปนพื้นฐานในการวางแผน การกําหนดวัตถุประสงค และนโยบายเพื่อการ

บริหารงาน เพราะทําใหสามารถคาดการณความเปนไปในอนาคตได และชวยในการปรับแกแผนการดําเนินงานใหบรรลุความสําเร็จ

2.1.6 เพื่อแกปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ซ่ึงมีมากมายหลายเรื่องทําใหสังคมมีความเปนอยูที่ดีขึ้น 2.2 องคประกอบของการวิจัย

วิธีการศึกษาคนควาเพื่อจะคนหาคําตอบในสิ่งที่ยังไมรูหรือในสิ่งที่ยังสงสัยนั้น แนนอนที่สุดคําตอบที่ไดมาจะตองมีความนาเชื่อถือและถูกตองแมนยํา โดยคําตอบดังกลาวตองมี องคประกอบสําคัญอยางนอยที่สุด 2 ประการ คือ (อารง , 2527)

2.2.1 คําตอบที่ไดมานั้นจะตองมีพยานหลักฐานเพียงพอที่จะมายืนยัน ซ่ึงพยานหลักฐานตางๆ นั้น เรามักจะเรียกวา ขอมูล

Page 12: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

6

2.2.2 พยานหลักฐานตางๆ นั้นจะตองไดมา และเสนอยืนยันอยางมีระเบียบแบบแผนและมีกระบวนการขั้นตอน จะกระทําตามยถากรรมหรือยืนยันอะไรอยางสุมส่ีสุมหาไมได ซ่ึงเรามักเรียกสวนนี้วา ระเบียบวิธี 2.3 ประเภทของการวิจัย

วิธีการวิจัยไดมีการแบงไวหลายประเภทแตกตางกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยูกับเกณฑที่นํามาใชในการแบงแยก สรุปไดดังนี้

2.3.1 แบงตามวัตถุประสงค ไดทําการแบงแยกการวิจัยเชิงประจักษ (empirical research) ตามวัตถุประสงคของการวิจัยออกเปน 6 ประเภท คือ (Simon , 1969)

1) การวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research) การวิจัยเชิงพรรณนาเปนการวิจัยที่มุงอธิบายลักษณะของบุคคล กลุมคนหรือ

สภาวการณตางๆ อาจเปนการวิจัยที่จะศึกษาความถี่ซ่ึงสิ่งหนึ่งบังเกิดขึ้นหรือสัมพันธกับอีกสิ่งหนึ่ง โดยที่เนนความถูกตองแนนอน

2) การวิจัยแบบจําแนก (classification research) การวิจัยแบบจําแนกมุงจําแนกกลุมคนหรือส่ิงของออกเปนหมวดหมูที่จัดไวตาม

ประเภทหรือลักษณะที่กําหนด นักสังคมวิทยาอาจจําแนกคนไวเปนพวกๆ ตามอาชีพ เชื้อชาติ ฯลฯ นักสงเสริมการเกษตรอาจจําแนกเกษตรกรตามลักษณะการยอบรับแนวความคิดใหม (เร็ว-ชา)

3) การวิจัยแบบวัดผลหรือประมาณคา (measurement estimation) การวิจัยแบบวัดผลมุงที่จะกําหนดขนาดของปรากฏการณในมิติใดมิติหนึ่งหรือ

มากกวา เชน น้ําหนัก ความสูง ความเร็ว สติปญญา จํานวนสมาชิกหรืออยางอื่น ทั้งนี้อาจเพื่อการจําแนกไวใหเปนหมวดหมูหรือหาคาเฉลี่ย

การวิจัยแบบวัดผลเปนสวนขยายมาจากการวิจัยแบบพรรณนาและมักเปนสวนประกอบของการวิจัยอ่ืนๆ

4) การวิจัยแบบเปรียบเทียบ (comparison problems) การวิจัยแบบเปรียบเทียบเปนการวิจัยที่มุงจะเปรียบเทียบตัวแปรหรือปรากฏการณ

ตางๆ 2 อยางหรือมากกวาขึ้นไป การวิจัยแบบเปรียบเทียบนี้มักเปนการวิจัยแบบทดสอบสมมติฐาน (hypothesis-testing research)

5) การวิจัยแบบสัมพันธ (finding relationships) การวิจัยแบบสัมพันธหรือหาความสัมพันธ แยกออกเปน 2 แบบ คือ

5.1 การหาความสัมพันธระหวางเหตุการณ (events)

6

Page 13: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

7

ตัวอยางเชน – คะแนนการทดสอบ I.Q. จะสัมพันธกับความสําเร็จของการเรียนตอไปในอนาคตหรือไม การขึ้นลงของสภาวะเศรษฐกิจจะตามการขึ้นลงของตลาดหุนหรือไม

5.2 การหาสาเหตุและผล (finding cause and effects) ตัวอยางเชน – การสูบบุหร่ีเปนสาเหตุของการเปนมะเร็งในปอดหรือไม

การเคลื่อนไหวของตลาดหุนทําใหเกิดการเคลื่อนไหวของสภาวะเศรษฐกิจหรือไม 6) การวิจัยแบบจัดระบบ (system mapping research) การวิจัยแบบจัดระบบเปนการวิจัยเพื่ออธิบายแตเนนการจัดระบบมากกวา เชน

การศึกษาระบบโครงสรางของกลุมหรือวงศตระกูลวาใครเกี่ยวของกับใครในทางใด หรือการศึกษาโครงสรางทางเศรษฐกิจ เปนตน

การวิจัยแบบจัดระบบรวมเอาการวิจัยประเภทอื่นไวดวย ไดแก การวิจัยแบบจําแนกและการวิจัยแบบเปรียบเทียบ การวิจัยแบบจัดระบบนี้มีความสําคัญมากในทางเศรษฐกิจ เพราะเกี่ยวของกับการวิเคราะหระบบซึ่งเปนเรื่องที่ซับซอน หากไดทําความเขาใจก็จะชวยแกปญหาทางเศรษฐกิจไดอยางมาก

การวิจัยที่กลาวมามีทั้งประเภทมุงอธิบาย จําแนก วัดผล เปรียบเทียบ หาความสัมพันธและเพื่อจัดระบบ ใน 4 ประเภทแรกมุงที่จะเปดเผยใหทราบวามีปรากฏการณอะไร เปนอยางไร คือ เปนเชิงอธิบายหรือพรรณนาลักษณะของเหตุการณหรือส่ิงหนึ่งสิ่งใด การวิจัยแบบเปรียบเทียบจะอธิบาย 2 ส่ิงหรือหลายส่ิง หลายกลุม สวนการวิจัยแบบจําแนกจะสรางเครื่องมือเพื่อการอธิบายที่ถูกตองแนนอนและมีความหมายมากขึ้น สําหรับการวิจัยที่หาความสัมพันธของเหตุการณและหาสาเหตุ-ผลเปนสวนหนึ่งของการวิจัยแบบสัมพันธ

2.3.2 แบงตามวัตถุประสงค ไดทําการแบงการวิจัยตามวัตถุประสงคออกเปน 3 ประเภท คือ (Selltiz and Others, 1959)

1) การวิจัยแบบสํารวจ (exploratory studies) มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาปรากฏการณ สภาวะทั่วๆไปของปรากฏการณตางๆและ

นํามาเปฯพื้นฐานในการกําหนดปญหาการวิจัยหรือตั้งสมมติฐาน ฉะนั้นจึงเนนหนักในการคนหาแนวความคิดและความละเอียดลึกซึ้งของที่มาแหงปญหา

2) การวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive studies) มีจุดมุงหมายเพื่ออธิบายหรือพรรณนาลักษณะของบุคคล สภาวการณหรือกลุมคน

อาจเปนการอธิบายปรากฏการณหรือความสัมพันธระหวางปรากฏการณตางๆทั้งในเชิงพรรณนาและปริมาณ

3) การวิจัยแบบทดสอบสมมติฐาน (studies testing causal hypothesis)

7

Page 14: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

8

มีจุดมุงหมายเพื่อทดสอบสมมติฐาน เพื่อหาความสัมพันธดานสาเหตุและผลระหวางตัวแปรตางๆ

2.3.3 แบงตามวัตถุประสงคพื้นฐานและกรรมวิธีในการวิจัย ไดทําการแบงการวิจัยออกเปน 2 กลุม โดยการแบงตามวัตถุประสงคพื้นฐานและแบงตามกรรมวิธีการในการวิจัย คือ (Librero , 1985)

กลุมที่ 1 แบงตามวัตถุประสงคพื้นฐานของการวิจัย (basic aim of research) มี 3 วิธีการ ดังนี้

1. การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (fundamental or pure research) ความมุงหมายของการวิจัยพื้นฐานก็คือการพัฒนาทฤษฎีตางๆจากการคนพบ

ขอสรุป หลักหรือกฎเกณฑตางๆ การวิจัยพื้นฐานใชกรรมวิธีคัดเลือกตัวอยางอยางระมัดระวังเพื่อที่จะศึกษาและนําผลการศึกษาไปใชขตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว การนําผลการศึกษามาใชกบักลุมหรือสภาวการณที่ไดศึกษามีความสําคัญเปนอันดับรอง งานวิจัยพื้นฐานมักดําเนินการในหองปฏิบัติการ สวนในทางสังคมศาสตรมักเปนกิจกรรมวิจัยของนักจิตวิทยาซึ่งตองอาศัยคลีนิคหรือหองทดลองในบางสวนบางโอกาส

2. การวิจัยประยุกต (applied research) การวิจัยประยุกตมีลักษณะเหมือนกับงานวิจัยพื้นฐานรวมทั้งการฝชเทคนิคการัด

เลือกตัวอยาง แตแตกตางกับการวิจัยพื้นฐานในวัตถุประสงคของการทําการวิจัยซ่ึงมุงหวังจะแกปญหาในทางปฏิบัติที่เกิดขึ้นและนําผลการวิจัยไปใช เชน การปรับปรุงงานระบบ การปรับปรุงผลผลิตหรือกระบวนการผลิต ทดสอบแนวคิดทางทฤษฎีในสภาวการณที่ปญหาเกิดขึ้นจริงๆ

3. การวิจัยกิริยา (action research) การวิจัยกิริยามีความมุงหมายเนนการนําผลการวิจัยไปใชในทันที ไมเกี่ยวกับการ

พัฒนาทฤษฎีหรือการนําผลไปใชโดยท่ัวๆไป มีการเนนที่ปญหาคือ ตรงนี้และเดี๋ยวนี้ในสภาวะที่เกิดขึ้นจริง วัตถุประสงคของการวิจัยกิริยาก็เพื่อปรับปรุงวิธีการในภาคปฏิบัติและนําผลไปใชทันที

กลุมที่ 2 แบงตามกรรมวิธีในการวิจัยโดยเฉพาะ มี 3 วิธีการ ดังนี้ 1. การวิจัยเชิงประวัติศาสตร (historical research) การวิจัยเชิงประวัติศาสตรดําเนินการโดยการสอบสวน สืบประวัติ บันทึก

วิเคราะห และแปลความหมายของเหตุการณในอดีต โดยมุงหวังที่จะคนควาหาขอสรุปที่จะชวยทําความเขาใจเหตุการณในปจจุบัน และกําหนดขอบเขตที่จะทํานายหรือคาดการณในอนาคต

2. การวิจัยเชิงพรรณนา (descriptive research)

8

Page 15: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

9

การวิจัยเชิงพรรณนาเกี่ยวของกับคําอธิบาย การบันทึก การวิเคราะหและการแปลความหมายของสภาวการณตางๆที่เกิดขึ้นในปจจุบัน มีการเปรียบเทียบและคนหาความสัมพันธระหวางตัวแปรตางๆที่เกิดขึ้น

3. การวิจัยแบบทําการทดลอง (experimental research) การทดลองเปนการวิจัยที่อธิบายไดวา ตัวแปร 2 ตัวจะมีความแตกตางกันหรือไม

เมื่อตัวหนึ่งถูกควบคุม (controlled) และอีกตัวหนึ่งถูกทดลอง (experimented) เชน จะมีขอแตกตางกันหรือไมระหวางคะแนนสอบของนักเรียนที่ไมไดดูสไลดชุดการสอน (ควบคุม) กับนักเรียนที่ดู (ทดลอง)

เกี่ยวกับประเภทของการวิจัยที่ไดกลาวมาแลวมีซํ้ากันอยูบางเล็กนอย แตเมื่อรวมกันทั้งหมดแลวประเภทที่ แบงตามวัตถุประสงค มีดังนี้ คือ (1) การวิจัยเชิงพรรณนา (2) การวิจัยแบบจําแนก (3) การวิจัยแบบวัดผล (4) การวิจัยแบบเปรียบเทียบ (5) การวิจับแบบสัมพันธ (6) การวิจัยแบบจัดระบบ (7) การวิจัยแบบสํารวจ (8) การวิจัยแบบทดสอบสมมติฐาน (9) การวิจัยพื้นฐาน (10) การวิจัยประยุกต (11) การวิจัยกิริยา

สําหรับประเภทที่ แบงตามกรรมวิธีในการวิจัยโดยเฉพาะ ไดแก (1) การวิจัยเชิงประวัติศาสตร (2) การวิจัยเชิงพรรณนา (3) การวิจัยแบบทดลอง

2.3.4 แบงตามระดับการควบคุม ในการแบงประเภทการวิจัยตามระดับของการควบคุมซึ่งวิธีจําแนกประเภทของ

การวิจัยที่มีประโยชนวิธีหนึ่งคือ พิจารณาจากระดับของการควบคุมที่ผูวิจัยจะสามารถกระทําได ตั้งแตการควบคุมนอยไปหามาก เริ่มตั้งแตไมทราบไปสูผลที่ทราบในขั้นสุดทาย การควบคุมเปนวิธีการสําคัญอยางหนึ่งในบรรดาวิธีการตางๆที่นักวิทยาศาสตรนํามาใชในการทดลองเพื่อแยกแยะเอาส่ิงที่เปนสาเหตุ (cause) ออกจากสิ่งที่ไมใชเหตุหรือเพื่อผลในทางเปรียบเทียบ ซ่ึงจะชวยใหการเขาใจธรรมชาติของสิ่งที่ศึกษาไดดีขึ้น (ภาพที่ 2.2) และสามารถแบงประเภทของการวิจัยดังนี้ คือ (เย็นใจ, 2522)

1) การศึกษาเปนกรณี (case study) เปนการวิจัยที่มีขอบเขตแคบๆแตศึกษาลึกซึ้ง และผูที่ถูกศึกษาวิจัยหรือส่ิงที่ถูก

วิจัยมีเพียงรายเดียว การวิจัยแบบนี้มีประโยชนในการวิจัยเพื่อแกปญหาเฉพาะเรื่องเพราะจะชวยใหทราบปญหาไดลึกซึ้ง แตไมเหมาะที่จะนําไปใชเพื่อหากฎเกณฑทั่วไปเพราะศึกษาเพียงรายเดียว อยางไรก็ดีการศึกษาเพียงรายเดียวแตกระทําโดยทะลุปรุโปรงชวยใหผูที่คนควาวิจัยสามารถมองเห็นแนวทางที่จะตั้งสมมติฐานในการวิจัยตอไปได การคนพบทางวิทยาศาสตรสวนใหญจะ

9

Page 16: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

10

เร่ิมตนจากการศึกษาเปนกรณีเฉพาะกอน อันจะมีผลนําไปสูการคนพบกฎเกณฑทั่วไปภายหลัง ในแงการควบคุมการศึกษาเปนกรณีไมมีการควบคุมจากผูวิจัย

2) การวิจัยจากเอกสาร (documentary research) การวิจัยแบบนี้ผูวิจัยไมมีโอกาสควบคุมเรื่องที่ตนจะวิจัยเพราะเปนการวิจัยเชิง

ประวัติศาสคร คือ รวบรวมเรื่องที่เกิดขึ้นแลวและเปนเรื่องที่นาสนใจจะวิจัย การรวบรวมขอมูลจากเอกสารมีความจําเปนสําหรับนักวิจัยทุกคน เพราะจะทําใหทราบวาเรื่องที่ตนสนใจจะวิจัยนั้นมีผูใดวิจัยไวแลวบาง ในแงหรือประเด็นใด ใชวิธีใด ไดผลอยางไร ขอมูลบางอยางอาจเปนประโยชนตอผูวิจัยโดยตรงก็อาจนํามาใชอางอิงไดทันที สวนขอมูลท่ียังขาดอยูผูวิจัยตองเสาะหามาโดยอาศัยวิธีการตางๆที่เหมาะสมตอไป แหลงสําคัญของขอมูลจากเอกสาร คือ หองสมุดซึ่งเปนที่รวบรวมของเอกสารตั้งแตหนังสือ วารสาร พจนานุกรมไปจนกระทั้งไมโครฟลม เทปโทรทัศนและแผน disk เก็บขอมูลในการวิจัยที่ไมตองทดสอบหรือสํารวจ ผูวิจัยอาจไดขอมูลทั้งหมดจากเอกสาร เชน การวิจัยบางเรื่องเกี่ยวกับประวัติศาสตร วรรณคดี ปรัชญา ศาสนา เปนตน

3) การวิจัยสนาม (field study) มีลักษณะคลายคลึงกับการศึกษาเปนกรณี กลาวคือ ผูวิจัยเขาไปเปนสวนหนึ่งของ

ระบบที่ตนศึกษา โดยทําตัวให “เปนกลาง” มากที่สุด แตระบบนั้นไมใชกรณีเดียว แตเปนกลุมคนหรือส่ิงมีชีวิต/ไมมีชีวิตอ่ืนๆ โดยผูวิจัยพยายามสังเกตกฎเกณฑทั่วไป ซ่ึงในกรณีนี้เรียกวา การสํารวจขั้นตน (exploratory) หรือผูวิจัยอาจพยายามทดสอบสมมติฐานที่ตนไดตั้งไวแลว (hypothesis testing) นักมานุษยวิทยา (anthropologists) ใชวิ ธีวิจัยสนามมากที่ สุดในการศึกษาเกี่ ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวเขาเผาตางๆ นักชีววิทยาก็ใชวิธีการทํานองเดียวกันในการศึกษาพฤติกรรมของสัตวปาบางชนิด เชน ลิงชิมแปนซี ลิงกอริลลา เปนตน

4) การสํารวจ (survey research) หมายถึง วิธีการวิจัยโดยวิธีการรวบรวมขอมูลอยางมีระเบียบจากประชากรหรือ

กลุมตัวอยางโดยวิธีสัมภาษณหรือใชแบบสอบถาม การควบคุมกระทําไดโดยการแบงประเภทของผูตอบและประเภทของคําถาม การสํารวจเปนวิธีการที่นิยมใหกันมากเรพาะกระทําไดคอนขางสะดวกและรวดเร็วกวาวิธีทดลอง และสามารถครอบคลุมผูตอบไดเปนจํานวนมาก ตัวอยางการสํารวจเชน การศึกษาวิจัยเร่ืองที่เกี่ยวกับประชากร การศึกษาทัศนคติ คานิยม ความคิดเห็นทางการเมือง การสํารวจทางการศึกษา เปนตน

5) การวิจัยกิริยา (action research) เปนการวิจัยที่มีลักษณะคลายกับการวิจัยเปนกรณีแตมีขอแตกตางที่สําคัญ คือ

ผูวิจัยไมทําตัวเปนกลางแตพยายามแกไขปรับปรุง หรือมีอิทธิพลตอระบบที่ตนกําลังศึกษาวิจัยอยู

10

Page 17: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

11

พรอมๆกันกับการวิจัย โดยไมพยายามปดบังการกระทํานั้นๆ การวิจัยแบบนี้มักจะนิยมใชเพื่อแกปญหาตางๆที่เกิดขึ้น เชน ในหนวยงาน หรือเพื่อปรับปรุงระบบการทํางาน โดยที่ผูวิจัยเปนผูหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญในการแกไขหรือปรับปรุงนี้ดวย

6) การทดลอง (experiment) การทดลองเปนวิธีการที่สําคัญทางวิทยาศาสตรวิธีหนึ่งอาจแบงออกไดเปน 2

ประเภท คือ การทดลองในหองปฏิบัติการ (laboratory experiment) และการทดลองในสนาม (field experiment) การทดลองในหองปฏิบัติการเปนการวิจัยที่ควบคุมใหตัวแปรที่ตองการทราบแตไมอยูในความสนใจของผูทดลองมีอิทธิพลนอยที่สุดตอตัวแปรที่ตองการศึกษา วิธีทําคือ ปรับสภาพหองทดลองและสภาพแวดลอมของการทดลองใหอยูภายใตการควบคุมของผูทดลองมากที่สุด ปญหาหนักของการทดลองคือ สภาพอันไมเปนธรรมชาติของหองทดลองอาจกระทบกระเทือนตอตัวแปรที่ตองการศึกษาได สวนการทดลองในสนามแมวาจะเปนการทดลองในสภาพธรรมชาติ แตก็ยังมีปญหาในดานการควบคุมอิทธิพลของตัวแปรที่ไมตองการเพราะควบคุมยากกวา เชน การศึกษาสภาพการทํางานจริงของคนงานในโรงงาน การเรียนของนักเรียนในโรงเรียน เปนตน

7) การวิจัยแบบสรางสรรค (creative research) เปนงานวิจัยเพื่อสรางสิ่งใหม หลักเกณฑใหม ทฤษฎีใหม วิธีการใหมๆ การ

คนควาวิจัยประเภทนี้ผูวิจัยสามารถควบคุมผลงานของตนไดมากกวาการวิจัยประเภทอื่นๆทั้งหมด ตัวอยางเชน การออกแบบเมืองในอนาคต การสรางเครื่องรอนแบบใหม การประดิษฐไตเทียม การผลิตผลงานทางศิลปะตางๆ เปนตน

ภาพที่ 2.2 การแบงประเภทการวิจัยตามระดับการควบคมุ

ที่มา เย็นใจ , 2522

การสํารวจ (Survey Research)

การทดลอง (Experiment)

การวิจัยแบบสรางสรรค (Creative Research)

Ex Post Factor Research

Controlled Research

การควบคุมนอย การควบคุมมาก

การศึกษาเปนกรณี (Case Study)

การวิจัยจากเอกสาร (Documentary

Research) การวิจัยสนาม (Field Study)

การวิจัยกริยา (Action Research)

11

Page 18: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

12

บทท่ี 3 การวิจัยทางสงัคมศาสตร

สังคมศาสตร (social science) เปนการศึกษาเกี่ยวกับคนในสังคมวาเขาอยูกันอยางไร มี

วัฒนธรรมและการเปลี่ยนแปลง หรือความเปนมาอยางไร เชน อยูกันเปนครอบครัว เผา (tribes) ชุมชน มีเชื้อชาติ ศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ฯลฯ และพฤติกรรมตางๆ ที่นํามาศึกษาไดมากมาย สังคมศาสตร ไดแยกแขนงออกไปหลายสาขา เชน สังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา รัฐศาสตร รัฐประศาสนศาสตร นิติศาสตร ศึกษาศาสตร เศรษฐศาสตร สงเสริมการเกษตร และสาขาอื่นๆ ซ่ึงเกี่ยวของกับโครงสรางของสังคม และกิจกรรมของสมาชิกในสังคม (บุญธรรม, 2546) การวิจัยทางสังคมศาสตรเปนการศึกษาที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของมนุษยกับมนุษย สังคมและส่ิงแวดลอมที่มีอิทธิพลตอมนุษย โดยจะมุงแสวงหาคําอธิบายปรากฏการณทางสังคมที่สามารถนําไปใชอธิบายพฤติกรรมที่เปนเหตุและพฤติกรรมที่เปนผลสําหรับเหตุการณหนึ่งๆ และทํานายปรากฏการณหรือพฤติกรรมในอนาคตของสังคมภายใตเงื่อนไขตางๆ โดยพื้นฐานของการวิจัยทางสังคมศาสตรตั้งอยูบนสมมติฐานที่วา พฤติกรรมมนุษยเปนพฤติกรรมที่มีแบบแผนสามารถศึกษาได มีการสังเกตและวัดผลการเกิดขึ้นของปรากฏการณนั้นๆ โดยใชระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร (พิชิต , 2543) 3.1 ขอจํากัดของการวิจัยทางสังคมศาสตร

หากนําผลการวิจัยทางสังคมศาสตรไปเปรียบเทียบกับการวิจัยทางดานวิทยาศาสตรแลว จะพบวาการวิจัยทางดานสังคมศาสตรมีขอจํากัดคือ (พิชิต , 2543)

3.1.1 ความแมนยําในการวัด การวิจัยทางวิทยาศาสตรเปนการศึกษาคนควาเกี่ยวกับทางกายภาพหรือทางดานวัตถุ อุปกรณตางๆ และเครื่องมือที่ใช มีความแมนยําในการวัด เชน ตราชั่ง ไมเมตร เทอรโมมิเตอร เปนตน แตการวัดทางดานสังคมศาสตรคอนขางเปนนามธรรมเพราะเปนเร่ืองของความรูสึก จิตใจ ความดีงาม ความเชื่อ ฯลฯ การวัดบางครั้งไมสามารถวัดออกมาเปนตัวเลขได การสรางเครื่องมือใหวัดไดอยางแมนยําทําไดยาก 3.1.2 การควบคุมสภาพแวดลอมหรือตัวแปรที่จะมีอิทธิพลตอมนุษยทําไดยาก สภาพแวดลอมหรือตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการกําหนดพฤติกรรมมนุษยนั้นมีมากมาย ไดแก ปจจัยดานเวลา ส่ิงแวดลอมและสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม เปนตน ดังนั้นการหาเหตุผลมาอธิบายพฤติกรรมตองพิจารณาอยางรอบคอบ เพราะการศึกษาทางสังคมศาสตรเปนการศึกษาสภาพที่เกิดขึ้นแลว มีอยูแลว ไมสามารถจัดกระทําหรือสรางสถานการณเพื่อจะควบคุมตัวแปรไดชัดเจนเหมือนการวิจัยทางวิทยาศาสตร

Page 19: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

13

นอกจากนี้แลวยังมีผูใหขอเสนอแนะถึงขอจํากัดสําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตรดังนี้ คือ (Simon , 1969)

1. การวิจัยทางสังคมศาสตรเปนการวิจัยเกี่ยวกับคนหรือพฤติกรรมของคนในสังคม ซ่ึงเปนเรื่องที่คอนขางจะซับซอน ผลของการวิจัยที่ไดมาจึงไมคอยชัดเจนเหมือนทางสายวิทยาศาสตรธรรมชาติ 2. โดยปกติปญหาทางสังคมศาสตรจะเกี่ยวของกับตัวแปรที่สําคัญมากกวาหนึ่งตัวแปร และปรากฏบอยๆวามีความยุงยากที่จะแยกตัวแปรออกมาศึกษาโดยเฉพาะเกี่ยวกับการมีอิทธิพลหรือมีผลกระทบตอพฤติกรรมหรือตัวแปรอื่น

3. นักวิจัยหรือผูเกี่ยวของมีสวนกระทบตอการวิจัยโดยตรง เชน มีการลําเอียง ไมปฏิบัติตามเคาโครงการวิจัยหรือเก็บขอมูลไมตรงตามแผนการวิจัย เปนตน 3.2 ลักษณะขอบขายของการวิจัยทางสังคมศาสตร

ศาสตรหรือวิชาการแขนงตางๆ เปนองคความรูที่ประกอบดวยเนื้อหาวิชา (content) และวิธีการแสวงหาความรูในเนื้อหานั้นๆ (method) สามารถจัดแบงเปน 2 สาขาใหญๆ ไดแก 3.2.1 วิทยาศาสตร (natural science) เปนศาสตรที่เกี่ยวกับธรรมชาติและส่ิงมีชีวิตทั้งที่เปนวิทยาศาสตรกายภาพและวิทยาศาสตรชีวภาพ มีจุดมุงหมายเพื่อใหเขาใจความจริงของธรรมชาติ โดยมุงจะอธิบาย ทํานายและควบคุมธรรมชาติ

3.2.2 สังคมศาสตร (social science) เปนศาสตรที่วาดวยพฤติกรรมทางสังคมของมนุษยหรือปรากฏการณทางสังคม มีจุดมุงหมายเพื่อการอยูรวมกันดวยดีของมนุษยหรือของสังคม ซ่ึง องคการยูเนสโก (UNESCO) ไดแบงสังคมศาสตรไว 5 สาขา ดังนี้ (พวงรัตน , 2531)

1. มนุษยศาสตร ไดแก วิชาโบราณคดี ประวัติศาสตร ภาษาศาสตร บรรณารักษศาสตร ปรัชญา จิตวิทยา ศาสนศาสตร อักษรศาสตร และวิชาอ่ืนๆ ที่คลายคลึงกัน

2. การศึกษา ไดแก วิชาทางการศึกษา พลศึกษา และวิชาอ่ืนๆ ที่คลายคลึงกัน 3. วิจิตรศิลป ไดแก วิชาทางสถาปตยกรรม จิตกรรม ประติมากรรม การวาดภาพ วาทศิลป

การละคร และวิชาอ่ืนๆ ที่คลายคลึงกัน 4. สังคมศาสตร ไดแก วิชาการทางธนาคาร พาณิชศาสตรและการบัญชี รัฐศาสตร

ภูมิศาสตร ความสัมพันธระวางประเทศ วารสารศาสตร รัฐประศาสนศาสตร สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร สถิติ และวิชาอ่ืนๆ ที่คลายคลึงกัน

5. นิติศาสตร ไดแก วิชาที่เกี่ยวกับกฎหมายตางๆ หลักในการจําแนกสาขาวิทยาศาสตรกับสาขามนุษยศาสตรออกจากกัน คือ หลักการพิจารณาความนาเชื่อถือของความรูตางๆ วิชาใดที่ใชหลักความรูสึกและหลักเหตุผลในการพิจารณา

13

Page 20: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

14

ความนาเชื่อถือของความรูก็จัดเปนมนุษยศาสตร สวนวิชาใดใชหลักประจักษในการพิจารณาความนาเชื่อถือของความรูก็จัดเปนวิทยาศาสตร กลาวอีกอยางหนึ่งก็คือ มนุษยศาสตรแตกตางจากวิทยาศาสตรในดานวิธีการพิจารณาความรูนั่นเอง (ชัยพร , 2535)

14

Page 21: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

15

บทท่ี 4 การวิจัยแบบสํารวจ (Survey research design)

การวิจัยแบบสํารวจเปนการศึกษาที่นิยมใชกันมากทางดานสังคมศาสตร เพราะเปนการศึกษาที่เกี่ยวของกับพฤติกรรมของมนุษยกับมนุษย สังคมและสิ่งแวดลอมที่มีอิทธิพลตอมนุษย โดยมุงจะแสวงหาคําอธิบายปรากฏการณทางสังคมที่สามารถนําไปใชอธิบายพฤติกรรมที่เปนเหตุและพฤติกรรมที่เปนผลสําหรับเหตุการณหนึ่งๆ สังคมศาสตรไดแยกแขนงออกไปหลายสาขา เชน สังคมวิทยา มานุษยวิทยา รัฐศาสตร เศรษฐศาสตร ศึกษาศาสตร สงเสริมการเกษตร ฯลฯ ซ่ึงการสํารวจเปนกลยุทธที่ชวยใหเราสามารถศึกษาปรากฏการณที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติหรือจากการกระทําของมนุษยเรา และการวิจัยแบบสํารวจโดยทั่วไปถาประชากรมีจํานวนมาก เราจะเก็บขอมูลจากสวนหนึ่งของประชากรเพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาพฤติกรรมหรือเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น การกระจายหรือความสัมพันธภายในของปรากฏการณเหลานั้นซ่ึงมีเทคนิควิธีการที่ใชในการเก็บขอมูลคือ การสังเกต การสัมภาษณ และการสงแบบสอบถาม (บุญธรรม , 2546) 4.1 ความหมายของการวิจัยและการสํารวจ

4.1.1 การวิจัย มาจากคําภาษาอังกฤษวา research ซ่ึงแปลวา careful study or investigation นั่นคือ เปนการศึกษาอยางรอบคอบหรือเปนการสืบคนควาหาความรู ความจริงในประเด็นตางๆ หากพิจารณาจากคําภาษาไทย การวิจัย หมายถึง ปญญา ซ่ึงเปนคําที่มีความสําคัญมากตามหลัก พระพุทธศาสนา เพราะถือวาพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงปญญา ปญญาเปนตัวตัดสินที่ทําใหบรรลุจุดมุงหมายของพุทธศาสนา นั่นคือพระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงการวิจัย ดังพุทธพจนที่ตรัสวา “ธรรมนั้นเราแสดงไวโดยวิจัย” และการวิจัยมีความหมาย 4 ระดับ คือ 1) การคนหาความจริง 2) คนหาสิ่งที่ดี ส่ิงที่ตองการ ส่ิงที่เปนประโยชน 3) คนหาทางที่จะทําใหดีหรือหาวิธีการที่จะทําใหดี และ 4) หาวิธีที่จะทําใหสําเร็จ (พิชิต , 2543)

ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใหความหมายของการวิจัยวาหมายถึง การสะสม การรวบรวม การคนควาเพื่อหาขอมูลอยางถ่ีถวนตามหลักวิชาการ นอกจากนี้แลวไดมีผูใหความหมายของการวิจัยไวอีกหลายทาน ซ่ึงสามารถกลาวโดยสรุปไดวาการวิจัยหมายถึงกระบวนการศึกษาคนควาหาความรู ความจริงในสิ่งที่ยังไมรูหรือการแกปญหาดวยวิธีการที่เปนระบบหรือวิธีการทางวิทยาศาสตรซ่ึงเปนวิธีการที่เชื่อถือได ดังนั้นจากความหมายของการวิจัย ดังกลาวหากมองในรูปขององคประกอบเชิงระบบจะประกอบดวย

1. ปจจัยนําเขา (input) ไดแก ปญหาวิจัยซ่ึงหมายถึง ส่ิงที่ยังไมรูที่เปนขอสงสัยหรือส่ิงที่ตองการจะรู ตองการคนควาหาคําตอบ

Page 22: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

16

2. กระบวนการ (process) ไดแก กระบวนการศึกษาคนควาเพื่อหาคําตอบ หาความรูหรือแกปญหาดวยวิธีการที่เปนระบบ เชื่อถือได

3. ผลลัพธ (output) ไดแก ผลผลิต/ผลการวิจัยซ่ึงเปนคําตอบหรือขอความที่ไดจากการวิจัย ภาพที่ 4.3 องคประกอบเชิงระบบของความหมายของการวิจัย

กระบวนการ ปจจัยนําเขา ผลลัพธ

ปญหาวิจัย - สิ่งที่ไมรู - สิ่งที่ตองการจะรู - สิ่งที่ตองการ คนหาคําตอบ

กระบวนการศึกษา / คนควา - หาความรู - หาคําตอบ

ผลการวิจัย - คําตอบ - ขอเท็จจริง - ขอคนพบ - ความรูใหม

วิธีการที่เปนระบบ วิธีการทางวิทยาศาสตร

เช่ือถือได

ที่มา พิชิต , 2543 4.1.2 การสํารวจ (survey research) หมายถึง วิธีการวิจัยโดยการรวบรวมขอมูลอยางมี

ระเบียบจากประชากรหรือกลุมตัวอยางโดยวิธีสัมภาษณหรือใชแบบสอบถาม การควบคุมกระทาํไดโดยการแบงประเภทของผูตอบและประเภทของคําถาม การสํารวจเปนวิธีการที่นิยมใชกันมากเพราะกระทําไดคอนขางสะดวกและรวดเร็วกวาวิธีทดลอง และสามารถครอบคลุมผูตอบไดเปนจํานวนมาก ตัวอยางการสํารวจเชน การศึกษาวิจัยเร่ืองเกี่ยวกับประชากร การศึกษาทัศนคติ คานิยม ความคิดเห็นทางการเมือง การสํารวจทางการศึกษา เปนตน 4.2 แบบของการวิจัยดานการสํารวจ

แบบของการวิจัยดานการสํารวจมีหลายแบบดวยกันในที่นี้ขอกลาวถึงเพียง 3 แบบ ที่มักใชกันอยูคือ static group comparison, panel design อยูในกลุม longitudinal design และ cross-sectional design ดังนี้คือ (Librero , 1985)

4.2.1 การเปรียบเทียบระหวางกลุม วัดครั้งเดียว (static group comparison) เปนการเปรียบเทียบระหวาง 2 กลุม เกี่ยวของกับคาตัวแปร X โดยปกตินักวิจัยจะ

เปรียบเทียบการสังเกตหรือการวัด O1 และ O2 แลวพิจารณาวา มีความแตกตางกันหรือไม เนื่องจากตัวแปรใด

16

Page 23: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

17

ภาพที่ 4.4 การเปรียบเทียบสองกลุม วัดครัง้เดียว กลุม 1 X O1

กลุม 2 (not-X) O2

X = กลุมเกษตรกร + ดูการสาธิต ความรูในการใสปุย (O1 ) Not- X = กลุมเกษตรกร + ไมดูการสาธิต ความรูในการใสปุย (O2) - - - - - = เสนแบงกลุมที่ไดมาโดยไมสุมตัวอยาง อาจเปนกลุมที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ หรือ กลุมที่จัดขึ้นโดยเหตุผลอยางหนึ่งอยางใด

ที่มา Charles , 1991 4.2.2 การวิจัยแบบระยะยาว (longitudinal design) เนื่องจากการวิจัยแบบเก็บขอมูลจากคณะ (panel design) อยูในประเภทการวิจัยแบบระยะยาว

จึงขอกลาวในกรอบใหญกอน เพื่อนําเขาไปสูแบบยอยตอไป การวิจัยแบบระยะยาวมีความมุงหมายที่จะวัดความเปลี่ยนแปลงในชวงเวลาที่ยาว โดยเก็บ

ขอมูลที่เกี่ยวของอยางนอย ณ สองจุดเวลา คลายๆ กับการวิจัยแบบทดลองที่มีการวัดกอน (pre-test) และวัดทีหลัง (post-test) อยางไรก็ดีการวิจัยแบบระยะยาวตามแบบฉบับแลวไมมีกลุมควบคุมที่จัดขึ้นโดยการสุมตัวอยาง (randomized control group)

ความหมายของการวิจัยแบบระยะยาวสามารถแปรผันจากแบบพรรณนา (descriptive) ไปสูแบบอธิบาย (explanatory) ได คุณคาของการวิจัยแบบระยะยาวอยูกับความจริงที่วาสามารถชวยใหเราตรวจสอบความเปลี่ยนแปลง (changes) หรือความคงที่ (stability) ได สามารถเปดเผยทิศทางของความเปลี่ยนแปลงไดเปนอันมากทั้งในระดับหนวยงาน สังคม และระดับบุคคล

การออกแบบการวิจัยศึกษาระยะยาว เปนการออกแบบเพื่อสังเกตหรือวัดตัวแปรของบุคคลหรือกลุมที่เกี่ยวของกับเวลาในชวงเวลาตางๆ กัน อาจเปน 2-3 คร้ัง หรือมากกวาตามลําดับ คือ O1 O2 O3 O4 …On โดยที่ O แสดงถึงการสังเกตหรือวัดตัวแปรทั้งหมดในแตละครั้ง ทั้งนี้เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะตางๆ ของตัวแปรอยางตอเนื่อง ไดมีการแบงการวิจัยแบบระยะยาวออกเปน 3 แบบยอย ดังนี้

1. การศึกษาแนวโนม (trend study) เปนการศึกษาตัวแปรของตัวอยางที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาหรือไมคงที่ ณ จุดตางๆ

ของชวงเวลา เชน “พัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กในชวงเวลา 6 ปแรก” “การผลิตขาวเพื่อการสงออก พ.ศ. 2541-2545” เปนตน การศึกษาแนวโนมอาจเก็บขอมูลในอดีตกับปจจุบัน ทําใหไดแนวโนมที่จะดูความเปนไปหรือกําหนดทิศทางในอนาคตได หรืออาจศึกษาสภาวการณในปจจุบันแลวทําตอเนื่องไปตามระยะเวลาที่กําหนด แลวสรุปเปนแนวโนมไดวาทิศทางขางหนาจะเปนอยางไร

17

Page 24: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

18

2. การศึกษาตัวอยางที่คลายกัน (cohort study) เปนการวิจัยที่เกี่ยวของกับการคัดเลือกกลุมคนที่คลายกัน ณ จุดหนึ่งของเวลา และติดตาม

ตอมาวาจะเปลี่ยนแปลงเปนอยางไร อาจเปนกลุมคนที่เกิดในปใดปหนึ่ง กลุมผูจบการศึกษารุน พ.ศ. นั้น พ .ศ . นี้ เปนตน ตัวอยางเชน ตั้งคําถามวา ผูจบปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ.ศ. 2545 ออกไปประกอบอาชีพอะไรบาง กลุมผูสูงอายุประพฤติตนอยางไรเกี่ยวกับสุขภาพ อาจมีการเปรียบเทียบระหวางบุคคลในกลุมในเรื่องตางๆ หรือแบงเปนกลุมยอยก็สามารถกระทําได

3. การศึกษาคณะ/กลุม (panel study หรือ panel design) เปนการวิจัยแบบที่มีการเก็บขอมูลจากคณะหรือกลุม ณ จุด 2 จุดของเวลา เพื่อศึกษาความ

เปลี่ยนแปลง (changes) อาจสังเกตผลที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติระหวางเวลาที่ 1 (time 1) และเวลาที่ 2 (time 2) หรืออาจมีการกระทํา/การทดลอง treatment (X) ก็ได เชน อาจตั้งคําถามวาชีวิตครอบครัวภายหลังการแตงงานแลวเปนอยางไรบาง โดยมีคําถามยอยๆ ในเรื่องตางๆ (ตัวแปร) เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงไดแก การทํางานในบาน (กอนแตงงาน-หลังแตงงานหรือ pretest-posttest ถาวัด 2 คร้ัง) ฯลฯ

ภาพที่ 4.5 การออกแบบ Panel Design อยางงาย

เวลาที่ 1 (time 1) Intervention เวลาที่ 2 (time 2) (ตัวแปรอิสระ หรือทดลอง)

? วัดตัวแปร (pre-test)

วัดตัวแปร (post-test)

ที่มา Guralnik และคณะ

4.2.3 การวิจัยแบบตัดขวาง (cross-sectional design) การวิจัยแบบตัดขวางจะวัดตัวแปรหรือเก็บขอมูลจากกลุมในแตละจุดของเวลา โดยวัด

ความแตกตางระหวางกลุมที่ปรากฏในขณะนั้น (existing differences) มากกวาที่จะไปวัดความเปลี่ยนแปลง (changes) ในแบบ panel study

18

Page 25: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

19

ตารางที่ 4.1 การออกแบบตดัขวาง : ความสุขในชีวิตสมรสในฐานเปนบิดา-มารดา

กลุม เวลา ณ จุดที่ 1 (T1)

วัดครั้งแรก

ตัวแปรตน (intervention หรือ

treatment) (X)

เวลา ณ จุดที่ 2 (T2) วัด 5 ป ตอมา

1 ระดับความสุข ในชีวิตสมรส

ไมมีบุตรเลย ระดับความสุข

ในชีวิตสมรส (Y)

2 ระดับความสุข ในชีวิตสมรส

มีบุตรคนแรกในชวง 1 ปที่ผานมา

ระดับความสุข ในชีวิตสมรส (Y)

3 ระดับความสุข ในชีวิตสมรส

มีบุตรคนแรกในชวง 1-5 ปที่ผานมา

ระดับความสุข ในชีวิตสมรส (Y)

ที่มา Guralnik และคณะ

ตามตารางที่ 4.1 มีกลุม 3 กลุมคือ (1) กลุมไมมีบุตรเลย (2) กลุมที่มีบุตรคนแรกในชวง 1 ปที่ผานมา (อายุนอยกวา 1 ขวบ) และ (3) กลุมที่มีบุตรคนแรกในชวง 1-5 ปที่ผานมา (อายุระหวาง 1-5 ขวบ) ทําการวัดระดับความสุขในชีวิตสมรสของคูสามี-ภรรยาในแตละกลุม (เชน มาก-ปานกลาง-นอย) ทั้ง 3 กลุมพรอมกันในครั้งแรก หลังจากนั้นมา 5 ป มีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น (X) คือ มีบุตร-ไมมีบุตร นําคําถามเดิมในครั้งแรกมาถามอีกก็สามารถเปรียบเทียบกลุมในแงของความแตกตางของตัวแปรตาม คือระดับความสุขในชีวิตสมรสที่สะทอนใหเห็นในฐานะที่เปนบิดา-มารดา

ลักษณะของกลุมในการวิจัยแบบตัดขวาง ในการวิจัยแบบตัดขวาง เราสรางกลุมขึ้นมาจากความแตกตางของตัวอยาง (sample) เปน

พื้นฐาน ตัวอยางจะถูกแบงออกเปนกลุมตางๆ ตามประเภทความแตกตางของตัวแปรตนที่ถูกจัดไว ดังจะสังเกตไดจากตัวอยางของกลุมที่ไดกลาวมาแลว

ตารางที่ 4.2 การแบงกลุมในการวิจยัแบบตดัขวาง

วิธีจัดแบงกลุม การวัดคร้ังแรก

(pre-test)

ตัวแปรตน (independent variable หรือ intervention)

(X)

การวัดคร้ังหลัง (post-test)

ไมสุมตัวอยาง ไมมี ลักษณะที่ปรากฏ

(existing characteristic) (Xa)

การวัดตัวแปรที่เปนผล (outcome variable)

(Y)

ไมสุมตัวอยาง ไมมี ลักษณะที่ปรากฏ

(different existing characteristic) (Xb)

การวัดตัวแปรที่เปนผล (outcome variable)

(Y)

ที่มา Guralnik และคณะ

19

Page 26: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

20

ตามตารางที่ 4.2 แสดงตัวแปรตนที่จัดไวตามประเภทของความแตกตาง ขอมูลเกี่ยวกับ ตัวแปรเหลานี้และผลของการวัดจะถูกรวบรวม ณ จุดเดียวกันของเวลา

การวิจัยแบบตัดขวางมิไดจํากัดอยูเฉพาะการเปรียบเทียบระหวางสองหรือสามกลุม ประเภทของความแตกตางของตัวแปรตนมีสวนอยางมากในการจัดกลุม ปรากฏอยูบอยๆ ที่เราจะดูความสัมพันธระหวางตัวแปรตอเนื่อง (continuous variables) เชน ระดับอายุ รายได การศึกษา ฯลฯ เราอาจเปรียบเทียบระดับอายุทั้งหมด (หรือกลุม) และดูวารายไดจะแปรผันอยางเปนระบบตามลําดับอายุหรือไม

การวิจัยแบบตัดขวาง (ซํ้า) (repeated-sectional studies) การวิจัยแบบนี้เกี่ยวของกับการเก็บขอมูล ณ จุดของระยะเวลาหลายจุดจากตัวอยางที่แตกตาง

กันในแตละจุด คือแทนที่จะติดตามเก็บขอมูลจากกลุมบุคคลในชวงเวลาหนึ่ง แลวสังเกตวาบุคคลเหลานั้นมีความเปลี่ยนแปลงไปอยางไรบาง แตในการวิจัยแบบนี้กลับออกแบบใหเก็บขอมูลเปรียบเทียบระหวางตัวอยางตางๆ ในแตละจุดของระยะเวลา ดังนั้นในระยะเวลาที่ยืดไปก็จะถามคําถามเดิมๆ กับตัวแปรตนตัดขวางเหลานั้น (independent cross-sectional variables) ดังตัวอยางในตารางที่ 4.3

ตารางที่ 4.3 การออกแบบตดัขวาง (ซํ้า) T1 T2 T3 T4 T5 T6

ตัวอยางที่ 1 ตัวอยางที่ 2 ตัวอยางที่ 3 ตัวอยางที่ 4 ตัวอยางที่ 5 ตัวอยางที่ 6 คําถาม ก คําถาม ก คําถาม ก คําถาม ก คําถาม ก คําถาม ก คําถาม ข คําถาม ข คําถาม ข คําถาม ข คําถาม ข คําถาม ข คําถาม ค คําถาม ค คําถาม ค คําถาม ค คําถาม ค คําถาม ค คําถาม ง คําถาม ง คําถาม ง คําถาม ง คําถาม ง คําถาม ง คําถาม จ คําถาม จ คําถาม จ คําถาม จ คําถาม จ คําถาม จ

ที่มา Guralnik และคณะ

ตามตารางที่ 4.3 แสดงจุดตางๆ ของระยะเวลา (T1 T6) ที่จะเก็บขอมูลจากตัวอยางที่แตกตางกัน (ตัวอยางที่ 1-6) โดยใชคําถามเหมือนกัน (คําถาม ก จ) กับทุกตัวอยาง

การจัดทําสํามะโนประชากรในแตละประเทศ (national census) เปนตัวอยางที่ชัดเจนของการวิจัยแบบนี้ คือ ตองไปถามขอมูลตางๆ จากครอบครัวที่เปนตัวอยางซึ่งขอมูลคงไมเหมือนกันในแตละครอบครัว เชน ถามเรื่องที่อยูอาศัย จํานวนสมาชิกในครอบครัว การศึกษา อาชีพ การถือครองที่ดิน ฯลฯ

20

Page 27: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

21

4.3 ประชากรและกลุมตัวอยาง ประชากรและกลุมตัวอยางเปนเรื่องที่สําคัญสําหรับทําใหการวิจัยบรรลุความสําเร็จมาก

หรือนอย เพราะเปนสวนที่จะใหขอมูลตางๆ ในการตอบคําถามของวัตถุประสงคและสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว

4.31. ประชากร (population) ประชากรสําหรับการวิจัยอาจจะเปนคน สัตวเล้ียง พืชที่ปลูก ส่ิงของ ส่ิงกอสราง ฯลฯ ที่จะ

ทําการศึกษาคนควา (Williams , 1968) ประชากรอาจจะแบงเปนกลุมยอย (sub-population or stratum) ตามขอกําหนดในการแบง

เชน แบงคนออกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ฯลฯ องคประกอบของประชากร (population elements) เชน คนแตละคน สัตวแตละตัว พืชแต

ละตน สิ่งของแตละชิ้น ฯลฯ เปนสิ่งที่สําคัญมากสําหรับการศึกษา เนื่องจากในบางครั้งเราไมสามารถศึกษาจากประชากรจํานวนทั้งหมดได จึงจําเปนตองเก็บขอมูลจากองคประกอบของประชาชนบางสวนเพื่อประหยัดงบประมาณ เวลา และแรงงาน

4.3.2 กลุมตัวอยาง (samples) กลุมตัวอยางเปนสวนหนึ่งหรือตัวแทนของประชากรที่ทําการศึกษาเพื่อที่จะนําขอสรุปไป

อนุมานกับประชากรทั้งหมด หรือกลาวอีกอยางหนึ่งวาเราเลือกกลุมตัวอยางเมื่อแผนการวิจัยกําหนดใหเก็บขอมูลจากประชากรจํานวนมากและอยูกันกระจัดกระจาย ทําใหไมสะดวกที่จะศึกษาสวนทั้งหมดหรือองคประกอบทั้งหมดของประชากรได กลุมตัวอยางจะใหคุณลักษณะหรือสะทอนภาพประชากรทั้งหมดใหเราเห็น

ประชากรบางสวนที่เรานํามาศึกษานั้น คือ ตัวอยางหรือตัวแทน (sample) โดยปกติจะเลือกมาสวนหนึ่งหรือกลุมหนึ่งเพื่อทําการศึกษา เรียกวา กลุมตัวอยาง (samples) ผลการวิจัยเกี่ยวกับประชากรทั้งหมดจะดีหรือไมดีนั้นขึ้นอยูกับการเลือกตัวอยาง หรือตัวแทน (sampling)

การเลือกตัวอยาง (sampling) คือการเลือกเอาสวนประกอบของประชากรจํานวนหนึ่งเพื่อนํามาศึกษา ผลการศึกษาสรุปไดเปนอยางไรถือวาเปนขอสรุปจากประชากรทั้งหมด (Byrn , 1962)

21

Page 28: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

22

ภาพที่ 4.6 แสดงประชากร กลุมตัวอยางและการอนุมาน

1. กําหนด ประชากร

2. เลือก ตัวอยางมา สวนหนึ่ง

3. ศึกษาและสรุปผล

4. อนุมานวาประชากรทั้งหมดเปนตามขอ 3

ที่มา Byrn , 1962

4.3.3 วิธีเลือกกลุมตัวอยาง (sampling techniques) การเลือกกลุมตัวอยาง (sampling) หมายถึง การนําเอาสวนหนึ่งสวนใดของประชากร

ออกมาเสมือนวาเปนตัวแทน ซ่ึงการเลือกตัวอยางมี 2 วิธีคือ การเลือกแบบเปนตัวแทน (probability sampling) กับการเลือกแบบไมเปนตัวแทน (non-probability sampling) (Blalock , 1970)

การเลือกแบบเปนตัวแทน (probability sampling) ลักษณะสําคัญของการเลือกตัวอยางแบบนี้ คือ ผูวิจัยใหโอกาสในการถูกเลือกแกประชากร

ทั้งหมดและสามารถกําหนดลักษณะหรือขอบเขตอันพึงประสงคได วิธีเลือกแบบเปนตัวแทนมีดังนี้ 1. การสุมตัวอยาง (random sampling) เปนการคัดเลือกตัวอยางจํานวนหนึ่ง (n) จากประชากรทั้งหมด (N) โดยทุกๆ คนหรือทุกๆ

หนวยที่เปนองคประกอบประชากรมีโอกาสเทาเทียมกันในการถูกคัดเลือก การสุมตัวอยางที่ใชกันอยูมีดังนี้ 1.1 การสุมตัวอยางแบบงาย (sample random sampling) ไดแก การใชตารางเลขสุม และ

การจับสลาก วิธีนี้เหมาะกับประชากรที่มีลักษณะคลายคลึงกันหรือเหมือนๆ กัน (homogeneous) คือไมแตกตาง (heterogeneous) กันมาก

1) การใชตารางเลขสุม (random-number table) โดยใหหมายเลขประจําแกองคประกอบของประชากร แลวคัดเลือกตัวเลขจากตารางเลขสุมอยางมีระเบียบแบบแผน เชน คัดเลือกตัวเลขตามแนวตั้ง แนวนอน ทแยง ฯลฯ อยางใดอยางหนึ่งตามที่กําหนด อาจเปนเลขหนา 2 ตัว (จํานวน

22

Page 29: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

23

100) ของทุกแถวตามแนวตั้งหรือเปนเลขทาย 3 ตัว (จํานวน 1000) ของตัวเลขทุกแถวตามแนวนอน จนไดจํานวนตัวอยางตามที่ตองการ

ภาพที่ 4.7 แสดงสวนหนึ่งของตารางสุม 33591 59785 12833 98932 68064 58418 90331 55858 04015 21454 64446 51017 222280 75597 50227 72136 00303 38880 93327 49522 98626 82484 54610 07211 78610

58393 20025 05436 46172 88951 37346 51007 38032 36002 21080 70712 44236 96795 92351 92844 93585 09918 30983 44282 66849 09473 72923 16747 49802 50639 - - - - - - - - - - - - - - - ที่มา บุญธรรม , 2546 (อางถึง A Million Digits, by the Rand Corporation, Santa Monica, California) ถาประชากร 100 ใหหมายเลขตั้งแต 001-100 เชน 001 002 003 ...099 100 ถากําหนดเลือกเลขหนา 2 ตัวทุกแถว (แนวตั้ง) ก็จะได 33, 59, 12, 98, 68, 58, ... ถาประชากร 150 ใหหมายเลขตั้งแต 001-150 เชน 001 002 003 ...149 150 ถาประชากร 1000 ใหหมายเลขตั้งแต 0001-1000 เชน 0001 0002 ...0039 1000 ถากําหนดเลือกเลขทาย 3 ตัวเวนแถว (แนวนอน) ก็จะได 591, 785, 833, 932, 064, 446, 017...

2) การจับสลาก โดยการเขียนหมายเลขของประชากรลงในสลากมวนใสภาชนะคละกันใหทั่ว แลวหยิบขึ้นมาจนไดจํานวนตัวอยางตามตองการ (วิธีนี้โอกาสในการถูกคัดเลือกจะไมเทากันถาจํานวนประชากรมาก สลากอาจติดอยูขางลางไมคอยแนะนําใหใช)

1.2 การสุมตัวอยางเปนระบบ (systematic random sampling) วิธีการนี้ใชในกรณีที่ประชากรจัดเรียงอยางเปนระบบอยูแลว เชน บัญชีรายช่ือบุคคล บัญชีรายช่ือหนังสือ สมุดโทรศัพท ฯลฯ หากยังไมมีก็จะทําเบอรประจําตัวใหเรียงเปนลําดับไปจนครบจํานวนประชากร (ถาประชากร 800 คน จะเริ่มตั้งแตหมายเลข 001-800) แลวดําเนินการดังนี้

1) หาชวงเวน (interval) ระหวางประชากรเพื่อนํามาสุม คิดไดตามสูตร ชวง (interval) = N

n ขนาดของประชากร ขนาดของตัวอยาง

i = (ตัวเลขสมมติ) i = 4

8020

0 0

23

Page 30: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

24

2) ตามหลักแลว ชวงเวนระหวางประชากรแตละคน (สมมติวาเปน m) จะเปนดังนี้ m+ i, m + 2i, m +3i -- จะมีการเพิ่มชวงหางจากคนแรกไปตามลําดับจนครบจํานวนตัวอยางที่ตองการ (200)

3) สุมหมายเลขเริ่มตนจากประชากรทั้งหมด (001-800) สมมติวาไดหมายเลข 012 ก็จะเปนตัวอยางแรก

4) หมายเลขตอไปถัดจากหมายเลข 012 ที่ไดรับเลือกมาเปนกลุมตัวอยางโดยอัตโนมัติคือ หมายเลข (012), 016 (012+4), 020 (016+4), 024 (020+4) ... จนครบ 200 คน

1.3 การสุมตัวอยางแบบแยกประเภทหรือแบบชั้นภูมิ (stratified sampling) ในกรณีที่ประชากรแตกตางกัน (heterogeneous) ในบางลักษณะ เชน อาชีพ การศึกษา ศาสนา ฯลฯ ก็สามารถแยกออกมาเปนกลุมยอย (strata) ที่เหมือนกันใหอยูดวยกันเปนพวกๆ (homogeneous group) เพื่อศึกษาหรือเปรียบเทียบตัวแปรตางๆ

จากการแบงแยกออกมาก็จะได กลุมอาชีพขาราชการ-กลุมอาชีพเกษตรกร กลุมนิสิตปที่ 1-กลุมนิสิตปที่ 4 กลุมนับถือศาสนาพุทธ-กลุมนับถือศาสนาอิสลาม จากนั้นก็ทําการสุมตัวอยางแบบงาย หรือสุมอยางเปนระบบจากกลุมยอยที่ไดแบงแยกไวแลวนั้น จนไดกลุมตัวอยางตามที่ตองการ

สมมติวา ผูวิจัยประสงคจะศึกษาเฉพาะกรณีเกี่ยวกับอาชีพของประชาชนในตําบลหนึ่ง ซ่ึงประชาชนประกอบไปดวยผูนับถือศาสนาพุทธและผูนับถือศาสนาอิสลาม ซ่ึงถือวาเปนประชากรที่มีความแตกตางกัน (heterogeneous group)

ขั้นแรก แบงประชากรเปนกลุมยอย คือ กลุมผูนับถือศาสนาพุทธ และกลุมผูนับถือศาสนาอิสลาม ขั้นที่ 2 ดําเนินการสุมตัวอยางในแตละกลุมจนไดจํานวนตัวอยางตามที่ตองการ มีขอสังเกตวาการสุมตัวอยางแบบแยกประเภท อาจจะใหโอกาสแกประชากรในการถูกคดัเลอืก

ในอัตราสวนที่ไมเทาเทียมกัน อยางกรณีที่แสดงในภาพที่ 4.8 จํานวนประชากรในกลุมยอยแตกตางกัน ผูนับถือศาสนาอิสลามมีโอกาสในการถูกคัดเลือกในอัตราสวน 5/1 ซ่ึงนอยกวาผูนับถือศาสนาพุทธ (2/1)

ภาพที่ 4.8 การสุมตัวอยางแบบแยกประเภทหรือแบบชั้นภมูิ

(พุทธ 200 คน) ประชากร

(อิสลาม 500 คน)

แยกประชากร เปน 2 กลุม ดําเนินการสุม

ตัวอยางใหได 100 (สมมติ) จากแตละกลุม

อิสลาม 500

พุทธ 200

ที่มา บุญธรรม, 2546 5/1

100 2/1 100

24

Page 31: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

25

1.4 การสุมตัวอยางแบบกลุม (cluster or area sampling) วิธีนี้แบงประชากรออกเปนกลุมใหญ (clusters) กอน แลวสุมกลุมใหญนี้โดยการสุมตัวอยางแบบงายหรือสุมแบบแยกประเภท ใหไดตัวอยางตามจํานวนที่ตองการ แตถาประสงคจะสุมยอยลงไปอีกก็สามารถกระทําได

ในการแบงประชากรออกเปนกลุมยอยในตอนแรกนั้น ถือหลักใหองคประกอบประชากรของแตละกลุมมีคุณลักษณะแตกตางกันมากที่สุด สวนลักษณะระหวางกลุมมีความคลายคลึงกันมากที่สุด

ในการแบงกลุมยอย ผูวิจัยอาจใชลักษณะทางภูมิศาสตรมาแบงกลุม เชน จังหวัด อําเภอ ตําบล ฯลฯ ซ่ึงแตละหนวยเหลานี้มีการกําหนดเสนแบงเขตอยูแลว อาจจะเปนถนน แมน้ํา หรือถาเปนในเมืองอาจแบงเปนเขต แขวง การใชลักษณะอื่นมาแบงก็มี เชน เขตไปรษณีย เขตการศึกษา เขตการสงเสริมการเกษตร เขตปาไม ฯลฯ ตัวอยางเชน การสํารวจที่อยูอาศัยในเมืองหลวง (Selltiz and Others , 1959)

ขั้นที่ 1 สุมตัวอยางเมืองใหญๆ (เขต) สมมติวาไดมา 3 เมือง ขั้นที่ 2 แตละเมืองใหญที่สุมมาไดนั้น ทําการสุมเมืองเล็ก (แขวง) ไดมา 3 เมือง ขั้นที่ 3 แตละแขวง สุมบานมา 100 หลัง นํามาศึกษา จะพิจารณาเห็นไดวา แตละหนวยที่นํามาสุมตัวอยางนั้น ภายในหนวยองคประกอบ

ประชากรมีความแตกตางกัน เชน ภายในเขต (หรืออําเภอ) ภายในแขวง (หรือตําบล) สวนเขตตางๆ หรือแขวงตางๆ นั้น เมื่อเปรียบเทียบระหวางหนวยจะคลายกัน เนื่องจากมีหลักในการแบงเขต (อําเภอ) แขวง (ตําบล) หรือหนวยอ่ืนๆ

1.5 การสุมแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) เปนการสุมตัวอยางที่กระทําเปนตอนๆ หลายขั้น กลาวคือ องคประกอบของประชากรหรือประชากรแตละหนวยถูกจัดไวเปนกลุมๆตามระดับสูงต่ําของชั้น (hierarchy) แลวทําการสุมในแตละระดับเปนขั้นๆ ลงมา

การสุมแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) บางครั้งเรียกวา สุมตัวอยางผสม เนื่องจากมีการผสมกันระหวางการสุมตัวอยางแบบงาย แบบแยกประเภท หรือแบบชั้นภูมิและแบบกลุมตัวอยาง ประชากรคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาในเขตการศึกษา 10 ขั้นแรกสุมจังหวัด ขั้นที่ 2 สุม โรงเรียนในจังหวัดที่สุมได และขั้นที่ 3 สุมนักเรียนเฉพาะในโรงเรียนที่สุมได

25

Page 32: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

26

ภาพที่ 4.9 แสดงวิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน

จังหวัดในเขตการศึกษา 10 มี 7 จังหวัด หนวยการสุมหนวยแรก

สุมมา 3 จังหวัด สุมครั้งที่ 1 (แบบงาย)

โรงเรียนมัธยมศึกษาใน 3 จังหวัดมี 45 โรง (ขนาดใหญ 10 ขนาดกลาง 12 ขนาดเล็ก 23)

หนวยการสุมหนวยที่ 2

สุมโรงเรียนมา 10 โรง (ใหญ 2 กลาง 3 เล็ก 5)

หนวยการสุมหนวยที่ 3

สุมครั้งที่ 2 (แบบแบงช้ัน)

นักเรียนในโรงเรียนทั้ง 10 โรง มี 10,000 คน (ใหญ 4,000 กลาง 3,000 เล็ก 3,000)

สุมนักเรียนมา 50% จํานวน 5,000 คน (ใหญ 2,000 กลาง 1,500 เล็ก 1,500)

สุมครั้งที่ 3 (แบบแบงช้ัน)

ที่มา บุญชม , 2538 การเลือกแบบเปนตัวแทนที่กลาวมาแลวนั้น การสุมตัวอยางดวยวิธีการสุมตัวอยางแบบงาย

และการสุมตัวอยางเปนระบบเปนการสุมชั้นเดียว คือ สุมจากประชากรเลย แคการสุมแบบชั้นภูมิ (แยกประเภท) และการสุมแบบกลุมตองแบงประชากรทั้งหมดออกเปนชั้นภูมิหรือกลุมกอน แลวจึงสุมหนวยประชากรขึ้นมาเปนกลุมตัวอยาง การสุมประชากรในขั้นที่สองนี้อาจจะทําไดโดยการสุมอยางมีระบบหรือการสุมแบบงาย (บุญธรรม , 2531) การเลือกแบบไมเปนตัวแทน (non-probability sampling)

ลักษณะสําคัญของการเลือกตัวอยางแบบไมเปนตัวแทนก็คือ ผูวิจัยไมเปดโอกาสในการถูกเลือกใหแกประชากรทั้งหมด และไมอาจกําหนดลักษณะและขอบเขตอันพึงประสงคได

วิธีเลือกแบบไมเปนตัวแทน มีดังนี้

26

Page 33: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

27

1. การเลือกโดยบังเอิญ (accidental sampling) วิธีนี้เลือกจากองคประกอบของประชากรตามสะดวก ถากลุมประชากรที่จะศึกษาเปนกลุม

ผูขับรถแทกซี่ ผูวิจัยก็จะสัมภาษณผูขับรถแทกซี่คันใดก็ไดที่ผานมาโดบังเอิญ สัมภาษณจนครบตามจํานวนที่กําหนดไว

2. การเลือกตามโควตา (quoto sampling) เมื่อจะเลือกกลุมตัวอยางตามโควตา ตองศึกษาองคประกอบของประชากรเสียกอนวามี

องคประกอบแตละอยางอยูรอยละเทาใด แลวเลือกตัวอยางตามสัดสวนที่มีอยูในประชากรทั้งหมด ตัวอยางเชน

มหาวิทยาลัยหนึ่งมี 5 คณะ มีนิสิตอยูรอยละ 15, 20, 25, 15 และ 25 ในคณะตางๆ ตามลําดับ คือ สังคมศาสตร (15) เศรษฐศาสตร (20) วิทยาศาสตร (25) มนุษยศาสตร (15) และเกษตรศาสตร (25)

ถาตองการนิสิต 200 คน ก็จะไดนิสิตสังคมศาสตร 30 คน เศรษฐศาสตร 40 คน วิทยาศาสตร 50 คน มนุษยศาสตร 30 คน และเกษตรศาสตร 50 คน

3. การเลือกแบบเจาะจง (purposive sampling) วิธีนี้ถือหลักวาดวยการพิจารณาตัดสินใจที่ดีและใชกลวิธีอยางเหมาะสม ก็สามารถที่จะ

เลือกตัวอยางที่ตองการได กลวิธีก็คือเลือกตัวอยางที่ตัดสินใจแลววาเปนแบบฉบับ (typical) ที่ดีของประชากรที่ผูวิจัยตองการ เชน อยากรูหรือทํานายการหยั่งเสียงการเลือกตั้งผูแทนราษฎรทั่วประเทศวาจะเปนอยางไร ก็ทําการคัดเลือกเขตเลือกตั้งสักจํานวนหนึ่ง ซ่ึงในเขตเหลานี้ประชาชนไปเลือกกันมากในทุกๆ ปที่ผานมา ทําการสัมภาษณบุคคลที่มีสิทธิ์ออกเสียงเลือกตั้งในเขตเหลานั้น โดยหวังวาเขตเลือกตั้งที่ไดเลือกไวเหลานั้นเปนแบบฉบับที่ดีของเขตเลือกตั้งทั้งหมด

การเลือกแบบไมเปนตัวแทนนั้นสะดวกในกรณีที่กลุมตัวอยางที่จะเลือกมานั้นมีขนาดเล็ก และผูวิจัยตองมีแนวความคิดเกี่ยวกับลักษณะตางๆ ของกลุมประชากรในระยะเวลาจํากัด การสุม ตัวอยางในลักษณะนี้มีขอจํากัดดังตอไปนี้ (บุญเรียง , 2533)

1. ผลการวิจัยที่ไดไมสามารถสรุปอางอิงไปสูกลุมประชากรทั้งหมดได จะสรุปอยูในขอบเขตของกลุมตัวอยางเทานั้น ขอสรุปนั้นจะสรุปกลับไปหากลุมประชากรไดก็ตอเมื่อกลุม ตัวอยางมีลักษณะตางๆ ที่สําคัญเหมือนกับลักษณะของกลุมประชากร

2. กลุมตัวอยางที่ไดนั้นขึ้นอยูกับการตัดสินของผูวิจัยและองคประกอบบางตัวที่ไมสามารถควบคุมได และไมมีวิธีการใดทางสถิติที่จะมาคํานวณหาความคลาดเคลื่อนที่เกิดจากการสุม (sampling error) โดยการสุมวิธีนี้ได

27

Page 34: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

28

4.3.4 ขนาดของกลุมตัวอยาง มีงานวิจัยจํานวนมากที่จําเปนตองวิเคราะหขอมูลที่รวบรวมมาจากกลุมตัวอยาง แลววางนัย

ทั่วไปหรือสรุปครอบคลุมไปยังประชากรของกลุมนั้น เพราะผูวิจัยเชื่อวาวิธีการดังกลาวนี้เปนวิธีที่ประหยัดแตใหผลถูกตอง ดังนั้นการวิจัยในลักษณะดังกลาวนี้จึงมีส่ิงที่ตองพิจารณา 2 ประการ คือ (บุญชม , 2538)

1) ควรใชกลุมตัวอยางขนาดใดจึงจะเหมาะสมที่สุด 2) ควรเลือกสมาชิกกลุมตัวอยางดวยวิธีใดจึงจะเหมาะสมที่สุด ขนาดของกลุมตัวอยาง หมายถึง จํานวนสมาชิกในกลุมตัวอยางเมื่อผูวิจัยจะเก็บรวบรวม

ขอมูลจากสมาชิกที่เปนกลุมตัวอยาง จะตองเลือกสมาชิกที่เปนกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนที่ดีของประชากรและมีจํานวนเหมาะสม จํานวนสมาชิกในกลุมตัวอยางจะมากหรือนอยข้ึนกับธรรมชาติของประชากร (nature of population) ถาประชากรมีความเปนเอกพันธ (homogeneity) มาก ความแตกตางกันของสมาชิกมีนอย นั่นคือมีความแปรปรวนนอยก็ใชสมาชิกกลุมตัวอยางจํานวนนอยได แตถาประชากรมีลักษณะเปนวิวิธพันธ (heterogeneity) ความแตกตางกันของสมาชิกมีมาก ความแปรปรวนมีมาก ก็ควรใชสมาชิกกลุมตัวอยางจํานวนมาก

การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางมีหลายวิธี ในที่นี้จะกลาว 2 วิธี คือ การกําหนดขนาดของกลุมโดยใชสูตรคํานวณ และการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชตารางของ Krejcie และ Morgan

ก. การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชสูตรคํานวณมีวิธีคํานวณหลายวิธี ในที่นี้จะกลาวเพียง 2 วิธี

1. กรณีไมทราบคาพารามิเตอร ไมทราบจํานวนประชากร ทราบแตเพียงวามีจํานวนมาก ใชสูตรดังนี้

P (1-P) Z2

e2n = เมื่อ n แทน จํานวนสมาชิกกลุมตัวอยาง P แทน สัดสวนของประชากรที่ผูวิจัยกําหนดจะสุม

Z แทน ระดับความมั่นใจที่ผูวิจัยกําหนดไว Z มีคาเทากับ 1.96 ที่ระดับความมั่นใจ 95% (ระดับ .05) Z มีคาเทากับ 2.58 ที่ระดับความมั่นใจ 99% (ระดับ .01)

e แทน สัดสวนของความคลาดเคลื่อนที่จะยอมใหเกิดขึ้นได

28

Page 35: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

29

2. กรณีที่ทราบจํานวนประชากรและมีจํานว ชสูตรดังนี้ นไมมาก ใ P (1-P) n = เมื่อ N แทน จํานวนประชากร P แทน สัดสวนของประชากรที่ผูวิจัยกําหนดจะสุม

Z แทน ระดับความมั่นใจที่ผูวิจัยกําหนดไว Z มีคาเทากับ 1.96 ที่ระดับความมั่นใจ 95% (ระดับ .05) Z มีคาเทากับ 2.58 ที่ระดับความมั่นใจ 99% (ระดับ .01)

e แทน สัดสวนของความคลาดเคลื่อนที่จะยอมใหเกิดขึ้นได n แทน จํานวนสมาชิกกลุมตัวอยาง

ข. การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางโดยใชตารางของ Krejcie และ Morgan Krejcie และMorgan (1970) จัดทําตารางระบุจํานวนของกลุมตัวอยางที่จะสุมเมื่อทราบ

จํานวนประชากรตั้งแตประชากร 10 คนไปจนถึง 1 แสนคน ดังในตารางที่ 4.4 ตารางที่ 4.4 แสดงจํานวนประชากรและจํานวนกลุมตัวอยางที่จะสุมจากประชากรดังกลาวของ Krejcie และ Morgan

จํานวน จํานวน ประชากร กลุมตัวอยาง

จํานวน จํานวน ประชากร กลุมตัวอยาง

จํานวน จํานวน ประชากร กลุมตัวอยาง

10 10 15 14 20 19 25 24 30 28 35 32 40 36 45 40 50 44 55 48 60 52 65 56 70 59 75 63 80 66 85 70 90 73 95 76 100 80 110 86 120 92 130 97 140 103 150 108 160 113 170 118 180 123 190 127 200 132 210 136

220 140 230 144 240 148 250 152 260 155 270 159 280 162 290 162 300 169 320 175 340 181 360 186 380 191 400 196 420 201 440 205 460 210 480 214 500 217 550 226 600 234 650 242 700 248 750 254 800 260 850 265 900 269 950 274 1000 278 1100 285

1200 291 1300 297 1400 302 1500 306 1600 310 1700 313 1800 317 1900 320 2000 322 2200 327 2400 331 2600 335 2800 338 3000 341 3500 346 4000 351 4500 354 5000 357 6000 361 7000 364 8000 367 9000 368 10000 370 15000 375 20000 377 30000 379 40000 380 50000 381 75000 382 100000 384

ที่มา Krejcie และ Morgan , 1970

e2 Z2 + N

P (1-P)

29

Page 36: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

30

จากตารางที่ 4.4 ถาประชากรมีจํานวน 100 คน ผูวิจัยจะสุมกลุมตัวอยางมา 80 คน ถาประชากรมี 500 คน ผูวิจัยจะสุมกลุมตัวอยางมา 217 คน ถามีประชากร 1,000 คน จะสุมกลุมตัวอยางมา 278 คน จะสังเกตไดวาเมื่อประชากรมีจํานวนนอยจะตองสุมตัวอยางมามาก ประชากรมี 10 คนตองใชกลุมตัวอยางทั้ง 10 คน (ไมมีการสุม) ประชากรมี 15 คนตองสุมตัวอยางมา 14 คน เมื่อประชากรมีจํานวนมากจะสุมกลุมตัวอยางมาดวยสัดสวนที่นอยลง ประชากรมี 1 หมื่นคนจะสุมกลุมตัวอยางมาเพียง 370 คน เปนตน กรณีที่ประชากรมีจํานวนที่ไมตรงกับในตารางก็ใชหลักของบัญญัติไตรยางคคํานวณกลุมตัวอยาง เชน ถาประชากรมีจํานวน 63 คน ใชวิธีคํานวณดังนี้ ประชากรจาก 60 เปน 65 เพิ่มขึ้น 5 คน จํานวนกลุมตัวอยางเพิ่มขึ้น 56-52 = 4 ประชากรจาก 60 เปน 63 เพิ่มขึ้น 3 คน จํานวนกลุมตัวอยางเพิ่มขึ้น (4x3)/5 = 2.4, จํานวนเต็ม = 2 คน

ดังนั้นถาจํานวนประชากรเปน 63 คน จํานวนกลุมตัวอยางจะเปน 52 + 2 = 54 คน กฎเกณฑเกี่ยวกับจํานวนกลุมตัวอยางที่กลาวมาทั้งหมดนี้ ไมใชกฎเกณฑตายตัว ขอสําคัญ

อยูที่ธรรมชาติของกลุมตัวอยาง ถามีสมาชิกของประชากรมีความแตกตางกันมากก็ตองใชจํานวนกลุมตัวอยางมากขึ้น

วิธีเลือกสมาชิกกลุมตัวอยาง การเลือกสมาชิกกลุมตัวอยางที่ดีควรเลือกโดยอาศัยความนาจะเปน (probability) กลาวคือเปนการเลือกกลุมตัวอยางโดยที่สมาชิกแตละหนวย (เมื่อเลือกเปนหนวย) หรือกลุมของสมาชิกแตละกลุม (กรณีเลือกเปนกลุม) ตางก็มีโอกาสที่จะถูกเลือก ถาทราบจํานวนประชากรจะทราบคาความนาจะเปนที่สมาชิกแตละหนวยหรือกลุมสมาชิกแตละกลุมจะถูกเลือกนั้น เปนการเลือกโดยอาศัยเทคนิคการสุม (random) สมาชิกกลุมตัวอยางซึ่งจะชวยขจัดความลําเอียง (bias) 4.4 ขอมูลและวิธีการเก็บขอมูล

4.4.1 ขอมูล (data) ในเรื่องสถิติและการวิจัยขอมูลหมายถึงรายงานจากการสังเกตตัวแปรตางๆ นักวิจัยพยายามศึกษาคนควาหาขอมูลมาตอบคําถามซึ่งขอมูลมากมายหลายชนิด สามารถหาไดจากแหลงที่มาตางๆ โดยวิธีการเก็บขอมูลหรือวิธีการวิจัย เพื่อคนหาขอมูลเกาหรือใหมในปจจุบันอาจเก็บขอมูลยอนไป 5-10 ปหรือมากกวา เพื่อศึกษายอนไปหาอดีตหรือนํามาศึกษาหาแนวโนม (trends) เพื่อทํานายหรือคาดการณความเปนไปในอนาคตของปรากฏการณตางๆ

4.4.2 แหลงที่มาของขอมูล (data sources) ผูวิจัยจําเปนตองทราบขอมูลและที่มาของขอมูลซ่ึงมีอยูหลายแหลง งานวิจัยบางอยางอาจใชขอมูลท่ีมีอยูแลว บางอยางอาจใชขอมูลใหมทั้งหมด

30

Page 37: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

31

และบางอยางอาจใชขอมูลเปนแบบผสมเนื่องจากไดขอมูลบางสวนจากแหลงที่ทันสมัยไวแลว สําหรับการวิจัยสามารถหาขอมูลไดจากแหลงตางๆ เชน

1. สํามะโนประชากร ประเทศตางๆ มักจะสํารวจขอมูลเกี่ยวกับประชากรที่เรียกกันวา สํามะโนประชากร

(census) โดยจัดทําสํามะโนประชากรไวทุกๆ 10 ป โดยทําการเก็บขอมูลหลายอยาง จากตัวอยางหรือตัวแทน (sample) ของประชากรทั่วประเทศ นํามาจัดไวเปนหมวดหมู เชน ขอมูลเกี่ยวกับอายุ เพศ ขนาดครอบครัว อาชีพ ฯลฯ นักวิจัยอาจใชแหลงขอมูลนี้บางสวนที่ตรงกับเรื่องที่กําลังทําการวิจัย เพื่อใชเปนขอมูลพื้นฐานหากคิดวาไมลาสมัยจนเกินไป สําหรับประเทศไทยสํานักงานสถิติแหงชาติเปนฝายจัดทํา

2. บันทึกหรือรายงานตางๆ และเอกสารสิ่งพิมพ หนวยงานตางๆ จะเก็บรายงาน เอกสารสิ่งพิมพ และบันทึกตางๆไว บางหนวยมีการ

อนุรักษไวอยางเปนระเบียบ แตบางหนวยงานก็เก็บไวเฉพาะที่เกี่ยวของเทานั้น เพราะมีปญหาเรื่องสถานที่เก็บ ในปจจุบันหลายหนวยงานมีระบบเก็บขอมูลดวย computer

หองสมุดหรือหอสมุดตางๆ เปนแหลงเก็บขอมูลเพื่อการศึกษาคนควาที่ดีที่สุด เพราะมีขอมูลหลายอยางใหคนหาและคัดเลือกไดสะดวก ปรากฏวา หองสมุดในมหาวิทยาลัย หรือหนวยงานในตางประเทศบางแหงเก็บขอมูลเกาๆ ของประเทศไทยไวเปนอยางดี เพื่อการศึกษาคนควาเกี่ยวกับประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเชียอาคเนย

3. ภาพถาย ฟลม เทปบันทึกเสียง เทปโทรทัศนหรือวีดีทัศน แผนเก็บขอมูล (diskette) แผนเสียง ฯลฯ

เปนแหลงเก็บขอมูลที่สําคัญอีกแหลงหนึ่ง ปจจุบันมีบทบาทสําคัญมากในวงการขาวหรือการโฆษณา และการบันเทิงตางๆ รวมทั้งการนํามาใชในการศึกษาอยางแพรหลาย เพราะเปนสื่ออยางหนึ่งที่ใชประกอบการสอน หรือถายทอดความรูไดเปนอยางดี

4. แผนที่ แผนผัง แผนภูมิ แผนที่ แผนผัง และแผนภูมิ เปนแหลงแสดงขอมูลหลายอยาง เชน แผนที่ของประเทศ แผน

ที่โลก แผนที่แสดงเขตเกษตรเศรษฐกิจ แผนผังแมบทการวิจัย แผนผังสถานที่อาคาร แผนภูมิหนวยงาน ฯลฯ

5. วัตถุหรือส่ิงของ วัตถุหรือส่ิงของ เชน ศิลาจารึก ส่ิงสลักหักพังทางโบราณคดี ของจริง และของจําลองตางๆ

ฯลฯ

31

Page 38: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

32

6. ธนาคารขอมูล (data bank) เปนธนาคารที่เก็บขอมูลตางๆ หลายประเภท หลายชนิด อาจเปนขอมูลทางสังคม เศรษฐกิจ

ฯลฯ เก็บไวเปนหมวดหมู มักเก็บดวยเครื่อง computer เพื่อความสะดวกในการเก็บและการใช ปจจุบันมีธนาคารพิเศษอื่นๆ เกิดขึ้นติดตามมา เชน ธนาคารขาว ธนาคารโค-กระบือ ธนาคารเลือด เปนตน

7. บุคคล เปนแหลงขอมูลที่สําคัญที่จะกรอกแบบสอบถามใหการสัมภาษณหรือใหขอมูลโดยวิธีอ่ืน

งานวิจัยทางสังคมศาสตรเปนการศึกษาคนควาเกี่ยวกับคน เชน ความเปนอยู พฤติกรรม ส่ิงแวดลอมและปญหานานาประการ ฯลฯ ฉะนั้นคนจึงเปนแหลงใหขอมูลที่สําคัญที่งานวิจัยทางสังคมเกี่ยวของกันมากที่สุด

4.4.3 ประเภทของขอมูล ขอมูลอาจแบงไดเปน 2 ประเภท คือ 1. ขอมูลปฐมภูมิ (primary data) เปนขอมูลใหมที่ผูวิจัยคนควาหามาไดใหมเอ่ียมจากการ

ทดลอง การสํารวจหรือการคนควาวิธีอ่ืน 2. ขอมูลทุติยภูมิ (secondary data) เปนขอมูลที่ผูวิจัยคนควาหามาไดจากขอมูลหรืองานวิจัย

ของบุคคลอื่น ซ่ึงไดเก็บหรือรวบรวมไวกอนแลว ซ่ึงมีทั้งขอมูลทันสมัยสามารถนํามาใชการได หรือขอมูลลาสมัยแตอาจเปนแนวทางเพื่อคนควาหาขอมูลใหมได

4.4.4 วิธีการเก็บขอมูล (data-collection methods) วิธีการเก็บขอมูลที่ใชกันมากในงานวิจัยทางสังคมศาสตร คือ (1) การสังเกต (observational

method) (2) การสัมภาษณ (interview method) และ (3) การใชแบบสอบถาม (questionnaire method)

1.) การสังเกต (observational methods) การสังเกตเปนวิธีการพื้นฐานที่จะคนหาขอมูลเกี่ยวกับปรากฏการณรอบๆ ตัวเราเปน

เครื่องมือเบื้องตน (primary tools) สําหรับการคนควาทางวิทยาศาสตร มักใชกับการทดลองและการสํารวจ มีขอมูลหลายอยางที่นักสังคมศาสตรตองการเพื่อเปนพื้นฐานในการวิจัย สามารถหามาไดโดยการสังเกตโดยตรง

วัตถุประสงคของการใชวิธีการสังเกต ในการวิจัย การสังเกตชวยสนองตอวัตถุประสงคตางๆ คือ 1. ใชในการทดลองและการสํารวจเพื่อคนหาความชัดเจนของขอมูล โดยใชเทคนิคอื่นชวย

ติดตามขอมูลอีกครั้ง 2. ใชในการหาขอมูลสนับสนุนหรือชวยแปลความหมายขอมูลที่ไดมาโดยวิธีอ่ืน

32

Page 39: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

33

3. ใชเปนวิธีเบื้องตนเพื่อเก็บขอมูลมาหาความถูกตองแนนอนของสภาวการณ 4. ใชศึกษาสภาวการณที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติหรือสภาวการณในหองทดลอง ขอดี 1. สามารถสังเกตหรือบันทึกพฤติกรรมไดทันทีที่เกิดขึ้น 2. วิธีการสังเกตไดขอมูลที่แนนอนตรงกับสภาวการณจริงของพฤติกรรมนั้นๆ 3. วิธีการสังเกตสามารถดําเนินการหรือเกบ็ขอมูลไดมากกวาวิธีอ่ืน ในกรณีที่บุคคลหรือ

กลุมคนเกิดความไมเต็มใจจะใหขอมูล ขอจํากัด 1. ไมสามารถที่จะทํานายไดอยางแนชัดวา เหตุการณหนึ่งๆจะเกิดตามธรรมชาติเมื่อใดจึง

จะสังเกตไดทัน 2. มีปญหาดานปจจัยสอดแทรกที่ไมคาดคิดมากอน เชน การจราจร การจราจล ความแปร

ปรวนของดินฟาอากาศ ฯลฯ ทําใหการสังเกตไมไดผลสมบูรณ 3. ปญหาระยะเวลาของเหตุการณ เชน จะศึกษาประวัติชีวิตของบุคคลโดยวิธีนี้ก็จะลําบาก

มาก 4. การสังเกตมีขอจํากัดในเรื่องกฎเกณฑหรือมารยาท เชน การเขาไปสังเกตการ

รับประทานอาหาร การสนทนาหรือการทะเลาะกันภายในบานบุคคลอื่น ฯลฯ ประเภทของการสังเกต การสังเกตแบงออกเปน 2 ประเภท คือ การสังเกตไมเชิงเปนทางการ (unstructured

observation) กับการสังเกตที่เปนระเบียบหรือเปนทางการ (structured observation) ที่มีการเตรียมการไวกอน

การสังเกตไมเชิงเปนทางการ นักมานุษยวิทยาไดใชวิธีนี้มากโดยการสังเกตแบบมีสวนรวม (participant observation) คือ

ผูสังเกตเลนบทเปนสมาชิกของกลุมและรวมในกิจกรรมของกลุมในงานหรือเหตุการณนั้นๆ ในขณะเดียวกันก็คอยสังเกตและจดจําส่ิงที่เกิดขึ้นไปดวย

การสังเกตที่เปนระเบียบหรือเปนทางการ วิธีการนี้ใชมากในการศึกษาเพื่อใหคําอธิบายหรือพรรณนาที่เปนระบบหลังจากการสังเกต

แลว หรือใชสําหรับทดสอบสมมติฐานแบบหาสาเหตุ (causal hypothesis) รวมทั้งการทดลองตางๆ ขอแตกตางที่สําคัญของการสังเกตแบบเปนทางการกับแบบแรกก็คือ การสังเกตแบบนี้มี

การเตรียมการมุงจุดสนใจไปยังคุณลักษณะของพฤติกรรมที่ไดกําหนดไว ซ่ึงอาจจะเกิดขึ้นในงานภาคสนามหรืองานทดลองที่มีการควบคุมในหองปฏิบัติการ

33

Page 40: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

34

วิธีการสังเกตที่กลาวมานี้ สวนใหญใชสําหรับอธิบายหรือทําความเขาใจเกี่ยวกับพฤติกรรมในขณะที่บุคคลแสดงออก จะไดผลนอยถาใชเก็บขอมูลเกี่ยวกับความเชื่อถือหรือพฤติกรรมซอนเรนตางๆ

2.) การสัมภาษณ (interview method) การสัมภาษณเพื่อเก็บขอมูลสําหรับงานวิจัยจําเปนตองมีแบบสัมภาษณ (interview

schedules) ประกอบการดําเนินการสัมภาษณ กลาวคือตองมีการเตรียมคําถามไวลวงหนามิใชวานึกจะถามอะไรก็ถามไป ซ่ึงจะทําใหการสัมภาษณไมเปนระเบียบและขอมูลตกหลนไป หรือไดขอมูลไมตรงตามวัตถุประสงค แบบสัมภาษณก็คือคําถามชุดหนึ่งที่จัดเตรียมไวสําหรับสัมภาษณซ่ึงเปนเครื่องมือสําคัญในการวิจัย (research instrument)

ในกรณีที่ไมไดเตรียมคําถามไวใหเรียบรอย ผูสัมภาษณจําเปนตองมีแนวทางและจําใหไดแมนยําวาจะเก็บขอมูลอะไรบางแลวตั้งคําถามขึ้นตอนสัมภาษณ จากนั้นจะตองบันทึกการตอบดวยการเขียนหรือในบางครั้งมีการใชเครื่องบันทึกเสียงแทน

ขอดี 1. ผูสัมภาษณมีโอกาสไดสังเกตและศึกษาสภาพการณ ตลอดจนปฏิกริยาตางๆที่เกี่ยวของ 2. ไดคําตอบที่แนชัดสมบูรณ เพราะสามารถอธิบายขอสงสัยตางๆใหแกผูตอบได 3. สามารถเก็บขอมูลได แมผูตอบจะมีการศึกษานอยหรือเปนผูที่อานไมออกเขียนไมได 4. โอกาสที่จะไดขอมูลมีสูงมากเพราะผูตอบสวนใหญยินดีใหความรวมมือ ขอจํากัด 1. คาใชจายคอนขางสูง 2. มีปญหาเกี่ยวกับการฝกใหคําแนะนําผูที่จะออกไปสัมภาษณ การตดตามและควบคุมการ

สัมภาษณ 3. จะมีอคติหรือความลําเอียงของผูสัมภาษณเกี่ยวของ 4. ตองใชเวลาและแรงงานมาก 3.) การใชแบบสอบถาม (questionnaire method) เครื่องมือ (instrument) สําคัญในการวิจัยทางสังคมศาสตรอีกอยางก็คือ แบบสอบถาม แบบสอบถาม คือ คําถามชุดหนึ่งซึ่งจัดเรียงลําดับไว มีคําแนะนําเพื่อใหผูตอบตอบเองได

โดยสะดวก วิธีใชมีอยู 2 วิธี คือ 1. สงใหผูตอบโดยตรงแลวไปเก็บคืนภายหลัง (ไมเหมาะสําหรับพื้นที่กวาง) 2. สงใหผูตอบโดยทางไปรษณียแลวขอผูตอบสงคืน (mail questionnaire) วิธีนี้เราปดแสตมปและจาหนาถึงตัวเราไวเรียบรอยแลว เพื่อความสะดวกในการสงคืน

34

Page 41: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

35

ขอดี 1. เปนวิธีที่งาย รวดเร็ว ไมตองใชแรงงานมาก เปนวิธีที่คอนขางถูกในแงคาใชจายเมื่อ

เปรียบเทียบกับการสัมภาษณ 2. เปนวิธีที่เขาถึงประชากรที่อยูกระจายในพื้นที่กวางเพราะสามารถจัดสงทางไปรษณียได 3. ไมมีอคติของผูสัมภาษณเขามาเกี่ยวของ 4. ผูตอบสามารถตอบไดตามสบาย มีเวลาคิดทบทวนกอนที่จะใหคําตอบ ขอจํากัด 1. แบบสอบถามจําเปนตองสั้น เขาใจงาย ซ่ึงตองใชเวลาในการทําแบบสอบถามที่ดี 2. คําตอบหรือขอมูลที่ไดอาจไมถูกตองสมบูรณ ถาคําถามไมชัดเจนหรือผูตอบไมเขาใจ ก็

จะเขียนตอบมาใหเสร็จๆไปหรือไมตอบเลย เราไมสามารถควบคุมได 3. ใชไมไดผลกับผูที่มีการศึกษานอยหรือผูที่อานไมออกเขียนไมได 4. มักจะตองมีการติดตาม (follow-up) แบบสอบถามคืน จึงตองเสียเวลา

4.5 การวิเคราะหขอมูล การวิเคราะหขอมูลเร่ิมจากการตรวจสอบขอมูลที่ไดเก็บมา การจัดทําขอมูล และการ

วิเคราะหขอมูล 4.5.1 การตรวจสอบขอมูล ขอมูลที่ไดมาอาจโดยวิธีการสังเกตและการบันทึก การใชแบบสอบถามหรือการสัมภาษณ

ตองนํามาตรวจสอบความเรียบรอยทุกแผน ทุกชุด หากผูวิจัยทําการตรวจสอบตั้งแตตอนแรก ณ จุดที่สังเกตหรือสัมภาษณก็จะไมมีปญหา เมื่อทํางานมาถึงขั้นตอนนี้ถาตรวจพบวามีขอมูลผิดปกติ มีการละเวนไมตอบหรือลืมบันทึก ไมวาจะเปนแบบสัมภาษณหรือแบบสอบถามผูวิจัยจะตองติดตามหาขอมูลเฉพาะรายที่ขาดไปหรือไมชัดเจนมาเพิ่มเติมใหเรียบรอย แตถาคิดวาความไมสมบูรณของแบบมีมากก็ตองตัดตัวอยางรายดังกลาวทิ้งไป

4.5.2 การจัดทําขอมูล เปนการจัดทําหรือกระทําขอมูลท่ีตรวจสอบแลวใหเปนหมวดหมูเปนระบบ (ที่ตรงตาม

วัตถุประสงค/สมมติฐานของการวิจัย) เพื่อใหเกิดความสะดวกตอการวิเคราะหตอไป สามารถกระทําไดใน 2 แบบ คือ

1) แบบไมใชเครื่องคอมพิวเตอรในการวิเคราะหขอมูล คือ จัดทําขอมูลโดยนําขอมูลที่ไดมาแจกแจงความถี่หรือแจงนับ (tally) ในตารางที่แบงไวเปนชองๆตามตัวแปรตางๆ เชน เพศ อายุ การศึกษา ภูมิลําเนา ฯลฯ ดวยตนเอง (head tabulation) ซ่ึงเปนวิธีธรรมดา

35

Page 42: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

36

2) แบบใชคอมพิวเตอรในการวิเคราะหขอมูล คือ จัดทําขอมูลโดยนํามาเตรียมไวในลักษณะที่พรอมจะปอนเขาเครื่องคอมพิวเตอรจัดทําโปรแกรมเพื่อวิเคราะหตอไป ซ่ึงจะสะดวกกวาแบบแรกมาก

4.5.3 การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลการวิจัยทางสังคมศาสตร ผูวิจัยจําเปนตองพิจารณาเลือกใชสถิติที่

เหมาะสมสอดคลองกับวตถุประสงค/สมมติฐาน โดยปกติมักใชสถิติอยู 2 ประเภท คือ สถิติพรรณนา (descriptive statistics) และสถิติอนุมาน (inferential statistics)

สถิติพรรณนาเปนวิธีการทางสถิติที่ใชยอขอมูลตางๆ เพื่ออธิบายปรากฏการณและตัวแปรตางๆ เชน คาเฉลี่ย (mean) มัธยฐาน (median) พิสัย (range) รอยละ (percentage) และอ่ืนๆ

สวนสถิติอนุมานเปนวิธีการทางสถิติที่ผูวิจัยในการอนุมานการศึกษาคนควาจากกลุมตัวอยางคือ ผลการศึกษาหรือวิจัยสรุปไดอยางไรถือวาเปนขอสรุปอางอิงจากประชากรทั้งหมดหรือมวลประชากร

36

Page 43: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

37

บทท่ี 5 วิธีการสํารวจ

การสํารวจเปนการวิจัยแบบหนึ่งซึ่งฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน สวนการใชน้ํา-

ชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา กรมชลประทาน นํามาใชเพื่อดําเนินการสํารวจผลผลิตตอไรของขาว โดยวิธีการตั้งแปลงทดสอบในแปลงนาของเกษตรกรซึ่งอยูในเขตพื้นที่ของสํานัก- ชลประทานตาง ๆ รวมทั้งหมด 16 สํานักฯ ภายใตโครงการชลประทาน 4 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 พื้นที่การชลประทานที่ไดรับน้ําโดยมีการจัดรูปที่ดิน ประเภทที่ 2 พื้นที่การชลประทานที่ไดรับน้ําโดยมีคันคูน้ํา ประเภทที่ 3 พื้นที่การชลประทานที่ไดรับน้ําโดยไมมีการจัดรูปที่ดิน ไมมีคูน้ํา และประเภทที่ 4 พื้นที่การชลประทานที่อาจไมไดรับน้ํา เชน โครงการปองกันอุทกภัย โครงการปองกันน้ําเค็ม ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงคหรือเปาหมายเพื่อประมาณหรือคํานวณผลผลิตตอไรของขาวนาปของโครงการชลประทานแตละประเภท (ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน, 2546) สําหรับขอมูลจากการสํารวจจะเก็บโดยตรงจากแหลงปฐมภูมิ (Primary source) นั่นคือเกษตรกรในพื้นที่ของสํานัก ชลประทานตางๆ โดยใชกลุมตัวอยาง (sample) ซ่ึงเปนสวนหนึ่งหรือตัวแทนของประชากร (population) ที่ทําการศึกษาดวยวิธีการเลือกกลุมตัวอยางแบบเปนตัวแทน (Probability sampling) โดยสุมตัวอยางแบบงาย (Simple Random Sampling) เพื่อท่ีจะนําขอสรุปไปอนุมานกับประชากรทั้งหมด (บุญธรรม , 2546) เนื่องจากไมสามารถนําเอาประชากรทั้งหมดมาศึกษาได สวนการเก็บขอมูลจะใชวิธีการสัมภาษณ (Interview Method) โดยมีวิธีดําเนินการสํารวจดังนี้ 5.1 การวางแผน

ฝายสถิติการใชน้ําชลประทานจะคํานวณเพื่อกําหนดจุดตามหลักวิชาการลงในแผนที่ของโครงการชลประทานที่จะดําเนินการสํารวจโดยใชแผนที่ทหารชุด L7017 มาตราสวน 1: 50,000 ซ่ึงเปนแผนที่ภาพถายทางอากาศที่มีความละเอียดชัดเจนถูกตองมากเพียงพอ โดยหาลากเสน Grid ประจําแผนแผนที่ดําเนินการหาพิกัด 8 หลัก (Segment) ของจุดตัวอยางที่จะสํารวจจากแผนที่ บนแผนที่จุดสํารวจ 1 จุดจะเทากับ 0.8 x 0.8 เซนติเมตร และเทากับ 1.1 x 1.1 เซนติเมตร (ที่มีพื้นที่สํารวจ 100 และ 200 ไรตามลําดับ) แลวระบายสีแปลงสํารวจดังกลาวใหแตกตางกันทุกป เมื่อไดพิกัดแลวก็แจงใหโครงการชลประทานที่จะดําเนินการสํารวจทราบ เพื่อนําไปลงบนแผนที่ของโครงการชลประทานก็จะทราบถึงบริเวณที่จะออกไปทําการสํารวจในแปลงนา เมื่อหาแปลงนาไดตามที่ตองการแลวพนักงานสํารวจจะตองไปสอบถามรายชื่อของเกษตรกรเจาของนาในแตละแปลงในชวงที่ไดเลือกไว (Tract No.) ใหไดครบประมาณ 100-200 ไร แลวจึงนํารายชื่อเกษตรกรเจาของ

Page 44: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

38

นาดังกลาวมาทําการสุมตัวอยางเพื่อหากลุมตัวอยางหรือเจาของนาเพียงรายเดียว เพื่อที่จะไดดําเนินการสุมหาบริเวณที่ตั้งแปลงทดสอบผลผลิตในนาบริเวณนั้นอีกครั้งหนึ่ง (ททิดา , 2520)

ภาพที่ 5.10 แผน Dot Grid แสดงเนื้อทีภ่ายใน (0.04 x 25) กม.2

ที่มา จิราภรณ และคณะ , 2540 ภาพที่ 5.11 แสดงพื้นที่ดินตวัอยางลงบนแผนที่ 1: 50,000 ในแตละป

ที่มา จิราภรณ และคณะ , 2540 5.2 การตั้งแปลงทดสอบผลผลิต

ฝายสถิติการใชน้ําชลประทานไดกําหนดแนวทางการปฏิบัติเพื่อใชเปนหลักเกณฑ คือ การตั้งแปลงทดสอบผลผลิต (Unit Location) แตละแปลงทดสอบ (Unit) ใน 1 แปลงตัวอยางมี 2 แปลง (Units) จะมีเนื้อที่ 1 x 2 เมตร โดยแบงเปน 2 สวน ๆ ละ 1 ตารางเมตร ในการตั้งแปลงแตละ Unit ใชการจับฉลากเลขสุมจํานวนกาวไมเกิน 40 กาว เนื่องจากแปลงนาที่จะตั้งแปลงทดสอบนั้นกําหนดใหตั้งในบริเวณพื้นที่นา 1 ไร ซ่ึงมีดานแตละดานยาวเทากัน คือ 40 เมตร เขาไปตั้งแปลง Unit หลังจากไดเลขสุมจํานวน 2 ชุดแลวก็จะไดจุดตั้ง Unit ที่ทําการตั้งแปลงทดสอบนํากรอบไมที่

38

Page 45: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

39

มีเนื้อที่ภายในกรอบสี่เหล่ียม 1 ตารางเมตร (ยาว 1 เมตร กวาง 1 เมตร) สามารถลอยน้ําไดติดตั้ง ซ่ึงมีวิธีการตั้งแปลงดังตอไปนี้ คือ (ศูนยสถิติการเกษตร , 2521)

5.2.1 จากจุดทีต่ั้งแปลงใหปกหลักไมใหแนน 5.2.2 วางกรอบไมเนื้อที่ภายใน 1 ตารางเมตร ใหมุมบังคับอยูชิดกับหลักแสดงตําแหนง

ที่ตั้งแปลงในขณะที่วางกรอบไมระวังอยาเขาไปเหยียบย่ําในบริเวณที่จะวางกรอบ 5.2.3 ใหแขนของมุมขนานไปกับแนวตั้งฉากกับขอบแปลง และแขนอีกดานหนึ่งชี้ไปใน

แนวขนานกับขอบแปลง จากซายไปขวา 5.2.4 ใชหลักไมรวก 3 หลักปกใหชิดกับมุมภายในที่เหลือ 3 มุม ของกรอบไมและกดหลัก

ไมรวกใหแนน การใชไมรวกยาวประมาณ 2.5-3 เมตร เพื่อไมตองการใหเกิดการสูญหาย เนื่องจากสาเหตุตางๆ เชน ถูกรื้อถอน และเจาหนาที่สามารถหาพบแปลงที่ตั้งไวโดยงาย

5.2.5 ลากเทปไปตามแนวของกรอบไมจากซายไปขวา แลวปกไมรวกใหอยูดานในของเทปหางจากหลักที่ปกใกลที่สุด เมตรที่ 1 แลวกดหลักใหแนน

5.2.6 ยกกรอบไมเนื้อที่ 1 ตารางเมตรออก แลวผูกเชือกพลาสติกตามหลักลอมไวก็จะไดแปลงทดสอบผลผลิตขนาดเนื้อที่ 2 ตารางเมตร ซ่ึงแบงไวเปน 2 สวน ๆ ละ 1 ตารางเมตรตามตองการ การผูกเชือกใหผูกที่โคนหลักติดกับดินแลวจัดตันขาวที่อยูภายในหรือนอกสวนใหเรียบรอยจะไดไมเปนปญหาในการนับจํานวนตนในการสํารวจครั้งตอไป

5.2.7 ผูกปายพลาสติกซ่ึงไดเขียนรายละเอียดไววา สวนที่ 1, 2 ของตัวอยางที่เทาใด Segment อะไร

ภาพที่ 5.12 แสดงการตั้งแปลงทดสอบผลิต 1 จุด

ED แสดงจํานวนกาวที่เดินเขาไปในแปลงนา

AE แสดงจํานวนกาวที่เดินไปตามขอบแปลงนา

U2

BC แสดงจํานวนกาวที่เดินเขาไปในแปลงนา

U1 AB แสดงจํานวนกาวที่เดินไปตามขอบแปลงนา

Unit 2

สวนที่ 1 สวนที่ 2

ที่มา จิราภรณ และคณะ, 2540

สวนที่ 1 สวนที่ 2

C

D

Unit 1

A B E

39

Page 46: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

40

5.3 การสํารวจผลผลิตตอไร การสํารวจผลผลิตตอไร ฝายสถิติการใชน้ําชลประทานดําเนินการนั้น มีเปาหมายหรือ

วัตถุประสงคเพื่อประมาณหรือคํานวณผลผลิตตอไรของขาวนาปในโครงการชลประทานทั้ง 4 ประเภท ซ่ึงอยูในเขตสํานักชลประทานตาง ๆ รวม 16 สํานักฯ โดยมีวิธีหรือแนวทางของการดําเนินงานแบงออกเปน 3 รูปแบบ คือ

5.3.1 แบบแจงนับแปลงที่ดิน คือ การแจงนับรายชื่อเกษตรกรที่ครอบคลุมแปลงที่ดินในพื้นที่ดินตัวอยาง (Segment) 200 ไรหรือ 100 ไร โดยมีหมายเลขลําดับที่เจาของนา, ช่ือเจาของนาและครอบคลุมพื้นที่ดินรายละกี่ไร เพื่อที่จะทําการจับสลากสุมชื่อเจาของนาตั้งแปลงตัวอยาง

5.3.2 แบบสัมภาษณขอมูลเบื้องตน คือแบบสํารวจ จบ. 1-26 เปนแบบสํารวจผลผลิตของขาวตอไร (แบบ 1) ที่ใชเก็บขอมูลการสัมภาษณชาวนาทุกครัวเรือนในผืนที่ดินตัวอยางและชาวนาเจาของแปลงตัวอยางที่จะตั้งแปลงทดสอบผลผลิตขาวตามชวงเวลาที่กําหนดไวใหพนักงานสํารวจ ซ่ึงมีรายละเอียดดังนี้ คือ

แปลงที่ แปลงที่ดินที่ใหพนักงานสํารวจถามถึงจํานวนแปลงที่นาทั้งหมดวามีกี่แปลง เจาของนา 1 รายอาจจะมีแปลงที่นาที่ถือครองไดหลายแปลง

พันธุที่ปลูก พนัธุขาวที่ปลูกเปนพันธุเบา ปานกลางหรือหนัก วิธีการที่ปลูก ชาวนาปลูกขาวแบบไหน นาดํา นาหวานหรือขาวขึ้นน้ํา ไดรับน้ํา สภาพน้ําที่ใชหลอเล้ียงขาวในชวงนั้นเปนอยางไรบาง พอดี นอยเกินไป มาก

เกินไป เชน ไดรับน้ําพอดีนั้นหมายถึงระดับน้ําในแปลงนาจะคงไวประมาณ 10-15 ซม. ตั้งแตปกดําจนถึงเริ่มออกรวง หรือเกษตรกรขาดแคลนน้ําเมื่อไรก็จะเปดน้ําจากคูสงน้ําไดทันที

โรคและแมลง การระบาดของโรคและแมลงเปนอยางไร เร่ิมปลูก แบงเปน 4 ชอง 2 ชองแรก กรอกวันที่ ถาเปนเลขตัวเดียวใหเติมเลข 0 ขางหนา

เชน วันที่ 2 ใหกรอก 02 สองชองหลังกรอกเดือน เนื้อที่เพาะปลูกจากการสํารวจ คือเนื้อที่ปลูกขาวซ่ึงนับรวมผืนที่ดินทั้งหมดที่เกษตรกรมีอยู

โดยรวมผืนที่ดินที่ไมใชนาเขาไปดวย เชน เนื้อที่ปลูกบาน จอมปลวก ตนไม ฯลฯ หนวยเปนไร งาน ตารางวา

เนื้อที่ซ่ึงปลูกจริง กรอกตัวเลขเนื้อที่เฉพาะปลูกขาว จากการสัมภาษณชาวนาในรอบปนั้นๆ มีหนวยเปนไร

เก็บเกีย่ว สอบถามถึงวันที่และเดือนที่จะเก็บเกีย่ว เนื้อที่เก็บเกี่ยว กรอกเนื้อที่เก็บเกี่ยวของแตละแปลงจากการสัมภาษณ มีหนวยเปนไร งาน

ตารางวา

40

Page 47: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

41

ผลผลิต ผลผลิตที่คาดวาจะไดรับในแตละแปลง มีหนวยเปนกิโลกรัม การใชสารเคมี ใชสารเคมีฆาโรคหรือแมลงหรือไม การใชปุย สอบถามถึงการใชปุยในแปลงที่ดินปลูกขาวนั้น ผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตของขาวเฉลี่ย มีหนวยเปนกิโลกรัมตอไร 5.3.3 แบบนับ-วัด-ช่ังในสนาม คือแบบสํารวจ จบ. 1-27 เปนแบบสํารวจตามชวงเวลาที่

กําหนดไว กรอกรายละเอียดใหครบทุกชอง การวัดและนับใชกับทุกระยะการเจริญเติบโตโดยแบงระยะการเจริญเติบโตออกเปน 4 ระยะ คือ

ระยะตั้งตัว หมายถึง ระยะหลังจากการหวาน ปกดํา หรือหยอดเมล็ด 3 อาทิตย ถึงระยะตั้งทอง 50%

ระยะตั้งทอง หมายถึง ระยะที่มีตนที่ตั้งทอง 50% ในระยะนี้อาจมีบางตนออกรวงบาง แตตนออกรวงไมถึง 50%

ระยะออกรวง หมายถึง ระยะที่ตนขาวกําลังสรางเมล็ด โดยมีจํานวนตนออกรวงตั้งแต 50% ขึ้นไป

ระยะเก็บเกี่ยว หมายถึง ระยะที่เมล็ดแกพรอมที่จะเก็บเกี่ยวได รวงขาวที่เปล่ียนจากสีเขียวเปนสีเหลืองในแตละระยะการเจริญเติบโตจะมีการนับและวัดขอมูลดังนี้คือ

จํานวนตนทั้งหมด หมายถึงตนขาวที่อยูในแตละสวนทั้งหมดมีกี่ตน ตนขาวในที่นี้หมายถึงตนที่เกิดจากเมล็ดและตนที่เกิดจากการแตกกอ

จํานวนตนตั้งทอง หมายถึง ตนที่แสดงการสรางชอดอกภายในตน สังเกตไดโดยลําตนมีใบธง (Flag Leaf) ใหเห็น หรือชวงปลองสุดทายของลําตนเริ่มโปงออก

จํานวนตนออกรวง นับจํานวนตนออกรวงในแตละสวนโดยใมคํานึงวารวงนั้นจะติดเมล็ดหรือไม แตรวงขาวตองเห็นคอรวงทั้งหมด

ความสูงโดยเฉลี่ย ใหบันทึกความสูงของตนโดยเฉลี่ยใชหนวยเปน ซ.ม. วิธีวัดความสูงใหสังเกตตนขาวที่จะเปนตัวแทนของความสูงของสวนนั้นเพียงตนเดียว จับที่ปลองสุดทายของลําตนใหตรง วัดความสูงจากระดับพื้นดินจนถึงปลายขอสุดทายของลําตน

ในระยะออกรวง ตัดรวงนอก Unit มา 10 รวง โดยรวงที่ตัด 10 รวงนั้น ใหหางจากแปลงทดสอบผลผลิต 1 เมตรไปทางซายมือ รวงที่จะตัดตองมีการติดเมล็ดมากกวา 50% ในชวงนี้ขอมูลที่วัดคือ

ความยาวของรวง ใหวัดความยาวของรวงจากคอรวงถึงปลายรวง หนวยเปน เซนติเมตร

41

Page 48: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

จํานวนเมล็ดดี ใหนับจํานวนเมล็ดดีทั้งหมดของแตละรวง เมล็ดดีหมายถึงเมล็ดที่มีการสะสมอาหารอยูในเมล็ดในระยะที่ขาวอยูในระยะน้ํานม ถาบีบดูจะมีแปงเหลวอยูขางใน เมล็ดที่อยูในระยะเก็บเกี่ยวแปงที่อยูขางในจะแข็ง

จํานวนเมล็ดลีบ ใหนับจํานวนเมล็ดลีบทั้งหมดภายในรวง เมล็ดลีบหมายถึงเมล็ดที่ไมมีน้ํานมสีขาว หรือไมมีแปงแข็ง

การตั้งแปลงทดสอบผลผลิตตกหลน โดยใหแปลงทดสอบผลผลิตตกหลนมีขนาดและเนื้อที่เทากับแปลงทดสอบผลผลิตตอไรแปลงทดสอบผลผลิตตกหลนหางจากแปลงทดสอบผลผลิตตอไร 10 กาวไปทางซายมือ เก็บรวงที่เกิดจากชาวนาเก็บเกี่ยวไมหมดและเมล็ดที่ตกหลนบนพื้นดินทุกเมล็ดใสถุงกระดาษระบุรายละเอียดใหชัดเจน (ศูนยสถิติการเกษตร , 2518)

ซ่ึงปริมาณเมล็ดขาวที่เก็บไดทั้งหมดจะนําไปตากและทําความสะอาดแลวช่ังน้ําหนักพรอมทั้งวัดความชื้น หลังจากนั้นจึงทําการคํานวณผลผลิตขาวตกหลนตอไร ซ่ึงการปฏิบัติจะตองดําเนินการโดยเร็วหลังจากที่มีการเก็บเกี่ยวขาวใหมๆ กอนที่นก หนู เปดหรือไกจะลงมากินเมล็ดขาว เพื่อที่จะใหไดขอมูลที่ถูกตองที่สุด (สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2547)

42

42

Page 49: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

43 44

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

ตารางที่ 5.5ี่ 5.5 แบบสํารวจผลผลิตตอไรของขาว หรือแบบสํารวจ จบ. 1-26

43

Page 50: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

44

ตารางที่ 5.6 แบบสํารวจผลผลิตตอไรของขาวหรือแบบสํารวจ จบ. 1-27

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

44

Page 51: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

45

5.4 การประมวลผลผลิต เมื่อขาวในแปลงนาพรอมเก็บเกี่ยวไดแลวเจาหนาที่สํารวจจะออกไปทําการเก็บเกี่ยวจาก

แปลงทดสอบผลผลิตแตละจุด โดยตัดรวงขาวในแตละสวน จุดตัวอยางหนึ่งๆ จะแบงออกเปน 2 หนวย แตละหนวยแยกออกเปน 2 สวน ดังนั้นจุดตัวอยางหนึ่งจะมีขาว 4 สวน หลังจากนั้นใหบรรจุขาวแตละสวนใสถุงกระดาษและเขียนรายการแสดงรายละเอียดใหชัดเจนแลวจึงนําสงฝายดินดานวิทยาศาสตร สํานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน ปากเกร็ด หลังจากไดรับตัวอยางผลผลิตขาวจากโครงการชลประทานแลวก็จะทําการนับ วัด ช่ังน้ําหนักผลผลิต โดยดําเนินการดังนี้ คือ (ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน, 2546)

5.4.1 นํามาฝดเพื่อแยกเมล็ดลีบและเศษผงเศษฟางออก 1) ช่ังหาน้ําหนัก (กรัม) 2) วัดหาคาเปอรเซ็นตความชื้น (%) 3) คํานวณหาน้ําหนกัขาวเพือ่ปรับเปลี่ยนมาที่ความชื้น 14 เปอรเซ็นต (กรัม/ 1 สวน และ

กรัม/จุดตวัอยาง) 4) คํานวณหาน้ําหนกัที่ความชื้น 14% ตอเนื้อที่ 1 ไร (กก./ไร) ยกตัวอยางดังนี ้สมมติโครงการ “ก” สงตัวอยางขาวมาทั้งหมด 20 จุดตัวอยาง (จุดตัวอยางละ 4 สวน = 20 x

4 = 80 สวน) สงขาวตกหลนทั้ง 4 สวนมา 1 ถุงกระดาษ ดําเนนิการประมวลผลในแตละจดุตัวอยางดังนี ้

1. ช่ังน้ําหนกัขาวตัวอยางทัง้ 4 สวน โดยแยกชั่งแตละสวนไดดังนี ้สวนที่ 1 น้ําหนกั 380 กรัม สวนที่ 2 น้ําหนกั 322 กรัม สวนที่ 3 น้ําหนกั 309 กรัม สวนที่ 4 น้ําหนกั 350 กรัม

2. วัดหาเปอรเซ็นตความชื้นไดดังนี ้สวนที่ 1 ความชื้น 13% สวนที่ 2 ความชื้น 12% สวนที่ 3 ความชื้น 11% สวนที่ 4 ความชื้น 15%

3. ช่ังน้ําหนกัของขาวตกหลนทั้ง 4 สวนได 30 กรัมและวัดเปอรเซ็นตความชื้นได 14% 4. ดําเนินการคํานวณเพื่อปรับเปลี่ยนจากน้ําหนักของขาวตัวอยางความชื้นระดับตางๆ ให

เปนน้ําหนักที่ความชื้น 14% (ขาวที่ความชื้น 14% หมายถึง ขาวสารหนัก 100 กรัม เมื่อนํามาแยก

45

Page 52: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

46

สัดสวนจะไดเนื้อขาวและน้ําที่อยูในขาว กลาวคือ จะไดเนื้อขาวแทๆ 86 กรัมและน้ํา 14 กรัม ซ่ึงความชื้น 14% เปนความชื้นมาตรฐานสากลของขาว)

5. นําขาวในขอ 1 และขอ 2 มาดําเนินการ ดังนี ้ก) ขาวสวนที่ 1 น้ําหนกัขาว 380 กรัม ความชื้น 13% คํานวณ ดังนี ้ขั้นที่ 1 คํานวณหาวาขาวตวัอยาง 380 กรัม จะมีน้ําผสมอยูกี่กรัม โดยวธีิบัญญัติไตรยางค

ขาวตัวอยาง 100 กรัม มีน้ําผสมอยู 13 กรัม ขาวตัวอยาง 1 กรัม มีน้ําผสมอยู 13/100 กรัม ขาวตัวอยาง 380 กรัม มีน้ําผสมอยู (13/100) x 380 = 49 กรัม ขาวตัวอยาง 380 กรัม มีน้ําผสมอยู 49 กรัม

ขั้นที่ 2 คํานวณหาวาเมื่อหกัน้ําที่ผสมอยูจํานวน 49 กรัม ออกจากขาว 380 กรัม แลวจะคงเหลือเนื้อขาวกี่กรัม จะคงเหลือเนื้อขาว = 3 8 0 - 4 9 = 3 3 1 กรัม

ขั้นที่ 3 คํานวณหาวาเนื้อขาวแทๆ 331 กรัม เมื่อนํามาปรับเปลี่ยนเปนน้ําหนักของขาวที่ความชื้น 1 4 % จะไดจํานวนกีก่รัม

เนื้อขาวแทๆ 86 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100 กรัม เนื้อขาวแทๆ 1 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100/86 กรัม เนื้อขาวแทๆ 331 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = (100/86) x 331 = 384 กรัม น้ําหนกัขาวสวนที่ 1 ความชื้น 14% = 384 กรัม ข) ขาวสวนที่ 2 น้ําหนกั 322 กรัม ความชื้น 12% คํานวณความชื้นเชนเดียวกับขาวสวนที่ 1

ดังนี ้ขาวตัวอยาง 100 กรัม มีน้ําผสมอยู = 12 กรัม ขาวตัวอยาง 1 กรัม มีน้ําผสมอยู = 12/100 กรัม ขาวตัวอยาง 322 กรัม มีน้ําผสมอยู = (12/100) x 322 กรัม ขาวตัวอยาง 322 กรัม มีน้ําผสมอยู = 39 กรัม

หัก น้ําที่ผสมอยูออก 39 กรัม จะเหลือเนื้อขาวแทๆ = 322-39 กรัม = 283 กรัม

เนื้อขาวแทๆ 86 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100 กรัม เนื้อขาวแทๆ 1 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100/86 กรัม เนื้อขาวแทๆ 283 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = (100/86) x 283 = 329 กรัม น้ําหนกัขาวสวนที่ 2 ความชื้น 14% = 329 กรัม

46

Page 53: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

47

ค) ขาวสวนที่ 3 น้ําหนกั 309 กรัม ความชื้น 11% คํานวณความชื้นเชนเดียวกับขาวสวนที่ 1 ดังนี ้

ขาวตัวอยาง 100 กรัม มีน้ําผสมอยู = 11 กรัม ขาวตัวอยาง 1 กรัม มีน้ําผสมอยู = 11/100 กรัม ขาวตัวอยาง 309 กรัม มีน้ําผสมอยู = (11/100) x 309 กรัม ขาวตัวอยาง 309 กรัม มีน้ําผสมอยู = 34 กรัม

หัก น้ําที่ผสมอยูออก 34 กรมั จะเหลือเนื้อขาวแทๆ = 309-34 กรัม = 275 กรัม

เนื้อขาวแทๆ 86 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100 กรัม เนื้อขาวแทๆ 1 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100/86 กรัม เนื้อขาวแทๆ 275 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = (100/86) x 275 = 320 กรัม น้ําหนกัขาวสวนที่ 3 ความชื้น 14% = 320 กรัม ง) ขาวสวนที่ 4 น้ําหนกั 350 กรัม ความชื้น 15% คํานวณความชื้นเชนเดียวกับขาวสวนที่ 1

ดังนี ้ขาวตัวอยาง 100 กรัม มีน้ําผสมอยู = 15 กรัม ขาวตัวอยาง 1 กรัม มีน้ําผสมอยู = 15/100 กรัม ขาวตัวอยาง 350 กรัม มีน้ําผสมอยู = (15/100) x 350 กรัม ขาวตัวอยาง 350 กรัม มีน้ําผสมอยู = 53 กรัม

หัก น้ําที่ผสมอยูออก 53 กรัม จะเหลือเนื้อขาวแทๆ = 350-53 กรัม = 297 กรัม

เนื้อขาวแทๆ 86 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100 กรัม เนื้อขาวแทๆ 1 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = 100/86 กรัม เนื้อขาวแทๆ 297 กรัม เปนขาวที่ความชื้น 14% = (100/86) x 297 = 345 กรัม น้ําหนกัขาวสวนที่ 4 ความชื้น 14% = 345 กรัม จ) ผลรวมของขาวทั้ง 4 สวนที่ความชื้น 14% (ก+ข+ค+ง)

= 384+329+320+345 = 1,378 กรัม

ฉ) ขาวตกหลน ขาวตกหลนทั้ง 4 สวน น้ําหนัก 30 กรัม ความชื้น 14% ในกรณีตัวอยางขางตนนี้ ขาวตกหลนมีความชื้นมาตรฐาน 14% อยูแลว จึงไมตองคํานวณปรับเปลี่ยนน้ําหนักอีก

47

Page 54: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

48

ช) คํานวณหาผลผลิตสุทธิ (น้ําหนกัขาวตวัอยาง 4 สวน ที่ความชื้น 14% หัก ดวยน้ําหนักขาวตกหลน)

= 1,378 – 30 กรัม = 1,348 กรัม

ซ) คํานวณหาผลผลิตเฉลี่ย (กก./ไร) = (1,348/4) x (1,600/1,000) กก./ไร = 540 กก./ไร

6. การคํานวณผลผลิตทั้งหมดของโครงการ 6.1 คํานวณหาผลผลิตเฉลี่ย กก./ไร ของการชลประทานแตละประเภท เทากับผลรวม

ผลผลิต กก./ไร ของประเภทการชลประทาน (กก.) หารดวยผลรวมของจุดตัวอยางของประเภทการชลประทาน (จุด)

6.2 คํานวณหาผลผลิตทั้งหมดของประเภทการชลประทาน (เมตริกตัน) เทากับเนื้อที่ เก็บเกี่ยว (ไร) ของประเภทชลประทาน X ผลผลิตเฉลี่ยตอไร (กก./ไร) ของประเภทชลประทานหารดวย 1,000

6.3 คํานวณหาผลผลิตทั้งหมดของโครงการ (เมตริกตัน) เทากับผลรวมของผลผลิตทั้งหมดของทุกประเภทการชลประทาน (เมตริกตัน)

6.4 คํานวณหาผลผลิตเฉลี่ยของโครงการ (กก./ไร) เทากับผลรวมของผลผลิตขาวทั้งหมดของทุกประเภทการชลประทาน หารดวยเนื้อที่เก็บเกี่ยวของโครงการ (ไร)

สําหรับการประมวลผลผลิตขาวของแตละจุดตัวอยางในขั้นตอนหรือขอท่ี 5.4 คือ หลังจากทําการชั่งน้ําหนักตัวอยางขาวทั้ง 4 สวนและวัดหาเปอรเซ็นตความชื้นไดแลว เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการปฏิบัติงานจึงไดสรางตารางประมวลผลผลิตเพื่อใชคํานวณผลผลิตตอไรของขาว รวม 3 ตาราง คือ (ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546)

1. ตารางที่ 5.7 ใชคํานวณผลผลิตตอไรของขาวนาป ซ่ึงทําการแบงแปลงขาวตัวอยางออกเปน 2 หนวย (Unit) แตละหนวยแบงเปน 2 สวน รวมเปน 4 สวนตอหนึ่งตัวอยางและมีรายละเอียดตางๆ ตามตารางที่ 5.7 ดังนี้ 1. ชองที่ (1) เปนลําดับที่เจาของนา 2. ชองที่ (2) Segment No. เปนผืนที่ดินที่กําหนดใหในแผนที่แสดงประเภทการชลประทานและ

เลขที่ของผืนนา เชน 3001 แสดงวา ตัวอยางนี้อยูในประเภทการชลประทานที่ 3 และเปนผืนนาที่ 1 ในโครงการนั้นๆ

3. ชองที่ (3) Sample No. เปนหมายเลขแปลงตัวอยางในแตละ Segment

48

Page 55: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

49

4. ชองที่ (4) ช่ือ สกุล เปนชื่อ สกุล ของเจาของนาที่ถูกเลือกตั้งแปลงตัวอยาง 5. ชองที่ (5) ใสจํานวนรวงขาวที่เก็บเกีย่วจากแปลงตัวอยางแตละสวน 6. ชองที่ (6) เปนน้ําหนกัของเมล็ดขาวตัวอยาง สวนที่ 1 ที่เก็บเกีย่วแลวนาํมาชั่งน้ําหนกัใน

หองปฏิบัติการ 7. ชองที่ (7) เปนตัวเลขความชื้นของเมล็ดขาวตัวอยางสวนที่ 1 ที่นํามาวัดความชื้นใน

หองปฏิบัติการ ซ่ึงตัวเลขที่วัดไดจะตองหารดวย 100 ตัวเลขของความชื้นจะเปนทศนิยม 8. ชองที่ (8) เปนชองตัวเลขที่ไดจากชอง (7) ลบจาก 1 หรือ 1-ความชื้นทีว่ัดไดหารดวย 100 9. ชองที่ (9) เปนตัวเลขน้ําหนักขาวที่ความชื้น 14% ซ่ึงไดจากตัวเลขในชอง (6) x ชอง (8) หาร

ดวย 0.86 สวนชองที่ 10-24 อธิบายไดเชนเดียวกับชอง 5- ชอง 9 ชองที่ (25) ไดมาจากการนําตัวเลข ชอง (9)+ชอง (14) +ชอง (19)+ชอง (24) รวมกัน

ในกรณีที่มีขาวตกหลน และมีการเก็บสงเขามา ก็ใชวิธีการชั่งน้ําหนักแตละสวนแยกกันโดยเด็ดขาด สวนความชื้นของขาวตกหลน ไดจากนําขาวตกหลน 4 สวนมารวมกันเพื่อวัดความชื้น และความชื้นตัวนี้เปนความชื้นของขาวตกหลนในแตละสวนทั้ง 4 สวน สวนตารางที่ใชก็ใชตาราง 5.7 และวิธีการคํานวณก็เชนเดียวกับการคํานวณผลผลิต

49

Page 56: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

50

ตารางที่ 5.7ี่ 5.7 ตารางการคํานวณผลผลิตตอไร ตารางการคํานวณผลผลิตตอไรของขาวนาป ปการเพาะปลูก…………. โครงการ…………………………

Unit 1 Unit 2

สวนที่ 1 สวนที่ 2 สวนที่ 3 สวนที่ 4

ลําดับ

ที่

Segm

ent n

umbe

r

Samp

le nu

mber

ชื่อ-สกุล

จํานว

นรวง

น้ําหนัก

เมล็ด (กรัม)

ความชื้น ที่วัดได หาร 100

%

1-ความชื้น ที่วัดได

1-(7)

น้ําหนักที่ ความชื้น

14% [(6)X(8)]/0.86

จํานว

นรวง

น้ําหนัก

เมล็ด (กรัม)

ความชื้น ที่วัดได หาร 100

%

1-ความชื้น ที่วัดได

1-(12)

น้ําหนักที่ ความชื้น

14% [(11)X(13)]/0.86

จํานว

นรวง

น้ําหนัก

เมล็ด (กรัม)

ความชื้น ที่วัดได หาร 100

%

1-ความชื้น ที่วัดได 1-(17)

น้ําหนักที่ ความชื้น

14% [(16)X(18)]/0.86

จํานว

นรวง

น้ําหนัก

เมล็ด (กรัม)

ความชื้น ที่วัดได หาร 100

%

1-ความชื้น ที่วัดได 1-(22)

น้ําหนักที่ ความชื้น

14% [(21)X(23)]/0.86

น้ําหนักที่ ความชื้น 14% รวม

4 สวน

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) (10) (11) (12) (13) (14) (15) (16) (17) (18) (19) (20) (21) (22) (23) (24) (25)

50

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

50

Page 57: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

51

2. ตารางที่ 2 ใชคํานวณผลผลิตเบื้องตนตอไรของขาวนาปซ่ึงมีรายละเอียดตางๆ ตามตารางที่ 5.8 ดังนี ้

1. ชองที่ (1) เปนลําดับที่เจาของนาที่ถูกเลือกแปลงตัวอยาง 2. ชองที่ (2) Segment No. เปนประเภทการชลประทานและลําดับที่ผืนที่ดิน 3. ชองที่ (3) Sample No. เปนลําดับแปลงตัวอยาง 4. ชองที่ (4) ช่ือ-สกุล เจาของนาที่ตั้งแปลงตัวอยาง 5. ชองที่ (5) เปนการนําตัวเลขจากชองที่ (9) ในตารางที่ 5.7 คูณดวย 1.6 เพื่อจะคิดเปน

ตัวเลข กก./ไร ในสวนที่ 1 6. ชองที่ (6) นําตัวเลขชองที่ (9) และชองที่ (14) จากตารางที่ 5.7 รวมกัน คูณดวย 1.6 หาร

ดวย 2 เพื่อเฉลี่ยน้ําหนักขาว กก./ไร ใน Unit ที่ 1 7. ชองที่ (7) นําตัวเลขชองที่ (9), ชองที่ (14) และชองที่ (19) จากตารางที่ 5.7 รวมกันคูณ

ดวย 1.6 หารดวย 3 8. ชองที่ (8) นําตัวเลขชองที่ (9), ชองที่ (14), ชองที่ (19) และชองที่ (24) จากตารางที่ 5.7

มารวมกัน คูณดวย 1.6 หารดวย 4 เพื่อหาผลผลิต กก./ไร ของจุดนั้นๆ

ตารางที่ 5.8 ตารางคํานวณผลผลิตเบื้องตนตอไร

ตารางคํานวณผลผลิตเบื้องตนตอไรของขาวนาป ปเพาะปลูก ………… โครงการ………..………. ผลผลิตตอไร คิดจากพื้นที ่ 1 ตารางเมตร

ผลผลิตตอไร คิดจากพื้นที ่ 2 ตารางเมตร

ผลผลิตตอไร คิดจากพื้นที ่ 3 ตารางเมตร

ผลผลิตตอไร คิดจากพื้นที ่ 4 ตารางเมตร ลํา

ดับที่ Se

gmen

t No.

Samp

le No

.

ชื่อ-สกุล

1 สวน 2 สวน 3 สวน 4 สวน (จากตารางที ่1) (จากตารางที ่1) (จากตารางที ่1) (จากตารางที ่1) [(9) X 1.6]/1 [{(9)+(14)} X 1.6]/2 [{(9)+(14)+(19)}X1.

6]/3 [{(9)+(14)+(19)+(24)}X

1.6]/4 (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8)

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน, 2546 3. ตารางที่ 3 ใชคํานวณผลผลิตสุทธิตอไรของขาว เพื่อคํานวณหาผลผลิตที่แทจริงหลังจาก

หักผลผลิตตกหลนเรียบรอยแลว (ในกรณทีี่ตัวอยางนั้นๆ มีผลผลิตตกหลนดวย) แตถาไมมีผลผลิต

51

Page 58: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

52

ตกหลนกใ็หผลผลิต กก./ไร ในชองที่ (8) ของตารางที่ 5.8 เปนผลผลิตสุทธิตอไร ซ่ึงการคํานวณผลผลิตสุทธิตอไรมีรายละเอยีดตางๆ ตามตารางที่ 5.9 ดังนี้

1. ชองที่ (1) เปนลําดับที่เจาของนา 2. ชองที่ (2) Segment No. เปนประเภทการชลประทานและลําดับที่ผืนดิน 3. ชองที่ (3) Sample No. เปนลําดับแปลงตัวอยาง 4. ชองที่ (4) ช่ือ-สกุล เจาของนาที่ตั้งแปลงตัวอยาง 5. ชองที่ (5) Gross Yield เปนผลผลิตเฉลี่ย กก./ไร ที่นํามาจากชอง (8) ของตารางที่ 5.8 6. ชองที่ (6) Gleaning เปนสวนตกหลนของผลผลิตขาวของแตละจุดตวัอยาง 7. ชองที่ (7) Net Yield เปนผลผลิตเฉลี่ย กก./ไร สุทธิ ในกรณีที่มีขาวตวัอยางตกหลน ได

จาก ชอง (5) – ชอง (6)

ตารางที่ 5.9 ตารางการคํานวณผลผลิตสุทธิตอไร

ตารางการคํานวณผลผลิตสุทธิตอไร ปการเพาะปลูก………….. โครงการ………………………………..

ลําดับที่ Se

gmen

t No.

Samp

le No

.

ช่ือ-สกุล Gross Yield Gl

eanin

g Net Yield

Remark

(1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) (8)

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

5.5 การหาจุดหรือแปลงสํารวจ ในการคํานวณหาจุดหรือแปลงสํารวจในแผนที่แตละระวางนั้นใหดูจากเสนพิกดัที่พมิพไว

แตละเสนในแผนที่ทหารชุด L 7017 มาตรสวน 1: 50,000 เพราะจะมีหมายเลขประจําเสนกํากับอยูตั้งแต 00-99 ซ่ึงมีระยะทางทัง้หมด 100,000 กิโลเมตร จึงจะเริ่มตนทีเ่ลข 00 ใหม

5.5.1 การอานพิกัด หลักการอานเสนพิกัดใหอานจากซายไปขวาและจากลางขึ้นบน เนื่องจากตัวเลขของเสนพิกัดจะเพิ่มจากซายไปขวาและจากลางขึ้นบน โดยเสนพิกัดตั้ง (วัดตามแนวนอน) และเสนพิกัดนอน (วัดตามแนวตั้ง) จะตัดกันเปนรูปสี่เหล่ียมจัตุรัส ซ่ึงมีความยาวดานละ

52

Page 59: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

53

2 เซนติเมตรจะเทากับพื้นที่จริง 1 กิโลเมตร ฉะนั้นในแตละชวงจะมีพื้นที่เทากับ 1 ตารางกิโลเมตรในพื้นที่จริงหรือ 2 เซนติเมตรเทากับ 1,000 เมตรในสนาม การอานพิกัดในแผนที่แตละระวางเพื่อหาจุดสํารวจนั้นตองดูวา จุดสํารวจนั้นอยูในตารางพิกัดหมายเลขที่เทาใด โดยการอานจากเสนพิกัดที่ตัดกันทางดานซายมือของจุดสํารวจ แตการที่จะทราบวาจุดสํารวจอยูในพิกัดที่เทาใดนั้นจะตองรวมระวางพิกัดตั้งและพิกัดนอนเขาดวยกันเปนเลข 8 หลักเสมอ (ใชพิกัดละ 4 หลัก) แตพิกัดตั้งตองอยูนําหนาพิกัดนอน ตัวอยางเชน แผนที่ระวาง 5234 II จะทําการสํารวจจุด ก. (ภาพที่ 5.13) เมื่อวัดจากพิกัดตั้งที่ 84 ไปหาพิกัดตั้งที่ 85 ตามแนวนอนจุด ก. จะอยูหางจากพิกัดที่ 84 ออกไปอีก 8 มิลลิเมตรหรือเทากับ 4 สวน (1 ชองแบงออกเปน 10 สวนๆละ 2 มิลลิเมตร) ดังนั้นจะอยูในพิกัดตั้งที่ 8440 หมายความวา

เลขสองหลักแรกไดแก 84 คือ หมายเลขพิกัดตั้ง เลขหลักที่สามไดแก 4 คือ สวนของจุดที่อยูหางจากพิกัดตัง้ที่ 84 ออกมา 4 สวน เลขหลักที่ส่ีไดแก 0 คือ ทศนิยมของสวนที่เหลือคือ 4.0 สวน

และถาวัดจากพิกัดนอนที่ 76 ไปยังจดุ ก. ตามแนวตั้งก็จะไดจดุ ก. อยูหางจากพิกัดที ่76 เทากับ 13 มิลลิเมตรหรือเทากับ 6.5 สวน ดังนั้นจะอยูในพิกดันอนที ่7665 หมายความวา

เลขสองหลักแรกไดแก 76 คือ หมายเลขพิกัดนอน เลขหลักที่สามและหลักที่ส่ีไดแก 65 คือ สวนของจุดทีอ่ยูหางจากพิกดันอนที่ 76 ออกมา 6.5 สวน ดังนั้นจดุสํารวจ ก. ซ่ึงอยูในแผนที่ระวาม 5234 II อยูในพิกัดที่ 84407665

ภาพที่ 5.13 แสดงตําแหนงจดุสํารวจ ก. ในแผนที่ระวาง 5234 II

83 84 85 86

78

77

76

83 84 85 86

78

77

76

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

53

Page 60: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

54

ภาพที่ 5.14 แสดงการวัดเสนพิกัด

การวัดพิกัดตั้ง การวัดพิกัดนอน

0 1 2 3 4 5

0 1 2 3 4 5

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

5.5.2 การหาพิกัด มีหลักเกณฑคือ แตละ 2 ตารางเซนติเมตรแบงยอยออกเปน 10 สวน สวน

หนึ่งๆยาวเทากับ 2 มิลลิเมตรซึ่งจะเทากับความยาว 100 เมตรในสนาม ดังนั้น 1 มิลลิเมตรหรือ 0.1 เซนติเมตรจะเทากับความยาว 50 เมตรในสนาม ดวยเหตุนี้วิธีคํานวณหาจุดสํารวจจะตองเอาเลข 2 คูณสวนของพิกัดตั้งและสวนของพิกัดนอนเสมอเพื่อหาออกมาเปนระยะทางมิลลิเมตร ตัวอยางเชน ทําการตรวจสอบจุดสํารวจพิกัดที่ 82503345 หมายความวา

เลขสองหลักแรกไดแก 82 คือ หมายเลขของพิกัดตั้ง เลขหลักที่หาและหกไดแก 33 คือ หมายเลขของพิกัดนอน เลขหลักที่สามและสี่ไดแก 50 คือ สวนของพิกัดตั้ง เลขหลักที่เจ็ดและแปดไดแก 45 คือ สวนของพิกัดนอน

(สําหรับจุดสํารวจพิกัดที่ 82503345 นั้นเลข 50 คือ 5.0 และ 45 คือ 4.5 สวนทศนิยม ละไวเปนที่เขาใจ แตเวลานํามาคํานวณเปนมิลลิเมตรใหใสจุดทศนิยมลงไปดวย)

ดังนั้นวิธีการคํานวณสวนของพิกัดตั้งไดแก 50 คือ 5.0 x 2 จะเทากับ 10 มิลลิเมตร หมายความวา จุดนี้จะอยูหางจากพิกัดตั้งที่ 82 ออกไปเปนระยะเทากับ 10 มิลลิเมตร และสวนของพิกัดนอนไดแก 45 คือ 4.5 x 2 จะเทากับ 9 มิลลิเมตร หมายความวา จุดนี้จะอยูหางจากพิกัดนอนที่

54

Page 61: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

55

33 ออกไปเปนระยะเทากับ 9 มิลลิเมตร เพราะฉะนั้นจุดศูนยกลางของจุดสํารวจคือตําแหนงที่เสนพิกัดตัดกัน

ภาพที่ 5.15 วิธีการคํานวณจุดสํารวจพิกัดที่ 82503345

81 82 83

|

84

34

33

3

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

แตถาสํานักชลประทานจะดําเนินการหาจุดสํารวจบริเวณที่มีพื้นที่ 100 ไร พื้นที่ของจุดสํารวจจะเทากับ 0.8 x 0.8 เซนติเมตร หรือ 8 x 8 มิลลิเมตรในแผนที่ จุดสํารวจที่หาจะตองวัดจากจดุศูนยกลางซึ่งเปนตําแหนงที่เสนพิกัดตัดกันออกไปขางละ 4 มิลลิเมตร (ตามภาพที่ 5.16) แตถาจะดําเนินการหาจุดสํารวจที่มีพื้นที่ 200 ไร พื้นที่ของจุดสํารวจจะเทากับ 1.1 x 1.1 เซนติเมตร หรือ 11 x 11 มิลลิเมตรในแผนที่ จุดสํารวจที่หาก็จะตองวัดจากจุดศูนยกลางเชนเดียวกันโดยวัดออกไปขางละ 5.5 มิลลิเมตร (ตามภาพที่ 5.17)

ภาพที่ 5.16 แสดงการหาจุดสํารวจบริเวณพื้นที่ 100 ไร

81 82 83 84

34

10 9

33

322

81 82 83 84

34

33

32

81 82 83 84

34

33

32

8 8

55

Page 62: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

56

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

ภาพที่ 5.17 แสดงการหาจุดสํารวจบริเวณพื้นที่ 200 ไร

81 82 83

ที่มา ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน , 2546

5.5.3 การยายพิกัด การยายพิกัดจากแผนที่ฉบับหนึ่งไปยังอีกฉบับหนึง่ สามารถทําได 2 วิธี คือ

1) ดวยวิธีการกอปป (copy) โดยใชกระดาษลอกลาย 2) ดวยวิธีการวัดระยะลงไปใหตรงกนั สําหรับการยายพิกัดดวยวิธีการวัดระยะลงไปใหตรงกัน เชน การยายพิกัดที่ 82503345 จาก

แผนที่ฉบับหนึ่งไปยังอีกฉบับหนึ่งมีหลักเกณฑดังนี้ ใหวัดจากพิกัดตั้งที่ 82 ไปทางพิกัดตั้งที่ 83 เปนระยะทาง 10 มิลลิเมตร แลวขีดเสนดวยดินสอเปนแนวตั้งในแผนที่อีกฉบับหนึ่งและทําการวัดจากพิกัดนอนที่ 33 ขึ้นไปทางพิกัดนอนที่ 34 เปนระยะทาง 9 มิลลิเมตร แลวขีดเสนดวยดินสอทางแนวนอนโดยตัดเสนแนวตั้งที่ขีดไวเดิม ก็จะไดจุดศูนยกลางของจุดสํารวจตามพิกัดที่ 82503345 ในแผนที่ใหม หลังจากนั้นก็ดําเนินการหาจุดสํารวจในบริเวณพื้นที่ 100 และ 200 ไร อีกครั้งหนึ่งตามวิธีการดังกลาวขางตน

84

34

33

32

81 82 83 84

34

33

32

11

11

56

Page 63: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

57

บรรณานุกรม จิราภรณ ศรีอดุลยพันธุ, มยุรี สุมประดิษฐ และศจี เจริญยิ่ง. 2540. การศึกษาผลผลิตขาวนาปใน

เขตโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมแตง ปการเพาะปลูก 2537. งานสถิติเกษตรชลประทาน ฝายเกษตรชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา, กรมชลประทาน.

ชัยพร วิชชาวุธ. 2535. บทนําสูการวิจยัการศึกษา. ใน การวิจยัทางการศึกษา : หลักและวิธีการสําหรับนักวจิยั. จฬุาลงกรณมหาวิทยาลยั, กรุงเทพฯ. หนา 1-25.

ททิดา บุญคง. 2520. การคํานวณหาจุดสํารวจผลผลิตโดยใชแผนที่ 1:50,000 ชุด L7017. หนวยสถิติเกษตรชลประทาน งานเกษตรชลประทาน กองจัดสรรน้ําและบํารุงรักษา, กรมชลประทาน.

บุญชม ศรีสะอาด, รองศาสตราจารย. 2538. วิธีการทางสถิติสําหรับการวิจัย. (พิมพครั้งที่ 2). สุวีริยาสาสน, กรุงเทพฯ.

บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์. 2531. ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร. หสน.สามเจริญพาณิช, กรุงเทพฯ.

บุญธรรม จิตตอนันต, ศาสตราจารย. 2546. การวิจัยทางสังคมศาสตร. (พิมพครั้งที่ 3) สํานักพิมพมหาวิทยาลับเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.

บุญเรียง ขจรศิลป. 2533. การวิจัยทางสงเสริมการเกษตร. ฝายฝกอบรม สํานักสงเสริมและฝกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร , กรุงเทพฯ.

ฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน. 2546. คูมือฝายสถิติการใชน้ําชลประทาน. สวนการใชน้ํา ชลประทาน สํานักอุทกวิทยาและบริหารน้ํา, กรมชลประทาน.

พวงรัตน ทวีรัตน. 2531. วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตรและสังคมศาสตร. โรงพิมพเจริญผล, กรุงเทพฯ.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2543. การประเมินผลการเรียน. คณะครุศาสตร สถาบันราชภัฏพระนคร, กรุงเทพฯ.

เย็นใจ เลาหวณิช. 2522. วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี, กรุงเทพฯ.

ศูนยสถิติการเกษตร. 2518. การสํารวจผลผลิตตอไรของขาวนาป. กองเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

Page 64: วิธีการสำรวจ (SURVEY METHOD)water.rid.go.th › hwm › cropwater › iwmd › sb › images › survey...เก ยวก บการว จ ยแบบส

58

ศูนยสถิติการเกษตร. 2521. คูมือสํารวจผลผลิตตอไรของขาวปเพาะปลูก 2520/2521. กองเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ.

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 2547. การสํารวจผลผลิตตอไรโดยวิธีการตั้งแปลงทดสอบผลผลิตขาวนาป ปเพาะปลูก 2547/48. ดวยความรวมมือระหวางสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ กับ JICA ASEAD PROJECT.

อารง สุทธาศาสน, ดร. 2527. ปฏิบัติการวิจัยทางสังคมศาสตร. (พิมพครั้งที่ 1). เจาพระยาการพิมพ, กรุงเทพฯ.

Blalock , Jr., Hubert M. 1970. An Introduction to Social Research. New Jersey : Prentice-Hall, Inc.

Byrn , D. (ed.). 1962. Evaluation in Extension. Kansas : H.M. lves & Sons , Inc. Publisher. Charles , M. Judd and Others. 1991. Research Method in Social Relation. Chicago : Holt

Rinchart and Winston , Inc. Guralnik , David B. and Others. Webster’s New World Dictionary. Hempel , Carl G. 1966. Philosophy of Natural Science. New Jersey : Prentice – Hall , Inc. Krejcie, R.V. and D.W. Morgan. 1970. Determining Sample Size For Research Activities.

Educational and Psychological Measurement. 30 : 607-610. Librero , F. 1985. How to Write a Thesis Proposal. Philippines : College of Agriculture,

U.P. at Los Banos. Selltiz , C. and Others. 1959. Research Method in Social Relation. New York : Holt Rinchart

and Winston. Inc. Simon , J.L. 1969. Basic Research Method in Social Science. New York : Random House. Williams , F. 1968. Reasoning with Statistics. New York : Holt Rinchart and Winston, Inc.

58