รายงานการศึกษาขั้นต น (inception...

54

Upload: others

Post on 15-Feb-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค
Page 2: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

สารบัญ

บทท่ี หนา

1 หลักการและเหตุผล 1-1 2 วัตถุประสงค 2-1 3 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 3-1 4 ขอบเขตการดำเนินงาน 4-1 5 การดำเนินงานตามขอบเขต 5-1 5.1 การดำเนินงานตามขอบเขต 5-1 5.2 ขอเสนอเพ่ิมเติมในการดำเนินโครงการ 5-3

6 ทฤษฎีท่ีใชและการบริหารโครงการ 6-1 6.1 กรอบแนวคิด 6-1 6.2 ทฤษฎีท่ีใช 6-5 6.3 แนวคิดในการสัมมนาและการจัดอบรม 6-27

6.4 การทบทวน ปรับปรงุแผนปฏิบัตกิารดิจิทัลของกรมชลประทาน ป

พ.ศ. 2560 – 2564 6-29

6.5 การบริหารโครงการ 6-31 7 ระยะเวลาและแผนการดำเนินงาน 7-1 8 โครงสรางท่ีปรึกษาและบุคลากรของกรมชลประทานท่ีจะดำเนินการรวมกับท่ีปรึกษา 8-1 8.1 โครงสรางท่ีปรึกษา 8-1 8.2 บุคลากรของกรมชลประทานท่ีจะดำเนินการรวมกับท่ีปรึกษา 8-5

9 งวดงานและสิ่งสงมอบ 9-1

Page 3: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

1-1

1. หลักการและเหตุผล

ตามท่ีรัฐบาลกำหนดนโยบายดานเศรษฐกิจดิจิทัลเพ่ือผลักดันใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดวยเทคโนโลยีดิจิทัลอยางจริงจัง สงผลใหงานบริการของภาครัฐที่ใหบริการแกประชาชนตองมีการพัฒนาใหสามารถทำงานแบบบูรณาการ ปรับการใชเอกสารอิเล็กทรอนิกสเพิ่มมากขึ้น ตลอดจนการเชื ่อมโยงระบบขอมูลเพื ่อนำไปสู การบริการที ่ดีและมีคุณภาพ การพัฒนาระบบสารสนเทศของกรมชลประทานที่ผานมาทั้งในภาพรวมของกรมฯ และในระดับต่ำกวากรมฯ มักจะขาดความชัดเจนดานสถาปตยกรรมองคกร คือไมไดมีการจัดทำแบบพิมพเขียวหรือภาพสถาปตยกรรมการปฏิบัติงานขององคกรที่ควรนำไปใชนำเสนอ พิจารณา ปรับปรุงแลวตกลงยอมรับกันใหชัดเจนในกลุมคนที่เกี่ยวของ ขอกำหนดความตองการของโครงการพัฒนาระบบตาง ๆ มักใหน้ำหนักของรายละเอียดดานอุปกรณฮารดแวร เครือขาย และประเด็นดานไอทีมากกวารายละเอียดของกระบวนการทำงานและรูปแบบขอมูลในระบบใหมขององคกร องคประกอบดานกลไกกระบวนการปฏิบัติงาน ขอมูลอิเล็กทรอนิกสและฟงกชันทางธุรกรรมอิเล็กทรอนิกสของระบบที่ตองการ ซึ่งเปนสวนที่มีความสำคัญมากกวาจึงทำใหแนวทางและรูปแบบวิธีการจัดเก็บขอมูลมีความแตกตางกันมาก สงผลใหไมสามารถทำการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนและใชขอมูลรวมกันระหวางระบบ และระหวางหนวยงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ซ่ึงไมเอ้ืออำนวยตอการบูรณาการเชื่อมโยงในภาพรวมของประเทศได ปญหานี้สวนหนึ่งมาจากการพัฒนาโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมฯ รวมทั้งยังไมมีการวางแผนดานสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture : EA) ซ่ึงเปนกรอบ (Framework) ท่ีเปนสากล ดังนั ้นเพื ่อใหการบริหารจัดการและการออกแบบระบบสารสนเทศที่ยอมรับโดยสากล สามารถใชเปนกรอบสำหรับการวิเคราะหความตองการ การออกแบบ วางแผน และการปฏิบัติงานในการพัฒนาโครงการ ดาน ICT แบบบูรณาการ นำไปสูการสรางระบบ ICT แบบบูรณาการขามหนวยงาน และสามารถตอบโจทยยุทธศาสตรของหนวยงานและของประเทศได ที่สำคัญทำใหหนวยงานตาง ๆ ในสังกัดกรมชลประทานสามารถใชทรัพยากร ICT รวมกันจนเกิดการประหยัดจากการลงทุนที่ไมซ้ำซอน การใชสถาปตยกรรมองคกรเพ่ือการออกแบบระบบ ICT จึงเปนพ้ืนฐานสำคัญท่ีจะรองรับการพัฒนาระบบบริการดิจิทัลใหม ๆ เพื่อการบริการในยุคการขับเคลื่อนเศรษฐกิจดวยเทคโนโลยีดิจิทัลตามนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลของประเทศ

Page 4: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

2-1

2. วัตถุประสงค

2.1 เพื่อสรางความเขาใจและความสัมพันธที่ชัดเจนตอสถานะปจจุบันของสถาปตยกรรมองคกร (Current State of Enterprise Architecture) ซ่ึงประกอบไปดวย 2.1.1. สถาปตยกรรมการดำเนินงาน (Business Architecture) 2.1.2. สถาปตยกรรมขอมูลสารสนเทศ (Data/Information Architecture) 2.1.3. สถาปตยกรรมดานระบบงาน (Application Architecture) 2.1.4. สถาปตยกรรมระบบโครงสรางพ้ืนฐานและการรักษาความม่ันคงปลอดภัย 2.2 เพื ่อกำหนดกรอบของสถานะอนาคตของสถาปตยกรรมองคกร (Future State of Enterprise Architecture) เพ่ือนำมาปรับปรุงประสิทธิภาพและใหเปนไปตามเปาหมาย 2.3 เพื่อวิเคราะหถึงความแตกตางระหวางสถานะปจจุบันและอนาคตของสถาปตยกรรมองคกร (Gap Analytic) 2.4 เพ่ือกำหนดแผนการดำเนินงาน (Roadmap) ท่ีสงผลตอการบรรลุถึงสถานะอนาคตของ สถาปตยกรรมองคกร (Future State of Enterprise Architecture) 2.5 จัดทำขอเสนอเชิงนโยบาย ในการสงเสริมและผลักดันการออกแบบสถาปตยกรรมระบบสารสนเทศและการขับเคลื่อนไปสูการพัฒนาระบบรัฐบาลอิเล็กทรอนิกสของกระทรวงเกษตรและสหกรณ 2.6 เพื่อกำหนดทิศทาง และยกระดับการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรมชลประทานใหมีความชัดเจนมีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาลตามแนวทางมาตรฐานสากล

Page 5: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

3-1

3. ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

3.1 การลงทุนดานเทคโนโลยีดิจิทัลของกรมชลประทานตรงตามเปาหมายของการพัฒนา และลดความซ้ำซอน 3.2 เครื่องมือที่ใชในการสื่อสาร บริหารจัดการ กระบวนการดำเนินงานของหนวยงานและระบบเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีความเกี่ยวของกันและสามารถพัฒนาปรับเปลี่ยนไดเมื่อสถาปตยกรรมองคกรสวนตาง ๆ เกิดการเปลี่ยนแปลง 3.3 การพัฒนาขอมูลและเครื ่องมือประกอบการตัดสินใจตรงกับความตองการของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย

Page 6: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

4-1

4. ขอบเขตการดำเนินงาน

4.1 จัดทำรายงานการศึกษาเบื้องตน (Inception Report) ที่ประกอบดวย แผนการดำเนินโครงการ ทฤษฎีท่ีใช การบริหารโครงการ 4.2 สำรวจและจัดทำสถานภาพปจจุบันของสถาปตยกรรมองคกรที่มีอยูในปจจุบันกรมชลประทานท่ีครอบคลุมในดานตาง ๆ ไดแก 4.2.1 สถาปตยกรรมการดำเนินงาน (Business Architecture) 4.2.2 สถาปตยกรรมขอมูลสารสนเทศ (Data/Information Architecture) 4.2.3 สถาปตยกรรมดานระบบงาน (Application Architecture) 4.2.4 สถาปตยกรรมระบบโครงสรางพ้ืนฐานและการรักษาความม่ันคงปลอดภัย 4.3 จัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการพรอมเอกสารประกอบการอบรม ในหลักสูตรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรเพ่ือสรางองคความรูแกบุคลากรกรมชลประทาน อันไดแก 4.3.1 หัวขอ สถาปตยกรรมองคกรสำหรับผูบริหาร (EA for Executive) จำนวน 1 รุน ไมนอยกวา 3 ชั่วโมง และมีผูเขารวมโดยประมาณ 30 คน 4.3.2 หัวขอ การพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 รุ น ใหแกบุคลากรใน สังกัดกรมฯ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 2 วัน และมีผูเขารวมโดยประมาณ 100 คน 4.4 ออกแบบสถาปตยกรรมองคกรเปาหมาย ที่สอดคลองตามทิศทางการพัฒนาของกรมชลประทานใน ระยะเวลา 3 ป ท่ีครอบคลุมในดานตาง ๆ ไดแก 4.4.1 สถาปตยกรรมการดำเนินงาน (Business Architecture) 4.4.2 สถาปตยกรรมขอมูลสารสนเทศ (Data/Information Architecture) 4.4.3 สถาปตยกรรมดานระบบงาน (Application Architecture) 4.4.4 สถาปตยกรรมระบบโครงสรางพ้ืนฐานและการรักษาความม่ันคงปลอดภัย 4.5 จัดทำแผนปฏิบัติการดิจิทัลที ่สอดคลองตามสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายกรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 2568 4.6 จัดสัมมนาเพื่อถายทอดสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายและแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน

Page 7: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

5-1

5. การดำเนินงานตามขอบเขต

เพ่ือแสดงแนวทางการดำเนินงานของท่ีปรึกษา และขอเสนอเพ่ิมเติมท่ีนอกเหนือจากขอกำหนดตามขอบเขตงาน โดยแนวทางในการดำเนินโครงการดังกลาวมีรายละเอียดดังนี ้

5.1 การดำเนินงานตามขอบเขต

รูปท่ี 5.1 กรอบระยะเวลาและการสงมอบงานตามขอบเขตงาน

5.1.1 การดำเนินงานในงวดท่ี 1 รายงานเบ้ืองตน (Inception Report) ภายใน 30 วัน อางอิงตามขอบเขตงานขอ 4.1 ท่ีปรึกษาจะดำเนินการจัดทำรายงานการศึกษาเบื้องตน (Inception Report) ท่ีประกอบดวย แผนการดำเนินโครงการ ทฤษฎีท่ีใช การบริหารโครงการ 5.1.2 การดำเนินงานในงวดท่ี 2 รายงานฉบับกลาง (Interim Report) ภายใน 90วัน 5.1.2.1 อางอิงตามขอบเขตงานขอ 4.2 ท่ีปรึกษาจะสำรวจและจัดทำสถานภาพปจจุบันของสถาปตยกรรมองคกรท่ี มีอยู ในปจจุบันของกรมชลประทาน ท่ีครอบคลุมในดานตาง ๆ ไดแก ส ถ าป ต ย ก ร ร ม ก า รด ำ เนิ น ง าน (Business Architecture) ส ถ าป ต ย ก ร รม ข อ มู ล ส า ร ส น เท ศ (Data/Information Architecture) ส ถ า ป ต ย ก ร ร ม ด า น ร ะ บ บ ง า น (Application Architecture) สถาปตยกรรมระบบโครงสรางพ้ืนฐานและการรักษาความม่ันคงปลอดภัย 5.1.2.2 อางอิงตามขอบเขตงานขอ 4.3 ท่ีปรึกษาจะจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรเพ่ือสรางองคความรูแกบุคลากรกรมชลประทาน อันไดแก 1) หัวขอ สถาปตยกรรมองคกรสำหรับผูบริหาร (EA for Executive) จำนวน 1 รุน ไมนอยกวา 3 ชั่วโมง และมีผูเขารวมโดยประมาณ 30 คน 2) หัวขอ การจัดการการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรเชิงปฏิบัติการ จำนวน 1 รุน ใหแกบุคลากรในสังกัดกรมฯ โดยมีระยะเวลาไมนอยกวา 2 วัน และมีผูเขารวมโดยประมาณ 100 คน และจัดทำรายงานการจัดอบรมสัมมนาเชิ งปฏิบั ติการในหลักสูตรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร 5.1.2 .3 อางอิงตามการสงมอบงานขอ 10 งวดงานท่ี 2 ท่ีปรึกษาจะรายงานความกาวหนาใหกรมฯ หรือผูท่ีไดรับมอบหมายทราบ โดยเนื้อหาของรายงานความกาวหนา จะแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาในการดำเนินงาน ปญหาอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในแตละชวงเวลา รวมถึงแนวทางในการแกไข

งวดงานที่ 4 ภายใน 210 วัน

รายงานฉบับสมบูรณ (Completion Report)1. จัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลที่สอดคลองตามสถาปตยกรรมองคกรเปาหมาย กรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 25682. รายงานสัมมนาเพ่ือถายทอดสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายและแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน

งวดงานที่ 3 ภายใน 150 วัน

รางรายงานฉบับสมบูรณ (Draft Completion Report)1. รายงานการออกแบบสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายที่สอดคลองตามทิศทางการพัฒนาของกรมชลประทานใน ระยะเวลา 3 ป 2. รายงานความกาวหนาฉบับที่ 2 (Progress Report 2) (120 วัน)2. รายงานความกาวหนาฉบับที่ 3 (Progress Report 3) (150 วัน)

งวดงานที่ 2 ภายใน 90 วัน

รายงานฉบับกลาง (Interim Report)1. รายงานสถานภาพปจจุบันของสถาปตยกรรมองคกรที่มีอยูในปจจุบัน กรมชลประทาน2. รายงานการจัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร3. รายงานความกาวหนาฉบับที่ 1 (Progress Report 1)

งวดงานที่ 1 ภายใน 30 วัน

รายงานเบื้องตน (Inception Report)1. รายงานการศึกษาเบื้องตน (Inception Report) ที่ประกอบดวย แผนการดําเนินโครงการ ทฤษฎีที่ใช การบริหารโครงการ

Page 8: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

5-2

ปญหาดังกลาว สวนรูปแบบของรายงานอาจจะอยูในรูปของเอกสารรายงานหรือการรายงานตอท่ีประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวของก็ได 5.1.3 การดำเนินงานในงวดท่ี 3 รายงานรางฉบับสมบูรณ (Draft Completion Report) ภายใน 150 วัน 5.1.3.1 อางอิงตามขอบเขตงานขอ 4.4 ท่ีปรึกษาจะดำเนินการออกแบบสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายท่ีสอดคลองตามทิศทางการพัฒนาของกรมชลประทานใน ระยะเวลา 3 ป ท่ีครอบคลุมในดานตาง ๆ ไดแก 1) สถาปตยกรรมการดำเนินงาน (Business Architecture) 2) สถาปตยกรรมขอมูลสารสนเทศ (Data/Information Architecture) 3) สถาปตยกรรมดานระบบงาน (Application Architecture) 4) สถาปตยกรรมระบบโครงสรางพ้ืนฐานและการรักษาความม่ันคงปลอดภัย 5.1.3.2 อางอิงตามการส งมอบงานขอ 10 งวดงาน ท่ี 3 ท่ีปรึกษาจะรายงานความกาวหนาใหกรมฯ หรือผูท่ีไดรับมอบหมายทราบโดยรายงานฉบับท่ี 2 ภายใน 120 วัน นับตั้งแตวันแจงใหผูรับจางเขาปฏิบัติงาน และรายงานฉบับท่ี 3 ภายใน 150 วัน นับต้ังแตวันแจงใหผูรับจางเขาปฏิบัติงาน โดยเนื้อหาของรายงานความกาวหนา จะแสดงใหเห็นถึงความกาวหนาในการดำเนินงาน ปญหาอุปสรรคตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในแตละชวงเวลา รวมถึงแนวทางในการแกไขปญหาดังกลาว สวนรูปแบบของรายงานอาจจะอยูในรูปของเอกสารรายงานหรือการรายงานตอท่ีประชุมคณะกรรมการท่ีเก่ียวของก็ได 5.1.4 การดำเนินงานในงวดท่ี 4 รายงานฉบับสมบูรณ (Completion Report) ภายใน 210 วัน 5.1.4.1 อางอิงตามขอบเขตงานขอ 4.5 ท่ีปรึกษาจะดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการดิจิทัลท่ีสอดคลองตามสถาปตยกรรมองคกรเปาหมาย กรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 2568 5.1.4.2 อางอิงตามขอบเขตงานขอ 4.6 ท่ีปรึกษาจะดำเนินการจัดสัมมนาเพ่ือถายทอดสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายพรอมจดัทำรายงานสัมมนาและแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน

Page 9: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

5-3

5.2 ขอเสนออ่ืน ๆ เพ่ิมเติม เพ่ือประโยชนตอกรมชลประทานในการดำเนินโครงการ ท่ีปรึกษาจึงมีขอเสนอในการพัฒนา EA Website ข้ึนเพ่ือใชงานสำหรับการบริหารและติดตามโครงการในระหวางการดำเนินโครงการโดยตัวอยางของ EA Website และฟงกชั่นของ EA Website ดังแสดงในรูปท่ี 5.2

รูปท่ี 5.2 แสดงตัวอยางของ EA Website

สำหรับฟงกชั่นของ EA Website มีดังนี้ 1) เว็บไซต (EA Website) ท่ีพัฒนาข้ึนในชวงระยะเวลา 210 วันนั้นในระหวางดำเนินโครงการจะติดตั้งอยูบนเครื่องแมขายท่ี ท่ีปรึกษาไดจัดหาไวหรือภายใน Intranet ของกรมชลประทาน 2) พัฒนาเว็บไซตดวยภาษา PHP และใชระบบจัดการฐานขอมูลดวย MySQL 3) รองรับการแสดงผลบน Browser ดังนี้ Mozilla Firefox หรือ Chrome 4) ท่ีปรึกษาจะเปนผูดำเนินการคัดเลือกและจัดหาธีม (Theme) ของเว็บไซตใหเหมาะสมกับการจัดทำ EA Website 5) มีระบบจัดการเนื้อหา (Content Management) 6) มีระบบบริหารจัดการสมาชิก (User Management) 7) มีแบบฟอรมติดตอเรา (Contact Us) 8) รองรับการแสดงขอมูลภาพกิจกรรมพรอมคำบรรยายและสามารถอัพโหลดไฟลเอกสารหรือรูปภาพเพ่ือเผยแพรบนเว็บไซต โดยรองรับไฟลเอกสาร ไดแก ไฟลท่ีมีนามสกุล .pdf, .xls, .xlsx, .doc, .docx และไฟลรูปภาพ ไดแก ไฟลท่ีมีนามสกุล .jpg, .bmp, .gif 9) มีระบบกระดานขาว (Web Board) 10) มีระบบแผนผังเว็บไซต (Sitemap) ซ่ึงการใช EA Website ดังกลาวจะทำใหกรมชลประทานไดรับความสะดวกในการติดตามความกาวหนาของโครงการ ตลอดจนการจัดเก็บเอกสารท่ีใชในโครงการและการรายงานผลการดำเนินงานตอผูบริหาร

Page 10: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-1

6. กรอบแนวคิด ทฤษฎีที่ใช และการบริหารโครงการ 6.1 กรอบแนวคิด เพื่อใหแนวคิดในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทานสอดคลองกับกรอบแนวคิดการพัฒนาและยุทธศาสตรในการขับเคลื่อนเทคโนโลยีดิจิทัลของประเทศและของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ตลอดจนกรอบการพัฒนาของกรมชลประทาน ที่ปรึกษาจึงไดกำหนดกรอบแนวคิดที่รองรับและสอดคลองตามยุทธศาสตรการพัฒนาดังตอไปน้ี

1) แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปจจุบันโลกเริ่มเขาสูยุคระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัลที่เทคโนโลยีดิจิทัลจะไมไดเปนเพียงเครื่องมือในการทำงานเฉกเชนที่ผานมาอีกตอไป หากแตจะหลอมรวมเขากับชีวิตคนอยางแทจริง และจะเปลี่ยนโครงสรางรูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กระบวนการการผลิต การคา การบริการ และกระบวนการทางสังคมอื่น ๆ รวมถึงการมีปฏิสัมพันธระหวางบุคคลไปอยางสิ้นเชิง ประเทศไทยจึงตองเรงนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชเปนเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ โดยในบริบทของประเทศไทยเทคโนโลยีดิจิทัลสามารถตอบปญหาความทาทายที่ประเทศกำลังเผชิญอยู หรือเพ่ิมโอกาสในการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคม ดวยตระหนักถึงความทาทายและโอกาสดังกลาว รัฐบาลไทยโดยกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงไดจัดทำแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมฉบับน้ีขึ้น เพ่ือใชเปนกรอบในการผลักดันใหเทคโนโลยีดิจิทัลเปนกลไกสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ ่งรวมถึงการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนทางความคิดในทุกภาคสวน การปฏิรูปกระบวนการทางธุรกิจการผลิต การคา และการบริการ การปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารราชการแผนดินและการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน อันจะนำไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืนของประเทศไทยตามนโยบายของรัฐบาลในทายที่สุด การพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย มุงเนนการพัฒนาระยะยาวอยางย่ังยืน สอดคลองกับการจัดทำยุทธศาสตรชาติ 20 ป แตเน่ืองจากเทคโนโลยีดิจิทัลมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ ดังน้ัน แผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคมฉบับน้ี จึงกำหนดวิสัยทัศน และเปาหมาย ไวดังน้ี

วิสัยทัศนการพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม “ปฏิรูปประเทศไทยสูดิจิทัลไทยแลนด”

ดิจิทัลไทยแลนด (Digital Thailand) หมายถึง ประเทศไทยที่สามารถสรางสรรค และใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัลอยางเต็มศักยภาพ ในการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานนวัตกรรม ขอมูลทุนมนุษยและทรัพยากรอ่ืนใด เพ่ือขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืน

เปาหมาย ในระยะ 10 ป เปาหมาย 1 เพิ ่มขีดความสามารถในการแขงขันทางเศรษฐกิจของประเทศ ดวยการใชนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล เปนเครื่องมือหลักในการสรางสรรคนวัตกรรมการผลิต การบริการ เปาหมาย 2 สรางโอกาสทางสังคมอยางเทาเทียม ดวยขอมูลขาวสารและบริการตาง ๆ ผานสื่อดิจิทัลเพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน เปาหมาย 3 พัฒนาทุนมนุษยสูยุคดิจิทัล ดวยการเตรียมความพรอมใหบุคลากรทุกกลุมมีความรูและทักษะที่เหมาะสมตอการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพในยุคดิจิทัล เปาหมาย 4 ปฏิรูปกระบวนทัศนการทาทายงานและการใหบริการของภาครัฐ ดวย

Page 11: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-2

เทคโนโลยีดิจิทัลและการใชประโยชนจากขอมูลเพื่อใหเปนการปฏิบัติงานที่โปรงใส มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล

ระยะเวลาของแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม ระยะที่ 1 (1 ป 6 เดือน) Digital Foundation ประเทศไทยลงทุน และสรางฐานรากในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล ระยะที่ 2 (5 ป ) Digital Thailand Inclusion ทุกภาคสวนของประเทศไทยมีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมดิจิทัลตามแนวประชารัฐ ระยะที่ 3 (10 ป) Full Transformation ประเทศไทยกาวสูการเปน “ดิจิทัลไทยแลนด” ที่ขับเคลื่อนและใชประโยชนจากนวัตกรรมดิจิทัลไดอยางเต็มศักยภาพ ระยะที่ 4 (10-20 ป) Global Digital Leadership ประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว สามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัล สรางมูลคาทางเศรษฐกิจและคุณคาทางสังคมอยางยั่งยืน

รูปที่ 6.1 ภูมทิัศนดิจิทัล เพ่ือกำหนด ทิศทางการพัฒนา และเปาหมายออกเปน 4 ระยะ

Page 12: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-3

ตารางที ่6.1 ระยะเวลาของแผนพัฒนาดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสังคม

ระยะที่ 1 Digital Foundation ประเทศไทย

ลงทุนและสรางฐานรากในการพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมดิจิทัล

ระยะที่ 2 Digital Thailand I : Inclusion ทุกภาค

สวนของประเทศไทย มีสวนรวมในเศรษฐกิจและ

สังคมดิจิทลั ตามแนวทางประชารัฐ

ระยะที่ 3 Digital Thailand II : Full

Transformation ประเทศไทยกาวสูการเปน

Digital Thailand ที่ขับเคลื่อนและใชประโยชน

จากสวัตกรรมดิจิทัล ไดอยางเต็มศักยภาพ

ระยะที่ 4 Global Digital Leadership

ประเทศไทยอยูในกลุมประเทศที่พัฒนาแลว

สามารถใชเทคโนโลยีดิจิทัลสรางมูลคาในทาง

เศรษฐกิจและคุณคาทางสังคมอยางย่ังยืน

(1.5 ป/พ.ศ. 2559 – 2560) (5 ป/พ.ศ. 2559 – 2564) (10 ป/พ.ศ. 2559 – 2569) (20 ป/พ.ศ. 2559 – 2579)

โครงสรางพ้ืนฐาน อินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึงทุกหมูบานทั่วประเทศ

เปนฐานของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมอ่ืน ๆ

อินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึงทุกหมูบาน และเชื่อมกับ

ประเทศในภูมิภาคอ่ืน

อินเทอรเน็ตความเร็วสูงถึงทุกหมูบานและรองรับการ

หลอมรวมและการเชื่อมตอทุกอุปกรณ

อินเทอรเน็ตเชื่อมตอทุกที่ทุกเวลา ทุกอุปกรณ

อยางไรรอยตอ

เศรษฐกิจ การทำธุรกิจผานระบบดิจิทัลคลองตัว และติดอาวุธ

ดิจิทัลให SMEs วิสาหกิจชุมชนเกษตรกรใหมาอยู

บนระบบ online พรอมทั้งวางรากฐานใหเกิดการ

ลงทุนในคลัสเตอรดิจิทัล

ภาคเกษตรกร การผลิต และบริการเปลี่ยนมาทำธุรกิจ

ดวยดิจิทัลและขอมูลตลอดจน digital technology

startup และคลัสเตอร ดิจิทัลเริ ่มมีบทบาทในระบบ

เศรษฐกิจไทย

ภาคเกษตร การผลิตและบริการแข งข ันได ด วย

นวัตกรรมดิจิทัล และเชื ่อมโยงไทยสู การคาในระดับ

ภูมิภาคและระดับโลก กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุก

กิจกรรมเชื ่อมตอภายในและระหวางประเทศดวย

เทคโนโลยีดิจิทัลนำประเทศไทยสูความมั่งคั่ง

กิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกกิจกรรมเชื่อมตอภายใน

และระหวางประเทศดวยเทคโนโลยีดิจิทัล นำ

ประเทศไทยสูความมั่งคั่ง

สังคม ประชาชนทุกกลุมเขาถึงอินเทอรเน็ตความเร็วสูง

และบริการพ้ืนฐานของรัฐอยางทั่วถึงและเทาเทียม

ประชาชนเชื่อมั ่นในการใชดิจิทัลและเขาถึงบริการ

การศึกษาสุขภาพ ขอมูลและการเรียนรูตลอดชีวิตผาน

ดิจิทัล

ประชาชนใชประโยชนจากเทคโนโลยี/ข อม ูลทุก

กิจกรรมในชีวิตประจำวัน

เปนประเทศที่ไมมีความเหล่ือมล้ำดานดิจิทัล และ

ชุมชนใชดิจิทัลเพ่ือพัฒนาทองถิ่นของตนเอง

รัฐบาล หนวยงานรัฐมีการทำงานที่เชื่อมโยง และบูรณาการ

ขอมูลขามหนวยงาน

การทำงานระหว า งภาคร ั ฐ จะ เช ื ่ อม โย งและ

บูรณาการเหมือนเปนองคกรเดียว

บริการรัฐเปนดิจิทัลที่ประชาชนเปนศูนยกลางเปดเผย

ขอมูล และใหประชาชนมีสวนรวม

เปนประเทศผู นำในภูมิภาคดานรัฐบาลดิจิทัล

ทั้งการบริหารจัดการรัฐและบริหารประชาชน

ทุนมนุษย กำลังคน (ทุกสาขา) มีทักษะดิจิทัล เปนที่ยอมรับใน

ตลาดแรงงานท้ังในและตางประเทศ

กำล ั งคนสามารถทำงานผ านระบบด ิจ ิท ัลแบบ

ไรพรมแดน ผูเชี่ยวชาญตางประทศเขามาไทย

ประเทศไทยเกิดงานคุณคาสูง และมีกำลังคนที่มีความ

เชี่ยวชาญดิจิทัลเฉพาะดานเพียงพอ

เปนหนึ ่งในศูนยกลางดานกำลังคนดิจ ิท ัลของ

ภูมิภาคทั้งในรายสาขา และผูเชี่ยวชาญดิจิทัล

สภาพแวดลอม รัฐบาลออกชุดกฎหมายดิจิทัลที ่ ครอบคลุมและ

ปฏิรูปองคกรที่เก่ียวของในการขับเคล่ือนงาน

ประเทศไทยมีสภาพแวดลอมเอื้อตอการทำธุรกรรม มี

ระบบอำนวยความสะดวก และมีมาตรฐาน

ประเทศไทยไมมีกฎหมาย/ระเบียบที่เปนอุปสรรคตอ

การคา การทำธุรกรรมดิจิทัล

เป นประเทศตนแบบที ่ม ีการพัฒนาทบทวน

กฎระเบียบ กติกาดานดิจิทัลอยางตอเนื่องจริงจัง

Page 13: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-4

2) เปาหมายแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ระยะ5 ป เปาหมายที่ 1 Government Integration การบูรณาการเชื่อมโยงขอมูลการดำเนินงานระหวางหนวยงาน เปาหมายที่ 2 Smart Operation การนำเทคโนโลยีและอุปกรณดิจิทัลมาสนับสนุนการปฏิบัติงานที่มีการใชเทคโนโลยีดิจิทัลที่เหมาะสม เปาหมายที่ 3 Citizen-centric Services การยกระดับงานบริการภาครัฐใหมีความตรงกับความตองการของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา เปาหมายที่ 4 Driven Transformation การขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงสูรัฐบาลดิจิทัลในทุกระดับของบุคลากรภาครัฐ

3) รางแผนพัฒนาระบบเกษตรดิจิทัลของกระทรวงเกษตรและสหกรณระยะป (พ.ศ.2560-2564) (DA : Digital Agriculture) ยุทธศาสตรที่ 1 Knowledge and Dissemination Society การยกระดับการสราง การเช่ือมโยง และเผยแพรขอมลเกษตรในยุคดิจิทัล ยุทธศาสตรที่ 2 Digital Farming การทำเกษตรยุคใหมดวยเทคโนโลยดิจิทัล ยุทธศาสตรที่ 3 Farmer Care System ยกระดับการชวยเหลือเกษตรกรแบบครบวงจร ยุทธศาสตรที่ 4 Agricultural Goods สรางมูลคาเพิ่มสินคาเกษตรดวยเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือการจำหนาย ยุทธศาสตรที่ 5 Digital Transform เปลี่ยนถายการบริหารจัดการสูองคกรดิจิทัลที่พรอมสำหรับการทำระบบเกษตรดิจิทัล

4) ทิศทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ดวยกระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดเล็งเห็นความสำคัญของการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการขับเคลื่อนนโยบายดานตาง ๆ รองรับภารกิจของกระทรวงเกษตรและสหกรณและนโยบายของประเทศ จึงไดมีการจัดทำแผนการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรกระทรวงเกษตรและสหกรณ ระหวางป พ.ศ. 2562 - 2566 ขึ้น เพื่อใชเปนพิมพเขียวในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกระทรวงเกษตรและสหกรณและหนวยงานภายใตสังกัด ผลการดำเนินงานที่สำคัญของการจัดทำแผนการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรกระทรวงเกษตรและสหกรณ สามารถสรุปประเด็นสำคัญไดดังน้ี (1) การศึกษา วิเคราะห ศักยภาพ และสถานภาพของสถาปตยกรรมองคกรที่มีอยูในปจจุบันที่ครอบคลุมในดานการดำเนินงานขององคกร การจัดการขอมูลสารสนเทศ ระบบงานโปรแกรมประยุกต เทคโนโลยีและระบบโครงสรางพื้นฐาน และการจัดการดานความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ซึ่งผลการศึกษาวิเคราะหประเด็นสำคัญที่ตองเรงปรับปรุง ไดแก การปรับปรุงและการออกแบบกระบวนการใหสอดคลองตามยุทธศาสตรการพัฒนา การปรับตัวชี้วัดผลผลิตของกระบวนการ การจัดทำขอมูลหลักประกอบกระบวนการสำคัญ และการกำกับ ดูแลดานคุณภาพขอมูล การบูรณาการระบบงานที่ตองการความสามารถในการทำงานรวมกันของระบบ การปรับปรุงศูนยขอมูลและการควบคุมเทคโนโลยีที่ลาสมัย และการดำเนินการตามขอกฎหมายดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (2) การออกแบบสถาปตยกรรมองคกรในอนาคตของกระทรวงเกษตรและสหกรณที่สอดคลองตามทิศทางและนโยบายดานเทคโนโลยีดิจ ิท ัลจากแผนพัฒนา Digital Agriculture (DA) ที่ครอบคลุมในดานการออกแบบระบบงานใหม การจัดการขอมูลสารสนเทศและขอมูลขนาดใหญ (Big Data) แนวทางการกำกับดูแลคุณภาพขอมูล การบูรณาการระบบงานโปรแกรมประยุกต การออกแบบเทคโนโลยีและระบบโครงสรางพื้นฐาน และการจัดการความมั ่นคงปลอดภัยสารสนเทศที่สอดคลองตามขอบังคับตาม

Page 14: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-5

กฎหมายสำหรับหนวยงานภาครัฐ ซึ่งผลของการออกแบบสถาปตยกรรมองคกรดังกลาวจะใชเปนเปาหมายในการพัฒนาในระยะเวลา 5 ป (3) การประเมินชองวางของสถาปตยกรรมองคกรและการจัดทำแผนการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรกระทรวงเกษตรและสหกรณ ระหวางป พ.ศ. 2562 - 2566 แบงเปนแผนงานระยะสั้น จำนวน 67 โครงการ ดำเนินงานในระหวางป พ.ศ. 2562 แผนงานระยะกลาง จำนวน 33 โครงการ ดำเนินการในระหวางป พ.ศ. 2563 - 2564 และแผนงานระยะยาว จำนวน 3 โครงการ ดำเนินการในระหวางป พ.ศ. 2565 - 2566 ทั้งนี้เพื่อใชเปนทิศทางสำหรับหนวยงานตาง ๆ ภายใตสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ สามารถนำไปจัดทำเปนแผนปฏิบัติการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรในระดับกรมตอไป (4) การจัดทำขอเสนอในการกำกับ ดูแลและการติดตามผล เพื่อใหกระทรวงเกษตรและสหกรณ สามารถบริหารและกำกับ ดูแลและติดตามผลการดำเนินการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ

5) ยุทธศาสตร RID No.1 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาแหลงน้ำและเพิ่มพื้นที ่ชลประทานตามศักยภาพลักษณะลุมน้ำ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ำอยางบูรณาการตามวัตถุประสงคการใชน้ำ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 การปองกันความเสียหายและสนับสนุนการบรรเทาภัยอันเกิดจากน้ำ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 การสรางเครือขายและการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ในงานบริหารงานจัดการน้ำชลประทานในระดับพ้ืนที ่ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 การปรับเปลี่ยนสูองคกรอัจฉริยะ

6.2 ทฤษฎีที่ใช 1) การพัฒนาและการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร เพ่ือใหการจัดทำสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทานบรรลุวัตถุประสงคของโครงการ รวมถึงสอดรับกับนโยบายตาง ๆ และเปาหมายขององคกร ที่ปรึกษาขอเสนอแนวทางและวิธีการดำเนินงานการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) ที่ครอบคลุมในมุมมองตาง ๆ ไดแก (1) ดานธุรกิจ (Business) (2) ดานแอปพลิเคช่ัน (Application) (3) ดานขอมูล (Data) (4) ดานโครงสรางพ้ืนฐาน (Infrastructure) (5) ดานความปลอดภัย (Security) โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานตามหลักการการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) ดังแสดงในรูปที่ 6.2 และ 6.3 ดังน้ี

Page 15: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-6

รูปที่ 6.2 แสดงวงจรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร

วงจรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร แบงเปน 8 ขั้นตอน ดังน้ี (1) Obtain Executive Buy-In and Support หมายถึง การทำความเขาใจ การรับทราบนโยบายและการขอรับการสนับสนุน (2) Establish Management Structurer and Control หมายถึง การกำหนดโครงสรางในการบริหารจัดการและการกำกับ (3) Define an Architecture Process and Approach หมายถึง การกำหนดกรอบการพัฒนาสถาปตยกรรมที่เหมาะสม (4) Develop Baseline Enterprise Architecture หมายถึง การพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรที่มีอยูในปจจุบัน (5) Develop Target Enterprise Architecture หมายถึง การพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรเปาหมาย (6) Develop the Sequencing Plan หมายถึง การจัดทำแผนงานโครงการการพัฒนสถาปตยกรรมองคกร (7) Use the Enterprise Architecture หมายถึง การนำสถาปตยกรรมองคกรไปใชงาน (8) Maintain the Enterprise Architecture หมายถึง การกำกับดูแลเพื ่อการพัฒนาและการคงไวของสถาปตยกรรมองคกร

จากรูปที่ 6.2 การพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรจะมีการดำเนินการที่เปนกระบวนการที่ตอเนื่องและเปนวงจรการพัฒนาที่ไมสิ้นสุด โดยเริ่มตนจากการที่ผูบริหารใหการสนับสนุนในระดับนโยบาย มีการจัดตั้งหนวยงานหรือคณะทำงานทำหนาที่รับผิดชอบในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร การกำหนด

Page 16: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-7

แนวทางและกำหนดเปาหมายในการพัฒนา หลังจากน้ันกระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมจะดำเนินการจัดทำสถาปตยกรรมปจจุบันหรือสถาปตยกรรมพื้นฐาน (Base Line) ที่ประกอบไปดวยสถาปตยกรรมในระดับชั ้นตาง ๆ ดังแสดงในรูปที่ 6.3 อันไดแก สถาปตยกรรมการดำเนินงาน (Business Architecture) สถาปตยกรรมขอมูลสารสนเทศ (Data/Information Architecture) สถาปตยกรรมระบบงาน (Application Architecture) สถาปตยกรรมระบบเทคโนโลยีและโครงสรางพื้นฐาน (Technology and Infrastructure Architecture) และสถาปตยกรรมดานความมั ่นคงปลอดภัย (Security Architecture) ซ ึ ่งการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรจะกำหนดสถาปตยกรรมเปาหมาย (Target Architecture) ตามทิศทางการพัฒนาดานระบบเทคโนโลยีขององคกรแลวนำผลการประเมินชองวางระหวางสถาปตยกรรมพื้นฐานกับสถาปตยกรรมเปาหมายมาจัดทำแผนงานการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การใชรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมในการกำกับดูแลและการใชงานสถาปตยกรรมเพื ่อการพัฒนาอยางตอเนื ่อง โดยกระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมจะใชการจัดเก็บรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมและมีการจัดเก็บรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมในถังเก็บ (Repository) เพื่อการนำแบบเชิงสถาปตยกรรมกลับมาใชซ้ำ นอกจากนี้การพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตองมีการกำกับดูแล (EA Governance) ทั้งนี้เพื่อใหกระบวนการพัฒนาสถาปตยกรรมมีการดำเนินการอยางตอเน่ืองและมีการปรับปรุงรายละเอียดของแบบสถาปตยกรรมที่จัดเก็บใหทันสมัยอยูเสมอ

รูปที่ 6.3 แสดงกรอบแนวทางการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture Framework)

จากรูปที่ 6.3 สามารถอธิบายกรอบแนวทางการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture Framework) ไดดังน้ี (1) สถาปตยกรรมการดำเนินงาน (Business Architecture) ที่ประกอบไปดวยวิสัยทัศนเปาหมายประเด็นยุทธศาสตรองคกรโครงสรางองคกรและกระบวนการดำเนินงาน (Business Process) (2) สถาปตยกรรมสารสนเทศ (Information Architecture) หมายถึง สารสนเทศที่ใชงานอยูบนกระบวนการดำเนินงานทั้งกระบวนการภายในหนวยงานและกระบวนการระหวางหนวยงาน (3 ) สถาป ตยกรรมโปรแกรมประย ุกต (Application Architecture) หมายถึ ง สถาปตยกรรมโปรแกรมประยุกตที่ใชงาน เชน Platform ภาษาที่ใช เปนตน (4) สถาปตยกรรมเทคโนโลยี (Technology Architecture) หมายถึง สถาปตยกรรมของเทคโนโลยี เชน ระบบคอมพิวเตอรแมขาย ระบบเครือขายขอมูล เปนตน (5) สถาปตยกรรมดานความมั ่นคงปลอดภัย (Security Architecture) หมายถึง สถาปตยกรรมดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ อาทิเชน ระบบรักษาความปลอดภัยระบบพิสูจน

Page 17: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-8

ตัวตน การเก็บบันทึกการใชงานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ อีกทั้งนโยบายดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ โดยการศึกษาสำรวจวิเคราะหสถานภาพปจจุบันที่ครอบคลุมสถาปตยกรรมในระดับช้ันตาง ๆ ตองทำการกำหนดสถาปตยกรรมเปาหมายองคกร (Enterprise Target Architecture) ที่ครอบคลุมระดับชั ้นตาง ๆ ของสถาปตยกรรมองคกรและการประเมินชองว าง (Gap Analysis) ความซ้ำซอน (Redundancy Analysis) เพื่อการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (Transitional Processes) ซึ่งแผนดังกลาวจะใชเปนทิศทางในการปรับเปลี่ยนสถาปตยกรรมระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไปสูเปาหมายที่รองรับกับยุทธศาสตรการพัฒนาองคกรดังแสดงในรูปที่ 6.4

รูปที่ 6.4 แสดงการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรจาก Current Architecture สู Target Architecture

2) กรอบแนวคิดการออกแบบและพัฒนาสถาปตยกรรมของ Zachman Framework (ZF) (1) ภาพรวมและหลักการของ Zachman Framework (ZF) ป ค.ศ. 1987 John Zachman ไดตีพิมพบทความวิจัยชิ ้นสำคัญในวารสาร IBM Systems เรื่องกรอบแนวคิดของสถาปตยกรรมระบบสารสนเทศหรือเรียกอีกชื่อวา The Zachman บทความดังกลาวเปนมาตรฐานที ่ยอมรับกันทั ่วไปสำหรับการพัฒนาสถาปตยกรรมขององคกร (Enterprise Architecture Development) Zachman Framework (ZF) เ ป น Framework ส ำห ร ั บ ก า ร จ ั ด ก า รรายละเอียดทางสถาปตยกรรมองคกรใหเปนหมวดหมูที่ชัดเจนซึ่งจะอธิบายความสัมพันธระหวางมุมมองตามบทบาทของผูที่มีสวนเกี่ยวของหรือผูใชงานและปจจัยที่ผูมีสวนเกี่ยวของหรือผูใชงานดังกลาวตองเขามามีบทบาทในการจัดการหรือใชงานรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมที่แตกตางออกไป แนวคิดหลัก 2 ประการของ Zachman Framework (ZF) คือ 1) การใชแผนผังสถาปตยกรรมที่แตกตางกันนำเสนอขั้นตอนในการสรางเปาหมายใหเหมาะสมกับผูมีสวนรวมในงานและนำเสนอในมุมมองที่แตกตางกันไป 2) รายละเอียดของสารสนเทศในโครงการเดียวกันไดรับการมองตางมุมมองและไดรับการอธิบายแตกตางกันออกไปไดทั้งน้ีขึ้นอยูกับบทบาทหนาที่ของผูใชงานสารสนเทศน้ัน ๆ

Page 18: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-9

กรอบการออกแบบสถาปตยกรรมแบบ Zachman Framework (ZF) มีรายละเอียดที่จำเปนแบงตามมุมมองของสถาปตยกรรมสารสนเทศองคกรซึ่งประกอบดวย 6 มุมมองและ 6 ขอคำถาม ดังน้ี 1) มุมมองระดับผู บร ิหาร (Executive Management) เปนมุมมองในดานการวางแผนองคกร เชน มุมมองดานขอมูล ผูบริหารจะมองวาขอมูลที่สำคัญขององคกรคืออะไร กระบวนการทำงานมีประสิทธิภาพหรือไมอยางไร เปนตน ซึ่งจะเปนมุมมองภาพรวมขององคกร 2) ม ุมมองระดับการจัดการการดำเนินงาน (Operations Management) เปนมุมมองของผูปฏิบัติงานโดยตรง เชน ดานฟงกชัน/กระบวนการ (Function/Activities) เปนมุมมองตอรูปแบบกระบวนการทางธุรกิจ มีรายละเอียดของกระบวนการทำงานและขอมูลสำคัญของกระบวนการอยางไร 3) มุมมองระดับผูออกแบบระบบธุรกิจ (Business System Architect) เปนมุมมองของนักออกแบบ เชน มุมมองดานเวลา (Time) จะมองวากระบวนการทางธุรกิจจะเริ่มขึ้นเมื่อไร เวลาใดและสิ้นสุดเมื่อไร เปนตน 4) มุมมองระดับผูออกแบบระบบสารสนเทศ (Information Systems Architect) เปนมุมมองการออกแบบทางดานไอที เชน ดานฟงกชัน/กระบวนการ (Function/Process) จะมองวาควรจะออกแบบระบบอยางไร ขอมูลจะมีการเช่ือมโยงกันอยางไร เปนตน 5) ม ุมมองระด ับนักพ ัฒนาระบบ (Systems Developers/Programmer) เปนมุมมองของผูที่จะลงมือพัฒนาระบบ เชน ดานขอมูล/โครงสราง (Data/Structure) จะมีรายละเอียดอะไรบาง จะเก็บขอมูลอะไร เปนตน 6) มุมมองระดับผูใช (Users Support and Service Providers) เปนมุมมองของผูที่จะนำระบบไปใชจริง เชน ดานแรงจูงใจ (Motivation) จะมองวาเพราะเหตุใดจึงตองมีระบบและเพราะเหตุใดจึงตองบังคับใชระบบ เปนตน Zachman Framework (ZF) ไดแบงคำอธิบาย 6 ขอคำถามในแตละรายการดังน้ี 1) คำอธิบายขอมูล/โครงสราง (Data/Structure) – What หมายถึง สารสนเทศที่ตองการตามมุมมองในแตละระดับของผูใชงาน 2) คำอธ ิบายฟ งก ช ัน/กระบวนการ (Function/Process) – How หมายถึ ง กระบวนการที่เกี่ยวของตอสารสนเทศที่ตองการน้ัน ๆ ตามมุมมองแตละระดับของผูใชงาน 3) คำอธิบายสถานที่/เครือขาย (Locations/Network) – Where หมายถึง สถานที่ที่จะใหรายละเอียดของสารสนเทศที่ตองการ เชน ช่ือระบบฐานขอมูล เปนตน 4) คำอธิบายประชากร (People) – Who หมายถึง บุคคลที่เกี่ยวของตอการใหขอมูลสารสนเทศน้ัน ๆ 5) คำอธิบายเวลา (Time) – When หมายถึง ชวงเวลาหรือระยะเวลาที่ตองการสารสนเทศน้ัน ๆ แบงตามมุมมองของผูใชงาน 6) คำอธิบายแรงจูงใจ (Motivation) – Why หมายถึง มูลเหตุหรือสาเหตุที่ตองการสารสนเทศน้ัน ๆ แบงตามมุมมองของผูใชงาน Zachman Framework (ZF) จะประกอบไปดวย 6 หนาที ่การทำงานหลักและมุมมองจากผูที่มีสวนเขามาเกี่ยวของอีก 6 มุมมอง ซึ่งสามารถแสดงไดเปนตารางดังรูป 6.5 และ 6.6

Page 19: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-10

รูปที่ 6.5 Overview of the Zachman Framework

รูปที่ 6.6 กรอบแนวคิดการออกแบบสถาปตยกรรมแบบ Zachman Framework

จากรูปที่ 6.5 และ 6.6 แสดงใหเห็นวามีจำนวนชองทั้งหมด 36 ชอง (Cell) ในแตละชองที่ตัดกันนี้จะแสดงถึงในแตละขั้นตอนของผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกคน ซึ่งแตละคนจะมีบทบาทตางกันมีความตองการสารสนเทศเพื่อการดำเนินงานแตกตางกันไปตามหนาที่ของตนเอง โดยหากพิจารณาในมุมมองตามแถวจะเห็นวาเพียงบทบาทเดียวของผูมีสวนเกี่ยวของนั้นจะใหความสนใจตอปจจัยตาง ๆ แตกตางกันออกไป ในขณะที่ถาพิจารณาในมุมมองตามคอลัมน จะเห็นไดวาปจจัยเดียวกันนั้นผูที่มีสวนเกี่ยวของจะสนใจปจจัยน้ีแตกตางกันออกไปตามบทบาทหนาที่ของตนเอง

CONSUMER /

OWNER

Data/ Structure

(What)

Function /

Actlvltles (How)

Locations /

Network (Where)

People(Who) Time (When) Motivation

Executive

Management

Objectives/Scope

(Planners Vlew)

Things important

to the Enterprise

Processes the

Business Performs

Enterprise

Operation

Locations

Organizational

Unites

Business Cycles or

Events (Annual

Plan)

Business

Goals,Vision and

Strategies

Operations

Management

Enterplse Model

(Business Owners View)

Entity Relationship

Diagram

Business Process

Model

Business Systems

Architecture

Organizational

Chart

(Rolse,Skills,etc)

Business Master

Schedule

Business Plan

Business System

Architect

Information System

Model (Architects View)

Data Model

(normalixes)

System Data Flow;

Applications

Architecture

Overall Network

Configuration

User Rolse,

Data,Access Rights

Process Structure Business Rules

Model

Information

Systems Architect

Technology Model

(Designers View)

Data Architecture

(Systems Linked)

System Design Business Systems

Architecture

User Interface,

Security Designs

Structure Control

Diagrams

Business Rules

Design

Systems

Developer /

Progrmmer

Detailed System

Definltlon (Builders View)

Data Design /

Physical Storage

Detailed Pragram

Design

Systems and

Network

Architecture

Screens, Security

Implementation

Structure Trming

Definitions

Rules implemented

in prograns

Users,Support

and Service

Providers

Actual Fubctioning

Systems

Production Data

and Databases

Production

Systems and

Progeams

Deployed Systems

and network

Infrastructure

Users,Operating

and Supgorting

personnel

Real Tine (Business

Events and

Activities)

Procedures and

System enforced

Rulse

Page 20: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-11

ยกตัวอยางเชน ในมุมมองของผู บริหาร (Executive View) ยอมตองการขอมูลสารสนเทศในเชิงการกำกับ การบริหารงาน เชน ผลสรุปการดำเนินงานขององคกร ผลประกอบการดานการเงิน การดำเนินงานตามแผนงาน ซึ่งจะตองแสดงในคอลัมนแรกสำหรับมุมมองของผูบริหาร สวนในคอลัมนถัดมาที่กลาวถึงกระบวนการหรือ Function ตองระบุถึงกระบวนการที่นำมาซึ่งขอมูลสารสนเทศที่ผูบริหารตองการ เชน กระบวนการดานการเงิน การบัญชี กระบวนการดานการติดตามประเมินผล เปนตน ในคอลัมนที่แสดงสถานที่ (Where) ตองระบุถึงแหลงที่มาของขอมูลสารสนเทศนั้น ๆ เชน ชื่อระบบงาน คอมพิวเตอรแมขายที่เกี่ยวของ หรือระบบเครือขายที่เกี่ยวของ สวนในคอลัมนถัดมา คือ ผูเกี่ยวของและชวงเวลาจะเปนการแสดงหนวยงานหรือบุคคลที่สามารถใหขอมูลสารสนเทศตามมุมมองของผูบริหารและระยะเวลาที่ตองการในการนำเสนอขอมูลสารสนเทศนั้น ๆ สวนในคอลัมนสุดทายจะเปนการอธิบายถึงมูลเหตุที่ตองการขอมูลสารสนเทศนั้น ๆ เชน การใชขอมูลดานการเงิน เพื่อการติดตามการบริหารจัดการงบประมาณ ซึ่งเปนตัวชี้วัดการดำเนินงานขององคกร เปนตน Zachman Framework (ZF) เป นการอธิบายองคกรผ านมุมมอง (Enterprise View) ทั ้งหมด 36 มุมมอง ใน 2 มิติ คือแนวตั้ง 6 และแนวนอน 6 หรือกลาวอีกอยางคือ มี Level of Abstraction อยู 6 ระดับ โดย Zachman Framework (ZF) เปนการอธิบาย Enterprise Architecture (EA) หรือสถาปตยกรรมองคกรผานมุมมองทั้ง 36 มุมมอง ซึ่งสามารถใชกับองคกรที่ดำเนินธุรกิจใด ๆ ก็ได ไมจำเปนตองเปนองคกรไอทีเทาน้ัน (2) ขอไดเปรียบและขอจำกัดของ Zachman Framework (ZF) ถ ึงแม ว า Zachman Framework (ZF) จะเปนกรอบการพัฒนาที ่สามารถใหรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมไดหลากหลายมุมมอง โดยแบงตามมุมมองของผูใชงานและผูพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศผานการนำเสนอดวยตารางขนาด 6x6 ที ่สะดวกและเขาใจไดงาย ซึ ่งเปนขอไดเปรียบของ Zachman Framework (ZF) อยางไรก็ตาม ขอจำกัดของ Zachman Framework (ZF) คือ การที ่ไมไดกลาวถึงกระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรที่เปนขั้นตอนและไมไดกลาวถึงการกำกับดูแลที่ระบุถึงบทบาทของผูมีสวนรวมตอการพัฒนาและการคงไวของสถาปตยกรรมองคกร ดังนั ้นการนำ Zachman Framework (ZF) มาประยุกตใชงานจึงเหมาะสมเพียงการนำเอาแนวคิดของ Zachman Framework (ZF) มาออกแบบรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมในแตละดาน โดยแบงตามมุมมองของผูเกี่ยวของเทาน้ัน

3) กรอบการพัฒนาสถาปตยกรรมของ Federal Enterprise Architecture (FEA) (1) ภาพรวมและหลักการของ Federal Enterprise Architecture (FEA) Federal Enterprise Architecture (FEA) เปนกรอบในการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร โดย CIO Council ประเทศสหรัฐอเมริกาไดเสนอกรอบการจัดทำสถาปตยกรรมองคกรน้ี เพื่อเปนแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการ ดานเทคโนโลยีสารสนเทศแกหนวยงานภาครัฐทั่วทั้งประเทศสหรัฐอเมริกา โดยประกอบไปดวยการกำหนดสถาปตยกรรมและการวิเคราะหสภาพปจจุบันของเทคโนโลยีสารสนเทศ การกำหนดสถาปตยกรรมเปาหมาย การกำหนดแผนงานและโครงการเพื ่อไปสู เปาหมาย นอกจากน ี ้ Federal Enterprise Architecture (FEA) ย ังแสดงถึงโครงสร างเพ ื ่อการบร ิหารจ ัดการสถาปตยกรรมองคกรอยางเปนระบบ กรอบของ Federal Enterprise Architecture (FEA) ประกอบดวยองคประกอบยอยเพ่ือการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร 8 ดานและแบงเปน 4 ระดับช้ัน ดังแสดงในรูปที่ 6.7 – 6.10 โดยมีรายละเอียดดังน้ี

Page 21: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-12

ระดับชั้นที่ 1

รูปที่ 6.7 แนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตามกรอบของ Federal Enterprise Architecture (FEA)

ในระดับช้ันที่ 1

1) ปจจัยขับเคลื ่อนตอสถาปตยกรรมองคกร (Architecture Drivers) หมายถึง ปจจัยที่มีผลตอสถาปตยกรรมองคกร เชน ปจจัยภายนอกดานกฎหมาย ดานเปาหมายทางธุรกิจ เปนตน 2) ท ิศทางย ุทธศาสตร (Strategic Direction) หมายถ ึง รายละเอ ียดทิศทางยุทธศาสตรการพัฒนาขององคกร 3) สถานภาพปจจุบันของสถาปตยกรรมองคกร (Current Architecture) หมายถึง สถานภาพปจจุบันดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เชน ดานระบบงาน ดานโปรแกรมประยุกต ดานเทคโนโลยีพื้นฐาน ซึ่งทั้งหมดนี้แสดงถึงสถาปตยกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารขององคกรในปจจุบัน 4) สถาปตยกรรมเปาหมาย (Target Architecture) หมายถึง สถาปตยกรรมเปาหมายดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่รองรับตามทิศทางยุทธศาสตรขององคกร 5) ก ระบวนการ ในการปร ั บย า ยสถาป ตยกรรมองค ก ร ( Transitional Processes) หมายถึง กระบวนการที่จำเปนหรือโครงการเพ่ือการปรับยายไปสูสถาปตยกรรมเปาหมาย 6) การแบ งส วนประกอบหร ือหน วยงานย อยของสถาปตยกร รมองค ก ร (Architectural Segments) หมายถึง การแบงการพัฒนาสถาปตยกรรมของหนวยงานยอยภายใตองคกรเพ่ือความงายตอการพัฒนา 7) รูปแบบของสถาปตยกรรม (Architectural Models) หมายถึง รูปแบบหรือเอกสารอางอิงที่ใชสำหรับการบริหารจัดการและการดำเนินการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร 8) มาตรฐาน (Standards) หมายถึง มาตรฐานที่ใชอางอิง เชน เอกสารแนวทางและกรณีตัวอยาง เพ่ือเปนแนวทางในการเช่ือมตอของสถาปตยกรรมองคกร

Page 22: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-13

ระดับชั้นที่ 2

รูปที่ 6.8 แนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตามกรอบของ Federal Enterprise Architecture (FEA)

ในระดับช้ันที่ 2

ในระดับชั้นที่ 2 เปนการกลาวถึงรายละเอียดดานธุรกิจและองคประกอบที่สำคัญ เชน 1) ปจจัยขับเคลื่อนตอสถาปตยกรรมองคกร (Architecture Drivers) ซึ่งสามารถแบงออกไดเปน 2 ดาน คือ - ปจจัยขับเคลื่อนเชิงธุรกิจ (Business Drivers) เชน การปรับเปลี่ยนธุรกิจหลักขององคกรหรือการปรับเปลี่ยนธุรกิจหลักตามขอกำหนดของกฎหมาย - ปจจัยขับเคลื่อนเพื่อการออกแบบ (Design Drivers) เปนปจจัยที่เกิดเนื่องจากการปรับเปลี่ยน/ปฏิวัติหรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยี เชน การใช Internet เพ่ือการบริการ 2) สถานภาพปจจุบันของสถาปตยกรรมองคกร (Current Architecture) แบงรายละเอียดเปน 2 ดาน คือ - สถาป ตยกรรมเช ิงธ ุรก ิจ (Current Business Architecture) ได แก การออกแบบเพ่ือรองรับความตองการทางธุรกิจหนาที่ทางธุรกิจและศักยภาพทางธุรกิจ - การออกแบบทางสถาปตยกรรม (Current Design Architectures) ไดแก ระบบงาน ขอมูลสารสนเทศและเทคโนโลยีที่รองรับความตองการในปจจุบัน ทั้งนี้ครอบคลุมถึงโครงสรางดานขอมูลที่รองรับความตองการของธุรกิจ 3) สถาปตยกรรมเปาหมาย (Target Architecture) แบงรายละเอียดเปน 2 ดาน คือ - สถาปตยกรรมเปาหมายเชิงธุรกิจ (Target Business Architecture) เปนการออกแบบสถาปตยกรรมเชิงธุรกิจเพ่ือรองรับความตองการในอนาคต เชน การออกแบบกระบวนการทางธุรกิจ - การออกแบบสถาปตยกรรมเปาหมาย (Target Design Architecture) เปนการออกแบบสถาปตยกรรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับความตองการในอนาคต เชน โครงสรางขอมูลโปรแกรมประยุกตการแลกเปลี่ยนขอมูลรวมทั้งเทคโนโลยีที่ตองการ 4) รูปแบบของสถาปตยกรรม (Architectural Models) หมายถึง รายละเอียดของสถาปตยกรรมดานตาง ๆ ที่จัดทำเปนเอกสารโดยมีรายละเอียดในสวนตาง ๆ เพียงพอ เชน

Page 23: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-14

- รูปแบบทางธุรกิจ (Business Models) หมายถึง รายละเอียดที่ประกอบในการดำเนินการทางธุรกิจ เชน Definition Diagram และเครื่องมือที่สนับสนุนความเขาใจตอหนาที่ทางธุรกิจ - รูปแบบการออกแบบ (Design Models) ไดแก Diagram รายละเอียดทางดานเทคนิค โครงสรางขอมูลการแลกเปลี่ยนขอมูลและเทคโนโลยีที่ใช นอกจากนี ้ในชั ้นที ่ 2 ยังระบุถ ึงกระบวนการในการปรับเปลี ่ยน (Transition Process) และการจัดการเพ่ือการปรับเปลี่ยน (Change Management) และมาตรฐานตาง ๆ อีกดวย ระดับชั้นที่ 3 ในระดับชั้นที่ 3 นี้ เปนการขยายในรายละเอียดเพื่อการออกแบบใน 3 สวนที่สำคัญ คือ ขอมูล (Data) โปรแกรมประยุกต (Application) และเทคโนโลยี (Technology) ดังแสดงในรูป 6.9

รูปที่ 6.9 แนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตามกรอบของ Federal Enterprise Architecture (FEA)

ในระดับช้ันที่ 3

1) การออกแบบสถาปตยกรรมองคกรปจจุบัน (Current Design Architectures) หมายถึง แนวทางการออกแบบสถาปตยกรรมองคกรในปจจุบันที่รองรับความตองการทางธุรกิจ โดยประกอบไปดวย 3 สวน คือ - สถาป ตยกรรมข อม ูล ในป จจ ุบ ัน (Current Data Architecture) ซ ึ ่ งมีความหมายครอบคลุมการใชขอมูลและรูปแบบขอมูลเพ่ือรองรับความตองการทางธุรกิจ - สถาปตยกรรมของโปรแกรมประยุกตในปจจุบัน (Current Application Architecture) ที่ระบุถึงการใชโปรแกรมประยุกตที่รองรับหนาที่ของหนวยงานแตละธุรกิจ - สถาปตยกรรมเทคโนโลยีปจจุบัน (Current Technology Architecture) ที่ระบุถึงเทคโนโลยีที่ใชงานในปจจุบันเพื่อรองรับการแลกเปลี่ยนขอมูลและระบบงานตามความตองการทางธุรกิจ 2) การออกแบบสถาปตยกรรมเปาหมาย (Target Design Architecture) หมายถึง การออกแบบสถาปตยกรรมเปาหมายในอนาคตเพื่อรองรับความตองการทางธุรกิจ โดยประกอบไปดวย 3 สวน คือ - สถาปตยกรรมขอมูลเปาหมาย (Target Data Architecture) ระบุถึงความตอง การขอมูลหรือรูปแบบขอมูลที่ตองการใชงานในอนาคต

Page 24: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-15

- สถาป ตยกรรม โปรแกรมประย ุ กต เ ป าหมาย (Target Application Architecture)ระบุถึงสถาปตยกรรมของโปรแกรมประยุกตในอนาคตที่ตองการเพื่อขับเคลื่อนสูเปาหมายในอนาคตทางธุรกิจ - สถาปตยกรรมเทคโนโลยีเปาหมาย (Target Technology Architecture) ระบุถึงเทคโนโลยีที่ใชเพ่ือรองรับระบบงานและขอมูลในอนาคต 3) รูปแบบการออกแบบ (Design Models) ประกอบดวยการออกแบบใน 3 สวน เพ่ือใชในการกำหนดสถาปตยกรรมในอนาคต ไดแก - รูปแบบขอมูล (Data Models) หมายถึง รูปแบบขอมูลที่เปนมาตรฐานรองรับความตองการขององคกร - รูปแบบของโปรแกรมประยุกต (Application Models) ที่ระบุถึงรายละเอียดและโปรแกรมประยุกตเพ่ือรองรับขอมูล - รูปแบบของเทคโนโลยี (Technology Models) ระบุถึงรูปแบบและคุณสมบัติของเทคโนโลยีที่ใชงาน ระดับชั้นที่ 4 โดย Federal Enterprise Architecture (FEA) ได ประย ุกต แนวความค ิดของ Zachman Framework (ZF) เพื่อระบุรายละเอียด บทบาทของผูเกี่ยวของในระดับชั้นตาง ๆ ดังแสดงในรปูที่ 6.10

รูปที่ 6.10 แนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตามกรอบของ Federal Enterprise Architecture

(FEA) ในระดับช้ันที่ 4

ระดับชั้นที่ 4 เปนการระบุรายละเอียดของสถาปตยกรรมดานขอมูล สถาปตยกรรมดานโปรแกรมประยุกตและสถาปตยกรรมดานเทคโนโลยีและการสื่อสาร รวมทั้งการออกแบบสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture Planning) โดยไดแสดง Architectural Levels และ Attributes ของ Federal Enterprise Architecture (FEA) ดังแสดงในรูปที่ 6.11 โดยมีรายละเอียดดังน้ี

Page 25: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-16

รูปที่ 6.11 Architectural Levels และ Attributes

การแบงระดับของการประยุกตใช Federal Enterprise Architecture (FEA) ไดถูกแบงเปน 3 ระดับ คือ 1) Enterprise ของหนวยงานภาครัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา 2) ระดับ Segment หรือหนวยงานยอยที่อยูภายในองคกร 3) ระดับ Solution ที่ใชประกอบการดำเนินงานของแตละหนวยงาน

การแบงระดับทั้ง 3 นี้จะมีการจัดทำรายละเอียด (Detail) ของสถาปตยกรรมที่แตกตางกัน คือ ในระดับช้ัน Solution จะมีรายละเอียดมากที่สุด รองลงมาเปนระดับ Segment สวนในระดับ Enterprise จะมีรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมเปนการนำเสนอแบบภาพรวมและหากพิจารณาตามขอบเขตของรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมจะเห็นวาในระดับชั้น Enterprise มีขอบเขตของสถาปตยกรรมที่ครอบคลุมมากที่สุด รองลงมา คือ ในระดับ Segment สวนในระดับ Solution จะมีขอบเขตเชิงสถาปตยกรรมเฉพาะระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเทาน้ัน (แคบที่สุด) ป ค.ศ. 2014 นั้น Federal Enterprise Architecture (FEA) ไดกำหนดมาตรฐานของ Federal Enterprise Architecture (FEA) V.2 โดยม ีรายละเอ ียดแบ งออกเป นม ิต ิในการพ ัฒนาสถาปตยกรรมองคกรเปนดานตาง ๆ 3 มิติ ดังแสดงในรูปที่ 6.12 ดังน้ี

Page 26: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-17

รูปที่ 6.12 องคประกอบของ Federal Enterprise Architecture (FEA) V.2

มิติที่ 1 ดานการแบงการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตามสายงานการดำเนินงานหรือสายงานทางธุรกิจ (Line of Business หรือ LOB) ที่หนวยงานภาครัฐในประเทศสหรัฐอเมริกาจะใชอางอิงตามการแบงประเภทสายงานของหนวยงานเพ่ือการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรใหสอดรับกันทั่วทั้งสายงาน มิติที่ 2 ดานการกำหนดมุมมองของสถาปตยกรรมในแตละลำดับชั้น ไดแก ระดับยุทธศาสตรขององคกร ระดับการดำเนินงานหรือธุรกิจขององคกร ระดับบริการและระบบงานขององคกร ระดับขอมูลสารสนเทศ ระดับชั้นเทคโนโลยีขององคกร ทั้งนี้เพื่อใหหนวยงานภาครัฐมีรูปแบบการกำหนดมุมมองในการพัฒนาสถาปตยกรรมเปนไปในทางเดียวกัน มิติที่ 3 ดานการกำกับดูแล ซึ่งเปนการกำหนดรูปแบบใหหนวยงานภาครัฐมีแนวทางการกำกับดูแลในทิศทางเดียวกัน ไดแก การบริหารจัดการมาตรฐาน การบริหารดานการลงทุน การบริหาร ดานความมั่นคงปลอดภัย ซึ ่งการกำกับดูแลทั ้งหมดจะครอบคลุมรายละเอียดของสถาปตยกรรมที ่แบงตามลำดับช้ันในมิติที่ 2 (2) ขอไดเปรียบและขอจำกัดของ FEA Federal Enterprise Architecture (FEA) เปนกรอบการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรที่ไดผานการพัฒนาและไดนำไปประยุกตใชงานกับหนวยงานภาครัฐในประเทศสหรัฐอเมริกา จึงทำให Federal Enterprise Architecture (FEA) มีการพัฒนาอยางตอเนื่องและมีขอไดเปรียบในหลายประเด็น ได แก การแบ งรายละเอ ียดเช ิงสถาป ตยกรรมออกเป นช ั ้น ๆ เช น Business Architecture, Data Architecture, Application Architecture และ Technology Architecture รวมทั้งแสดงใหเห็นถึงกระบวนการสำคัญในการปรับยายจากสถาปตยกรรมองคกรในปจจุบันไปสูสถาปตยกรรมองคกรในอนาคต รวมทั้งแนวทางและรูปแบบการบริหารและการกำกับดูแลสถาปตยกรรมเพ่ือความตอเน่ืองในการใชงาน อยางไรก็ตาม ขอจำกัดของ Federal Enterprise Architecture (FEA) คือ ไมไดแสดงวิธีการในการพัฒนาสถาปตยกรรมในแตละดานอยางเปนขั ้นตอน นอกจากนี้ Federal Enterprise Architecture (FEA) มีการใชงานเฉพาะใน

Page 27: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-18

ภาครัฐเทานั้น ขาดกรณีศึกษาหรือแหลงความรูที่ไดนำเอา Federal Enterprise Architecture (FEA) ไปใชกับภาคธุรกิจอ่ืน ๆ มาเพ่ือศึกษาถึงความเหมาะสม

4) กรอบการพัฒนาสถาปตยกรรมของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) (1) ภาพรวมและหลักการของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) The Open Group Architecture Framework (TOGAF) เกิดจากกลุมองคกรที่มีการแบงปนขอมูลและคามาตรฐานตาง ๆ ทางสถาปตยกรรมคอมพิวเตอรเพื่อใหผลิตภัณฑดานอิเล็กทรอนิกสหรือคอมพิวเตอรที่มาจากหลาย ๆ บริษัทมีรากฐานของสถาปตยกรรมในทางเดียวกัน โดยมีการวางแผนระดมความคิดกันในหมูผูผลิต ผูใชหรือผูที่ตองการทำงานวิจัย เพื่อทำใหสถาปตยกรรมนี้มีมาตรฐานเดียวกันและยังสามารถทำใหเกิดความเขาใจทั้งในดานธุรกิจ โครงสรางขอมูล โครงสรางเกี่ยวกับการประยุกตใชงานและเทคโนโลยีตาง ๆ เพื่อประโยชนในการใชงานและเหมาะแกการพัฒนาตอยอด โดยที่ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) จะใหรายละเอียดและขบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรและการคงไวของสถาปตยกรรมองคกร โดยขบวนการของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) จะเปนขบวนการทำซ้ำ (Iterative Process) ที่พัฒนาขึ้นมาจากประสบการณและตัวอยางที่สามารถนำมาปรับปรุงพัฒนาใชงานตอได ซึ่งสถาปตยกรรมนี้เปรียบเสมือนเครื่องมือที่เหมาะกับการพัฒนาระบบสถาปตยกรรมที่แตกตางกัน ประกอบไปดวย 1) การบรรยายถึงกระบวนการในการนิยามขอมูล 2) การใชงานเครื่องมือ 3) การจัดหาคำศัพทพ้ืนฐาน 4) รายการคำแนะนำพ้ืนฐาน 5) แสดงขอมูลรายการยอยในช้ินงาน The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดมีการนำเสนอกรอบการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรและมีการปรับปรุง Version ออกมาอยูเสมอ โดยลาสุดไดกำหนด Version 9.1 โดยมีหลักสำคัญของ Version ดังกลาวน้ี ดังแสดงในรูปที่ 6.13

รูปที่ 6.13 The Open Group Architecture Framework (TOGAF) 9.1 Architecture Framework

Page 28: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-19

จากรูปที่ 6.13 สามารถอธิบายไดวาการที่องคกรจะกาวไปสูการพัฒนาสถาปตยกรรมเปาหมาย (Target Architectures) ไดน้ัน จะตองมีปจจัยตาง ๆ ที่ชวยสนับสนุนนการขับเคลื่อนองคกร ไดแก 1) ขบวนการการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (Architecture Development Method) โดยไดอธิบายรายละเอียดไวในหัวขอ (4) กระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (ADM) 2) สถ าป ตยกร รมพ ื ้ น ฐ าน (Foundation Architecture) ไ ด แ ก Technical Reference Model, Standards Information Base และ Building Blocks Information Base 3) ทรัพยากรพื ้นฐาน (Resource Base) ไดแก บุคลากร (People), โครงสรางพื ้นฐาน (Infrastructure), โปรแกรมประยุกต (Application), สารสนเทศ (Information) เปนการนำทรัพยากรมาใชอยางมีประสิทธิภาพ เพียงพอกับความตองการและคุมคาการลงทุนโดย The Open Group Architecture Framework (TOGAF) มีแกนสถาปตยกรรมหลัก ๆ 4 แกน คือ 1. สถาปตยกรรมหรือกรอบแนวทางที ่ เน นประโยชนและทิศทางขององคกร (Business Architecture) ที่อธิบายเกี่ยวกับกรอบทิศทางในเชิงนโยบายประโยชนและวิสัยทัศนของโครงการรวมทั้งการวิเคราะหและนำเสนอแนวทางของขั้นตอนธุรกรรมที่สนใจ 2. สถาปตยกรรมหรือกรอบแนวทางดานมาตรฐานขอมูล (Data Architecture) ที่อธิบายเกี่ยวกับกลุมของขอมูลโครงสรางขอมูลและลักษณะขอมูลและจะชวยใหการใชขอมูลรวมกันระหวางหนวยงานเกิดขึ้นไดและสงเสริมการใชขอมูลที่มีรูปแบบแตกตางกันใหมีความเปนไปไดในการพัฒนาระบบงาน 3. สถาป ตยกรรมหร ือกรอบแนวทางการจ ัดกล ุ มธ ุ รกรรมหร ือระบบงาน (Application Architecture) ที ่อธิบายเกี ่ยวกับองคประกอบของระบบงานที่ใหบริการและการเชื ่อมโยงแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางระบบงานตาง ๆ ที่องคกรหรือกลุมงานตองรับผิดชอบและแสดงถึงบริการหรือระบบยอยตาง ๆ ที่ประกอบรวมกันเปนบริการหรือระบบงานที่ใหญขึ้นเพื่อตอบสนองตอผูใชบริการในกลุมงานที่ใหญขึ้นและตอบสนองตอความตองการใชงานไดอยางรวดเร็วทันตอสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป 4. สถาปตยกรรมหร ือกรอบแนวทางการจ ัดกล ุ มของเทคนิค (Technology Architecture) ที ่อธิบายเกี ่ยวกับโครงสรางพื ้นฐาน เชน คุณลักษณะเฉพาะทางเทคนิคดานเครือขายคอมพิวเตอร ระบบเครื่องคอมพิวเตอรแมขาย ระบบเครื่องคอมพิวเตอรลูกขายอุปกรณประกอบอื่น ๆ และรวมไปถึงซอฟตแวรพื้นฐานตาง ๆ และความสัมพันธขององคประกอบตาง ๆ ซึ่งจะชวยสนับสนุนใหเกิดกรอบแนวทางการพัฒนา

(2) รายละเอียดสถาปตยกรรมที่ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) รองรับได เน่ืองจาก The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดถูกพัฒนาขึ้นมาโดยเทียบเคียงมาตรฐาน ISO/IEC 42010:2007 ที่ระบุถึงสถาปตยกรรมองคกรประกอบดวยสวนหลัก 2 สวน คือ 1) การแสดงรายละเอียดของระบบและการวางแผนเพ่ือพัฒนาระบบโดยใชเปนแนวทาง การวางแผนงาน 2) โครงสรางของสวนตาง ๆ และการเช่ือมตอของแตละสวน

(3) ขอบเขตของสถาปตยกรรมองคกรที่ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) รองรับ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ใหความสำคัญทั้งดานทฤษฎีและปฏิบัติโดยมีรายละเอียดตามที่แสดงในรูปที่ 6.14

Page 29: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-20

รูปที่ 6.14 ขอบเขตของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF)

กระบวนการการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (ADM) จะถูกปจจัยดานความตองการทางธุรกิจผลักดันใหมีการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรรองรับรูปแบบธุรกิจใหมซึ่งแสดงถึงศักยภาพรองรับการดำเนินธุรกิจ ที่นำไปสูการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงขั้นตอนการปฏิบัติการ โดยการดำเนินงานดังกลาวจะตองอาศัยเครื่องมือเพ่ือทดลองขบวนการทางธุรกิจที่ตอบสนองตอวิสัยทัศนในการดำเนินธุรกิจ อยางไรก็ตามการที่องคกรใดจะเลือก Framework ใดมาใชน้ัน ขึ้นอยูกับลักษณะเฉพาะทางธุรกิจของแตละองคกรและ Framework ของแตละประเภทมีจุดเดน จุดดอยที่แตกตางกัน ซึ่งที่ปรึกษาไดนำเสนอการเปรียบเทียบไวในหัวขอถัดไป ทั ้งนี ้ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดถูกพัฒนาขึ ้นโดยรองรับสถาปตยกรรมใน 4 ดานคือ 1) สถาปตยกรรมธุรกิจ (Business Architecture) หมายถึง การกำหนดยุทธศาสตร การจัดการองคกร โครงสรางองคกรและกระบวนการทางธุรกิจ 2) สถาปตยกรรมขอมูล (Data Architecture) เปนการกำหนดโครงสรางทางตรรกะของขอมูล การจัดเก็บขอมูลและการบริหารขอมูล 3) สถาปตยกรรมโปรแกรมประยุกต (Application Architecture) เปนการกำหนดพิมพเขียว (Blueprint) สำหรับโปรแกรมประยุกตและการเช่ือมตอของโปรแกรมประยุกตเพ่ือรองรับธุรกิจขององคกร 4) สถาป ตยกรรม เทคโน โล ยี (Technology Architecture) เป นการกำหนดรายละเอียดดานเทคนิคของซอฟตแวรและฮารดแวรของโครงขายสื่อสารเพ่ือรองรับการประกอบธุรกิจ

Page 30: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-21

รูปที่ 6.15 ขอบเขตของสถาปตยกรรมองคกรที่ The Open Group Architecture Framework (TOGAF)

รองรับ

(4) กระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (ADM) ADM เปนกระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรที่แบงขั้นตอนในการดำเนินงานออก เปนระยะตาง ๆ และใชขบวนการทำซ้ำเพ่ือพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรใหสมบูรณ ADM สามารถแบงเปนระยะในการพัฒนาได ดังน้ี 1) ระยะ 0 เตรียมความพรอม (Preliminary Phase) หมายถึง ระยะในชวงการเตรียมความพรอมตอการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร เชน การกำหนดกรอบในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร การกำหนดโครงสรางในการบริหารหลักการและกระบวนการการประเมิน 2) ระยะ A การกำหนดวิสัยทัศนตอสถาปตยกรรม (Phase A: Architecture Vision) หมายถึง วิสัยทัศนตอการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร เชน การกำหนดผูมีสวนไดสวนเสีย การกำหนดบทบาทและความรับผิดชอบ 3) ระยะ B สถาปตยกรรมธุรกิจ (Phase B: Business Architecture) หมายถึง การกำหนดรายละเอียดของสถาปตยกรรมธุรกิจ เชน เปาหมายยุทธศาสตรโครงสรางองคกร ขบวนการในการประกอบธุรกิจ 4) ระยะ C สถาปตยกรรมระบบเทคโนโลย ีสารสนเทศ (Phase C: Information Systems Architecture) หมายถึง การกำหนดสถาปตยกรรมดานขอมูลสารสนเทศและดานโปรแกรมประยุกต เชนโครงสรางและมาตรฐานขอมูลสารสนเทศ การแลกเปลี่ยนขอมูลสารสนเทศ การเช่ือมตอของโปรแกรมประยุกต 5) ระยะ D สถาปตยกรรมเทคโนโลยี (Phase D: Technology Architecture) หมายถึง การกำหนดรายละเอียดตอการพัฒนาดานเทคโนโลยีที่ใชงาน เชน เทคโนโลยีโครงขายสื่อสาร ฮารดแวรที่ใชงาน 6) ระยะ E โอกาสและแนวทาง (Phase E: Opportunities and Solutions) หมายถึง การกำหนดแนวทางและการจัดทำกลยุทธเพ่ือรองรับโอกาสตอการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร

Page 31: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-22

7) ระยะ F การจัดทำแผนการปรับยาย (Phase F: Migration Planning) หมายถึง การกำหนดแผนงานเพ่ือการปรับยายไปสูสถาปตยกรรมเปาหมาย 8) ระยะ G การจัดการตอการพัฒนาสถาปตยกรรม (Phase G: Implementation Governance) หมายถึง กระบวนการในการจัดการการพัฒนาสถาปตยกรรมในภาพรวม 9) ระยะ H ก ารบร ิ ห ารการ เปล ี ่ ยนแปลง (Phase H: Architecture Change Management) หมายถึง การกำหนดกระบวนการจัดการตอการปรับเปลี่ยนสถาปตยกรรมองคกร

รูปที่ 6.16 กระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (ADM)

กระบวนการพ ัฒนาสถาป ตยกรรมองค กรของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ขางตนสามารถแสดงความสัมพันธของขั้นตอนสำคัญตอการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรไดดังรูปที่ 6.17

Page 32: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-23

รูปที่ 6.17 The Open Group Architecture Framework (TOGAF) 9.1 Architecture Framework

ขั้นตอนการพัฒนา The Open Group Architecture Framework (TOGAF) จะเริ่มตนจากขั้นตอนตาง ๆ ดังน้ี 1) เตรียมความพรอม (Preliminary Phase) ซึ ่งจะไดหลักเกณฑของสถาปตยกรรม (Architecture Principles) และการกำหนดวิส ัยทัศนเช ิงสถาปตยกรรม (Architecture Vision) ซ ึ ่งจะวิเคราะห ยุทธศาสตรองคกร ยุทธศาสตรดานเทคโนโลยี ปจจัยผลักดัน วัตถุประสงคทางธุรกิจ และความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย 2) การกำหนดความตองการเชิงสถาปตยกรรม (Architecture Requirements) เชน สมมติฐาน ขอตกลงรวมกันและชองวางของสถาปตยกรรมที่ตองการ 3) การกำหนดสถาปตยกรรมธ ุรก ิจ (Business Architecture) ซ ึ ่ งเป นการจ ัดทำรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมตามบริบทขององคกร เชน เปาประสงคเชิงธุรกิจ โครงสรางการบริหารจัดการ บร ิการขององค กร สถาป ตยกรรมระบบเทคโนโลย ีสารสนเทศ (Systems Architectures) ซ ึ ่ ง เปนสถาปตยกรรมดานขอมูลภายในองคกร เชน Data Entities, Logical Data Components บริการของระบบงาน องคประกอบของระบบงาน และสถาปตยกรรมเทคโนโลยี (Technology Architecture) ซึ่งเปนรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรมดานการใชเทคโนโลยีขององคกร เชน องคประกอบตามลักษณะทางกายภาพทางเทคโนโลยี 4) การพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรใหสำเร็จ (Architecture Realization) ที่ประกอบไปดวยการวิเคราะหโอกาสและการดำเนินงาน (Opportunities and Solutions) รวมทั้งการวางแผนการปรับยายสถาปตยกรรม (Migration) เชน การวิเคราะหความสามารถ (Capabilities) ปริมาณงานที่ตองทำ (Work) และการกำกับดูแล (Implementation Governance) เชน การกำหนดมาตรฐาน แนวทางการกำกับดูแล เปนตน

Page 33: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-24

(5) รายละเอ ียดและส ิ ่ งท ี ่ ได ร ับจาก The Open Group Architecture Framework (TOGAF) (Deliverables, Artifacts, and Building Blocks) ผลลัพธที่ไดจากการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตามแนวทางของ ADM สามารถแสดงผลลัพธไดในหลายรูปแบบ เชน การไหลของกระบวนการ (Process Flow) ความตองการของสถาปตยกรรมองคกรในเบื้องตน The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดแบงรายละเอียดของ ADM เปน 3 สวนคือ 1) Deliverable หมายถึง เอกสารที่ผานการรับรองจากผูมีสวนไดสวนเสีย เชน แผนการดำเนินงานเอกสารรูปแบบอางอิงหรือมาตรฐานที่ใช 2) Artifact ไดแก แผนผังเครือขาย (Network Diagram) รายละเอียดทางเทคนิคของคอมพิวเตอรแมขาย (Server Specification) Business Interaction Matrix เปนตน โดยทั่วไป Artifact ใชการอธิบายรายละเอียดใน 3 รูปแบบ คือ Catalog Matrix และ Diagram 3) Building Block หมายถึง องคประกอบทางธุรกิจที่แสดงในรูปแบบของกิจกรรมทางธุรกิจ รูปภาพที่แสดงถึงความสัมพันธของ Deliverable, Artifact และ Building Block ดังแสดงในรูปที่ 6.18

รูปที่ 6.18 ความสัมพันธระหวาง Deliverable, Artifact และ Building Block ตามแนวทางของ

The Open Group Architecture Framework (TOGAF)

(6) สวนยอยของสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Continuum) The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไ ด ใ ห ร า ยละ เ อ ี ย ดขอ งสวนยอยเพื่อการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร ทั้งนี้เพื่อใหผูพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรสามารถนำสวนยอย ตาง ๆ เหลานี้มาประกอบกันเปนอนุกรมที่แสดงถึงภาพรวมของสถาปตยกรรมองคกรได ซึ่งภายหลังจากที่มีการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร สวนประกอบที่ใหญขึ้นน้ีจะสามารถนำมาประกอบเพ่ือใชงานใหมไดอีกครั้ง (7) การจัดเก็บสถาปตยกรรม (Architecture Repository) เพ ื ่ อรองร ับการพ ัฒนาของสถาป ตยกรรมในส วนย อย ๆ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดกำหนดการจัดเก็บสถาปตยกรรม โดยโครงสรางของการจัดเก็บสถาปตยกรรมองคกรไดถูกแสดงไวในรูป 6.19

Page 34: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-25

รูปที่ 6.19 โครงสรางของการจัดเก็บสถาปตยกรรม

องคประกอบหลักของการจัดเก็บสถาปตยกรรมองคกรประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังน้ี 1) Architecture Meta Model หมายถึง รูปแบบรายละเอียดของสถาปตยกรรมที่จัดเก็บ 2) Architecture Capability หมายถ ึง โครงสร างและส วนย อยต าง ๆ รวมทั้ งกระบวนการในการจัดการเพ่ือการจัดเก็บสถาปตยกรรม 3) Architecture Landscape หมายถึง ภาพทางสถาปตยกรรมที่แสดงถึงความสัมพันธของสวนตาง ๆ 4) Standards Information Base (SIB) หมายถึง มาตรฐานที ่ส วนตาง ๆ ของการพัฒนาสถาปตยกรรมตองพัฒนาใหสอดคลอง 5) Reference Library หมายถึง แนวทาง Template ที่สามารถใชเปนแหลงอางอิงในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรได 6) Governance Log หมายถึง การบันทึกกิจกรรมที่เกิดขึ้นบนการพัฒนาสถาปตยกรรม

Page 35: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-26

(8) ประสิทธิภาพของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ตอการพัฒนาและการคงไวของสถาปตยกรรมองคกร เพ ื ่อการพ ัฒนาสถาป ตยกรรมอย างต อเน ื ่อง The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดทำสถาปตยกรรมองคกรซึ่งนอกจากการพัฒนาในดานกระบวนการของกรอบการพัฒนาแลว The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ยังไดมีการจัดทำหลักสูตรฝกอบรมทั้งนี้เพื่อเสริมสรางศักยภาพใหกับบุคลากรตอการพัฒนาสถาปตยกรรม รวมทั้งการจัดทำประกาศนียบัตรในระดับตาง ๆ ที่บงชี้ถึงศักยภาพของบุคลากรตอการพัฒนาสถาปตยกรรมดวยกรอบแนวทางของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) อีกดวย การประยุกตใชสถาปตยกรรมองคกรตามกรอบของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ยังไดถูกขยายผลเพื่อใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาการบริหารงานในดานตาง ๆ ไดแก 1) การบริหารดานระบบการเงิน (Financial Management) 2) การบริหารดานประสิทธิภาพองคกร (Performance Management) 3) การบริหารดานธุรกิจบริการ (Service Management) 4) การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) 5) การจัดการทรัพยากร (Resource Management) 6) การบร ิหารด านการต ิดต อส ื ่อสารต อผ ู ม ีส วนได ส วนเส ีย (Stakeholders Management) 7) การบริหารจัดการดานคุณภาพ (Quality Management)

8) การบริหารและจัดการผูใหบริการ (Supplier Management) 9) การบริหารจัดการองคประกอบ (Configuration Management) 10) การบริหารจัดการสิ่งแวดลอม (Environment Management)

(9) การใช The Open Group Architecture Framework (TOGAF) เพื่อพัฒนากับกรอบการพัฒนาอ่ืน ๆ เนื่องดวย The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดถูกพัฒนาโดยมีรายละเอียดและกระบวนการที่เปนระบบมีมาตรฐาน อีกทั้งมีคณะทำงานที่รวมกันพัฒนาอยางตอเนื่อง ดังน้ันจึงทำให The Open Group Architecture Framework (TOGAF) เปนกรอบแนวทางการพัฒนาที่มีศักยภาพในการปรับไปใชงานกับการพัฒนาในสวนอื่น ๆ ไดอยางงาย เชน COBIT, ITIL รวมทั้ง Service Oriented Architecture (SOA) (10) ข อได เปร ียบและข อจำก ัดของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) เนื่องดวย The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไดรับการพัฒนาจากกล ุ มน ักพ ัฒนาสถาปตยกรรมที ่มาจากหลากหลายอ ุตสาหกรรม จ ึงทำให The Open Group Architecture Framework (TOGAF) เปนกรอบการพัฒนาที่มีองคประกอบคอนขางสมบูรณ ทั้งดานการแบงประเภทของสถาปตยกรรม กระบวนการหรือวิธีการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร การใหแนวทางในการกำกับดูแล การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการใหขอมูลพื้นฐานและมาตรฐานที่สำคัญตอการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร อยางไรก็ตามขอจำกัดของ The Open Group Architecture Framework (TOGAF) ไมไดแสดงรายละเอียดเชิงสถาปตยกรรม โดยแบงตามมุมมองของผูเกี่ยวของกับการใชงานขอมูลสารสนเทศ ซึ่งในการนำไปประยุกตใชงานจริงนั้นอาจตองผสมผสานขอไดเปรียบในสวนนี้จาก Zachman Framework (ZF) เพ่ือความสมบูรณตอการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตอไป

Page 36: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-27

6.3 แนวคิดในการสมัมนาและการจัดอบรม ที่ปรึกษาไดแสดงรายละเอียดหลักสูตรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรที่ครอบคลุมสำหรับผูบริหารและสำหรับผูปฏิบัติงานจำนวน 2 หลักสูตร โดยมีรายละเอียดดังน้ี 1) หลักสูตรที ่ 1 : หลักสูตรสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture : EA) สำหรับผูบริหาร หลักการและเหตุผล เนื่องดวยการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบันมีความสำคัญเปนอยางมาก ทั ้งนี ้เพราะเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเสมือนเครื ่องมือผลักดันองคกรใหสามารถทำงานไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดตนทุนและการซ้ำซอนของการทำงาน อีกทั้งสามารถใหขอมูลสารสนเทศที่เปนประโยชนตอการบริหารจัดการ การติดตามผลการดำเนินงาน ตลอดจนการตัดสินใจและสั่งการ ดังน้ันผู บร ิหารจึงมีบทบาทสำคัญในการกำหนดทิศทางการพัฒนาและการธำรงสถาปตยกรรมองคกรใหมีการใชงานที่ตอเนื่อง รวมทั้งการสรางวัฒนธรรมการใชขอมูลจากสถาปตยกรรมองคกรเพ่ือการพัฒนาองคกรตอไป วัตถุประสงค เพื่อเสริมสรางทักษะแกผูบริหารในการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศตามแนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร ระยะเวลา ไมนอยกวา 3 ช่ัวโมง หัวขอการฝกอบรม 1) กรอบการจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Governance) - แนวคิดและการดำเนินงานของ IT Governance 2) แนวคิดและหลักการของการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร - กรอบแนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร - รูปแบบอางอิงการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (EA Reference Model) - การจัดการสถาปตยกรรมองคกร (EA Governance) วิทยากร ดร.สุรัตน ตันเทอดทิตย กลุมเปาหมาย ผูบริหารของกรมชลประทาน รูปแบบการอบรม วิทยากรนำเสนอความรู เนื้อหาสาระโดยการบรรยาย (Lecture) และใหผูเขารวมอบรมซักถาม ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ผู บริหารสามารถเขาใจและมีทักษะในการบริหารดานเทคโนโลยีสารสนเทศตามแนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร

Page 37: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-28

2) หลักสูตรที่ 2 การพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรเชิงปฏิบัติการ หลักการและเหตุผล การพัฒนาดานเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีการดำเนินงานอยางเปนระบบและสอดรับกับความตองการทางธุรกิจขององคกรมีโครงสรางการจัดการดานกระบวนงานและขอมูลสารสนเทศรองรับเปาหมายองคกรเปนแนวคิดที่สามารถสงผลตอการใชประโยชนดานเทคโนโลยีสารสนเทศอยางมีคุณคาแนวคิดดังกลาวน้ีไดถูกจัดทำผานกระบวนการในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) ซึ่งเปนกรอบแนวทางที่จะทำใหการบริหารจัดการดานเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถดำเนินการไดอยางเปนระบบ มีกรอบการพัฒนาที่ชัดเจนทั้งในดานกระบวนการทางธุรกิจ ดานขอมูลสารสนเทศ ดานเทคโนโลยี ดานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยรวมทั้งดานการจัดการสถาปตยกรรม วัตถุประสงค 1) เพื่อชี้แนะผูใชงานใหมีความรู ความเขาใจพื้นฐานในเรื่องของสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture : EA) 2) เพ่ือใหผูใชงานสามารถเขาใจคุณลักษณะพ้ืนฐานและวิธีการของ TOGAF 3) เพื่อใหผูใชงานมีความเขาใจขั้นพื้นฐานในวงจรการพัฒนา ADM และรายละเอียดที่จะตองดำเนินการจัดทำในแตละขั้นตอน (Phase) ระยะเวลา ไมนอยกวา 2 วัน หัวขอการฝกอบรม 1) การแนะนำการจัดการดานสถาปตยกรรมองคกร 2) กรอบแนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรตามกรอบแนวคิดของ TOGAF 3) รูปแบบอางอิงสถาปตยกรรมองคกรของ TOGAF (TOGAF Reference Model) (สวนที่ 1) 4) รูปแบบอางอิงสถาปตยกรรมองคกรของ TOGAF (TOGAF Reference Model) (สวนที่ 2) 5) ขั้นตอนการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (Architecture Development Method) 6) การจัดการสถาปตยกรรมองคกร (EA Governance) วิทยากร ดร.สุรัตน ตันเทอดทิตย กลุมเปาหมาย บุคลากรในสังกัดกรมฯ รูปแบบการฝกอบรม วิทยากรนำเสนอความรู เนื้อหาสาระโดยการบรรยาย (Lecture) และใหผูเขารวมอบรมซักถาม ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ ทำใหผูเขารับการอบรมมีความเขาใจถึงการจัดทำสถาปตยกรรมองคกรกรอบแนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรและการจัดการดานสถาปตยกรรมองคกร

Page 38: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-29

6.4 การทบทวน ปรับปรุงแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน ป พ.ศ. 2560 – 2564 จากผลการจัดทำสถาปตยกรรมเปาหมายของกรมชลประทาน และการสำรวจสถาปตยกรรมที่มีอยูในปจจุบัน ตามรายละเอียดที่ไดกลาวไปแลวในหัวขอ 6.2 (หัวขอยอยที่ 1) การพัฒนาและการจัดทำสถาปตยกรรมองคกร) ที ่ปรึกษาจะสามารถวิเคราะหชองวางของสถาปตยกรรมทั้งสองสวนนี ้ได ซึ ่งจะประกอบดวย ชองวางดานกระบวนการทำงาน ชองวางดานการจัดการขอมูลสารสนเทศ ชองวางดานการพัฒนาระบบงานและโปรแกรมประยุกต ชองวางดานระบบโครงสรางพื้นฐาน และชองวางดานการจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ ซึ่งจะทำใหสามารถวิเคราะหยุทธศาสตรการพัฒนาดานเทคโนโลยีดิจิทัลที่มีอยูเดิมวาครอบคลุมผลการวิเคราะหไดมากนอยเพียงใด หรืออาจตองมียุทธศาสตรการพัฒนาในดานใดเพ่ิมเติมมากขึ้น ซึ่งรวมถึงในระดับแผนงาน โครงการการพัฒนาดวยเชนกัน ที่ปรึกษาไดแสดงตัวอยาง Mind Map เพื่อแสดงแนวคิดของยุทธศาสตรการพัฒนาดิจิทัลดังแสดงในรูปที่ 6.20

รูปที่ 6.20 แสดงตัวอยาง Mind Map ยุทธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัล

อยางไรก็ตามการออกแบบยุทธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลดังกลาวตองดำเนินการใหสอดคลองกับยุทธศาสตรหรือนโยบายของภาครัฐที่เกี่ยวของดวย เชน แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เปาหมายแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ระยะ5 ป เปนตน และเพื่อแสดงตัวอยางของโครงสรางแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 2568 ที่ปรึกษาไดแสดงตัวอยางสารบัญของแผนปฏิบัติการดิจิทัลไว ดังน้ี บทสรุปผูบริหาร บทที่ 1 บทนำ บทที่ 2 ภาพรวมของกรมชลประทาน 2.1 บทบาทหนาที่ของกรมชลประทาน 2.2 โครงสรางการบริหาร 2.3 แผนยุทธศาสตร ป 2560 - 2564

Page 39: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-30

บทที่ 3 นโยบาย และยุทธศาสตรภาครัฐที่เกี่ยวของกับการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลของกรมชลประทาน 3.1 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 3.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมดิจทิัล พ.ศ. 2559 – 2563 (Digital Economy) 3.3 พระราชบัญญัติวาดวยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 3.4 แผนพัฒนารฐับาลดิจิทัลของประเทศไทยระยะ 5 ป (พ.ศ. 2560-2564) บทที่ 4 ยุทธศาสตรในการพัฒนาดานเทคโนโลยีดิจิทัล 4.1 การวิเคราะหสถานการณดานเทคโนโลยีดิจิทัล (SWOT Analysis) 4.2 วิสัยทัศน พันธกิจ และยุทธศาสตรดานเทคโนโลยีดิจิทัล 4.3 ความสัมพันธระหวางยุทธศาสตรการพัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลกับยุทธศาสตรองคกร บทที่ 5 แผนงาน/โครงการดานเทคโนโลยีดิจิทัลของกรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 2568 5.1 แผนงานดานเทคโนโลยีดิจิทัล 5.2 ภาพรวมงบประมาณ บทที่ 6 การกำกับดูแลแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 2568 6.1 การกำกับดูแล 6.2 ความเสี่ยงและผลกระทบในกรณีที่ไมสามารถดำเนินการไดตามแผนปฏิบัติการ ดิจิทัลของกรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 2568 บทที่ 7 แผนพัฒนาบุคลากรและโครงสรางอัตรากำลังดานเทคโนโลยีดิจิทัล 7.1 โครงสรางอัตรากำลังศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ 7.2 แผนพัฒนาบุคลากรตามภารกิจงาน 7.3 แผนพัฒนาบุคลากรสำหรับผูใชงานระบบเทคโนโลยีดิจิทัล

Page 40: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-31

6.5 การบริหารโครงการ เพื่อใหการบริหารโครงการสามารถดำเนินการไดตรงตามวัตถุประสงคและแผนปฏิบัติงานสามารถนำไปใชไดอยางเต็มประสทิธิภาพ ที่ปรึกษาจึงมีแนวคิดในการบริหารโครงการ โดยมีรายละเอียดแสดงในรูปที่ 6.21 ดังน้ี

รูปที่ 6.21 แสดงปจจัยในการบริหารโครงการเพ่ือบรรลุตามเปาหมาย

ปจจัยหลักในการบริหารโครงการเพื่อใหการบริหารโครงการสามารถดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพน้ัน ปจจัยที่ตองคำนึงถึงประกอบดวยปจจัยหลัก 4 ประการคือ 1) ปจจัยหลักดานขอบเขตการดำเนินโครงการ (Scope Management) อันประกอบไปดวย การรับทราบความตองการของผูมีสวนไดสวนเสียในโครงการ การกำหนดรายละเอียดวัตถุประสงค และเปาหมายของโครงการที่มีความชัดเจน รวมทั้งการกำหนดบทบาทหนาที่ของผูมีสวนไดสวนเสียในการตรวจประเมินผลงาน และสิ่งสงมอบ 2) ปจจัยหลักดานระยะเวลา (Time Management) ที่ประกอบไปดวย ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ กิจกรรมหลัก และกิจกรรมยอยที่ตองดำเนินการซึ่งมักจะใชเครื่องมือ เชน Gantt Chart และ Work Breakdown Structure (WBS) ในการนำเสนอ และการติดตามกำกับ 3) ปจจัยหลักดานงบประมาณ (Cost Management) การกำหนดงบประมาณที่เหมาะสมมีรายละเอียดที่เพียงพอ รวมทั้งการกำหนดงบประมาณเปนสวนยอยตามระยะเวลาเพื่อการควบคุมงบประมาณจะชวยสงผลทำใหการบริหารโครงการดำเนินงานไดตามเปาหมาย การกำหนดกรอบงบประมาณที่ผิดพลาดต่ำกวาความเปนจริงจะสงผลกระทบที่รายแรงในการดำเนินโครงการ และเปนสาเหตุสำคัญที่ทำใหการบริหารโครงการไมเปนไปตามเปาหมาย 4) ปจจัยหลักดานคุณภาพ (Quality Management) การกำหนดมาตรฐานในการประเมินคุณภาพของการดำเนินโครงการ และผลที่ไดรับจากการดำเนินโครงการ เชน การประเมินจากผูมีสวนไดสวนเสียตอโครงการ ความพึงพอใจจากทุกภาคสวน และนำผลที่ไดมาวิเคราะหถึงระดับความพึงพอใจจะสามารถนำมาควบคุมคุณภาพใหตรงกับเปาหมายของโครงการได

Page 41: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

6-32

นอกจากปจจัยหลักในการบริหารโครงการที่ไดกลาวมาแลวการบริหารโครงการเพื่อใหสัมฤทธ์ิยังตองอาศัยปจจัยสนับสนุนที่เปรียบเสมือนกลไกผลักดันที่สำคัญ ไดแก 1) ปจจัยสนับสนุนดานบุคลากร (Human Management) การคัดเลือกการกำหนดหนาที่รับผิดชอบและการสงเสริมพัฒนาศักยภาพบุคลากรลวนแลวแตมีผลในการทำใหทรัพยากรบุคคลมีศักยภาพสามารถติดตามประเมินและผลักโครงการตาง ๆ ใหสัมฤทธ์ิตามแผนงานโครงการ และเปาหมายที่กำหนดไว 2) ปจจัยสนับสนุนดานการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ (Communication Management) การสื่อสารระหวางผูมีสวนไดสวนเสียในโครงการไมวาจะเปนการสื่อสารในแนวราบหรือในแนวดิ่ง จำเปนตองมีการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพมีการสื่อสารแบบ 2 ทาง เพื่อรับฟงขอคิดเห็นจากผูที่เกี่ยวของการจดบันทึกการประชุมที่มีรายละเอียดเพียงพอตอการปฏิบัติการสั่งการ และการติดตามตลอดจนการใชเครื่องมือผานระบบสื่อสารในการประสานงาน 3) ปจจัยสนับสนุนดานการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การบริหารจัดการความเสี่ยงที่เปนระบบตั้งแตการประเมินความเสี่ยงในการดำเนินการตามแผนงาน การกำหนดมาตรการในการบรรเทาความเสี่ยง การตรวจติดตามการดำเนินงานตามมาตรการ และการปรับปรุงกระบวนการในการจัดการความเสี่ยงจำเปนตองดำเนินการอยางเปนระบบมีคณะทำงานรับผิดชอบมีการรายงานผลการติดตามความเสี่ยงตามระยะเวลาที่เหมาะสม 4) ปจจัยสนับสนุนดานการจัดซื้อจัดจาง (Procurement Management) กระบวนงานในการจัดซื้อจัดจางที่มีประสิทธิภาพไมซับซอนและใชเวลานานจนเกินไป จะสงผลใหการดำเนินโครงการไมลาชาสามารถใชงบประมาณไดทันทวงเวลา อยางไรก็ตามหนวยงานภาครัฐมักจะประสบปญหาในปจจัยสนับสนุนในขอดังกลาว ทั้งนี้เพราะกระบวนการในการจัดซื้อจัดจางมักจะมีกระบวนงานที่ซับซอนและใชเวลานานจนไมสามารถใชงบประมาณไดทันตามกำหนดเวลา จากปจจัยหลักและปจจัยสนับสนุนขางตนหากมีการดำเนินงานในการบริหารโครงการโดยคำนึงถึงปจจัยดังกลาว การบริหารโครงการจะสามารถดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามเปาหมายที่ต้ังไว ตลอดจนสามารถบริหารงบประมาณไดตามกรอบระยะเวลา

Page 42: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

7-1

7. ระยะเวลาและแผนการดำเนินงาน

ที่ปรึกษาขอเสนอแผนการดำเนินโครงการซึ่งครอบคลุมกิจกรรมตาง ๆ ในการดำเนินโครงการ ระยะเวลาของกิจกรรม โดยมีระยะเวลาในดำเนินงาน 210 วัน ดังแสดงในตารางที ่ 7.1 และแผนการดำเนินงานการจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร แผนการสำรวจขอมูลในปจจุบันของหนวยงานภายใตสังกัดกรมชลประทาน ดังแสดงในตารางท่ี 7.2 และ 7.3 ตามลำดับ

Page 43: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

ตารางที่ 7.1 แผนการดําเนินโครงการที่ครอบคลุมกิจกรรมต่าง ๆ

1 จัดทํารายงานการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report) ที่

ประกอบด้วย แผนการดําเนินโครงการ ทฤษฎีที่ใช้ การ

บริหารโครงการ

บริษัทฯ จะจัดทํารายงานการศึกษาเบื้องต้น (Inception

Report) ที่ประกอบด้วย แผนการดําเนินโครงการ ทฤษฎี

ที่ใช้ การบริหารโครงการ

รายงานการศึกษาเบื้องต้น (Inception Report)

2 สํารวจและจัดทําสถานภาพปัจจุบันของสถาปัตยกรรม

องค์กรที่มีอยู่ในปัจจุบัน กรมชลประทาน ที่ครอบคลุมใน

ด้านต่าง ๆ ได้แก่

1. สถาปัตยกรรมการดําเนินงาน (Business

Architecture)

2. สถาปัตยกรรมข้อมูลสารสนเทศ (Data/Information

Architecture)

3. สถาปัตยกรรมด้านระบบงาน (Application

Architecture)

4. สถาปัตยกรรมระบบโครงสร้างพื้นฐานและการรักษา

ความมั่นคงปลอดภัย

บริษัทฯ จะสํารวจและจัดทํารายงานสถานภาพปัจจุบัน

ของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มีอยู่ในปัจจุบัน กรม

ชลประทาน

รายงานสถานภาพปัจจุบันของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มี

อยู่ในปัจจุบัน กรมชลประทาน

3 จัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรการพัฒนา

สถาปัตยกรรมองค์กรเพื่อสร้างองค์ความรู้แก่บุคลากร

กรมชลประทาน อันได้แก่

1. หัวข้อ สถาปัตยกรรมองค์กรสําหรับผู้บริหาร (EA for

Executive) จํานวน 1 รุ่น ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง และมี

ผู้เข้าร่วมโดยประมาณ 30 คน

2. หัวข้อ การพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรเชิงปฏิบัติการ

จํานวน 1 รุ่น ให้แก่บุคลากรใน สังกัดกรมฯ โดยมี

ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 วัน และมีผู้เข้าร่วมโดยประมาณ

100 คน

บริษัทฯ จะจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการใน

หลักสูตรการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรเพื่อสร้างองค์

ความรู้แก่บุคลากรกรมชลประทาน จํานวน 2 หัวข้อ

รายงานการจัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตร

การพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กร

4 รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 1 (Progress Report 1)

โดยเนื้อหาของรายงานความก้าวหน้า จะแสดงให้เห็นถึง

ความก้าวหน้าในการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่

เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงแนวทางในการแก้ไข

ปัญหาดังกล่าว

บริษัทฯ จะต้องรายงานความก้าวหน้า (ครั้งที่ 1) ให้กรมฯ

หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายทราบ โดยเนื้อหาของรายงาน

ความก้าวหน้า จะแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการ

ดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละ

ช่วงเวลา รวมถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว

รายงานความก้าวหน้าซึ่งรายงานอาจจะอยู่ในรูปของ

เอกสารรายงาน หรือการรายงานต่อที่ประชุม

คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องก็ได้

ม.ค. 63 ก.พ. 63

งวดที่ 1 รายงานเบิ้องต้น (Inception Report) ภายในวันที่ 7 กันยายน 2562 (ภายใน 30 วัน)

งวดที่ 2 รายงานฉบับกลาง (Interim Report) ภายในวันที่ 6 พฤศจิกายน 2562 (ภายใน 90 วัน)

ลําดับ ขอบเขตการดําเนินงาน กิจกรรม รายการสิ่งส่งมอบระยะเวลาการดําเนินโครงการ 210 วัน (7 เดือน)

ส.ค 62 ก.ย. 62 ต.ค. 62 พ.ย. 62 ธ.ค. 62

7-2

Page 44: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

5 ออกแบบสถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย ที่สอดคล้อง

ตามทิศทางการพัฒนาของกรมชลประทานใน ระยะเวลา

3 ปี ที่ครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ได้แก่

4.4.1 สถาปัตยกรรมการดําเนินงาน (Business

Architecture)

4.4.2 สถาปัตยกรรมข้อมูลสารสนเทศ

(Data/Information Architecture)

4.4.3 สถาปัตยกรรมด้านระบบงาน (Application

Architecture)

4.4.4 สถาปัตยกรรมระบบโครงสร้างพื้นฐานและการ

รักษาความมั่นคงปลอดภัย

บริษัทฯ จะออกแบบสถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย ที่

สอดคล้องตามทิศทางการพัฒนาของกรมชลประทานใน

ระยะเวลา 3 ปี

รายงานการออกแบบสถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย ที่

สอดคล้องตามทิศทางการพัฒนาของกรมชลประทานใน

ระยะเวลา 3 ปี

6 รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 2 (Progress Report 2)

โดยเนื้อหาของรายงานความก้าวหน้า จะแสดงให้เห็นถึง

ความก้าวหน้าในการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่

เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงแนวทางในการแก้ไข

ปัญหาดังกล่าว

บริษัทฯ จะต้องรายงานความก้าวหน้า (ครั้งที่ 2) ให้กรมฯ

หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายทราบ โดยเนื้อหาของรายงาน

ความก้าวหน้า จะแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการ

ดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละ

ช่วงเวลา รวมถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว

รายงานความก้าวหน้าซึ่งรายงานอาจจะอยู่ในรูปของ

เอกสารรายงาน หรือการรายงานต่อที่ประชุม

คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องก็ได้

7 รายงานความก้าวหน้าฉบับที่ 3 (Progress Report 3)

โดยเนื้อหาของรายงานความก้าวหน้า จะแสดงให้เห็นถึง

ความก้าวหน้าในการดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่

เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา รวมถึงแนวทางในการแก้ไข

ปัญหาดังกล่าว

บริษัทฯ จะต้องรายงานความก้าวหน้า (ครั้งที่ 3) ให้กรมฯ

หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายทราบ โดยเนื้อหาของรายงาน

ความก้าวหน้า จะแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าในการ

ดําเนินงาน ปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแต่ละ

ช่วงเวลา รวมถึงแนวทางในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว

รายงานความก้าวหน้าซึ่งรายงานอาจจะอยู่ในรูปของ

เอกสารรายงาน หรือการรายงานต่อที่ประชุม

คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องก็ได้

8 จัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลที่สอดคล้องตาม

สถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย กรมชลประทาน ปี พ.ศ.

2564 – 2568

บริษัทฯ จะจัดทําแผนปฏิบัติการดิจิทัลที่สอดคล้องตาม

สถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย กรมชลประทาน ปี พ.ศ.

2564 – 2568

รายงานแผนปฏิบัติการดิจิทัลที่สอดคล้องตาม

สถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย กรมชลประทาน ปี พ.ศ.

2564 – 2568

9 จัดสัมมนาเพื่อถ่ายทอดสถาปัตยกรรมองค์กรเป้าหมาย

และแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน

บริษัทฯ จะจัดสัมมนาเพื่อถ่ายทอดสถาปัตยกรรมองค์กร

เป้าหมายและแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน

รายงานสัมมนาเพื่อถ่ายทอดสถาปัตยกรรมองค์กร

เป้าหมายและแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน

งวดที่ 4 รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ภายในวันที่ 5 มีนาคม 2563 (ภายใน 210 วัน)

ม.ค. 63 ก.พ. 63

งวดที่ 3 ร่างรายงานฉบับสมบูรณ์ (Draft Final Report) ภายในวันที่ 5 มกราคม 2563 (ภายใน 150 วัน)

ลําดับ ขอบเขตการดําเนินงาน กิจกรรม รายการสิ่งส่งมอบระยะเวลาการดําเนินโครงการ 210 วัน (7 เดือน)

ส.ค 62 ก.ย. 62 ต.ค. 62 พ.ย. 62 ธ.ค. 62

7-3

Page 45: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

จ. อ. พ. พฤ. ศ. จ. อ. พ. พฤ. ศ. จ. อ. พ. พฤ. ศ. จ. อ. พ. พฤ. ศ. จ.2 3 4 5 6 9 10 11 12 13 16 17 18 19 20 23 24 25 26 27 30

1. สถาปัตยกรรมองค์กรสําหรับผู้บริหาร (EA for Executive)

จํานวน 1 รุ่น ไม่น้อยกว่า 3 ชั่วโมง และมีผู้เข้าร่วมโดยประมาณ

30 คน

X

2. การพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรเชิงปฏิบัติการ จํานวน 1 รุ่น

ให้แก่บุคลากรใน สังกัดกรมฯ โดยมีระยะเวลาไม่น้อยกว่า 2 วัน

และมีผู้เข้าร่วมโดยประมาณ 100 คน (แบ่งเป็น 50 คน 2 รุ่น)

(1) EA for Non IT 50 คน X X

(2) EA for IT 50 คน X X

หมายเหตุ: แผนการดําเนินงานอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

ก.ย.-62

จัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรการพัฒนาสถาปัตยกรรมองค์กรเพื่อสร้างองค์ความรู้แก่บุคลากรกรมชลประทาน

ตารางที่ 7.2 แสดงแผนการดําเนินงานการจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรการพัฒนาสถา

แผนการดําเนินงานอบรม สํานัก/กอง

7-4

Page 46: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นต้น (Inception Report)

จ. อ. พ. พฤ. ศ. จ. อ. พ. พฤ. ศ. จ. อ. พ. พฤ. ศ. จ. อ. พ. พฤ. ศ.19 20 21 22 23 26 27 28 29 30 23 24 25 26 27 30 1 2 3 4

1. กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

2. สํานักบริหารจัดการน้ําและอุทกวิทยา 9.30 - 12.00 น.

3. กองแผนงาน 9.30 - 12.00 น.

4. สํานักงานชลประทานที่ 11* (ตั้งอยู่ที่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี) 13.30 - 16.00 น.

5. สํานักงานจัดรูปที่ดินกลาง 9.30 - 12.00 น.

6. กองส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน (หน่วยงานภายใน) 14.00 - 16.00 น.

7. สํานักบริหารทรัพยากรบุคคล 9.30 - 12.00 น.

8. สํานักวิจัยและพัฒนา* (ตั้งอยู่ที่ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี) 13.30 - 16.00 น.

9. สํานักออกแบบวิศวกรรมและสถาปัตยกรรม 9.30 - 12.00 น.

10. สํานักสํารวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา 13.30 - 16.00 น.

11. สํานักบริหารโครงการ 9.30 - 12.00 น.

12. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 13.30 - 16.00 น.

3. สถาปัตยกรรมด้านระบบงาน (Application

Architecture)

4. สถาปัตยกรรมระบบโครงสร้างพื้นฐานและการ

รักษาความมั่นคงปลอดภัย

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร X X

หมายเหตุ: แผนการดําเนินงานอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

ต.ค.-62

สํารวจและจัดทําสถานภาพปัจจุบันของสถาปัตยกรรมองค์กรที่มีอยู่ในปัจจุบัน กรมชลประทาน ที่ครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ได้แก่

ตารางที่ 7.3 แสดงแผนการเข้าดําเนินงานการสํารวจข้อมูลในปัจจุบันของหน่วยงานภายใต้สังกัดกรมชลประทาน

ขอข้อมูลที่ใส่

ใน Template

กลับมา

1. สถาปัตยกรรมการดําเนินงาน (Business

Architecture)

2. สถาปัตยกรรมข้อมูลสารสนเทศ

(Data/Information Architecture)

แผนการดําเนินงานเก็บข้อมูล As-is สํานัก/กองส.ค.-62 ก.ย.-62

9.00 - 12.00 น

7-5

Page 47: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

8-1

8. โครงสรางท่ีปรึกษาและบุคลากรของกรมชลประทานท่ีจะดำเนินการรวมกับท่ีปรึกษา

8.1 โครงสรางท่ีปรึกษา ที่ปรึกษาแสดงโครงสรางบุคลากรหลักที่รับผิดชอบในการดำเนินงานและหนาที่ความรับผิดชอบดังแสดงในรูปท่ี 8.1 และในตารางท่ี 8.1

Page 48: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

8-2

รูปท่ี 8.1 โครงสรางท่ีปรึกษา

ผูชวยนักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ

นายยุทธพงศ คงออน

นายปยบุตร ปริญญานภุาพ

บุคลากรสนับสนุน

เลขานุการโครงการ

นางสาวกัญวรา โภชนอุดม

เจาหนาที่ธุรการ

นางสาวอุมาพร โพธิ์ชยั

บุคลากรหลัก ผูจัดการโครงการ

ดร.สุรัตน ตันเทอดทิตย

ผูเชี่ยวชาญดานสถาปตยกรรมเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสารสำหรับองคกร

ดร.ธัญญา สัตยาอภธิาน

ผูเชี่ยวชาญดานบรหิารจดัการโครงการ

ดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ดร.สิริวัฒน พงศแพทยพินิจ

วิศวกรไฟฟาสื่อสาร

นายสุดภกัดี รัตนพัฒน

ผูชวยวิศวกรไฟฟาสื่อสาร

นายจิรายุ กานตปริยสุนทร

นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผศ.ดร.สุรสีห พราหมณแกว

พนักงานขับรถหรือรับ-สงเอกสาร

นางสาวปยนุช ศุภสาร

Page 49: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

8-3

ตารางท่ี 8.1 รายละเอียดหนาท่ีความรับผิดชอบของท่ีปรึกษา

ลำดับ ตำแหนง ช่ือ หนาท่ีและบทบาทความรับผิดชอบ 1 ผูจัดการโครงการ ดร. สุรัตน ตันเทอดทิตย บริหาร วางแผนติดตามความคืบหนา

ของโครงการ ศึกษาปญหา พรอมท้ังหาแนวทางการแกไขปญหาเพ่ือใหงานบรรลุเปาหมาย กำหนดวิธีการ และแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการใหบุคลากรดำเนินงานใหเปนไปตามเปาหมาย ควบคุมคุณภาพของงาน บริหารทรัพยากรของโครงการ บริหารการเปลี่ยนแปลงตางๆ ของโครงการ และประสานงานโครงการ ตลอดจนใหคำปรึกษาในการจัดทำ ศึกษา และวิเคราะหอยางมีประสิทธิภาพ

2 ผูเชี่ยวชาญดานบริหารจัดการโครงการดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

ดร.สิริวัฒน พงศแพทยพินิจ ศึกษา วิเคราะห วางแผนงาน และพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศใหมีความทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เพ่ือสนับสนุนและรองรับการปฏิบัติงานใหเปนระบบ มีมาตรฐานอยางสูงสุด และสอดคลองกับนโยบายของหนวยงาน

3 ผูเชี่ยวชาญดานสถาปตยกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับองคกร

ดร.ธัญญา สัตยาอภิธาน ใหคำปรึกษา แนะนำ และบริหารงานดานกระบวนการดำเนินงาน ฐานขอมูล ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และโครงสรางพ้ืนฐาน รวมถึงรวมออกแบบกระบวนการดำเนินงาน และกำหนดสถาปตยกรรมเปาหมายดานขอมูลสารสนเทศและโปรแกรมประยุกต

4 นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ

ผศ.ดร.สุรสีห พราหมณแกว ศึกษา วิเคราะหการใชขอมูลและระบบงานของหนวยงานกำหนดมาตรฐานดานขอมูลสารสนเทศท่ีตองการใชงานรวมกัน กำหนดสถาปตยกรรมเปาหมายดานขอมูลสารสนเทศและโปรแกรมประยุกต

5 วิศวกรไฟฟาสื่อสาร นายสุดภักดี รัตนพัฒน ตรวจสอบ ประเมินและออกแบบดานเทคโนโลยโีครงสรางพ้ืนฐาน ไดแก คอมพิวเตอรแมขาย

Page 50: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

8-4

ลำดับ ตำแหนง ช่ือ หนาท่ีและบทบาทความรับผิดชอบ ระบบเครือขายและความม่ันคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

6 ผูชวยนักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ

1. นายยุทธพงศ คงออน 2. นายปยบุตร ปริญญานุภาพ

สนับสนุนและรวมศึกษา วิเคราะหการใชขอมูลและระบบงานของหนวยงานกำหนดมาตรฐานดานขอมูลสารสนเทศท่ีตองการใชงานรวมกัน กำหนดสถาปตยกรรมเปาหมายดานขอมูลสารสนเทศและโปรแกรมประยุกต

7 ผูชวยวิศวกรไฟฟาสื่อสาร

นายจิรายุ กานตปริยสุนทร สนับสนุนและรวมตรวจสอบ ประเมินและออกแบบดานเทคโนโลยโีครงสรางพ้ืนฐาน ไดแก คอมพิวเตอรแมขาย ระบบเครือขายและความม่ันคงปลอดภัยของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

8 เลขานุการโครงการ นางสาวกัญวรา โภชนอุดม สนับสนุนการบริหารโครงการและประสานงานดานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดลำดับความสำคัญของเอกสาร และรายงานรวมถึงตรวจสอบเอกสารท่ีเก่ียวกับโครงการ เพ่ือใหโครงการดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล

9 เจาหนาท่ีธุรการ นางสาวอุมาพร โพธิ์ชัย ชวยสนับสนุนดานการบริหารโครงการ และสนับสนุนดานอ่ืนๆ ของโครงการ

10 พนักงานขับรถหรือรับ-สงเอกสาร

นางสาวปยนุช ศุภสาร ขับรถหรือรับ-สงเอกสาร

Page 51: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

8-5

8.2 บุคลากรของกรมชลประทานท่ีจะดำเนินการรวมกับท่ีปรึกษา เพื่อการดำเนินโครงการท่ีปรึกษาขอเสนอใหกรมชลประทานจัดตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรกรมชลประทานขึ้น เพื่อสนับสนุนการดำเนินโครงการ ตลอดจนการกำกับดูแลการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร โดยหนาที ่ขอบเขตการดำเนินงานของคณะกรรมการและคณะทำงานดงักลาวดังนี้

1) คณะกรรมการกำกับและติดตามการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (EA Steering Committee) โดยมีอำนาจหนาท่ีดังนี้ (1) กำหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) (2) กำกับ ติดตาม สนับสนุนและใหคำปรึกษาการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (Enterprise Architecture) แกคณะทำงานพัฒนา (EA Working Group) และคณะทำงานดานเทคนิคเพ่ือพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (EA Technical Group) เพื่อใหการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทานประสบผลสำเร็จ (3) พิจารณาตัดสิน เพื่อปองกันและแกไขปญหาตาง ๆ ที่มีผลกระทบตอการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทาน (4) ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมายในระดับนโยบาย

2) คณะทำงานพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (EA Working Group) โดยมีอำนาจหนาท่ีดังนี้ (1) สนับสนุนขอมูลและขอเสนอแนะในการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทาน ทั้งในสวนของการศึกษาและวิเคราะหสภาพปจจุบัน (As Is Architecture) ประกอบดวย อำนาจหนาท่ี โครงสรางองคกร ข้ันตอนการปฏิบัติงานและรายละเอียดของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีอยู ในปจจุบ ัน รวมทั ้งการศึกษา ว ิเคราะหและกำหนดทิศทางสถาปตยกรรมในอนาคต (To Be Architecture) (2) กำหนดแนวทางในการปรับปรุงและการพัฒนากระบวนงาน รวมถึงการนำระบบสารสนเทศมาใชในการปฏิบัติงาน เพื่อใหการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล (3) ประสานงานและใหความรวมมือในสวนอ่ืน ๆ ท่ีเก่ียวของ รวมถึงมีสวนรวมในการผลักดันการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทานใหการดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค (4) รายงานผลการดำเนินงานตอคณะกรรมการพัฒนาและกำกับสถาปตยกรรมองคกร (EA Steering Committee) เปนระยะ (5) ปฏิบัติหนาที่อื ่น ๆ ตามที่คณะกรรมการพัฒนาและกำกับสถาปตยกรรมองคกร (EA Steering Committee) มอบหมาย

Page 52: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

8-6

3) คณะทำงานดานเทคนิคเพ่ือพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (EA Technical Group) โดยมีอำนาจหนาท่ีดังนี้ (1) สน ับสน ุนข อม ูลและข อเสนอแนะทางด านเทคน ิคในการพ ัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทาน (2) ทบทวนและปร ับปร ุงรายละเอ ียดสถาป ตยกรรมองค กรด าน ICT Architecture ที่ไดดำเนินการพัฒนาแลว ใหสอดคลองกับกระบวนการหลัก หรือกระบวนการสนับสนุนขององคกร (3) ประสานงานใหความรวมมือในสวนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ และมีสวนรวมในการผลักดันการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกรของกรมชลประทาน ใหดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค (4) รายงานผลการดำเนินงานตอคณะกรรมการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร (EA Steering Committee) เปนระยะ (5) ปฏิบัติหนาที่อื ่น ๆ ตามที่คณะกรรมการพัฒนาและกำกับสถาปตยกรรมองคกร (EA Steering Committee) มอบหมาย

Page 53: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค

รายงานการศึกษาขั้นตน (Inception Report)

9-1

9. งวดงานและส่ิงสงมอบ

ในแตละงวดงาน ท่ีปรึกษาจะทำการสงมอบเอกสารรายงาน โดยมีรายละเอียดดังนี้

งวดงาน รายการสงมอบ ระยะเวลา 1 รายงานการศึกษาข้ันตน (Inception Report) ภายในวันท่ี 7 กันยายน

2562 (ภายใน 30 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา)

2 1. รายงานสถานภาพปจจุบันของสถาปตยกรรมองคกรท่ีมีอยูในปจจุบนั กรมชลประทาน 2. รายงานการจัดอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการในหลักสูตรการพัฒนาสถาปตยกรรมองคกร 3. รายงานความกาวหนาฉบับท่ี 1 (Progress Report 1)

ภายในวันท่ี 6 พฤศจิกายน 2562 (ภายใน 90 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา)

3 1. รายงานการออกแบบสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายท่ีสอดคลองตามทิศทางการพัฒนาของกรมชลประทานใน ระยะเวลา 3 ป 2. รายงานความกาวหนาฉบับท่ี 2 (Progress Report 2) (120 วัน) 3. รายงานความกาวหนาฉบับท่ี 3 (Progress Report 3) (150 วัน)

ภายใน 5 มกราคม 2563 (ภายใน 150 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา)

4 1. จัดทำแผนปฏิบัติการดิจิทัลท่ีสอดคลองตามสถาปตยกรรมองคกรเปาหมาย กรมชลประทาน ป พ.ศ. 2564 – 2568 2. รายงานสัมมนาเพ่ือถายทอดสถาปตยกรรมองคกรเปาหมายและแผนปฏิบัติการดิจิทัลของกรมชลประทาน

ภายใน 5 มีนาคม 2563 (ภายใน 210 วัน นับถัดจากวันลงนามในสัญญา)

Page 54: รายงานการศึกษาขั้นต น (Inception Report)ictstrategy.rid.go.th/files/EA/file/Inception-Report.pdf · 2019-09-10 · สถาป ตยกรรมองค