โรคเลปโตสไปโรสิส...

2
สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 88/7 ซอยบ�าราศนราดูร ถนนติวานนท์ ต�าบลตลาดขวัญ อ�าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. 0-2589-9850-8 ต่อ 99445, 98322 โทรสาร 025915449 http:// www.nih.dmsc.moph.go.th เลปโตสไปโรสิสเป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนที่มีอันตรายร้ายแรง ถึงเสียชีวิต ซึ่งมีสาเหตุจากเชื้อ Leptospira interrogans ผู้ป่วยมักมี อาการเริ่มต้นด้วยอาการไข้เฉียบพลัน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ มีเลือดออกที่เยื่อบุตา ไอ คอแข็ง ในรายที่มีอาการแทรกซ้อนรุนแรง ผู้ป่วยจะมีอาการดีซ่าน ตับวาย ไตวายเฉียบพลัน มีเลือดออกในปอด และเสียชีวิตในเวลารวดเร็ว ดังนั้นผู ้ที่อยู ่ในพื้นที่ระบาดและมีปัจจัย เสี่ยงควรตระหนักถึงอันตราย และไปพบแพทย์ตั้งแต่เริ่มมีอาการ หากได้รับการรักษาตั้งแต่เริ่มป่วยจะช่วยลดความรุนแรงของโรคและ อัตราตายลง คนได้รับเชื้อเลปโตสไปราจากการสัมผัสโดยตรงกับปัสสาวะหรือ เลือดของสัตว์ที่ติดเชื้อ หรือน�้า ดินที่ปนเปื้อนเชื้อ นอกจากเชื้อจะเข้าสูร่างกายทางรอยถลอกของผิวหนังแล้ว อาจติดเชื้อจากการกินอาหาร และน�้าที่ปนเปื้อนปัสสาวะสัตว์ที่เป็นรังเก็บเชื้อเลปโตสไปรา เชื้อนีสามารถไชผ่านเยื่อบุทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ เยื่อตาได้ด้วย เชื้อ เลปโตสไปราพบได้ในสัตว์ป่า สัตว์เลี้ยง ฟาร์มสัตว์หลายชนิด เช่น หนู หมู โค กระบือ สุนัข สุกร แมว ฯลฯ โดยเชื้อจะถูกขับออกมากับ ปัสสาวะสัตว์ แล้วปนเปื ้อนอยู่ในสิ่งแวดล้อม หนูและสัตว์ฟันแทะเป็น แหล่งแพร่เชื้อมาสู่คนที่ส�าคัญ ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักมีประวัติลุยน�้าลุย โคลนด้วยเท้าเปล่า ผู้มีอาชีพที่ต้องสัมผัสสัตว์ ดินและน�้า เช่น ชาวไร่ ชาวนา คนเลี้ยงสัตว์ สัตวแพทย์ เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคนี้ กิจกรรมและ กีฬาทางน�้า เช่น เล่นเรือ ล่องแก่ง ว่ายน�้า เป็นต้น ลดจ�านวนสัตว์ติดเชื้อโดยตรวจและให้การรักษาป้องกันการติด เชื้อของสัตว์เลี้ยงโดยให้วัคซีน หลีกเลียงการสัมผัสแหล่งน�้าที่มีสัตว์ป่า และสัตว์เลี้ยงที่เป็นรังโรค ลดแหล่งแพร่เชื้อโดยก�าจัดหนูสัตว์รังโรค และก�าจัดขยะมูลฝอย ลดการสัมผัสเชื้อปนเปี ้อนโดยสวมถุงมือและ รองเท้าขณะท�างานสัมผัสดินหรือลุยน�้า ลุยโคลน และรักษาสุขอนามัย สาเหตุหนึ่งที่ท�าให้ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสเสียชีวิตมาก เนื่องมาจากผู้ป่วยมีอาการได้หลายรูปแบบซึ่งคล้ายกับโรคติดเชื้อ หลายโรคเช่น มาเลเรีย ไทฟอยด์ ไข้หวัด ไข้เลือดออก เมลิออยโดสิส สครับไทฟัส และไวรัสตับอักเสบ เป็นเหตุให้แพทย์วินิจฉัยเป็นโรค อื่นได้ซึ่งจะมีผลต่อการรักษา การตรวจทางห้องปฎิบัติการจึงมี ความส�าคัญมาก ทั้งการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิสและ การตรวจเพื่อแยกโรคติดเชื้ออื่น ดังนั้นเพื่อให้สามารถวินิจฉัยโรคได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว ห้องปฏิบัติการในถิ่นระบาดควรมีการตรวจเบื้องต ้นด้วย กล้องจุลทรรศน์จากตัวอย่างเลือดหรือปัสสาวะของผู้ป่วย7หรือ ชุดทดสอบอย่างง่ายส�าหรับวินิจฉัยโรคเลปโตสไปโรสิส และตรวจ วิเคราะห์เพื่อแยกโรคอื่นที่มีอาการคล้ายคลึงกันด้วย การส่งตรวจ ยืนยันด้วยวิธีเพาะเชื้อหรือ MAT ที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ สาธารณสุขและศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือห้องปฏิบัติการใน สังกัดกรมปศุสัตว์จะท�าให้ทราบซีโรกรุ ๊ปของเชื้อสาเหตุ ซึ่งจะน�าไป สู ่การควบคุมเฝ้าระวัง ป้องกันและการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ ได้เตรียมความพร้อมเพื่อการตรวจวินิจฉัยเฝ้าระวังและ สอบสวนโรคโดยให้บริการตรวจวิเคราะห์ด้วยมาตรฐานวิธี 1. ตรวจแอนติบอดีด้วยวิธี MAT โดยใช้เชื้อเลปโตสไปราสาย พันธุ ์อ้างอิง 24 ซีโรกรุ ๊ป เป็นแอนติเจน และวิธี IFA 2. เพาะแยกเชื้อเลปโตสไปรา จากตัวอย่างเลือด ปัสสาวะ และอื่นๆ 3. ตรวจสารพันธุกรรมด้วยวิธี PCR 4. ผลิตชุดตรวจโรคเลปโตสไปโรสิสสนับสนุนหน่วยงาน สาธารณสุขภาครัฐและเอกชน โรคเลปโตสไปโรสิส Leptospirosis โรคเลปโตสไปโรสิส การติดต่อสู่คน การควบคุมป้องกัน การตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข

Upload: others

Post on 28-Oct-2019

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โรคเลปโตสไปโรสิส Leptospirosisnih.dmsc.moph.go.th/login/filedata/Leptospirosis.pdf · ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสจะสร้างแอนติบอดีจ

สถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสข

กรมวทยาศาสตรการแพทย

กระทรวงสาธารณสข88/7 ซอยบ�าราศนราดร ถนนตวานนท

ต�าบลตลาดขวญ อ�าเภอเมอง จงหวดนนทบร 11000

โทร. 0-2589-9850-8 ตอ 99445, 98322

โทรสาร 025915449

http:// www.nih.dmsc.moph.go.th

เลปโตสไปโรสสเปนโรคตดตอจากสตวสคนทมอนตรายรายแรง

ถงเสยชวตซงมสาเหตจากเชอLeptospirainterrogansผปวยมกม

อาการเรมตนดวยอาการไขเฉยบพลนปวดศรษะปวดเมอยกลามเนอ

มเลอดออกทเยอบตา ไอคอแขง ในรายทมอาการแทรกซอนรนแรง

ผปวยจะมอาการดซานตบวายไตวายเฉยบพลนมเลอดออกในปอด

และเสยชวตในเวลารวดเรว ดงนนผทอยในพนทระบาดและมปจจย

เสยงควรตระหนกถงอนตราย และไปพบแพทยตงแตเรมมอาการ

หากไดรบการรกษาตงแตเรมปวยจะชวยลดความรนแรงของโรคและ

อตราตายลง

คนไดรบเชอเลปโตสไปราจากการสมผสโดยตรงกบปสสาวะหรอ

เลอดของสตวทตดเชอหรอน�าดนทปนเปอนเชอนอกจากเชอจะเขาส

รางกายทางรอยถลอกของผวหนงแลวอาจตดเชอจากการกนอาหาร

และน�าทปนเปอนปสสาวะสตวทเปนรงเกบเชอเลปโตสไปรา เชอน

สามารถไชผานเยอบทางเดนอาหารทางเดนหายใจเยอตาไดดวยเชอ

เลปโตสไปราพบไดในสตวปาสตวเลยงฟารมสตวหลายชนด เชนหน

หม โคกระบอ สนขสกรแมวฯลฯ โดยเชอจะถกขบออกมากบ

ปสสาวะสตวแลวปนเปอนอยในสงแวดลอมหนและสตวฟนแทะเปน

แหลงแพรเชอมาสคนทส�าคญ ผปวยสวนใหญมกมประวตลยน�าลย

โคลนดวยเทาเปลาผมอาชพทตองสมผสสตวดนและน�า เชนชาวไร

ชาวนาคนเลยงสตวสตวแพทย เปนกลมเสยงตอโรคน กจกรรมและ

กฬาทางน�าเชนเลนเรอลองแกงวายน�าเปนตน

ลดจ�านวนสตวตดเชอโดยตรวจและใหการรกษาปองกนการตด

เชอของสตวเลยงโดยใหวคซนหลกเลยงการสมผสแหลงน�าทมสตวปา

และสตวเลยงทเปนรงโรคลดแหลงแพรเชอโดยก�าจดหนสตวรงโรค

และก�าจดขยะมลฝอยลดการสมผสเชอปนเปอนโดยสวมถงมอและ

รองเทาขณะท�างานสมผสดนหรอลยน�าลยโคลนและรกษาสขอนามย

สาเหตหนงทท�าใหผปวยโรคเลปโตสไปโรสสเสยชวตมากเนองมาจากผปวยมอาการไดหลายรปแบบซงคลายกบโรคตดเชอหลายโรคเชนมาเลเรยไทฟอยดไขหวดไขเลอดออกเมลออยโดสสสครบไทฟสและไวรสตบอกเสบเปนเหตใหแพทยวนจฉยเปนโรคอนไดซงจะมผลตอการรกษาการตรวจทางหองปฎบตการจงมความส�าคญมากทงการตรวจเพอวนจฉยโรคเลปโตสไปโรสสและการตรวจเพอแยกโรคตดเชออน ดงนนเพอใหสามารถวนจฉยโรคไดอยางถกตองและรวดเรวห องปฏบตการในถนระบาดควรมการตรวจเบองต นด วยกลองจลทรรศนจากตวอยางเลอดหรอปสสาวะของผปวย7หรอ ชดทดสอบอยางงายส�าหรบวนจฉยโรคเลปโตสไปโรสสและตรวจวเคราะหเพอแยกโรคอนทมอาการคลายคลงกนดวยการสงตรวจยนยนดวยวธเพาะเชอหรอMATทสถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสขและศนยวทยาศาสตรการแพทยหรอหองปฏบตการในสงกดกรมปศสตวจะท�าใหทราบซโรกรปของเชอสาเหตซงจะน�าไปสการควบคมเฝาระวงปองกนและการรกษาอยางมประสทธภาพ

ไดเตรยมความพรอมเพอการตรวจวนจฉยเฝาระวงและสอบสวนโรคโดยใหบรการตรวจวเคราะหดวยมาตรฐานวธ 1.ตรวจแอนตบอดดวยวธMATโดยใชเชอเลปโตสไปราสายพนธอางอง24ซโรกรปเปนแอนตเจนและวธIFA 2. เพาะแยกเชอเลปโตสไปราจากตวอยางเลอดปสสาวะและอนๆ 3.ตรวจสารพนธกรรมดวยวธPCR 4. ผลตชดตรวจโรคเลปโตสไปโรสสสนบสนนหนวยงานสาธารณสขภาครฐและเอกชน

โรคเลปโตสไปโรสสLeptospirosis

โรคเลปโตสไปโรสส

การตดตอสคน

การควบคมปองกน

การตรวจวนจฉยทางหองปฏบตการ

สถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสข

Page 2: โรคเลปโตสไปโรสิส Leptospirosisnih.dmsc.moph.go.th/login/filedata/Leptospirosis.pdf · ผู้ป่วยโรคเลปโตสไปโรสิสจะสร้างแอนติบอดีจ

ผปวยโรคเลปโตสไปโรสสจะสรางแอนตบอดจ�าเพาะตอเชอ

เลปโตสไปราแอนตบอดนจะจบกบเชอเลปโตสไปราทเคลอบบน

สไลด ตดตามปฏกรยาดวยการยอมสไลดดวยanti -human-

IgM/Gทตดฉลากดวยสารเรองแสงจะพบเชอเรองแสงสเขยวภาย

ใตกลองจลทรรศนฟลออเรสเซนสผปวยโรคเลปโตสไปโรสสจะม

ระดบแอนตบอดจ�าเพาะสงกวาเกณฑของคนปกต

สไลดเคลอบเชอเลปโตสไปรา 25 แผน

Positivecontrolserum 1 ขวด

Negativecontrolserum 1 ขวด

Conjugatedanti-humanIgG-FITC 1 ขวด

Conjugatedanti-humanIgM-FITC 1 ขวด

ตดตอสอบถามทฝายภมคมกนวทยาคลนกสถาบนวจยวทยาศาสตรสาธารณสขโทรศพท0-2589-9850-8ตอ99445,98322โทรสาร025915449

เกบสไลดไวท-20°Cซรมเดยว/ซรมคจะคงสภาพไดนาน1ป

1. น�าสไลดซงเคลอบดวยเชอเลปโตสไปรา ทแชเยน ออกมาผงใหแหงดวยลมเยน 2. เจอจางซรมเปน two foldserialdilution (1:50-1:3200) 3.หยดซรมทเจอจางหลมละ7 ไมโครลตรลงบนสไลดหลมท 1-7ตามล�าดบ 2แถวส�าหรบตรวจ 1) IgGและ 2)IgMน�าสไลดวางในกลองความชนอนท37°Cนาน30นาท 4.ลางสไลดดวยPBS3ครงครงละ5นาทผงสไลดใหแหง 5.หยด Conjugatedanti-human IgG-FITCและanti-human IgM-FITC ลงในแถว1และ2ตามล�าดบ หลมละ7ไมโครลตร 6.วางสไลดในกลองความชนอนท37°Cนาน30นาท 7.ลางสไลดดวยPBS3ครงครงละ5นาทแลวจงผงสไลดใหแหงดวยลมเยน 8.MountslideดวยGlycerolbufferpH8.5-9.0ปดทบดวยCoverslideขนาด24x60ม.ม.น�าไปดดวยกลองจลทรรศนฟลออเรสเซนส 9.ทดสอบPositivecontrol serumและNegativecontrolserumควบคกบการทดสอบตวอยางดวยทกครง

37°C30นาท

ลางดวยPBS3x5นาท

หยด anti-human IgG/M-FITC (7 ml )

37°C30นาท

ลางดวยPBS3x5นาท

Mount slide

ดกลองจลทรรศนฟลออรเรสเซนส

ผลลบ:IgM<1:100ไมพบการตดเชอเลปโตสไปรา

ผลบวก:IgM>1:100ก�าลงตดเชอเลปโตสไปรา

IgGซรมทสองสงกวาหรอเทากบ4 เทาของซรมแรกหรอ

สงกวา1:400แสดงวาผปวยก�าลงตดเชอเลปโตสไปรา

ตดตอสงซอท ศนยชดทดสอบและผลตภณฑ

โทรศพท0-2589-9850-8ตอ98463,98450

โทรสาร0-2965-9745,0-2965-9771

IDLine098-881-8808

Email:[email protected]

ตวอยาง •ซรมเดยว/ซรมคหางกน1-2สปดาห

ผลลบไมพบเชอเลปโตสไปราเรองแสงผลบวกพบตวเชอเลปโตสไปราเรองแสงสเขยว+4=พบเชอเลปโตสไปราเรองแสงสเขยวสวางสกใส+3=พบเชอเลปโตสไปราเรองแสงสเขยวสวาง+2=เชอเลปโตสไปราเรองแสงสเขยว+1=พบตวเชอเลปโตสไปราบางสวนเรองแสงรายงานผลการทดสอบทแอนตบอดไตเตอรสงสดท≥+2

หยดเจอจางซรม (1: 50-1:3200) (7 ml )

ผลลบ ไมพบเชอเรองแสงสเขยว

ผลบวก พบเชอเรองแสงสเขยว

หลกการ

ชดทดสอบประกอบดวย

การเกบรกษา

วธท�า

การอานผล

การแปลผล

ค มอการใช ชดตรวจโรคเลปโตสไปโรสส : Leptospirosis – IFA