กิิตตกรรมประกาศ · swine name of the investigators : thongchai...

117

Upload: others

Post on 21-Oct-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • i

    กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจัยเร่ือง “การเฝาระวังการดื้อยาของซาลโมเนลลาในสุกร (Monitoring of Anti-microbial Resistant Salmonella Isolated from Swine)” ไดรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูวิจัยขอขอบพระคุณเปนอยางยิ่งมา ณ โอกาสนี้ นอกจากนี้ ผูวิจัยขอขอบคุณรองศาสตราจารย นายสัตวแพทย สุพล เล่ืองยศลือชากุล อาจารย นายสัตวแพทย พรชลิต อัศวชีพ และอาจารย นายสัตวแพทย สุพจน วัฒนพันธศักดิ์ ที่ชวยในการเก็บตัวอยางอุจจาระจากสุกรที่เล้ียงในระบบอุตสาหกรรม ฟารมสุกร 4 ฟารมในเขตจังหวัดนครปฐมและเกษตรกรในจังหวัดมุกดาหารที่ใหความรวมมืออยางดีในการเก็บตัวอยาง นายมณฑล เลิศวรปรีชา นายธงชัย เขียนแกว และนางสาวขวัญเรียม พูนศิริ ผูชวยงานวิจัยในหองปฏิบัติการของศูนยติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเปนพิษ (โดยความรวมมือขององคการอนามัยโลก) คณะสัตวแพทย-ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่ชวยเหลือในการตรวจวิเคราะหเชื้อซาลโมเนลลา และทดสอบการดื้อยา

    ผูวิจัยหวังเปนอยางยิ่งวาขอมูลจากการวิจัยนี้จะเปนประโยชนตอการเฝาระวังเชื้อซาลโมเนล-ลาและการดื้อตอยาตานจุลชีพไมมากก็นอยตอหนวยงานของรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของในเร่ืองความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) รวมทั้งเปนขอมูลในการสนับสนุนใหมีการรณรงคในเร่ือง “การใชยาตานจุลชีพอยางรอบคอบและเหมาะสมในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว” สําหรับผูประกอบการฟารมปศุสัตว และนายสัตวแพทย ทั้งนี้รวมถึงการปลูกฝงเรื่องดังกลาวนี้ใหกับนิสิตในคณะสัตว-แพทยศาสตรดวย

  • ii

    ชื่อโครงการ : การเฝาระวังการดื้อยาของซาลโมเนลลาในสุกร ชื่อผูวิจัย : ธงชัย เฉลิมชัยกิจ

    เดือนและปท่ีทําวิจัยสําเร็จ : กรกฎาคม 2544

    บทคัดยอ

    จากการตรวจตัวอยางอุจจาระสุกรของเกษตรกรรายยอยที่เล้ียงแบบหลังบานในชนบท (อุจจาระสุกรชนบท) จํานวน 114 ตัวอยาง ตัวอยางอุจจาระสุกรฟารมที่เล้ียงในระบบอุตสาหกรรม (อุจจาระสุกรฟารม) จํานวน 772 ตัวอยาง ตัวอยางเนื้อสุกรจากซุปเปอรมารเก็ต (เนื้อสุกรธรรมดา) จาํนวน 154 ตัวอยาง และ ตัวอยางเนื้อสุกรที่ไดมาจากการเลี้ยงในโรงเรือนปลอดเชื้อและจําหนายในซุปเปอรมารเก็ต (เนื้อสุกรอนามัย) จํานวน 39 ตัวอยาง พบเชื้อซาลโมเนลลา 6.1, 3.1, 77.9 และ 82.1 % ตามลําดับ แสดงวานาจะมีการปนเปอนเชื้อซาลโมเนลลาสูงมากบนเนื้อสุกรในขั้นตอน การฆา การขนสง และ/ หรือตัดแตงเนื้อ ดังนั้นจึงควรมีการปรับปรุงสุขศาสตรในขั้นตอนจาก โรงงานฆาสัตวถึงการจําหนายในตลาดและซุปเปอรมารเก็ต ทั้งนี้ ซีโรวารที่พบบอยไดแก Salmonella Anatum, S. Rissen, S. Panama, S. Derby, S. Agona, S. Typhimurium, S. Worthington, S. Schwarzengrund, S. Hadar, S. Stanley และ S. Albany โดยอัตราการดื้อตอยา Ampicillin, Chloramphenicol, Kanamycin, Nitrofurantoin, Tetracycline, Nalidixic acid, Ciprofloxacin, Furazolidone, Sulfamethoxazole และ Sulfamethoxazole + Trimethoprim ของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบทเทากับ 0, 14.3, 14.3, 0, 28.6, 28.6, 14.3, 28.6, 0 และ 0 % ตามลําดับ แตเชื้อที่แยกไดจากอุจจาระสุกรฟารมมีอัตราการดื้อยาที่คอนขางสูงคือ 77, 16.7, 25, 4.2, 95.8, 45.8, 20.8, 4.2, 70.8 และ 6.7 % ตามลําดับ เชนเดียวกันกับเชื้อท่ีแยกไดจากเนื้อสุกรธรรมดาเทากับ 55.8, 16.7, 3.3, 4.2, 72.5, 33.3, 2.5, 0, 55.8 และ 51.7 % ตามลําดบั และเชื้อท่ีแยกไดจากเนื้อสุกรอนามัยเทากับ 59.4, 34.4, 15.6, 0, 81.3, 37.5, 0, 0, 62.5 และ 43.8 % ตามลําดับ นอกจากนี้ยังพบวาเชื้อที่แยกไดจากอุจจาระสุกรฟารมและบนเนื้อสุกรธรรมดาและเนื้อสุกรอนามัยมีรูปแบบการดื้อตอยา 4 ชนิดขึ้นไปเทากับ 70.8, 56.3 และ 46.7 % ตามลําดับ สูงกวาเชื้อท่ีแยกไดจากอุจจาระสุกรชนบทซึ่งดื้อตอยา 4 ชนิดขึ้นไปเพียง 14.3 % แสดงวาการใชยาตานจุลชีพในอุตสาหกรรมการเล้ียงสุกรมีผลทําใหเกิดอัตราการดื้อตอยาสูงขึ้น ดังนั้นจึงควรมีการใชยาตานจุลชีพอยางรอบคอบและเหมาะสมเพื่อปองกันหรือชะลอปญหาการดื้อตอยาตานจุลชีพของแบคทีเรีย และทําใหสามารถใชยาตานจุลชีพที่มีอยูในปจจุบันไดอยางมีประสิทธิผลไดยาวนานออกไป

  • iii

    Project Title : Monitoring of Antimicrobial Resistant Salmonella Isolated from Swine

    Name of the Investigators : Thongchai Chalermchaikit

    Year : July 2001

    Abstract

    Rectal swab samples of 114 pigs from rural area (Rural-Pigs) and 772 pigs from industrialized farms (Farm-Pigs), including 154 pork samples from supermarkets (Regular-Porks) and 39 pork samples which originated from specific-free pathogens farm and sold in supermarkets (SPF-Porks) were examined for Salmonella. The results found Salmonella 6.1, 3.1, 77.9, and 82.1 %, respectively. The causes of contamination of Salmonella on pork should be from impropered slaughtering process, transportation, cutting and handling. Therefore, it should be improve slaughter-house hygiene, proper transportation as well as cutting and handling processes. Salmonella Anatum, S. Rissen, S. Panama, S. Derby, S. Agona, S. Typhimurium, S. Worthington, S. Schwarzengrund, S. Hadar, S. Stanley, and S. Albany were frequenty found serovars in this study. The antimicrobial resistance of Salmonella isolates were tested with Ampicillin, Chloramphenicol, Kanamycin, Nitrofurantoin, Tetracycline, Nalidixic acid, Cipro-floxacin, Furazolidone, Sulfamethoxazole, and Sulfamethoxazole+Trimethoprim. Salmonella isoltes from Rural-Pigs were found 0, 14.3, 14.3, 0, 28.6, 28.6, 14.3, 28.6, 0,and 0 %, respectively. Salmonella isoltes from Farm-Pigs were found higher resistances which were 77, 16.7, 25, 4.2, 95.8, 45.8, 20.8, 4.2, 70.8, and 6.7 %, respectively. As well as, Salmonella isoltes from Regular-Porks were found 55.8, 16.7, 3.3, 4.2, 72.5, 33.3, 2.5, 0, 55.8, and 51.7 %, respectively; and Salmonella isoltes from SPF-Porks were found 55.8, 16.7, 3.3, 4.2, 72.5, 33.3, 2.5, 0, 55.8, and 51.7 %, respectively. Besides, multiple-drug resistance (> 4 antimicrobial drugs) of Salmonella isolated from Farm-Pigs, Regular-Porks, and SPF-Porks were found 70.8, 56.3, and 46.7 %, respectively. While multiple-drug resistance of Salmonella isolated from Rural-Pig was only 14.3 %. The non-prudent use of antimicrobial drugs in pig producers has caused antimicrobial resistance pathogens. Therefore, the judicious use of antimicrobial drugs must be concerned to prevent or delay the problem of emerging antimicrobial resistance pathogens and prolong the use of present antimicrobial drugs.

  • iv

    สารบัญ หนา

    กิตติกรรมประกาศ i บทคัดยอภาษาไทย ii บทคัดยอภาษาอังกฤษ (Abstracts) iii สารบัญ vi รายการตารางประกอบ vi รายการภาพประกอบ viii รายการสัญลักษณ x

    คํานํา 1 วิธีดําเนินการวิจัย 7 (1) การเก็บตัวอยางอุจจาระและเนื้อสุกร 7 (2) วิธีการตรวจหาเชื้อซาลโมเนลลา 8 (3) วิธีการหาการดื้อยาโดยวิธี MIC 8 (4) การวิเคราะหขอมูล 9 ผลการวิจัย 10

    - อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในตัวอยางอุจจาระสุกร 10 - อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในตัวอยางเนื้อสุกร 10 - อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในตัวอยางอุจจาระสุกรชนบทและ

    อุจจาระสุกรฟารมแยกตามอายุของสุกร 10 - ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบทและ

    อุจจาระสุกรฟารม 11 - ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางเนื้อสุกรธรรมดาและ

    เนื้อสุกรอนามัย 11 - อัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยาง

    อุจจาระสุกรชนบทและอุจจาระสุกรฟารม 12

  • v

    - อัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยาง เนื้อสุกรธรรมดาและเนื้อสุกรอนามัย 13

    - รูปแบบการดื้อตอยาตานจุลชีพของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยาง อุจจาระสุกรชนบทและอุจจาระสุกรฟารม 14

    - รูปแบบการดื้อตอยาตานจุลชีพของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยาง เนื้อสุกรธรรมดาและเนื้อสุกรอนามัย 14

    วิจารณ 15 - อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในทางเดินอาหารของสุกรที่อายุตางๆ และ

    สถานภาพของสุกรในการเปนพาหะของเชื้อซาลโมเนลลา 16 - อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในทางเดินอาหารของสุกรกับการปนเปอน

    บนเนื้อสุกรที่จําหนายเพื่อการบริโภค 17 - ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลาในสุกร 18 - อัตราและรูปแบบการดื้อตอยาตานจุลชีพของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยาง

    อุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดาและเนื้อสุกรอนามัย 20 - การดื้อตอยา Fluoroquinolones ของเชื้อซาลโมเนลลา 22 - การดื้อตอยาตานจุลชีพหลายชนิด (Multiple-drug resistance) ของเชื้อซาลโมเนลลา 23 - การใชยาตานจุลชีพในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตวในประทศไทย 24 - การใชยาตานจุลชีพอยางรอบคอบและเหมาะสม 26

    สรุป 29 ขอเสนอแนะ 29 เอกสารอางอิง 88

    ภาคผนวก - การตรวจวิเคราะหเชื้อซาลโมเนลลาในหองปฏิบัติการ 94 การเพาะแยกเชื้อซาลโมเนลลา 94 การจําแนกซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลา 95 การทดสอบความไวตอยาตานจุลชีพ 97 - ขอเสนอแนะขององคการอนามัยโลกเพื่อการควบคุมการดื้อยา ในสัตวที่ใชเปนอาหาร 99

  • vi

    รายการตารางประกอบ หนา

    ตารางที่ 1 ยาตานจุลชีพที่ใชในการทดสอบเพื่อหาอัตราการดื้อยา 9 ตารางที่ 2 อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 31 ตารางที่ 3 อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบทและ อุจจาระสุกรฟารม 33 ตารางที่ 4 ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลา 7 ตัวอยาง (Isolates) ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระ สุกรชนบท 114 ตัวอยาง และอัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพ 10 ชนิดที่ทดสอบ 34 ตารางที่ 5 ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลา 25 ตัวอยาง (Isolates) ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระ สุกรฟารม 772 ตัวอยาง และอัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพ 10 ชนิดที่ทดสอบ 35 ตารางที่ 6 ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลา 120 ตัวอยาง (Isolates) ที่แยกไดจากตัวอยาง เนื้อสุกรธรรมดา 154 ตัวอยาง ซ่ึงซื้อจากตลาดซุปเปอรมารเก็ต 4 แหงใน กรุงเทพมหานคร และอัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพ 10 ชนิดที่ทดสอบ 36 ตารางที่ 7 ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลา 32 ตัวอยาง (Isolates) ที่แยกไดจากตัวอยางเนื้อสุกร อนามัย 39 ตัวอยางในตลาดซุปเปอรมารเก็ตในกรุงเทพมหานคร และ อัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพ 10 ชนิดที่ทดสอบ 38 ตารางที่ 8 รูปแบบการดื้อตอมากกวาหนึ่งชนิดของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระ สุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม ตัวอยางเนื้อสุกรธรรมดาและเนื้อสุกรอนามัย 41 ตารางที่ 9 รูปแบบการดื้อตอยาหนึ่งชนิดและมากกวาหนึ่งชนิดของเชื้อซาลโมเนลลา ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท 42 ตารางที่ 10 รูปแบบการดื้อตอยาหนึ่งชนิดและมากกวาหนึ่งชนิดของเชื้อซาลโมเนลลา ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรฟารม 43 ตารางที่ 11 การดื้อตอยาตานจุลชีพมากกวาหนึ่งชนิดของเชื้อซาลโมเนลลา 23 ซีโรวาร ที่แยกไดจากตัวอยางเนื้อสุกรธรรมดา 44 ตารางที่ 12 รูปแบบการดื้อตอยาหนึ่งชนิดและมากกวาหนึ่งชนิดของเชื้อซาลโมเนลลา ที่แยกไดจากตัวอยางเนื้อสุกรอนามัย 47

  • vii

    ตารางที่ 13 คา Minimal Inhibition Concentrations (MICs) และรูปแบบการดื้อยาตานจุลชีพ ของเชื้อซาลโมเนลลา ซีโรวารที่แยกจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท 48 ตารางที่ 14 คา Minimal Inhibition Concentrations (MICs) และรูปแบบการดื้อยาตานจุลชีพ ของเชื้อซาลโมเนลลา ซีโรวารที่แยกจากตัวอยางอุจจาระสุกรฟารม 49 ตารางที่ 15 คา Minimal Inhibition Concentrations (MICs) และรูปแบบการดื้อยาตานจุลชีพ ของเชื้อซาลโมเนลลา ซีโรวารที่แยกจากตัวอยางเนื้อสุกรธรรมดา 55 ตารางที่ 16 คา Minimal Inhibition Concentrations (MICs) และรูปแบบการดื้อยาตานจุลชีพ ของเชื้อซาลโมเนลลา ซีโรวารที่แยกจากตัวอยางเนื้อสุกรอนามัย 67 ตารางที่ 17 ซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลา 10 อันดับแรกที่พบมากที่สุดซึ่งแยกไดจากผูปวย จากโรงพยาบาล 23 แหงในประเทศไทย ป พ.ศ. 2543 เปรียบเทียบกับซีโรวารที่ แยกไดตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม ตัวอยางเนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัยในปเดียวกัน 72 ตารางที่ 18 เปรียบเทียบรูปแบบการดื้อยาของซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลที่พบทั้งในตัวอยาง ผูปวยและตัวอยางจากอุจจาระสุกรฟารม ตวัอยางเนื้อสุกรธรรมดา และ เนื้อสุกรอนามัย 73 ตารางที่ 19 เปรียบเทียบอัตราการดื้อยาของซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลตอยา Ciprofloxacin ระหวางคา Break points ที่ 4 μg/ mL และ 0.25 μg/ mL แยกจากตัวอยางอุจจาระ สุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม ตัวอยางเนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 75 ตารางที่ 20 แสดงขั้นตอนในการเตรียมความเขมขนของยาตานจุลชีพ ที่ใชในการทดสอบ MIC 98

  • viii

    รายการภาพประกอบ หนา

    รูปท่ี 1 อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 32 รูปท่ี 2 อัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพ 5 ชนิด (Ampicillin, Chloramphenicol, Kanamycin, Nitrofurantoin และ Tetracycline) ของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยาง อุจจาระสุกรชนบท อุจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 39 รูปท่ี 3 อัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพ 5 ชนิด (Nalidixic acid, Ciprofloxacin, Furazolidone, Sulfamethoxazole และ Sulfamethoxazole + Trimethoprim) ของเชื้อซาลโมเนลลา ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 40 รูปท่ี 4 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Ampicillin ของเชื้อซาลโมเนลลา ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 78 รูปท่ี 5 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Chloramphenicol ของเชื้อ ซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 79 รูปท่ี 6 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Kanamycin ของเชื้อซาลโมเนลลา ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 80 รูปท่ี 7 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Nitrofurantoin ของเชื้อ ซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 81 รูปท่ี 8 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Tetracycline ของเชื้อซาลโมเนลลา ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 82

  • ix

    รูปท่ี 9 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Sulfamethoxazole ของเชื้อ ซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 83 รูปท่ี 10 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Sulfamethoxazole + Trimethoprim ของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 84 รูปท่ี 11 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Nalidixic acid ของเชื้อ ซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 85 รูปท่ี 12 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Ciprofloxacin ของเชื้อ ซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 86 รูปท่ี 13 ฮีสโตแกรมแสดงรูปแบบการตอบสนองตอยา Furazolidone ของเชื้อ ซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท อุจจาระสุกรฟารม เนื้อสุกรธรรมดา และเนื้อสุกรอนามัย 87 รูปท่ี 14 แสดงขั้นตอนการแยกและวินิจฉัยเชื้อซาลโมเนลลา 96

  • x

    รายการสัญญลักษณ (List of Symbols) % I Percentage of Intermediate Resistance to Drug Tested % R Percentage of Resistance to Drug Tested % S Percentage of Susceptible to Drug Tested % Percentage BGA Brillient Green Agar BPW Buffered Peptone Water CFU Colony Forming Unit mg/mL miligram per millilitre MIC Minimal inhibiton concentration MIC50 Minimal inhibiton concentration ซ่ึงครึ่งหนึ่งของเชื้อที่ทดสอบ ถูกยั้บยั้งการแบงตัว MIC90 Minimal inhibiton concentration ซ่ึง 90 % ของเชื้อที่ทดสอบ ถูกยั้บยั้งการแบงตัว MIL Motility Indole Lysine Medium mL Millilitre MSRV Modified Semisolid Rappaport Vassiliasis OC Degree Celcius TSI Triple Sugar Iron Agar TTB Tetra-thionate Broth XLD Xylose-Lysine Desoxycholate Agar μg/mL Microgram per millilitre

  • คํานํา

    การดื้อยาของแบคทีเรียที่กอโรคในมนุษยมีอัตราเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในทศวรรษที่ผานมา และเปนอุบัติการที่ตรวจพบในทุกประเทศทั่วโลก แมแตในประเทศสหรัฐอเมริกามีรายงานการตรวจพบผูปวยติดเชื้อซํ้าเติม (Nosocomial infection) ในโรงพยาบาลที่มีสาเหตุจาก Staphylococcus aureus ที่ดื้อยาตอยาตานจุลชีพ Methicillin (Methicillin resistance Staphylococcus aureus หรือ MRSA) ประมาณ 8 % ใน ค.ศ. 1986 เพิ่มสูงถึง 40 % ใน ค.ศ. 1992 และการตรวจพบเชื้อ Enterococcus spp. ที่ดื้อตอยาตานจุลชีพ Vancomycin ซ่ึงเปนยาตานจุลชีพชนิดสุดทายที่จะใชในการรักษาผูปวยติดเชื้อ MRSA เพิ่มขึ้นถึง 20 เทาในระยะเวลา 6 ป จาก ค.ศ. 1987 ถึง ค.ศ. 1993 ซ่ึงการประมาณการจํานวนผูปวยติดเชื้อซํ้าเติมในประเทศสหรัฐอเมริกามีสูงถึงปละ 2 ลานคนจากจํานวนผูปวยกวา 40 ลานคนในโรงพยาบาล และในจํานวนผูปวยติดเชื้อซํ้าเติม 2 ลานคน พบวามีเปนเชื้อดื้อยาสูงถึง 50-60 % โดยผูปวยติดเชื้อซํ้าเติมเหลานี้ตองเสียชีวิตถึงปละ 60,000-70,000 คน (A Report on Rockefeller University Workshop, 1994) การใชยาอยางไมจําเปนหรือไมสมเหตุสมผลในมนุษย (Irrationale use of drugs) เปนสาเหตุสําคัญประการหนึ่งที่ทําใหเกิดปญหาการดื้อยาของแบคทีเรีย ดังเชน ขอมูลการใชยาในโรงพยาบาลของมหาวิทยาลัย 10 แหง ในประเทศที่พัฒนาแลวอยางสหรัฐอเมริกายังพบวามีการจายยาตานจุลชีพแกผูปวยโดยไมจําเปนหรือไมเหมาะสมระหวาง 40–91 % รวมทั้งความไมระมัดระวังในเรื่องความสะอาดของเครื่องมือแพทยและความบกพรองในสุขลักษณะของบุคลากรในโรงพยาบาล เปนสาเหตุที่ทําใหโรงพยาบาลสามารถเปนแหลงแพรระบาดของเชื้อดื้อยา ซ่ึงประมาณการวาทําใหตองเสียคาใชจายถึง 10,000 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาตอปในการดูแลผูปวยติดเชื้อ ซํ้าเติม ปญหาเชิ้อดื้อตอยาตานจุลชีพเปนภาระของทุกประเทศทั่วโลกเพียงแตจะมากหรือนอยกวากันเทานั้นเชน คาใชจายที่เพิ่มขึ้นในการดูแลรักษาผูปวยที่ติดเชื้อดื้อยาในประเทศเม็กซิโกประมาณการวาเทากับ 450 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาตอป สวนในประเทศไทยคาใชจายที่เพิ่มขึ้นดังกลาวคงจะประมาณ 40 ลานดอลลารสหรัฐอเมริกาตอป (WHO, 2001)

    ทั้งนี้ ปญหาการดื้อตอยาตานจุลชีพของแบคทีเรียในสัตวก็เปนปญหาของสัตวแพทยมาโดยตลอดเชนกัน ซ่ึงทั้งแพทย สัตวแพทย และนักวิชาการไดเร่ิมตระหนักอยางจริงจังวาปญหาการดื้อยาในมนุษยและในสัตวนั้นมีความสัมพันธกันมาตลอด โดยเฉพาะอยางยิ่งเชื้อโรคอาหารเปนพิษที่ ปนเปอนในอาหารและผลิตภัณฑอาหารที่ไดจากสัตวเปนสาเหตุที่ทําใหมีผูปวยจํานวนมากเปนอันดับตนๆในทุกประเทศทั่วโลกเนื่องจากอาหารและผลิตภัณฑอาหารที่ไดจากสัตวเปนแหลงโปรตีนที่สําคัญของมนุษย ดังนั้นการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเปนพิษจึงเปนประเด็นทางสาธารณสุขที่ไดรับความสนใจมากที่สุดเรื่องหนึ่ง และเปนตัวอยางรูปธรรมที่ชัดเจนในเรื่องความปลอดภัยของ

  • 2

    อาหาร (Food safety) เชน ป ค.ศ. 1998 เกิดการระบาดของเชื้อ Campylobacter ที่ดื้อยาหลายชนิดในประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งมีสาเหตุจากเนื้อไก ทําใหมีผูปวยถึง 5,000 ราย และในปเดียวกันก็มีกรณีอุบัติการณการเกิดโรคอาหารเปนพิษจากการบริโภคเนื้อสุกรที่ปนเปอนเ ช้ือ Salmonella Typhimurium DT140 ในประเทศเดนมารค เปนสาเหตุใหมีผูปวย 25 ราย และเสียชีวิต 2 รายเนื่องจากเชื้อดังกลาวดื้อตอยาตานจุลชีพ 5 ชนิด (Ampicillin, Chloramphenicol, Streptomycin, Sulfonamide และ Tetracycline) รวมทั้งในกลุม Fluoroquinolones คือ Nalidixic acid และ Ciprofloxacin ซ่ึงเปนยากลุมสุดทายในการรักษาโรคติดเชื้อจากแบคทีเรียดังกลาว (Molbak et al., 1999) รายงานอุบัติการของ S. Typhimurium DT 104 เกิดขึ้นที่ประเทศอังกฤษในป ค.ศ. 1984 และพบการระบาดของเชื้อทั้งในสัตวและมนุษยมากที่สุดในราวป ค.ศ.1990 หลังจากนั้นก็มีรายงานผูปวยติดเชื้อ S. Typhimurium DT 104 ในประเทศเยอรมันนี ฝร่ังเศส ออสเตรียและเดนมารค ทั้งนี้สามารถแยกเชื้อไดจากสัตวหลายชนิด แตเชื่อวาสัตวที่ใชเปนอาหารไดแก ไก สุกร โคและแกะ นาจะเปนสาเหตุหลักในการระบาดติดตอสูมนุษย (Hollingsworth et al., 1997)

    โรคซาลโมเนลโลซิสเปนโรคที่สําคัญที่สุดในกลุมโรคที่มีอาหารเปนสื่อ (Food-borne disease) และแหลงของเชื้อซาลโมเนลลาที่ทําใหเกิดโรคในมนุษยสวนใหญจะมาจากสัตวที่นํามาเปนอาหาร (Humphrey et al., 1988; Perales and Audicana, 1989; Oboegbulem et al., 1990; Vugia et al., 1993) ในประเทศสหรัฐอเมริกามีรายงานวาเด็กชายอายุ 12 ขวบมีอาการปวดทอง ทองเสียและมีไข ตรวจพบวาติดเชื้อ Salmonella Typhimurium ซ่ึงดื้อตอยา Ceftriaxone (Sulfamethoxazole+ Trimethoprim) และเช่ือวา S. Typhimurium ดื้อยาดังกลาวมีตนกําเนิดในฟารมโคแหงหนึ่งเนื่องจากตัวอยางเชื้อที่แยกไดจากเด็กและจากโคพบวามีสายพันธุกรรมตรงกัน ทั้งนี้การดื้อตอยา Ceftriaxone เปนปญหาที่นาวิตกเนื่องจากอัตราผูปวยติดเชื้อซาลโมเนลลามักจะพบไดบอยและมีอาการคอนขางรุนแรงในทารกและเด็กท่ีมีอายุนอยกวา 4 ป (Schutz et al., 1999; เกียรติวันดี, 2544) ซ่ึงถาพบวาเชื้อซาลโมเนลลาดื้อตอยา Ceftriaxone แลว ก็ไมแนะนําใหยาในกลุม Fluoroquinolones แกเด็กที่มีอายุ ต่ํากวา 12 ป เนื่องจากอาจมีผลขางเคียงจากยา ในประเทศสหรัฐอเมริกาคาดวาในแตละปจะมีผูปวยเปนโรคติดเชื้อซาลโมเนลลาประมาณ 3,000,000 ราย และเสียชีวิต 2,000 ราย รองจากโรคอาหารเปนพิษที่มีสาเหตุจาก Staphylococcus aureus ซ่ึงมีผูปวยประมาณ 8,900,000 ราย และเสียชีวิตประมาณ 7,120 ราย (Snyder, 1992) รายงานของ Lee และคณะ (1994) พบวาผูปวยติดเชื้อซาลโมเนลลาดื้อยาในประเทศสหรัฐอเมริกามีเพิ่มขึ้นจาก 17 % ในปค.ศ. 1979-1980 เปน 31 % ในปค.ศ. 1989-1990 โดย S. Typhimurium มีอัตราการดื้อยาที่เพิ่มมากกวาซีโรวารอ่ืนๆ ของซาลโมเนลลา

    สําหรับในประเทศไทย โรคไทฟอยดซ่ึงมีสาเหตุจาก Salmonella Typhi เคยเปนโรคที่พบไดบอยที่สุดในผูปวยในระหวางป พ.ศ. 2517-2518 ซ่ึงพบเชื้อนี้ถึง 33.1 % หลังจากนั้นการพบเชื้อนี้จะ

  • 3

    ลดลงเรื่อยๆ แตจะพบเชื้อกลุม Non-typhoidal Salmonellosis มากขึ้น (พนิดาและคณะ, 2527) จากขอมูลรายงานผูปวยติดเชื้อซาลโมเนลลาในประเทศไทยระหวางป พ.ศ. 2537-2540 โดยศูนยซาลโม-เนลลาและชิเจลลา กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุขพบวามีเพียง 3,380-6,644 ราย ซ่ึงเฉลี่ยทั้ง 4 ป จะมีผูปวย 4,859 ราย ตอป หรือมีอัตราปวยเพียง 8 คนตอประชากร 100,000 คน อยางไรก็ดีนักวิชาการเชื่อวาตัวเลขดังกลาวนาจะต่ํากวาความเปนจริงมากเนื่องจากผูปวยโรคติดเชื้อในทางเดินอาหารสวนใหญไมไดทําการเพาะหาเชื้อท่ีเปนสาเหตุ ดังนั้นเมื่อทําการประมาณการโดยพิจารณาจากจํานวนผูปวยโรคอจุจาระรวง โรคอาหารเปนพิษ โรคบิด โรคไขเอนเทอริด และโรคไขไมทราบสาเหตุ จํานวนผูปวยติดเชื้อซาลโมเนลลาในประเทศไทยควรจะเทากับ 45,192-632,684 ราย หรือมีอัตราปวย 76-1,057 คนตอประชากร 100,000 คน (เกรียงศักดิ์และอรุณ, 2541)

    ปญหาโรคติดเชื้อซาลโมเนลลายังคงเปนปญหาของเกือบทุกประเทศทั่วโลกและเปนปญหาที่นาวิตกมากขึ้นเพราะอุบัติการณการดื้อตอยาตานจุลชีพของเชื้อซาลโมเนลลาพบวามีอัตราที่สูงขึ้นดวย เชน ในประเทศอังกฤษมีรายงานการพบผูปวยอาหารเปนพิษจากเชื้อ Salmonella Typhimurium DT104 เพิ่มขึ้นจาก 259 รายใน ค.ศ. 1990 เปน 4,006 รายใน ค.ศ. 1996 ซ่ึงมีอัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพเพิ่มขึ้นดวยคือ จาก 27.4 % เปน 54.1 % (Poppe et al., 1998) สําหรับในประเทศเสปนก็มีรายงานการดื้อยาตานจุลชีพของเชื้อซาลโมเนลลาชนิดที่ไมใชไทฟอยดและไมใชพาราไทฟอยด (Salmonella Non-Typhi และ Non-Paratyphi) ซ่ึงแยกไดจากผูปวยของโรงพยาบาลแหงหนึ่งในเมืองบาเซโลนา ระหวางป ค.ศ. 1985-1987 จํานวน 1,075 ตัวอยาง กับระหวางป ค.ศ. 1995-1998 จํานวน 832 ตัวอยาง พบวามีอัตราการดื้อตอยาตานจุลชีพสูงขึ้นในระยะเวลาประมาณ 10 ปผานมา คือ การดื้อตอยา Ampicillin ในป 1985-1987 มีเพียง 8 % แตในป 1995-1998 พบวาการดื้อตอยาชนิดนี้สูงถึง 44 % ทํานองเดียวกันการดื้อตอ Amoxycillin-clavulinic acid จาก 0.5 % เปน 6 %, Chloramphenicol จาก 1.7 % เปน 26 %, Tetracycline จาก 1 % เปน 42 %, Gentamicin จาก 0.7 % เปน 3 % และ Sulfamethoxazole + Trimethoprim และ Nalidixic acid จากต่ํากวา 0.5 % เปน 11 % โดยเฉพาะอยางยิ่ง Salmonella Hadar พบวาดื้อตอยา Nalidixic acid จาก 0 % เปน 86 % สวนการดื้อตอยา Cefotaxime พบไมเปลี่ยนแปลงมากนักคือจาก 0 % เปน 0.1 % และ Ciprofloxacin จาก 0 % เปน 0.2 % (Prats et al., 2000)

    สําหรับในประเทศไทยก็มีรายงานทั้งจากหนวยงานที่เกี่ยวของและนักวิชาการที่ศึกษาวิจัยพบวามีอัตราการดื้อยาของแบคทีเรียเพิ่มขึ้นเชนกัน เชน จากขอมูลของกรมวิทยาศาสตรการแพทย และศูนยเฝาระวังเชื้อดื้อยาตานจุลชีพแหงชาติ กระทรวงสาธารณสุขซึ่งพบวาแบคทีเรียที่ตรวจพบในผูปวยในโรงพยาบาลตางๆในกรุงเทพมหานครและในภูมิภาคทั่วประเทศมีอัตราการดื้อยาคิดเปนเปอรเซ็นตที่คอนขางนาวิตก เปนตนวา ซาลโมเนลลาในกลุม Non-Typhi และในกลุม Non-Paratyphi

  • 4

    ดื้อตอยา Ampicillin ถึง 22.6 % และดื้อตอยา Sulfamethoxazole กับ Trimethoprim ถึง 24.2 % (รายงานผลการเฝาระวังเชื้อดื้อยาตานจุลชีพ, 2541) หรือจากการศึกษาของเกรียงศักดิ์ สายธนูและเยาวภา เจิงกล่ินจันทร (2541) ก็พบวาเชื้อซาลโมเนลลาจํานวน 873 สายพันธุที่แยกไดจากมนุษย ไก เปด และสิ่งแวดลอม สวนใหญจะดื้อตอยามากกวาหนึ่งชนิด และสายพันธุท่ีดื้อตอยา Tetracycline, Oxytetracycline, Sulfamethazine และ Sulfamethoxazole จะมีความสามารถในการถายทอดการดื้อยาไดมาก

    การดื้อยาของแบคทีเรียเปนปญหาสําคัญที่การสาธารณสุขทั่วโลกซึ่งรวมทั้งองคการอนามัยโลกใหความสนใจเปนอยางมากเพราะทําใหการรักษาไมไดผล ระยะเวลาปวยนานขึ้น เกิดความเสี่ยงตอการเสียชีวิตสูงขึ้น และเปนสาเหตุของการระบาดของโรคมีโอกาสแพรขยายออกไปกวางขึ้นนอกจากมีผลกระทบตอการสาธารณสุขโดยตรงแลว ปญหาการดื้อยายังมีผลตอเศรษฐกจิอยางมากดวย เนื่องจากแบคทีเรียดังกลาวที่ปนเปอนในผลิตภัณฑอาหารที่ไดจากสัตวเปนขอรังเกียจของประเทศผูนําเขาอาหารโดยเฉพาะอยางยิ่งการตรวจพบแบคทีเรียที่ดื้อตอยาตานจุลชีพ ดังนั้นประเทศไทยซึ่งมีสินคาสงออกประเภทเนื้อสัตวและผลิตภัณฑอาหารที่ไดจากสัตวมูลคากวาสี่หมื่นลานบาทตอปอาจไดรับผลกระทบอยางรุนแรง ถาหากประเทศผูนําตั้งขอกีดกันผลิตภัณฑอาหารที่ไดจากสัตวจากประเทศไทย

    นักวิชาการทั่วโลกเช่ือวาปญหาการดื้อตอยาตานจุลชีพของแบคทีเรียที่มีสาเหตุจากสัตวเกิดจากการใชยาตานจุลชีพเกินความจําเปนหรือไมเหมาะสมในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชยาตานจุลชีพในรูปแแบบของสารเรงการเจริญเติบโต (Growth promoter หรือ Antibacterial performance enhancer) และการใชยาตานจุลชีพชนิดเดียวกันหรือในกลุมเดียวกันกับยาที่ใชในมนุษย เชน ในประเทศอังกฤษอนุญาตใหจดทะเบียนตานจุลชีพ Enrofloxacin (ซ่ึงเปนยาตานจุลชีพชนิดหนึ่งในกลุม Fluoroquinolones) ในสัตวในป ค.ศ. 1993 หลังจากนั้นไมนานก็มีราย งานการตรวจพบเชื้อดื้อตอยาชนิดอ่ืนๆ ในกลุม Fluoroquinolones ในผูปวย จากตัวอยางดังกลาวรวมทั้งอุบัติการตางๆ ที่มีรายงานการดื้อยาชักจูงใหเชื่อวาปญหาการดื้อยาจะมีแนวโนมสูงขึ้น ดังนั้นจึงมีแนวโนมที่จะมีการระงับการใชยาตานจุลชีพผสมในอาหารสัตวเพื่อเรงการเจริญเติบโต รวมทั้งการไมอนุญาติใหจดทะเบียนยาตานจุลชีพสําหรับสตัวหากเปนยาที่ใชในมนุษย ซ่ึงในประเทศสวีเดนหามใชยาตานจุลชีพผสมในอาหารสัตวเพื่อเรงการเจริญเติบโตมาตั้งแตป ค.ศ. 1986 (Greko, 1999) และในประเทศเดนมารคก็มีโครงการใหฟารมสุกรสมัครใจงดการใชยาตานจุลเพื่อเรงการเจริญ เติบโตมาตั้งแตป ค.ศ. 1995 โดยรัฐบาลเดนมารคใชวิธีลดภาษีรายไดใหกับฟารมที่เขารวมโครงการเปนการตอบแทน สวนในประเทศสหรัฐอเมริกาก็กําลังจะมีประกาศระงับการใชยาในกลุม Fluoroquinolones ในสัตวที่ใชเปนอาหารในป ค.ศ. 2001 อยางไรก็ดี นักวิชาการบางสวนก็ยังมี

  • 5

    ความเห็นขัดแยงกับมาตรการดังกลาวโดยมีเหตุผลวาควรจะทําการวิเคราะหและประเมินความเสี่ยงของการใชยาตานจุลชีพที่จะระงับใหใชในสัตวกอนวามีผลตอสาธารณสุขจริงหรือไม และถามีผล กระทบนั้นมีมากนอยเพียงใด

    อุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในประเทศไทยสามารถผลิตสุกรไดถึงกวาหนึ่งลานตัวตอปซ่ึงนอกจากจะเพียงพอตอการบริโภคภายในประเทศแลวยังสามารถสงออกไปยังประเทศใกลเคียง เชน ประเทศสิงคโปร และเกาะฮองกง เปนตน ทั้งนี้เปนที่ทราบกันดีวาไดมีการใชยาตานจุลชีพชนดิตางๆ มากมายในอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตวในประเทศไทย ดังเห็นไดจากขอมูลการใชยาตานจุลชีพใน อุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกรในประเทศไทยในป พ.ศ. 2541 มีมูลคารวมประมาณ 761 ลานบาท โดยเปนประเภทยาที่ใชผสมอาหารเพื่อเรงการเจริญเติบโต (Growth promotor) มีมูลคา 163 ลานบาท และเพื่อการปองกันโรคมีมูลคาสูงถึง 411 ลานบาท สวนยาประเภทฉีดมีมูลคา 188 ลานบาท (สมาคมผูคาเวชภัณฑและเคมีภัณฑสําหรับสัตวแหงประเทศไทย, 2542) ทั้งนี้ตัวเลขของมูลคายา ดังกลาวนาจะต่ํากวาความเปนจริงอยูมากเนื่องจากเปนตัวเลขของยาที่มีทะเบียนและจากสมาชิกของสมาคมผูคาเวชภัณฑและเคมีภัณฑสําหรับสัตวแหงประเทศไทยเทานั้น สวนตัวเลขของมูลคายาที่จําหนายโดยบริษัทที่ไมใชสมาชิกของสมาคมฯ รวมทั้งที่ไมมีทะเบียนและที่นําเขามาในรูปของ เคมีภัณฑซ่ึงไมไดผานสํานักงานอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขนาจะมีจํานวนมากพอสมควร

    ธวัชชัย ศักดิ์ภูอราม และกิจจา อุไรรงค ไดรายงานในป พ.ศ.2533 วาเริ่มมีการระบาดของโรคอหิวาตสุกรและโรคซาลโมเนลโลซีสในสุกรเพิ่มขึ้นในเขตภาคตะวันตกของประเทศไทยมากผิดสังเกตุ และจากการตรวจซากสุกรที่ปวยตายพบเชื้อซาลโมเนลลาถึงรอยละ 80 ของจํานวนซากที่ตรวจซึ่งสวนใหญเปน S. Cholerasuis ซ่ึงเปน serovar ที่อันตรายรายแรงตอสุกรและมนุษย ทั้งนี้ S. Cholerasuis ทําความเสียหายทางเศรษฐกิจอยางมากตอฟารมสุกร เนื่องจากเชื้อดังกลาวนี้พบวา ดื้อตอยาตานจุลชีพเปนสวนใหญทําใหการรักษาไมคอยไดผล ซ่ึงการดื้อยาดังกลาวอาจอธิบายไดวาเกิดจากการที่สัตวที่ไดรับยาตานจุลชีพในระดับต่ํา เชน การใชเปนสารเรงการเจริญเติบโตมักจะพบวาแบคทีเรียที่อยูในทางเดินอาหารของสัตวจะดื้อตอยาตานจุลชีพชนิดนั้นๆ หรือยาตานจุลชีพที่มีโครงสรางโมเลกุลในกลุมเดียวกัน (Zervas, 1997; Bywater and Wegener, 1997) ดังกรณีในประเทศเดนมารคที่พบ Vancomycin resistant E. faecium ในสุกร และเชื่อวาสาเหตุของการดื้อยามาจากการใชยา Avoparcin (ซ่ึงเปนยาตานจุลชีพในกลุมเดียวกันกับยา Vancomycin) เปนสารเรงการเจริญเติบโตในสุกร (Anonymous 1995, 1996)

    การศึกษาอุบัติการและอัตราการดื้อยาของซาลโมเนลลาในประเทศไทยพบวา สวนมากเปนการศึกษาในผูปวยและในไก เชน รายงานการศึกษาในเชื้อท่ีแยกไดจากผูปวยและจากไก (เกรียงศักดิ์

  • 6

    สายธนูและเยาวพา เจิงกลิ่นจันทร, 2541) ซ่ึงใชวิธีการหาคา Minimal Inhibition Concentration (MIC) โดยวิธี Agar Dilution และพบวาเชื้อซาลโมเนลลาทุกซีโรวารดื้อตอยา Sulfamethoxazole มากที่สุด และดื้อตอยา Norfloxacin นอยที่สุด ทั้งนี้ S. Agona พบวาดื้อตอยามากกวาซีโรวารอ่ืนๆ โดยสายพันธุที่แยกไดจากผูปวยพบวาดื้อตอยามากกวาสายพันธุที่แยกไดจากไก เชนเดียวกับ S. Typhimurium ที่ไดจากผูปวยก็ดื้อยามากกวาเชื้อจากไกเกือบทุกชนิดยกเวน Kanamycin และ Neomycin สําหรับเชื้อ S. Enteritidis ดื้อยานอยที่สุด โดยจะดื้อตอยาเพียง 3 ชนิดเทานั้น คือ Sulfamethoxazole, Tetracycline และ Streptomycin โดยสายพันธุที่แยกไดจากไกจะดื้อตอยา 2 ชนิดแรกมากกวาสายพันธุจากผูปวย สําหรับรายงานการศึกษาอัตราการดื้อยาของเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากสุกรในประเทศไทยยังมีคอนขางนอย เชน รายงานการศึกษาความไวของยาตานจุลชีพตอเชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางเนื้อวัว เนื้อสุกร เนื้อไก และหนูโดยสุมาลี บุญมาและคณะ (2542) โดยใชวิธี Disk Assay ซ่ึงพบวา S. Anatum และ S. Derby ที่แยกไดจากเนื้อสุกรจะดื้อตอยา Streptomycin และ Doxycycline ถึง 50-100 %

    รายงานการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในสุกรในประเทศไทย รวมทั้งอัตราและรูปแบบการดื้อยาสวนใหญไดมาจากตัวอยางสัตวปวย และ/หรือตายที่สงมายังศูนยชัณสูตรโรคสัตว ซ่ึงอาจไมใชสาเหตุทางระบาดวิทยาของซาลโมเนลลาที่ทําใหเกิดการติดเชื้อซาลโมเนลลาจากการบริโภคอาหารที่ไดจากสัตวของมนุษย เนื่องจากสัตวที่ใชเปนอาหารซึ่งสงโรงงานแปรรูปเนื้อสัตวและผลิตภัณฑอาหารที่ไดจากสัตวไดมาจากสัตวที่มีสุขภาพปกติแตอาจมีเชื้อซาลโมเนลลาอาศัยอยูในทางเดินอาหารที่เรียกวา Carrier stage หรือ Sub-clinical stage ดังนั้น จึงควรที่จะมีการดําเนินการเฝาระวังการดื้อยาของเชื้อซาลโมเนลลาในสุกร โดยมีวัตถุประสงคดังตอไปนี้

    1. เพื่อหาอัตราการตรวจพบและอัตราการดื้อยาของเชื้อซาลโมเนลลาในทางเดินอาหาร ของสุกรกับบนเนื้อสุกรที่จําหนายเพื่อการบริโภค 2. เพื่อศึกษาผลกระทบของการใชยาตานจุลชีพหรือสารตานจุลชีพในรูปแบบของ สารเรงการเจริญเติบโตในสุกรตอปญหาการดื้อยาของซาลโมเนลลา 3. เพื่อเปนขอมูลสําหรับการสรางระบบการเฝาระวังเชื้อดื้อยาในอุตสาหกรรมการเลี้ยง สัตวและผลิตภัณฑอาหารทีไ่ดจากสัตว 4. เพื่อเปนขอมูลในการสรางความตระหนักในการใชยาตานจุลชีพอยางแหมาะสม รอบคอบ

  • 7

    วิธีดําเนินการวิจัย

    (1) การเก็บตัวอยางอุจจาระและเนื้อสุกร

    (1.1) ตัวอยางอุจจาระสุกรของเกษตรกรรายยอยท่ีเล้ียงหลังบานในชนบท ทําการเก็บอุจจาระจากรูทวารหนัก (Rectal swab) ของสุกรที่เล้ียงโดยเกษตรกรรายยอยในชนบทในจังหวัดมุกดาหาร ซ่ึงแตละรายจะมีแมสุกรเพียง 1-2 ตัว โดยสุมเก็บตัวอยางอุจจาระใหไดรวมอยางนอย 100 ตัวอยาง ตัวอยางอุจจาระจะเก็บรักษาในหลอดแกวฝาเกลียวซ่ึงมีอาหารเลี้ยงเชื้อ Cary-Blair transport medium ที่อุณหภูมิ 4-10 Oเซลเซียส จนกวาจะทําการตรวจหาเชื้อในหองปฏิบัติการ และใหชื่อตัวอยางกลุมนี้วา "อุจจาระสุกรชนบท"

    (1.2) ตัวอยางอุจจาระสุกรฟารมท่ีเล้ียงในระบบอุตสาหกรรม ทําการสุมเก็บตัวอยางอุจจาระสุกรจาก 4 ฟารมที่เล้ียงในระบบอุตสาหกรรมในเขตจังหวัดนครปฐม ซ่ึงแตละฟารมมีจํานวนแมสุกรไมนอยกวา 100 ตัวตอฟารม ทําการเก็บอุจจาระจากสุกรอายุ 1, 2, 3, 4, 5, 6 เดือน และแมสุกรพันธุ กลุมอายุละ 100 ตัวอยาง รวมจํานวนตัวอยางทั้งหมด 700 ตัวอยาง ตัวอยางอุจจาระจะเก็บรักษาในหลอดแกวฝาเกลียวซ่ึงมีอาหารเลี้ยงเชื้อ Cary-Blair transport medium ที่อุณหภูมิ 4-10 Oเซลเซียส จนกวาจะทําการตรวจหาเชื้อในหองปฏิบัติการ และใหชื่อตัวอยางกลุมนี้วา "อุจจาระสุกรฟารม"

    (1.2) ตัวอยางเนื้อสุกรจากตลาดซุปเปอรมารเก็ตในกรุงเทพมหานคร ทําการเก็บตัวอยางเนื้อสุกรจากตลาดซุปเปอรมารเก็ต 4 แหงในเขตกรุงเทพมหา-นคร โดยทําการซื้อ 1 ตัวอยางตอซุปเปอรมารเก็ตหนึ่งแหงแยกวันสลับกันไปเพื่อไมใหเปนตัวอยางจากสุกรตัวเดียวกันและใหไดจํานวนรวมไมนอยกวา 100 ตัวอยาง ตัวอยางเนื้อจะเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4-10 Oเซลเซียส และทําการตรวจหาเชื้อภายใน 24-48 ชั่วโมง และจะใหช่ือตัวอยางกลุมนีว้า "เนื้อสุกรธรรมดา"

    (1.4) ตัวอยางเนื้อสุกรของบริษัทหนึ่งท่ีวางจําหนายในซปุเปอรมารเก็ตซึ่งโฆษณาวาไดเล้ียงสุกรในโรงเรือนปลอดเชื้อ (Specific-free Pathogens) ทําการเก็บตัวอยางเนื้อสุกรของบริษัทแหงหนึ่งที่วางจําหนายในซุปเปอรมารเก็ตซ่ึงโฆษณาวาเนื้อสุกรที่วางจําหนายไดมาจากฟารมที่เล้ียงสุกรในโรงเรือนปลอดเชื้อใหไดจํานวนรวมไมนอยกวา 30 ตัวอยาง โดยทําการซื้อ 1 ตัวอยางตอวันเพื่อมิใหไดตัวอยางจากสุกรตัวเดียวกัน ตัวอยางเนื้อจะเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 4-10 Oเซลเซียส และทําการตรวจหาเชื้อภายใน 24-48 ชั่วโมง และจะใหชื่อตัวอยางกลุมนี้วา "เนื้อสุกรอนามัย"

  • 8

    (2) วิธีการตรวจหาเชื้อซาลโมเนลลา

    (2.1) วิธีการตรวจหาเชื้อซาลโมเนลลาจากตัวอยางอุจจาระ ทําการตรวจหาเชื้อซาลโมเนลลาจากตัวอยางอุจจาระตามวิธีของศูนยซาลโมเนล-ลาและชิเจลลา กรมวิทยาศาสตรการแพทย กระทรวงสาธารณสุข (Bangtrakulnonth et al., 1995) โดยนําเอาตัวอยางอุจจาระมาเพาะเพื่อเพิ่มจํานวนเชื้อในอาหารเลี้ยงเชื้อ Buffered Peptone Water (BPW) จากนั้นถายลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Modified Semisolid Rappaport Vassiliadis (MSRV) ซ่ึงเปนอาหารเล้ียงเชื้อเฉพาะ (Selective media) สําหรับเชื้อซาลโมเนลลา ทําการถาย BPW อีกสวนลงในอาหารเล้ียงเชื้อ Tetrathionate broth (TTB) นําอาหารเลี้ยงเชื้อ TTB ที่ผานการบมเพาะมาถายลงในอาหารเล้ียงเชื้อ Xylose lysine deoxycholate (XLD) นําเชื้อท่ีใหผลบวกในการเพาะดวยอาหารเลี้ยงเชื้อ MSRV และ XLD แลวทําการทดสอบคุณสมบัติทางชีวเคมีเบื้องตนของเชื้อซาลโมเนลลาดวย Triple Sugar Iron (TSI) และ Motility Lysine Indole (MIL) เมื่อไดเชื้อที่สงสัยวาเปนเชื้อซาลโมเนลลาแลว ทําการทดสอบทางซีโรวิทยาเพื่อแยกหาซีโรวาร (Serovars) โดยวิธี Slide agglutination test ระหวางเชื้อซาลโมเนลลากับแอนติซีรัมจําเพาะ (Salmonella antiserum) เพื่อตรวจหา Antigenic formulas ของซีโรวารของซาลโมเนลลาตามวิธีการของ Kauffmann-White scheme, Pasteur Institute (Popoff, M.Y. and L.L. Minor, 1997) ทั้งนี้ แอนติซีรัมที่ใชผลิตโดยบริษัท S&A REAGENTS LAB. LTD., PART. (17/26 หมูที่ 10 ถนนสุขาภิบาล เขตลาดพราว กรุงเทพฯ 10230) (รายละเอียดของการดําเนินการตรวจและวินิจฉัยเชื้อซาลโมเนลลารวมทั้งการหาซีโรวารอยูในภาคผนวก)

    (2.2) วิธีการตรวจหาเชื้อซาลโมเนลลาจากตัวอยางเนื้อสุกร ทําการสกัดตัวอยางเนื้อสุกรดวยสารละลาย Buffered peptone water (BPW) โดยใชตัวอยางเนื้อ 20 กรัม และ BPW 180 mL ใสในถุงพลาสติคอยางหนา แลวใชเครื่องตีช้ินเนื้อ Masticator (IUL Instruments, Barcelona, Spain) ในการทําใหชิ้นเนื้อตัวอยางกระจายเปนชิ้นเล็กๆ หรือละเอียดใน BPW จากนั้นดําเนินการตรวจหาเช้ือซาลโมเนลลาตามขั้นตอนเชนเดียวกับวิธีการในขอ (2.1) เชื้อซาลโมเนลลาที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระและเนื้อจะเก็บรักษาในอาหารเลี้ยงเชื้อ (Stock culture media) จนกวาจะทําการตรวจหาซีโรวารและทดสอบการดื้อตอยาตานจุลชีพที่ทดสอบ

    (3) วิธีการหาการดื้อยาโดยการหาคา Minimal Inhibition Concentration (MIC) ทําการหาอัตราการดื้อยาโดยใชอุปกรณ Multi-point inoculator ในการปลอยเชื้อซาล-

    โมเนลลาที่จะทดสอบลงบนจานอาหารเลี้ยงเชื้อ Mueller Hinton Agar (MHA) ซ่ึงมียาตานจุลชีพผสมอยูดวยในความเขมขนตางๆ (ตารางที่ 1) โดยทุกจานเพาะเชื้อ MHA จะใชเชื้อมาตรฐาน Escherichia

  • 9

    coli ATCC 25922, Enterococcus fecalis ATCC 29212 และ Staphylococcus aureus ATCC 29212 เปนตัวตรวจสอบประสิทธิภาพของยาตานจุลชีพตามวิธีการของ National Committee for Clinical Laboratory Standards (NCCLS, 1999) ยาตานจุลชีพที่ใชทดสอบมีจํานวนทั้งสิ้น 10 ชนิดตามที่แสดงในตารางที่ 1 เปนของบริษัท SIGMA CHEMICAL COMPANY, Massachusetts ประเทศสหรัฐ อเมริกา ทําการหาคาความเขมขนต่ําสุดของยาที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อ (Minimal Inhibition Concentration, MIC) (รายละเอียดในการทํา MIC อยูในภาคผนวก)

    ตารางที่ 1 ยาตานจุลชีพที่ใชในการทดสอบเพื่อหาอัตราการดื้อยา (NCCLS, 1999)

    Break points (μg/mL) (1) ยาตานจุลชีพ ความเขมขนท่ีทดสอบ (μg/mL)

    S < = R > =

    Ampicillin 1, 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128 8 32

    Chloramphenicol 1, 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128 8 32

    Kanamycin 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128, 256 16 64

    Nitrofurantoin 2, 8, 16, 32, 64, 128, 256 32 128

    Tetracycline 0.5, 1, 2, 4, 8, 16, 32, 64 4 16

    Nalidixic acid 1, 2, 4, 8, 16, 32, 64, 128 16 32

    Ciprofloxacin 0.25, 0.5, 1, 2, 4, 8, 16, 32 2 4

    Furazolidone 0.125, 0.25, 0.5, 1, 2, 4, 8 2 4

    Sulfamethoxazole 8, 16, 32, 64, 128, 256, 512, 1024 256 512

    Sulfamethoxazole + Trimethoprim

    1.19+0.063, 2.38+0.125, 4.75+0.25, 9.5+0.5, 19+1, 38+2, 76+4, 152+8

    38+2 76 +4

    (1) Break points คือ ความเขมขนของยาตานจลุชีพที่บงชี้วาเชื้อไวรับตอยาหรือดื้อตอยา S = Susceptible หรือเชื้อไมดื้อยาคือ เชื้อไมสามารถแบงตัวไดที่ปริมาณของยาเทากับหรือต่ํากวา R = Resistancce หรือเชื้อดื้อยา คือ เชื้อสามารถแบงตัวไดแมวาปริมาณของยาเทากับหรือมากกวา

    (4) การวิเคราะหขอมูล ทําการวิเคราะหขอมูลหาอุบัติการณและอัตราการดื้อยาของเชื้อโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร WHONET 5 (1999) ซ่ึงพัฒนาขึ้นโดยองคการอนามัยโลกรวมกับ Microbiological

  • 10

    Department, Brigham and Women’s Hospital, Boston, MA, U.S.A. เพื่อใชในการเก็บและวิเคราะหขอมูลการดื้อยาของแบคทีเรียสําหรับการจัดสรางระบบเครือขายการเฝาระวังเชื้อดื้อยา

    ผลการวิจัย

    อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในตัวอยางอุจจาระสุกรของเกษตรกรรายยอยท่ีเล้ียงแบบหลังบานในชนบทและอุจาระสุกรฟารมท่ีเล้ียงในระบบอุตสาหกรรม

    จากการตรวจตัวอยางอุจจาระสุกรของเกษตรกรรายยอยที่เล้ียงแบบหลังบานในชนบทโดยแตละรายจะมีแมสุกรเพียง 1-2 ตัว (ซ่ึงจะเรียกตัวอยางกลุมนี้วา “อุจจาระสุกรชนบท”) จํานวน 114 ตัวอยาง และตัวอยางอุจจาระสุกรฟารมที่เล้ียงในระบบอุตสาหกรรม (ซ่ึงจะเรียกตัวอยางกลุมนี้วา “อุจจาระสุกรฟารม”) จํานวน 772 ตัวอยาง พบวา สามารถตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาได 6.1 % (7 ตัวอยาง) และ 3.1 % (24 ตัวอยาง) ตามลําดับ (ตารางที่ 2)

    อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในตัวอยางเนื้อสุกรจากตลาดซุปเปอรมารเก็ตและเนื้อสุกรอนามัยซ่ึงเปนสินคาโฆษณาวาสุกรไดมาจากการเลี้ยงในโรงเรือนปลอดเชื้อ

    จากการสุมตัวอยางเนื้อสุกรจากตลาดซุปเปอรมารเก็ต 4 แหงในกรุงเทพมหานคร (ซ่ึงจะเรียกตัวอยางกลุมนี้วา “เนื้อสุกรธรรมดา”) จํานวน 154 ตัวอยาง และเนื้อสุกรของบริษัทหนึ่งที่วางจําหนายในตลาดซุปเปอรมารเก็ตบางแหงในกรุงเทพมหานครซึ่งโฆษณาวาเปน “เนื้อสุกรอนามัย” คือ ทําการเลี้ยงสุกรในโรงเรือนปลอดเชื้อ (ซ่ึงจะเรียกตัวอยางกลุมนี้วา “เนื้อสุกรอนามัย”) จํานวน 39 ตัวอยาง พบวา สามารถตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาไดสูงถึง 77.9 % (120 ตัวอยาง) และ 82.1 % (32 ตัวอยาง) ตามลําดับ (ตารางที่ 2)

    อัตราการตรวพบเชื้อซาลโมเนลลาจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบทและอุจจาระสุกรฟารมแยกตามอายุของสุกร

    จากการตรวจตัวอยางอุจจาระสุกรชนบทและอุจจาระสุกรฟารมแยกตามอายุ 1, 2, 3, 4, 5, 6 เดือน และแมสุกร พบวาสามารถแยกเชื้อซาลโมเนลลาไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบท 7 ตัวอยางซ่ึงเปนตัวอยางจากสุกรอายุ 1 เดือน และ 2 เดือน เทานั้น คือ ตรวจพบ 4.2 % (2 ตัวอยางจาก 48 ตัวอยาง) และ 31.3 % (5 ตัวอยางจาก 16 ตัวอยาง) ตามลําดับ (ตารางที่ 3)

    สวนตัวอยางอุจจาระสุกรฟารมสามารถแยกเชื้อซาลโมเนลลาไดจากทุกกลุมอายุยกเวน แมสุกรโดยอัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาสูงสุดพบในกลุมตัวอยางอายุ 1 และ 2 เดือน เทากัน คือ กลุมละ 9 % (9 ตัวอยางจาก 100 ตัวอยางในแตละกลุมอายุ) ตามลําดับ อัตราการตรวจพบเชื้อซาลโมเนลลาในตัวอยางอุจจาระสุกรฟารมพบวาลดลงในกลุมตัวอยางที่มีอายุมากขึ้น โดยกลุมอายุ 3

  • 11

    และ 4 เดือน พบ 2 % เทากัน (2 ตัวอยางจาก 100 ตัวอยางในแตละกลุมอายุ) และกลุมอายุ 5 และ 6 เดือน พบ 1 % (1 ตัวอยางจาก 100 ตัวอยาง) และ 0.6 % (1 ตัวอยางจาก 172 ตัวอยาง) ตามลําดับ (ตารางที่ 3)

    ซีโรวารของเชือ้ซาลโมเนลลาท่ีแยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรชนบทและอุจาระสุกรฟารม การวินิจฉัยตรวจหาซีโรวารของเชื้อซาลโมเนลลา 7 ตัวอยาง ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระ

    สุกรชนบทพบวาเปน Salmonella Brunei 5 ตัวอยาง (71.4 %) S. Haardt และ S. Istanbul ชนิดละ 1 ตัวอยาง (14.3 %) (ตารางที่ 4)

    สวนเชื้อซาลโมเนลลา 24 ตัวอยาง ที่แยกไดจากตัวอยางอุจจาระสุกรฟารมพบ 11 ซีโรวาร คือ S. Anatum จํานวน 7 ตัวอยาง (29.2 %) S. Worthington 4 ตัวอยาง (16.7 %) S. Schwarzengrud 3 ตัวอยาง (12.5 %) S. Typhimurium และ S. Harda ชนิดละ 2 ตัวอยาง (8.3 %) เทากัน สวนอีก 6 ซีโรวารที่ตรวจพบชนิดละ 1 ตัวอยาง ไดแก S. Derby, S. Dublin, S. Krefeld, S. Panama, S. Rissen และ S. Seftenberg (ตารางที่ 5)

    ซีโรวารของเชือ้ซาลโมเนลลาท่ีแยกไดจากตัวอยางเนื้อสุกรธรรมดาและเนื้อสุกรอนามัย การวินิจฉัยตรว�