โรคไข้ซิก้า (zika fever)nih.dmsc.moph.go.th/login/filedata/zika_virus.pdf ·...

2
การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ การตรวจสารพันธุกรรมด้วยวิธี real time RT-PCR ตัวอย่างส่งตรวจ ได้แก่ 1. ซีรัมหรือพลาสมาที่ใช้ EDTA เป็นสารกัน เลือดแข็ง ปริมาตร 1 มิลลิลิตร ท�าการเจาะเลือดใน ระยะมีไข้ ไม่เกิน 5 วันหลังจากเริ่มเป็นไข้ 2. ปัสสาวะ ปริมาตร 5-10 มิลลิลิตร เก็บ ภายใน 14 วัน หลังเริ่มมีไข้ การเก็บรักษาตัวอย่างส่งตรวจ 1. ซีรัมหรือพลาสมา l หากเก็บรักษาตัวอย่างที่อุณหภูมิห้อง ให้ น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน 24 ชม. l หากเก็บรักษาตัวอย่างที่ 4 องศาเซลเซียส ให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน 48 ชม. l หากเก็บรักษาตัวอย่างที่ -10 ถึง -20 องศาเซลเซียส ให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน 7 วัน 2. ปัสสาวะ ปริมาตร 5-10 มิลลิลิตร l หากเก็บรักษาตัวอย่างที่อุณหภูมิห้อง ให้ น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน 6 ชม. l หากเก็บรักษาตัวอย่างที่ 4 องศาเซลเซียส ให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน 24 ชม. l เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) มียุงลาย และยุงอื่นเป็นพาหะน�าโรค ไข้ซิกามีระยะฟักตัวเฉลี่ย 4-7 วัน l อาการแสดงที่ได้พบบ่อย เช่น มีไข้ เกิดผื่นหนา ตามผิวหนัง เยื ่อบุตาอักเสบตาแดง ปวดข้อ ปวดหลัง อาจมีอาการอื่นๆ เช่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ ต่อมน�้าเหลืองโต อุจจาระร่วง l ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรงยกเว้นในหญิงตั้งครรภ์ ซึ่งอาจท�าให้ทารกแรกเกิดมีศีรษะเล็กผิดปกติ มีอาการ ทางสมองและระบบประสาท หรือมีภาวะแทรกซ้อน ระหว่างตั้งครรภ์ แต่มีความส�าคัญมากขึ้นเพราะมีรายงาน ว่าติดต่อจากคนสู่คนได้ ทางเพศสัมพันธ์ และเลือด l ในปัจจุบันไม่มีวัคซีนป้องกันโรค ให้การรักษา ตามอาการ คนปกติ คนไข การจ�าแนกผู้ป่วย ผู้ป่วยสงสัย หมายถึง ผู้ป่วยที่มีไข้และมีอาการ อย่างน้อย 2 ใน 3 อาการดังนี้ คือ ออกผื่น ปวดข้อ หรือตาแดง และมีผลการตรวจไวรัสเดงกี ไวรัสชิคุนกุนยา โดยวิธี PCR และไวรัสหัด ไวรัสหัดเยอรมัน โดยวิธี ELISA IgM ให้ผลลบ ผู้ป่วยยืนยัน หมายถึงผู้ป่วยสงสัยที่มีผลตรวจ ทางห้องปฏิบัติการยืนยันพบเชื้อ สารพันธุกรรมของ เชื้อไวรัสซิกา ในเลือด หรือในปัสสาวะ หรือสารคัดหลั่ง ในร่างกายโดยวิธี PCR ส�าหรับกรณีที่ผู้ป่วยเป็นทารกที่มีศีรษะเล็กผิดปกติ (microcephaly) ต้องตรวจพบภูมิคุ้มกันที่จ�าเพาะต่อเชื้อ ไวรัสซิกา (ZIKV IgM) ไวรัสซิกา เป็นไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิดอาร์เอ็นเอ สายเดี่ยว อยู่ในตระกูล ฟลาวิไวรัส โรคไข้ซิก้า (Zika Fever) ZIKA VIRUS

Upload: others

Post on 28-Jun-2020

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: โรคไข้ซิก้า (Zika Fever)nih.dmsc.moph.go.th/login/filedata/Zika_Virus.pdf · zika virus ไวรัสซิกา ส่งตัวอย่างได้ที่

การเก็บตัวอย่างส่งตรวจ

การตรวจสารพันธุกรรมด้วยวิธี real time RT-PCRตัวอย่างส่งตรวจได้แก่ 1. ซีรัมหรือพลาสมาที่ใช้ EDTA เป็นสารกัน เลือดแข็งปริมาตร 1มิลลิลิตรท�าการเจาะเลือดในระยะมีไข้ไม่เกิน5วันหลังจากเริ่มเป็นไข้ 2. ปัสสาวะ ปริมาตร 5-10 มิลลิลิตร เก็บภายใน14วันหลังเริ่มมีไข้

การเก็บรักษาตัวอย่างส่งตรวจ

1. ซีรัมหรือพลาสมา l หากเก็บรักษาตัวอย่างที่อุณหภูมิห้อง ให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน24ชม. lหากเก็บรักษาตัวอย่างที่ 4 องศาเซลเซียส ให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน48ชม. lหากเก็บรักษาตัวอย่างที่ -10 ถึง -20 องศาเซลเซียสให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน7วัน2. ปัสสาวะ ปริมาตร 5-10 มิลลิลิตร lหากเก็บรักษาตัวอย่างที่อุณหภูมิห้อง ให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน6ชม. lหากเก็บรักษาตัวอย่างที่ 4 องศาเซลเซียส ให้น�าส่งห้องปฏิบัติการภายใน24ชม.

l เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซิกา(Zikavirus)มียุงลายและยุงอื่นเป็นพาหะน�าโรคไข้ซิกามีระยะฟักตัวเฉลี่ย4-7วัน l อาการแสดงที่ได้พบบ่อย เช่น มีไข้ เกิดผื่นหนาตามผิวหนัง เยื่อบุตาอักเสบตาแดง ปวดข้อ ปวดหลัง อาจมีอาการอื่นๆเช่นอ่อนเพลียปวดศีรษะต่อมน�้าเหลืองโต อุจจาระร่วง l ส่วนใหญ่อาการไม่รุนแรงยกเว้นในหญิงต้ังครรภ์ซึ่งอาจท�าให้ทารกแรกเกิดมีศีรษะเล็กผิดปกติ มีอาการทางสมองและระบบประสาท หรือมีภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ แต่มีความส�าคัญมากขึ้นเพราะมีรายงานว่าติดต่อจากคนสู่คนได้ทางเพศสัมพันธ์และเลือด l ในปัจจุบันไม่มีวัคซีนป้องกันโรค ให้การรักษาตามอาการ

คนปกติ

คนไข

การจ�าแนกผู้ป่วย ผู ้ป่วยสงสัย หมายถึง ผู ้ป่วยที่มีไข้และมีอาการอย่างน้อย 2 ใน 3 อาการดังนี้ คือ ออกผื่น ปวดข้อ หรือตาแดง และมีผลการตรวจไวรัสเดงกี ไวรัสชิคุนกุนยาโดยวิธีPCRและไวรัสหัดไวรัสหัดเยอรมันโดยวิธีELISAIgMให้ผลลบ ผู ้ป ่วยยืนยัน หมายถึงผู ้ป ่วยสงสัยที่มีผลตรวจ ทางห้องปฏิบัติการยืนยันพบเชื้อ สารพันธุกรรมของ เชื้อไวรัสซิกา ในเลือด หรือในปัสสาวะ หรือสารคัดหล่ัง ในร่างกายโดยวิธีPCR ส�าหรับกรณีที่ผู้ป่วยเป็นทารกที่มีศีรษะเล็กผิดปกติ(microcephaly) ต้องตรวจพบภูมิคุ้มกันท่ีจ�าเพาะต่อเช้ือไวรัสซิกา(ZIKVIgM)

ไวรัสซิกาเป็นไวรัสที่มีสารพันธุกรรมชนิดอาร์เอ็นเอสายเดี่ยวอยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัส

โรคไข้ซิก้า (Zika Fever) ZIKA VIRUS

Page 2: โรคไข้ซิก้า (Zika Fever)nih.dmsc.moph.go.th/login/filedata/Zika_Virus.pdf · zika virus ไวรัสซิกา ส่งตัวอย่างได้ที่

ZIKA VIRUSไวรัสซิกา

ส่งตัวอย่างได้ที่ ศูนย์ประสานงานตรวจวิเคราะห์และเฝ้าระวังโรคทางห้องปฏิบัติการ (ศปส.)

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุขกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

โทรศัพท์ (02) 9511485, 098-5525200สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ ฝ่ายอาโบไวรัส

โทร (02) 9510000 ต่อ 99220 หรือ 99304

ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกระดับเมื่อทราบผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ปรากฏหลักฐาน

การติดเชื้อ Zika virus ต้องแจ้งส�านักระบาดวิทยาทันทีโทรศัพท์ (02) 5901882 หรือ (02) 5901779

ตามที่กระทรวงสาธารณสุข ออกประกาศ

โรคติดเชื้อZikavirusเป็นโรคติดต่อที่ต้องแจ้งความ

ตามพ.ร.บ.โรคติดต่อพ.ศ.2523เพื่อให้เจ้าหน้าที่

ด�าเนินการป้องกันควบคุมโรคได้อย่างเต็มที่ จึงมี

มาตรการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาในกลุ่มประชากร

4กลุ่มดังนี้

1) หญิงตั้งครรภ์ที่มีไข้ออกผื่น

2) ผู ้ป ่วยท่ีมีไข้ออกผ่ืน ที่มีการป่วยเป็น

กลุ่มก้อน

3) ทารกที่มีศีรษะเล็กผิดปกติ

4) กลุ่มอาการกิลแลง-บาร์เร(Guillain-Barre

syndrome)หรือผู้ป่วยโรคเส้นประสาทหลายเส้นอักเสบ

เฉียบพลัน ภายหลังการติดเชื้อ (post-infectious

GBS)

แนวทางการด�าเนินงานเฝ้าระวัง

แบบหยด แบบสเปรย์

แบบครีมถนอมผิว

ไข้ซิกาป้องกันได้โดยทายาป้องกันยุงบริเวณผิวหนังที่โผล่พ้นเสื้อผ้า