การเปรียบเทยบผลสี...

200
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ โดย นางมณี บุญญาติศัย วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ISBN 974 – 464 – 801 - 5 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Upload: others

Post on 20-Apr-2020

6 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

การเปรียบเทยีบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรยีนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ

โดย นางมณี บุญญาติศัย

วิทยานพินธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยัศิลปากร ปการศึกษา 2548

ISBN 974 – 464 – 801 - 5 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

Page 2: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

THE COMPARATIVE STUDY OF THE LEARNING ACHIVEMENT IN SENTENCES OF PRATHOMSUKSA SIX BY USING COOPERATIVE LEARNING

TGT AND CONVENTIONAL METHOD

By Manee Bunyatisai

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree

MASTER OF EDUCATION Department of Curriculum and Instruction

Graduate School SILPAKORN UNIVERSITY

2005 ISBN 974 – 464 – 801 - 5

Page 3: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติใหวิทยานิพนธเร่ือง “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ ” เสนอโดย นางมณี บุญญาติศัย เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

…………………………………………... (รองศาสตราจารย ดร. วิสาข จัติวัตร) รองอธิการบดีฝายวิชาการ รักษาราชการแทน คณบดีบัณฑติวิทยาลัย วันที่ …….. เดือน ………………พ.ศ. ……... ผูควบคุมวิทยานิพนธ

1. ผูชวยศาสตราจารยสมพร รวมสุข 2. ผูชวยศาสตราจารยมณฑนา วัฒนถนอม 3. อาจารยสุนิดา กิตติศรีธนานนัท

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ ……………………………. ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยอัมพร แกวสุวรรณ) …………/…………/……… ……………………………. กรรมการ ………………………………. กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยสมพร รวมสุข) (ผูชวยศาสตราจารยมณฑนา วัฒนถนอม) …………/…………/……… …………/…………/………. ……………………………. กรรมการ ………………………………. กรรมการ (อาจารยสุนิดา กิตติศรีธนานันท) (อาจารยสิริมา เจริญศรี) …………/…………/……… …………/…………/…..……..

Page 4: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

K44255404 : สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คําสําคัญ : ประโยค / การเรียนแบบรวมมือ มณี บุญญาติศัย : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ (THE COMPARATIVE STUDY OF THE LEARNING ACHIEVEMENT IN SENTENCES OF PRATHOMSUKSA SIX BY USING COOPERATIVE LEARNING TGT AND CONVENTIONAL METHOD) อาจารยผูควบคุมวทิยานิพนธ : ผศ. สมพร รวมสุข, ผศ. มณฑนา วัฒนถนอม และ อ. สุนิดา กิตติศรีธนานันท. 191 หนา. ISBN 974 – 464 – 801 - 5 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนวัดบางนอย อําเภอบางคนที สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม ท่ีกําลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547 จํานวน 56 คน จาก 2 หองเรียน หองเรียนละ 28 คน โดยใหหองหนึ่งเปนกลุมทดลองเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และอีกหองหนึ่งเปนกลุมควบคุมเรียนแบบปกติ ใชเวลาทดลอง 16 ช่ัวโมง เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัดการเรียนรู แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน และแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT การวิเคราะหขอมูลใชสถิติวิเคราะหคาเฉลี่ย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และทดสอบคาเฉลี่ยโดยใชการทดสอบ ที ( t - test ) ผลการวิจัย

1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ท่ีไดรับ การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 โดยกลุมท่ีเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมท่ีเรียนแบบปกติ

2. นักเรียนมีความคิดเห็นตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT อยูในเชิงบวก

ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา 2548 ลายมือช่ือนักศึกษา …………………………………………………………………………………….…… ลายมือช่ืออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ 1……………………. 2……………………. 3…………………… ง

Page 5: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

K44255404 : MAJOR : TEACHING THAI LANGUAGE KEY WORD : SENTENCES / COOPERATIVE LEARNING MANEE BUNYATISAI : THE COMPARATIVE STUDY OF THE LEARNING ACHIEVEMENT IN SENTENCES OF PRATHOMSUKSA SIX BY USING COOPERATIVE LEARNING TGT AND CONVENTIONAL METHOD. THESIS ADVISORS : ASST. PROF. SOMPORN RUAMSUK, ASST. PROF. MONTANA WATANATANOM, AND SUNIDA KITTISRITANANAN. 191 pp. ISBN 974 - 464 – 801 - 5 The purposes of this research were to 1) compare the learning achievement of the Pratomsuksa six students learning sentences of Thai language between the groups instructed by the cooperative learning of TGT technique and the conventional method and 2) study the students’ opinions about the employment of the cooperative learning of TGT technique. The total sample of 56 students of Wat Bangnoi School, Bangkontee District, under the affiliation of Samutsongkhram Education Service Area, was classified as an experimental group of the cooperative learning of TGT technique including 28 students and as a controlled group of the conventional method including 28 students. The research was conducted within the duration of the second semester of the academic year 2004 and covering the period of 16 hours. The instruments used to collect data were comprised of a lesson plan, an achievement test as an instrument of the pretest and the posttest, and a questionnaire inquiring the students’ opinions about the employment of the cooperative learning of TGT. The collected data were analyzed by the statistical means of mean, standard deviation, and t-test sample independent. The findings were as follows : 1) With regard to the topic concerning sentences of Thai language, the students’ learning achievement scores of the experimental group of the cooperative learning of TGT were significantly different at the level of .05 and found higher than the scores of the controlled group of the conventional method as well. 2) The students revealed their positive opinions about the employment of the cooperative learning of TGT technique. Department of Curriculum and Instruction Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2005 Student’ s signature ……………………………………………………………………………………………. Thesis Advisors’ signature 1…………………...…… 2…………………….. ……..3…………………………….

Page 6: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ เรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดดวยความกรุณา ความเอาใจใส การใหคําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนการตรวจแกไขขอบกพรองจากผูชวยศาสตราจารยสมพร รวมสุข ผูชวยศาสตราจารยมณฑนา วัฒนถนอม อาจารยสุนิดา กิตติศรีธนานันท อาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูง ขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย อัมพร แกวสุวรรณ ประธานกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ และอาจารย สิริมา เจริญศรี ผูทรงคุณวุฒิที่กรุณาใหคําปรึกษา แนะนําแกไขขอบกพรอง และใหความรูเชิงวิจารณ เพื่อความสมบูรณของวิทยานิพนธ ขอขอบพระคุณผูเชี่ยวชาญ อาจารยสุนิจจา ทัพศาสตร อาจารย 3 ระดับ 8 โรงเรียนวัดเจริญสุขาราม อาจารยอรุณี สวัสดิผล อาจารย 3 ระดับ 8 โรงเรียนวัดประชาโฆสิตาราม และอาจารยบุญชวย นุชอุดม อาจารย 3 ระดับ 8 โรงเรียนวัดเทพประสิทธิ์คณาวาส ขอขอบพระคุณอาจารยประกิจ ธนิกกุล ผูอํานวยการสถานศึกษา โรงเรียนวัดบางนอย คณะครูและนักเรียนโรงเรียนวัดบางนอยที่ใหความรวมมือและอํานวยความสะดวกในการวิจัยเปนอยางดี ขอบคุณพี่และนองตระกูลพันธเสน พี่และนองตระกูลบุญญาติศัย และนางสาววลัยทิพย บุญญาติศัยซ่ึงเปนบุตรสาว ที่มีสวนชวยเหลือและใหกําลังใจในการทํางานวิจัยคร้ังนี้ ขอบคุณรุนพี่และเพื่อนรวมรุนสาขาวิชาการสอนภาษาไทยที่ใหความชวยเหลือ และใหกําลังใจตลอดมา ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอทนง คุณแมเติม พันธเสน ผูเปนครูคนแรกอันเปนที่รักและเคารพอยางสูงสุดในชีวิต ที่ไดมอบความรัก ความเมตตา ดูแล หวงใย และเปนกําลังใจแกผูวิจัยเสมอมา คุณคาและประโยชนของวิทยานิพนธฉบับนี้ ขอมอบเปนเครื่องบูชาพระคุณบิดามารดา ครูอาจารยทุกทาน ที่ไดอบรมสั่งสอนและสนับสนุนการศึกษาของผูวิจัยดวยความรักและปรารถนาดีตลอดมา ฉ

Page 7: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

สารบัญ หนา

บทคัดยอภาษาไทย ……………………………………………………………………………. ง บทคัดยอภาษาอังกฤษ …………………………………………………………………. ……. จ กิตติกรรมประกาศ ……………………………………………………………………. …….. ฉ สารบัญตาราง ………………………………………………………………………….. ……. ฌ บทที่ 1 บทนํา ……………………………………………………………………………………. 1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ………………………………………… 1 วัตถุประสงคของการวิจยั ………………………………………………………. 10 สมมติฐานของการวิจยั …………………………………………………………. 10 ขอบเขตของการวิจัย ……………………………………………………………. 11 นิยามศัพทเฉพาะ ………………………………………………………………. 12 2 เอกสารและงานวิจยัทีเ่กี่ยวของ ………………………………………………………… 13 หลักสูตรวิชาภาษาไทย ………………………………………………………… 13

ประโยค ………………………………………………………………………… 24 การเรียนแบบรวมมือ …………………………………………………………… 44 การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ……………………………………………… 60 การสอนแบบปกติ ………………………………………………………………. 66 งานวิจยัที่เกีย่วของ ……………………………………………………………… 69

3 วิธีดําเนนิการวจิัย ……………………………………………………………………….. 76 ขั้นเตรียมการ …………………………………………………………………… 76 ขั้นสรางเครื่องมือ ……………………………………………………………… 77 ขั้นดําเนินการทดลอง ………………………………………………………….. 83 ขั้นวิเคราะหและสรุปผล ………………………………………………………. 84

4 ผลการวิเคราะหขอมูล ………………………………………………………………… 86 ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ………………………………… 86 ตอนที่ 2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ……. 87

บทที่ หนา ช

Page 8: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ ………………………………………………. 89 สรุปผลการวิจัย …………………………………………………………………. 90 อภิปรายผล …………………………………………………………………….. 90 ขอเสนอแนะ …………………………………………………………………… 93

บรรณานุกรม …………………………………………………………………………………. 95 ภาคผนวก …………………………………………………………………………………….. 105

ภาคผนวก ก แผนการจัดการเรียนรูกลุมทดลอง / แผนการจัดการเรียนรูกลุมควบคุม ………………………………. 106 ภาคผนวก ข แบบทดสอบวดัผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ……………………….. 170 ภาคผนวก ค แบบสอบถามความคิดเหน็ ………………………………………. 176 ภาคผนวก ง การจัดนกัเรียนกลุมตัวอยาง ………………………………………. 179 ภาคผนวก จ การหาคาความเชื่อมั่น …………………………………………… 182 ภาคผนวก ฉ รายนามผูเชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ ………………………… 189

ประวัติผูวจิัย ………………………………………………………………………………….. 191

Page 9: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 สรุปคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ……………… 82 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเรื่องประโยคหลัง ระหวางกลุม ที่ไดรับการสอน โดยการเรยีนแบบรวมมอืเทคนิค TGT และ

การสอนแบบปกติ ……………………………………………………………… 87 3 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยค ที่ไดรับการสอน

โดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติ ……………….. 87 4 การจดันักเรยีนกลุมตัวอยาง ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ก …………………………. …… 180 5 การจดันักเรยีนกลุมตัวอยาง ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ข ………………………………. 181 6 ผลการหาคาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบ

วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ที่นําไปใชในการทดลอง (pretest-posttest) จํานวน 60 ขอ …………………………………………….. 185

7 แสดงคะแนนกอนเรยีนและหลังเรยีนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ …………………………………………………………. 186

Page 10: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

บทท่ี 1บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาภาษาไทยเปนภาษาที่มีความสําคัญที่สุดสําหรับคนไทยทุกคนในฐานะที่เปนภาษาประจํา

ชาติ เปนเอกลักษณของชาติ และเปนมรดกทางวัฒนธรรมอันลํ้าคาที่บรรพบุรุษไดสรางไว นอกจากนี้ยังเปนเครื่องมือในการติดตอส่ือสาร ส่ือความหมาย เพื่อถายทอดความรู ประสบการณตลอดจนความรูสึกนึกคิด จินตนาการ และความเขาใจซึ่งกันและกัน ทั้งยังเปนเครื่องมือในการแสวงหาความรูจากแหลงเรียนรูตาง ๆ อยางไมมีที่ส้ินสุด

คนไทยทุกคนจะตองรักษาภาษาของตนใหถูกตองก็จะไดช่ือวา สามารถรักษาความเปนชาติของตนไดดวย ดังที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดํารัสในที่ประชุมของชุมนุมภาษาไทย คณะอกัษรศาสตร จฬุาลงกรณมหาวทิยาลยั (2539 : 7 – 8, อางถงึใน วรรณ ี โสมประยูร 2544 : 17) ถึงความสําคัญของภาษาไทยไววา

ภาษาไทยนั้นเปนเครื่องมืออยางหนึ่งของชาติ ภาษาทั้งหลายเปนเครื่องมือของมนุษยชนิดหนึ่งคือ เปนทางสําหรับแสดงความคิดเห็นอยางหนึ่ง เปนสิ่งสวยงามอยางหนึ่ง เชน ในทางวรรณคดีเปนตน ฉะนั้นจึงจําเปนตองรักษาเอาไวใหดี ประเทศไทยนั้นมีภาษาของเราเอง ซึ่งตองหวงแหนประเทศใกลเคียงของเราหลายประเทศมีภาษาของตนเอง แตวาเขาไมแข็งแรง เขาตองพยายามหาหนทางที่จะสรางภาษาของตนเองไวใหมั่นคง เราโชคดีท่ีมีภาษาของตนเองแตโบราณกาลจึงสมควรอยางยิ่งที่จะรักษาไว

นอกจากนี้ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544 ค : 3) ยังกลาวถึงความสําคัญของ ภาษาไทยไวใน หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุท ธศักราช 2544 วา

ภาษาไทยเปนเอกลักษณประจําชาติ เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพ และเสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสาร เพื่อสรางความเขาใจและความสัมพันธท่ีดีตอกัน ทําใหสามารถประกอบ กิจธุระ การงานและดํารงชีวิตรวมกันในสังคมประชาธิปไตยไดอยางสันติสุข และเปนเครื่องมือใน การแสวงหาความรูประสบการณ จากแหลงขอมูลสารสนเทศตาง ๆ เพื่อพัฒนาความรู ความคิด วิเคราะห วิจารณและสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความกาวหนาทาง

1

Page 11: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

2

วิทยาศาสตร เทคโนโลยีตลอดจนการนําไปใชในการพัฒนาอาชีพใหมีความมั่นคงทางสังคม และเศรษฐกิจ นอกจากนี้ภาษาไทยยังเปนสื่อท่ีแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษ ดานวัฒนธรรม ประเพณี ชีวทัศน โลกทัศนและสุนทรียภาพ โดยบันทึกไวเปนวรรณคดี และวรรณกรรม อันล้ําคา ภาษาไทยจึงเปนสมบัติของชาติท่ีควรคาแกการเรียนรู เพื่ออนุรักษและสืบสานใหคงอยูคูชาติไทยตลอดไป

ภาษาไทยเปนวิชาทักษะที่ตองฝกฝนใหเกิดความชํานาญ เพื่อใชเปนเครื่องมือในการ

ส่ือสารที่ทําใหเขาใจกัน สามารถสื่อเร่ืองราวกันได ผูที่จะใชภาษาไดดีจะตองฝกทักษะการใชภาษาอยูเสมอ เพื่อใหเกิดการพัฒนาทางภาษาทั้งการฟง การพูด การอานและการเขียนไปพรอม ๆ กัน ดังนั้น ภาษาไทยจึงมีบทบาทและมีความสําคัญที่สุดในสังคมไทยตลอดมา

การสอนภาษาไทยจะตองเนนใหผูเรียนมีความรักภาษาไทย ในฐานะที่เปนวัฒนธรรมและถายทอดวัฒนธรรมตามที่บรรพบุรุษไดสรางสรรคในรูปของหลักภาษาไดแก กฎเกณฑการใชภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม ผูเรียนจะตองมีทักษะการใชภาษาไดถูกตอง สละสลวย ตามหลักภาษา อานวรรณคดีและวรรณกรรมตาง ๆ เพื่อศึกษาเรื่องราวของชีวิตที่จะทําใหชีวทัศนและโลกทัศนของ ผูอานกวางขวางขึ้น เขาใจสภาพสังคมและวัฒนธรรมทั้งอดีต ปจจุบัน และสังคมไทยในอนาคต รวมถึงการศึกษาภูมิปญญาทางภาษาในทองถ่ินตาง ๆ

กระทรวงศึกษาธิการไดตระหนักถึงความสําคัญของวิชาภาษาไทย จึงจัดเปนวิชาบังคับที่ นักเรียนทุกคนตองเรียน โดยกําหนดไวในหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) ใหอยูในกลุมทักษะที่เปนเครื่องมือการเรียนรู และไดกําหนดจุดประสงคของการสอนภาษาไทยไวดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2532 : 7 )

1. มีทักษะในการฟง พูด อาน และเขียน โดยมีความรู ความเขาใจหลักเกณฑอันเปนพื้นฐานของการเรียนภาษา

2. สามารถใชภาษาติดตอส่ือสาร ทั้งการรับรูและถายทอดความรูสึกนึกคิดอยางมี ประสิทธิภาพ และสัมฤทธิผล

3. สามารถใชภาษาไดถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ตลอดจนสามารถใชภาษาในเชิงสรางสรรคได 4. มีนิสัยรักการอาน รูจักเลือกหนังสืออาน และใชเวลาวางในการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากหนังสือ ส่ือมวลชน และแหลงความรูอ่ืน ๆ

5. สามารถใชประสบการณจากการเรียนภาษาไทยมาชวยในการคิดตัดสินใจแกปญหาและวินิจฉัยเหตุการณตาง ๆ อยางมีเหตุผล 6. มีความรู ความเขาใจ และเจตคติที่ถูกตองตอการเรียนภาษาไทยและวรรณคดี ทั้งในดานวัฒนธรรมประจําชาติ และการสรางเสริมความงดงามในชีวิต

Page 12: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

3

นอกจากนี้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) ยังไดกําหนดความมุงหวังที่ตองการใหเกิดกับผูเรียนในการเรียนการสอนภาษาไทยไว 3 ประการ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2534 : 8 – 9)

1. ใชภาษาสื่อความได หมายถึงสามารถใชภาษาไดถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา ใชภาษาไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล มีความคิดและวิจารณญาณในการใชภาษา

2. เห็นคุณคาและความงามของภาษาไทย หมายถึง การตระหนักในความสําคัญของภาษาไทย การเห็นความงามของภาษาไทย และมีความภูมิใจในการใชภาษาไทย

3. มีนิสัยรักการอานในสวนของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ไดกําหนดสาระและ

มาตรฐานการเรียนรูไว 8 กลุมสาระสําหรับนักเรียนทุกชวงชั้น ภาษาไทยเปนกลุมหนึ่ง เรียกวา กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทยประกอบดวยสาระการเรียนรู 5 สาระ คือ สาระที่ 1 การอาน สาระที่ 2 การเขียน สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด สาระที่ 4 หลักการใชภาษา และสาระที่ 5วรรณคดีและวรรณกรรม

เมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแลว ผูเรียนตองมีความรู ความสามารถ และ คุณธรรม จริยธรรม และคานิยมดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2544 ก : 10)

1. สามารถใชภาษาสื่อสารไดอยางดี2. สามารถอาน เขียน ฟง ดู และพูดไดอยางมีประสิทธิภาพ3. มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล และคิดเปนระบบ4. มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรู และใชภาษาในการพัฒนาตน และ

สรางสรรคงานอาชีพ5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใชภาษาและความเปนไทย ภูมิใจและชื่นชมในวรรณคดี

และวรรณกรรมซึ่งเปนภูมิปญญาของคนไทย6. สามารถนําทักษะทางภาษามาประยุกตใชในชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ ถูก

ตองตามสถานการณและบุคคล7. มีมนุษยสัมพันธที่ดี และสรางความสามัคคีในความเปนชาติไทย8. มีคุณธรรม จริยธรรม วิสัยทัศน โลกทัศนที่กวางไกลและลึกซึ้งกระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดวิชาภาษาไทยไวในหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช

2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 พรอมทั้งกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อจบการศึกษา เพื่อพัฒนาผูเรียนใหสามารถใชภาษาในการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพ ผูที่จะใชภาษาไดดีมีประสิทธิภาพจะตองมีความรู ความเขาใจเรื่อง หลักภาษา มีทักษะทางภาษาสามารถใชภาษาในการสื่อสารไดในชีวิตประจําวัน รวมทั้งเห็นคุณคาของ วรรณคดี

Page 13: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

4

และวรรณกรรม นอกจากนี้หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) ไดกําหนดจุดประสงคการเรียนรูกลุมทักษะภาษาไทยใน ป.02 ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 – 6 ที่เกี่ยวของกับหลักภาษาวานักเรียนสามารถเขียนคํา วลี ประโยคที่กําหนดใหถูกตอง (กระทรวงศึกษาธิการ,กรมวิชาการ 2534 : 118) และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 ไดกําหนดมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2 (ป.4 – 6) สาระที่ 4 หลักการใชภาษาไววา สามารถใชคํา กลุมคําตามชนิดและหนาที่มาเรียบเรียงเปนประโยค ใชประโยคสื่อสารไดชัดเจน รูจักใชคําที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย (กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ 2544 ก : 24) จะเห็นไดวาหลักสูตรทั้ง 2 หลักสูตรใหความสําคัญเรื่องประโยค ตั้งแตช้ันประถมศึกษาปที่ 4 ซ่ึงเปนการวางรากฐานให นักเรียนมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับกฎเกณฑและโครงสรางพื้นฐานของประโยคแตละชนิด เพื่อนําความรูไปใชในการติดตอส่ือสารใหมีประสิทธิภาพ หลักภาษาถือเปนสาระที่สําคัญสาระหนึ่ง ที่จะทําใหผูใชภาษาเขาใจกฎเกณฑทางภาษา และใชไดถูกตอง ซ่ึง ฐะปะนีย นาครทรรพ (2541 : 5) ไดกลาวไววา “ หลักภาษาไทยมีความจําเปนอยางยิ่งตอการใชภาษาไทย หากขาดหลักภาษาไทยเสียแลวก็เทากับขาดบรรทัดฐานของภาษา จะเปนเหตุใหการใชภาษาบกพรอง ผิดพลาดและไขวเขว นานไปก็จะทําใหภาษาเสื่อมสลายไป ” นอกจากนั้น วรรณา บัวเกิด และศรีสุดา จริยากุล (2534 : 200) ยังกลาววา “ การเปนนักไวยากรณ คือรูจักใชกฎเกณฑใหเปนประโยชนแกการใชภาษา ทําใหใชภาษาไดถูกตอง ชัดเจน ไมกํากวม ” ซ่ึงสอดคลองกับคํากลาวของ สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2523 : 361) ที่กลาววา “ การที่ผูใชภาษาพยายามใชภาษาไทยใหถูกตองตามหลักภาษาจะเปนการชวยอนุรักษภาษาไทยใหอยูยืนยงเปนเอกลักษณของชาติไทยสืบตอไป ”

ปรีชา ทิชินพงศ (2522 : 169) ไดกลาวถึงความสําคัญของหลักภาษา และหนาที่ของครูภาษาไทยไววา

…ครูภาษาไทยมีหนาท่ีตองสอนใหนักเรียนมีความรูทางภาษา 2 สวน คือ นอกจากจะสอนให นักเรียนมีทักษะในการใชภาษาแลว ตองสอนใหรูเกี่ยวกับกฎเกณฑของภาษาไทยดวย การท่ีผูเรียนเขาใจ กฎเกณฑภาษาไทย ยอมสามารถนําความรูเรื่องคําและประโยคไปประยุกตใชในเรื่องของการใชภาษาอยางมีประสิทธิภาพ และอาจจะทําใหความรูในตัวภาษาไดงอกงามในโอกาสตอไป

นอกจากนี้ ปรีชา ชางขวัญยืน (2525 : 2) กลาวถึงความสําคัญของหลักภาษาไววา “ผูที่จะใชภาษาไดดีตองรูหลักภาษาอยางดี ” การเรียนรูหลักภาษาไทยและหลักเกณฑในการใชภาษาไทยจนสามารถใชไดอยางมีประสิทธิภาพนั้น นักเรียนจําเปนตองตระหนักถึงความสําคัญของ หลักภาษาไทยเปนอันดับแรกกอน เพราะถาเห็นความสําคัญแลวยอมทําใหเกิดความกระตือรือรนที่จะเรียนรู และจดจําหลักเกณฑตาง ๆ ของหลักภาษาไทย ซ่ึงมีเนื้อหาสวนใหญเปนความรูและตองอาศัยการทองจําและการฝกฝนอยางตอเนื่อง ดังที่ ฐะปะนีย นาครทรรพ (2541 : 14) กลาววา

Page 14: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

5

“ หลักภาษาไทย คือ ระเบียบแบบแผนของภาษาไทยที่มีไวเพื่อใหผูใชถือเปนหลักรวมกันในการใชภาษาใหถูกตอง ”

จะเห็นไดวาหลักภาษาไทยเปนวิชาที่มีความสําคัญ แตการเรียนการสอนหลักภาษาไทยในปจจุบันยังไมประสบความสําเร็จเทาที่ควร ทั้งนี้อาจเปนเพราะคนสวนมากมกัคดิวาการสอนภาษาไทยนั้นใคร ๆ ก็สอนได ทําใหการเรียนการสอนภาษาไทยประสบปญหาหลายดาน โดยเฉพาะการสอนหลักภาษาไทย

สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย (2523 : 145) ไดประมวลปญหาเกี่ยวกับ การสอนหลักภาษาไทย สรุปไดวา

1. ครูชอบสอนวิชาหลักภาษาไทยนอยกวาวิชาอ่ืน ๆ ในหมวดวิชาภาษาไทยดวยกัน2. ครูมีความคิดเห็นวาหลักภาษาไทยสอนยาก3. อุปกรณและตําราที่ใชประกอบการสอนมีไมเพียงพอ4. ครูใชวิธีการสอนแบบเดิม คือ อธิบายแลวบอกใหนักเรียนจดไมใครใหทํากิจกรรม

ประกอบการสอนหลักภาษาไทย5. ครูเกิดความทอแทใจ เพราะไมไดรับการยกยองจากผูบริหาร เพื่อนครูและนักเรียน6. เนื้อหาที่ปรากฏในหลักสูตรและแบบเรียนมีความซ้ําซอนกันในทุกระดับชั้นทําให

เกิดการซ้ําซาก นาเบื่อหนาย7. เนื้อหาหลักภาษาไทยยาก และไมใครเปนประโยชนตอการใชภาษาในชวีติประจาํวนัของ

นกัเรยีน8. นักเรียนมีทัศนคติที่ไมดีตอวิชาภาษาไทยและไมชอบเรียนภาษาไทยมากที่สุด9. นักเรียนมีความคิดเห็นวาเนื้อหาที่เรียนในวิชาหลักภาษาไทยยาก เรียนยาก ไมสนุก

และไมนาสนใจ เมื่อเปรียบเทียบกับวิชาอ่ืนในหมวดวิชาภาษาไทยแลวนักเรียนสนใจเรียนวิชาอ่ืน เชน วิชาวรรณคดีมากกวา

หลักภาษาไทยมีเนื้อหาที่เปนระเบียบแบบแผนของภาษา ตองอาศัยการทองจําและ การฝกฝนอยางตอเนื่อง ออยทิพย ชาติมาลากร (2531 : 1) กลาวถึงการสอนหลักภาษาไทยวา “ นักเรียนสวนใหญไมชอบเรียนหลักภาษาไทย เพราะมีความเห็นวาหลักภาษาไทยเปนวิชาที่ยาก นาเบื่อ และไมสนุกสนาน ” วรรณี ภิรมยคํา (2546 : 6) ไดสัมภาษณครูหัวหนากลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยของโรงเรียนในอําเภอบางเลน จํานวน 4 โรงเรียน ถึงสาเหตุที่ทําใหนักเรียนไมประสบความสําเร็จในการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย พบวา เกิดจากสาเหตุดังนี้ หลักสูตร ไมสอดคลองกับสภาพในปจจุบัน โดยนักเรียนเรียนหลักภาษาไทยแบบดั้งเดิมไมมีการเชื่อมโยงมาสูการใชภาษาไทยในปจจุบัน ระบบบริหารใหความสําคัญกับครูภาษาไทยนอยกวาวิชาอื่น เพราะ เห็นวาครูคนไหนก็สอนได ทําใหไมมีการปรับปรุงวิธีการสอนใหเหมาะสมกับเนื้อหา ครูขาด

Page 15: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

6

อุปกรณการสอนที่นาสนใจ เนื้อหาสวนใหญเปนความรูซ่ึงนักเรียนตองทองจําจึงจะนําไปใชได นักเรียน ไมเห็นความสําคัญของวิชาภาษาไทย มองวายากและไมนาสนใจ สวนนพนภา ออกดวง (2547 : 5) กลาวถึงปญหาและขอบกพรองของการสอนภาษาไทยคือ ผูสอนขาดวิธีการสอนที่ดี ไมสอนให นักเรียนรูจักคิด ไมมุงนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ไมนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม ๆ มาใชประกอบการสอน ทําใหนักเรียนเกิดความเบื่อหนายและมีเจตคติไมดีตอวิชาภาษาไทย

จากขอมูลดังกลาวจะเห็นวา ปญหาเกี่ยวกับการสอนหลักภาษาไทยเกิดจากสาเหตุหลายประการ เชน วิธีสอนไมเราความสนใจที่จะทําใหนักเรียนสนใจเรียน ขาดอุปกรณการสอน เนื้อหาซับซอน ทําใหผูเรียนเขาใจยาก เกิดความเบื่อหนาย เปนตน ซ่ึงสอดคลองกับ สุพร วงศสุนทรเลิศ และเอื้อพร สัมมาทิพย (2535 : 97 – 110) ที่วิจัยเร่ืองการวิเคราะหขอผิดพลาดในการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย พบวา “ ขอผิดพลาดเร่ืองการแตงประโยคที่พบมากที่สุดคือ นักเรียนมักจะละคําไวในฐานที่เขาใจ ทําใหประโยคไมสมบูรณและไมถูกตองตามหลักภาษา บางประโยคขาดประธาน บางประโยคขาดกริยา และบางประโยคขาดกรรม ” และสอดคลองกับการสัมภาษณครูผูสอนภาษาไทยในกลุมโรงเรียนบางนอย อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม จํานวน 8 โรงเรียนที่สอนภาษาไทยในระดับ ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 เกี่ยวกับปญหาการสอนหลักภาษา โดยเฉพาะเรื่องประโยค ซ่ึงพบวา นักเรียนไมเขาใจ โครงสรางของประโยค การใชคํากริยาที่มีกรรมหรือไมมีกรรม การใชคําที่เปนสวนขยายประธาน กริยาและกรรม บางประโยคขาดประธาน บางประโยคขาดกรรม ทําใหประโยคไมสมบูรณและไมถูกตองตามหลักภาษา (กัญญา ธนิกกุล 2546)

จะเห็นไดวาปญหาการสอนหลักภาษาที่สําคัญประการหนึ่ง โดยเฉพาะเรื่องประโยค คือ ผูสอนขาดวิธีการสอนที่นาสนใจ ทําใหผูเรียนเกิดความเบื่อหนายและมีเจตคติที่ไมดีตอวิชา ภาษาไทย ดังนั้นจึงนาที่จะแกปญหาที่ตัวครู ซ่ึงหมอมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ (2520 : 11) ไดกลาวไววาหากครูไดปรับปรุงวิธีการสอนก็จะทําใหเกิดผลดี เชน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น นักเรียนมีความสนใจ ขยัน และรับผิดชอบมากขึ้น กรมวิชาการ (2543 : 1 – 2) ไดกลาวถึงวิธีสอนที่ชวยใหนักเรียนสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองใหไดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญมีดังนี้คือ วิธีสอนแบบใชเกม วิธีสอนแบบใชสถานการณจําลอง วิธีสอนแบบใชกรณีตัวอยาง วิธีสอนแบบบทบาทสมมติ วิธีสอนแบบแกปญหา วิธีสอนโดยใชบทเรียนสําเร็จรูป วิธีสอนแบบศูนยการเรียน วิธีสอนโดยใชชุดการสอน วิธีสอนโดยใชคอมพิวเตอรชวยสอน วิธีสอนแบบโครงงาน วิธีสอนแบบทดลอง วิธีสอนแบบถามตอบ วิธีสอนแบบอภิปรายกลุมยอย วิธีสอนแบบกลุมสัมพันธ วิธีสอนแบบความรวมมือกัน วิธีสอนแบบความคิดรวบยอด วิธีสอนแบบใหศึกษา คนควาดวยตนเอง วิธีสอน แบบทัศนศึกษานอกสถานที่ วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวนและวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรูเปนกลุม

Page 16: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

7

การจัดการเรียนการสอนที่เนนนักเรียนเปนสําคัญมีหลายวิธี เทคนิควิธีสอนหนึ่งที่นาจะ ทําใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น คือ การเรียนแบบรวมมือกัน (Cooperative learning) หรือวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรู เพราะเปนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใหนักเรียนทํางานรวมกันในกลุมยอยซ่ึงประกอบดวยนักเรียนที่มีความสามารถในการเรียนแตกตางกัน การเรียนแบบรวมมือกันไมใชวิธีการจัดนักเรียนเขากลุมรวมกันแบบธรรมดา แตเปนการรวมกลุมที่มีโครงสรางชัดเจน การเรียนแบบรวมมือไดรับความสนใจ และนํามาประยุกตใชในการศึกษาตั้งแตคริสตศักราช 1970 โดยมีความเชื่อวาวิธีการเรียนรูนี้จะชวยพัฒนา และแกปญหาหลาย ๆ ดานที่เกี่ยวของกับการเรียนรูของนักเรียน โดยเฉพาะอยางยิ่งในเรื่องของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสัมพันธภายในกลุม การยอมรับความออนดอยทางวิชาการของเพื่อน และความภาคภูมิใจในตนเอง นักเรียนจะใหความชวยเหลือซ่ึงกันและกันในการเรียน เพื่อใหสมาชิกในกลุมบรรลุจุดประสงค จะเห็นไดวา การเรียนแบบรวมมือเปนการจัดการเรียนการสอนที่มุงใหนักเรียนไดทํากิจกรรมดวยตนเอง จัดนักเรียนเปนกลุมยอย ๆ ใหรูจักรวมคิด รวมทํา รวมใจกันแกปญหาจนสําเร็จตามเปาหมายของกลุม (สมศักดิ์ ขจรชัยกุล 2534 : 19) จากการศึกษารูปแบบการเรียนแบบรวมมือจากตํารา และเอกสารงานวิจัยตาง ๆ พบวา มีหลายรูปแบบ เชน แบบกลุมสัมฤทธิ์ (STAD) แบบบูรณาการดานการอานและการเขียน (CIRC) แบบกลุมชวยสอนเปนรายบุคคล (TAI) แบบกลุมการแขงขัน (TGT) และแบบจิกซอว (Jigsaw) เปนตน การเรียนแบบรวมมือแตละรูปแบบมีความเหมาะสมดานเนื้อหา และวิธีสอนที่แตกตางกัน ซ่ึงผูวิจัยสนใจที่จะนํารูปแบบการเรียนแบบรวมมือเทคนิคTGT มาสอนหลกัเกณฑทางภาษา เพือ่ใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT (Teams - Games Tournament) เปนการเรียนรูแบบ รวมมือรูปแบบหนึ่งซ่ึงคละความสามารถดานผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน กลุมละประมาณ 4 – 5 คน ภาระงานของกลุมคือ หลังจากที่ครูนําเสนอบทเรียนทั้งชั้นแลว ใหนักเรียนแตละกลุมทํางานตามที่ครูกําหนด และแตละกลุมเตรียมสมาชิกแตละคนใหพรอม สําหรับการแขงขันตอบคําถาม ซ่ึงเปนคําถามสั้น ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาที่ครูแจกใหในการแขงขันครูจะจัดใหนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเดียวกันแขงขันกัน คะแนนที่สมาชิกตอบคําถามได จะนํามารวมกันเปนคะแนนของกลุม เมื่อจบการแขงขันในแตละครั้งครูจะประกาศผูไดคะแนนสูงสุด และกลุมที่ทําคะแนนไดสูงสุด

กาญจนา คุณารักษ (2541 : 69) สมศักดิ์ ขจรชัยกุล (2534 : 2) และสุมณฑา พรหมบุญ (2540 : 38 – 39) ไดกลาวถึงประโยชนและคุณคาของการเรียนแบบรวมมือในทํานองเดียวกัน สรุปไดดังนี้

Page 17: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

8

1. ชวยพัฒนาการเรียนรูของนักเรียน ชวยใหการเรียนรูของนักเรียนเปนไปอยาง กวางขวาง เพราะเปนการรวมกันเรียนภายในกลุมนักเรียนที่มีความแตกตางกันในดานเพศและระดับ ความสามารถทางการเรียน ภูมิหลัง นักเรียนภายในกลุมไดเรียนรูพรอมกัน แบงบทบาทหนาที่และแกปญหารวมกัน มีการเสนอแนะ ซักถาม คนควาหาความรูจากแหลงความรูตาง ๆ และสงเสริมใหฝกการคิดในระดับการวิเคราะห การสังเคราะห และการประเมินคา

2. นักเรียนไดเรียนรูวิธีการที่จะแสวงหาความรูดวยตนเองอยางมีประสิทธิภาพ3. เปนการชวยเตรียมนักเรียนใหพรอมที่จะเผชิญกับชีวิตจริง เพราะลักษณะของการ

เรียนแบบรวมมือ เปดโอกาสใหนักเรียนไดรับผิดชอบตอการเรียนรูของตนเองเชนเดียวกับการเรียนรูของกลุม ไดลงมือปฏิบัติ ทํากิจกรรมกลุม ฝกฝนทักษะการเปนผูนํา ผูตาม และไดเรียนรู ส่ิงตาง ๆ ที่มีความสัมพันธสอดคลองกับชีวิตจริงของนักเรียนมากที่สุด

4. ชวยเสริมสรางบรรยากาศการเรียนรูที่ดี ชวยใหนักเรียนไดฝกฝนความเปนประชาธิปไตย ฝกการชวยเหลือเกื้อกูลกัน ฝกการอยูรวมกันอยางเปนสุข ชวยใหผูเรียนเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียน เพื่อน ครู สถานศึกษา สังคม และประเทศชาติตอไป

5. สามารถจดจําส่ิงที่เรียนไดนานขึ้น มีความสามารถในการใชเหตุผล รักการทํางาน และมีใจจดจออยูกับงาน ยินดีใหความรวมมือในเรื่องตาง ๆ

6. นักเรียนมีโอกาสฝกทักษะทางสังคม มีหัวหนากลุม มีผูชวย มีเพื่อนรวมกลุม เปนการเรียนรูวิธีทํางานเปนกลุม ชวยพัฒนาทักษะทางสังคม ซ่ึงเปนประโยชนมากเมื่อตองเขาสูระบบการทํางานในชีวิตจริง

7. สงเสริมความรูสึกเปนสวนหนึ่งของกลุม การรวมกันเรียนภายในกลุม นักเรียนทุกคนชวยเหลือสนับสนุนซึ่งกันและกัน ใหความไววางใจกัน มุงมั่นใหงานของกลุมบรรลุเปาหมายจนเกิดความรูสึกวา งานตนคืองานกลุม และงานกลุมคืองานตน

8. สงเสริมใหนักเรียนรูจักตนเองและเห็นคุณคาของตน รวมถึงไดรูจักผูอ่ืน และเห็น คุณคาของผูอ่ืนดียิ่งขึ้น มีอัตมโนทัศนในทางบวก

9. เพิ่มความเต็มใจในการใหความรวมมือกับผูอ่ืน การใหความสนใจในตัวผูอ่ืน และ การใชเวลาทํางานอยางมีประสิทธิภาพ

10. ชวยลดปญหาทางวินัยในช้ันเรียน เนื่องจากนักเรียนทุกคนไดฝกฝนจนกระทั่งเกิดวินัยในตนเอง นักเรียนแตละคนจะไดรับการยอมรับจากครู จากเพื่อน ไดมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ทําใหยอมรับตนเองและผูอ่ืน มีความสุขในการอยูรวมกับเพื่อน ๆ ปญหาทางวินัยจึงลดนอยลงและหมดไปในที่สุด

Page 18: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

9

11. นักเรียนเรียนดวยความรูสึกสบายใจ มีความเพลิดเพลิน บรรลุผลสําเร็จในการเรียน ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยเฉลี่ยของนักเรียนทั้ง ช้ันสูงขึ้น มีแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ สูงขึ้น การชวยเหลือกันในกลุมเพื่อน ทําใหนักเรียนเขาใจสิ่งที่เรียนไดดียิ่งขึ้น ทําใหนักเรียนเรียนไดดีขึ้น

12. นักเรียนที่เรียนออน มีโอกาสแสดงความคิดเห็น ทํากิจกรรม และประสบผลสําเร็จในการเรียน สวนนักเรียนที่เรียนเกงจะมีบทบาททางสังคมในชั้นเรียนมากขึ้น มีความรูสึกวาตนเองมีหนาที่ตอเพื่อนรวมกลุม มีหนาที่ตอสังคมมากขึ้น มิใชทํางานเฉพาะของตนเทานั้น รูจักการเปน ผูใหมากขึ้น

นอกจากนี้ยังมีผลงานวิจัยที่สนับสนุนการเรียนแบบรวมมือที่ใชไดผลดี และมี ประสิทธิภาพ เชน งานวิจัยของ ธนาลัย ตปนีย (2535 : บทคัดยอ) ที่ศึกษาการเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ และทักษะทางสังคมดวยเทคนิคการเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบปกติของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนแบบรวมมือสูงกวาแบบปกติ แตไมพบความแตกตางกันของทักษะทางสังคม ที่เรียนดวย การเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบปกติ สวนงานวิจัยของ ปยาภรณ รัตนากรกุล (2536 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องผลของการเรียนแบบรวมมือโดยใชการแบงกลุม แบบกลุมสัมฤทธิ์ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ผลการศึกษาพบวา นักเรียนที่เรียนดวยการเรียนแบบรวมมือ โดยใชการแบงกลุมแบบสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร สูงกวา นักเรียนที่เรียนคณิตศาสตรดวยวิธีการเรียนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กิ่งดาว กล่ินจันทร (2537 : บทคัดยอ) ศึกษาผลของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค TGT ตอ ความสามารถในการอานจับใจความภาษาไทย พบวานักเรียนที่เรียนแบบรวมมือมีความสามารถในการอานจับใจความสูงกวานักเรียนที่เรียนตามคูมือครู จันทรทิพย อุดม (2538 : บทคัดยอ) ศึกษา ผลการเรียนแบบรวมมือในการฝกทักษะวิชาภาษาไทย พบวา หลังการเรียนแบบรวมมือนักเรียนมีทักษะการพูดสูงเพียงทักษะเดียวสวนทักษะการฟงการอานและการเขียนมีผลสัมฤทธิ์ที่ต่ํากวาเกณฑและมีเจตคติที่ดีตอวิชาภาษาไทยและเกิดพฤติกรรมการทํางานกลุม วรนารถ เถ่ือนคํา (2539 : บทคัดยอ) ศึกษาผลของการเรียนแบบรวมมือ โดยใชโปรแกรม CIRC ตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ พบวา นักเรียนที่เรียนแบบรวมมือโดยใชโปรแกรม CIRC มีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครู ชนิสา ตุไลลา (2540 : บทคัดยอ) ไดเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระหวาง การสอนแบบรวมมือกันเรียนรูกับการสอนปกติในกลุมสรางเสริมประสบการณชีวติ พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนโดยการใชรูปแบบการสอนแบบรวมมือกันเรียนรูแบบทีมการแขงขนั TGT สูงกวานักเรียนที่เรียนโดยการใชแผนการสอนปกติอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05

Page 19: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

10

ขวัญฤทัย สมัครคุณ (2541 : บทคัดยอ) ศึกษาผลของการเรียนแบบรวมมือที่มีตอ ความสามารถในการอานภาษาไทยเพื่อความเขาใจ และความคงทนในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3พบวา นักเรียนที่เรียนแบบรวมมือแบบกลุมตั้งเปาหมายรวมกัน และเรียนแบบ รวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์ มีความสามารถในการอานภาษาไทย เพื่อความเขาใจและ ความคงทนในการเรียน สูงกวานักเรียนที่เรียนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วิภาวรรณ รมร่ืนบุญกิจ (2542 : บทคัดยอ) ไดเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรเร่ืองความนาจะเปนและเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรระหวางกลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกับกลุมที่สอนแบบปกติของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 3 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรของกลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือสูงกวากลุมที่สอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เจตคติตอวิชาคณิตศาสตรของกลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือสูงกวากลุมที่สอนแบบปกติ นอกจากนี้ กลา พิมพวงษ (2543 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลของการเรียนแบบรวมมือโดยใชโปรแกรม CIRC ตอความสามารถในการอานจับใจความภาษาไทย เจตคติและความสัมพันธทางสังคมของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 5 พบวา นักเรียนที่เรียนแบบรวมมือโดยใชโปรแกรม CIRC มีความสามารถในการอานจับใจความภาษาไทย เจตคติ สูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สวนความสัมพันธทางสังคมไมแตกตางจากกอนการทดลอง

จากขอมูลดังกลาวขางตน จะเห็นวา การวิจัยเกี่ยวกับการเรียนแบบรวมมือมีหลายรูปแบบและหลายกลุมวิชา แตในวิชาภาษาไทยดานหลักเกณฑทางภาษา ยังมีผูนําเทคนิค TGT มาใชนอยมาก ทําใหผูวิจัยสนใจที่จะวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการเรียนแบบปกติ ซ่ึงผลของการวิจัยในครั้งนี้จะเปนแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยตอไป

วัตถุประสงคของการวิจัย1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยคของนักเรียนชั้นประถมศึกษา

ปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

สมมติฐานของการวิจัย1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับ

การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT สูงกวาการสอนแบบปกติ2. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 มีความคิดเห็นตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

อยูในเชิงบวก

Page 20: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

11

ขอบเขตของการวิจัยการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi – Experimemtal Research) เพื่อศึกษา

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดย การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ มีขอบเขตของการวิจัยดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง1.1 ประชากร ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา

2547 ของโรงเรียนในอําเภอบางคนที สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม จํานวน 19 โรงเรียน มีนักเรียนทั้งส้ิน 620 คน 1.2 กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่6 ภาคเรยีนที ่2 ปการศกึษา2547 โรงเรียนวัดบางนอย อําเภอบางคนที สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม จํานวน 56 คน 2 หองเรียน ซ่ึงไดมาโดยวิธีการสุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซ่ึงนักเรียนของทั้งสองหองเรียนนี้มีความสามารถทางการเรียนใกลเคียงกัน จากนัน้จบัสลากเปนหองทดลองและหองควบคมุดังนี้

1.2.1 หอง ป.6 ก เปนกลุมทดลอง จํานวน 28 คน ไดรับการสอนโดย การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

1.2.2 หอง ป.6 ข เปนกลุมควบคุม จํานวน 28 คน ไดรับการสอนแบบปกติ

2. ตัวแปรที่ศึกษา คือ2.1 ตัวแปรอิสระ ประกอบดวยวิธีสอน 2 วิธี คือ

2.1.1 การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT2.1.2 การสอนแบบปกติ

2.2 ตัวแปรตาม คือ2.2.1 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยค2.2.2 ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

3. เนื้อหาที่ใชในการวิจัย ประกอบดวยเนื้อหาหลักภาษาไทยที่เกี่ยวกับโครงสรางของประโยค คือ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซอน และชนิดของประโยคเพื่อการสื่อสาร ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม ประโยคขอรอง ประโยค คําส่ัง และประโยคแสดงความตองการ เปนเนื้อหาในกลุมทักษะภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และสอดคลองกับ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย สาระที่ 4 หลักการ

Page 21: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

12

ใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 : เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

4. ระยะเวลาที่ใชในการวิจัย ใชเวลาในการทดลองสอน สัปดาหละ 2 ช่ัวโมง จํานวน 4 สัปดาห รวม 8 ช่ัวโมง และใชเวลาในการทดสอบกอนและหลังการทดลองสอนอยางละ 1 ช่ัวโมง รวมเวลาที่ใชทั้งหมด 10 ช่ัวโมง ทดลองสอนในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547

นิยามศัพทเฉพาะ1. การเรียนแบบรวมมือ (Cooperative Learning) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู

โดยนักเรียนไดเรียนรูรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ เพื่อบรรลุเปาหมายเดียวกัน มีสมาชิกตั้งแต 4 – 5 คน สมาชิกแตละกลุมประกอบดวยนักเรียนที่มีความสามารถในการเรียนสูง ปานกลางและต่ํา สมาชิกแตละคนของกลุมจะมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ผลสําเร็จของสมาชิกคือผลสําเร็จของกลุม

2. การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT (Teams - Games Tournament) หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่แบงผูเรียนเปนกลุมละ 4 - 5 คน คละความสามารถดานผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนระดับสูง ปานกลาง และต่ํา ในอัตราสวน 1 : 2 : 1 และเพศ ภาระงานของกลุม คือ หลังจากที่ครูนําเสนอบทเรียนทั้งชั้นแลวใหนักเรียนแตละกลุมทํางานตามที่ครูกําหนด และเตรียมสมาชิกทุกคนใหพรอมสําหรับการแขงขันตอบคําถาม ซ่ึงเปนคําถามสั้น ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาในการแขงขันครูจะจัดใหนักเรียนที่มีผลการเรียนในระดับเดียวกันแขงขันกัน คะแนนทีส่มาชกิตอบคาํถามไดจะนํามารวมกันเปนคะแนนของกลุม เมื่อจบการแขงขันในแตละครั้ง ครูจะประกาศคะแนนผูที่ไดคะแนนสูงสุด และกลุมที่ทําคะแนนไดสูงสุด ซ่ึงมีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นนํา 2) ขั้นสอน 3) ขัน้จดัทมี 4) ขั้นการแขงขัน และ 5) ขั้นสรุป

3. การสอนแบบปกติ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยมีขั้นตอนดังนี้ 1) ขั้นนํา 2) ขั้นสอน 3) ขั้นสรุป 4) ขั้นประเมินผล

4. ประโยค หมายถึง การนําคํามาเรียงกันใหไดใจความสมบูรณ โครงสรางของประโยค ประกอบดวยภาคประธานและภาคแสดง สวนชนิดของประโยคเพื่อการสื่อสาร ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม ประโยคขอรอง ประโยคคําส่ัง และประโยคแสดง ความตองการ

5. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยค หมายถึง คะแนนที่ไดจากการทดสอบดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ที่ผูวิจัยสรางขึ้น

6. ความคิดเห็นของนักเรียน หมายถึง ความรูสึกนึกคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ในดานบรรยากาศในการเรียน และดานการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน

Page 22: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

บทท่ี 2วรรณกรรมที่เก่ียวของ

การวิจัยเร่ือง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยคของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ ผูวิจัยศึกษาคนควารวบรวมเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวของ เพื่อเปนพื้นฐานสําหรับดําเนินการวิจัย ตามลําดับเนื้อหา มีรายละเอียดดังนี้ 1. หลักสูตรวิชาภาษาไทย

2. ประโยค3. การเรียนแบบรวมมือ4. การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT5. การสอนแบบปกติ6. งานวิจัยที่เกี่ยวของ

หลักสูตรวิชาภาษาไทย

หลักสูตรภาษาไทยที่จะกลาวถึงในการวิจัยครั้งนี้แยกเปน 2 หลักสูตร คือ1. หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533)

กําหนดวิชาภาษาไทยอยูในกลุมทักษะที่เปนเครื่องมือการเรียนรู และจุดประสงคที่ตองปลูกฝงใหมีคุณลักษณะดังตอไปนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2532 : 7)

จุดประสงค1. มีทักษะในการฟง พูด อาน และเขียน โดยมีความรู ความเขาใจหลักเกณฑ

อันเปนพื้นฐานของการเรียนภาษา2. สามารถใชภาษาติดตอส่ือสาร ทั้งการรับรูและถายทอดความรูสึกนึกคิดอยางมี

ประสิทธิภาพ และสัมฤทธิผล3. สามารถใชภาษาไดถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล ตลอดจนสามารถ

ใชภาษาในเชิงสรางสรรคได

13

Page 23: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

14

4. มีนิสัยรักการอาน รูจักเลือกหนังสืออาน และใชเวลาวางในการแสวงหาความรูเพิ่มเติมจากหนังสือ ส่ือมวลชน และแหลงความรูอ่ืน ๆ

5. สามารถใชประสบการณจากการเรียนภาษาไทยมาชวยในการคิด ตัดสินใจ แกปญหาและวินิจฉัยเหตุการณตาง ๆ อยางมีเหตุผล

6. มีความรู ความเขาใจ และเจตคติที่ถูกตองตอการเรียนภาษาไทย และวรรณคดีทั้งในดานวัฒนธรรมประจําชาติ และการสรางเสริมความงดงามในชีวิต

หลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533 ) ยังไดกําหนด ความมุงหวังที่ตองการใหเกิดกับผูเรียนในการเรียนการสอนภาษาไทยไว 3 ประการดังนี้(กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2534 :8 – 9)

1. ใชภาษาสื่อความได หมายถึง สามารถใชภาษาไดถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษาใชภาษาไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล มีความคิดและวิจารณญาณในการใชภาษา

2. เห็นคุณคาและความงามของภาษาไทย หมายถึง การตระหนักในความสําคัญของ ภาษาไทย การเห็นความงามของภาษาไทย และมีความภูมิใจในการใชภาษาไทย

3. มีนิสัยรักการอาน

โครงสรางหลักสูตรภาษาไทยหลักสูตรภาษาไทยไดกําหนดโครงสรางเนื้อหา และกิจกรรมของกลุมทักษะภาษาไทย

ดังแผนภูมิ โครงสรางหลักสูตรกลุมทักษะภาษาไทย

แผนภูมิที่ 1 โครงสรางหลักสูตรทักษะภาษาไทยที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ, คูมือหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) (กรุงเทพมหานคร : 2534 โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว), 10.

ป.1-2 ป.3-4 ป.5-6

การเตรียมความพรอมการฟงการพูดการอานการเขียน

การเขียน

การฟงการพูดการพูดการอานการอาน

การฟง

การเขียน

Page 24: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

15

อัตราเวลาเรียนกลุมทักษะภาษาไทยสําหรับชั้นประถมศึกษาปที่ 5 – 6 คิดเปนรอยละ 25 ของเวลาเรียน

ทั้งหมดซึ่งเทากับ 750 คาบตอป และเฉลี่ยสัปดาหละ 10 – 12 คาบหรือ 3 – 4 ช่ัวโมง (คาบละ 20 นาที)

เนื้อหากลุมทักษะภาษาไทยเนื้อหากลุมทักษะภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาป ที่ 5 – 6 มีคําอธิบายรายวิชาดังนี้

( กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2532 : 14 – 16)

1. การฟง ปรับปรุงวิธีการแสดงออกเกี่ยวกับมารยาทที่ดีในการฟงในโอกาสตาง ๆ โดยเนนการ

ฟงอยางตั้งใจและแสดงออกจนเปนนิสัยเฉพาะตน ฝกฟงเรื่องราว บทความ ขาว เหตุการณบานเมืองทั้งภายในและภายนอกประเทศ

เร่ืองที่เปนปญหาในชีวิตประจําวนั การอภปิราย การรายงาน โตวาท ี คาํโฆษณาชวนเชือ่ คาํชกัชวน ปลุกใจ พระธรรมเทศนา คําพูดที่แสดงการเปรียบเทียบ แสดงความตองการโดยตรงและโดยนัย สํานวน คําคม คําขวัญ ภาษิต คําพังเพย แลวอภิปรายซักถามใจความสําคัญของเรื่อง คิดเปรียบเทียบ ขยายความ แยกแยะขอเท็จจริงและขอคิดเห็น สรุปหลักการ เจตนารมณและนัยของ ขอความและเรื่องนั้น ๆ

ฝกฟงบทรอยแกว บทรอยกรอง เพลง บทรองเกี่ยวกับการเลนของเด็ก การละเลนตาง ๆ ส่ิงบันเทิงจากสื่อมวลชน แลวอภิปรายซักถามเกี่ยวกับความเขาใจ ความรูสึก ความไพเราะของภาษา ขอคิด ขอเตือนใจที่ไดจากเรื่องราวและบทประพันธที่ฟง เขียนหรือแสดงออกไดสอดคลองกับความรูสึกจากเรื่องนั้น ๆ

เพื่อใหเขาใจเรื่องที่ฟง สามารถจับใจความสําคัญ วิเคราะหหาหลักการ เจตนารมณและนัยของขอความและเรื่อง มีความชื่นชมตอภาษาไทย และใชทักษะการฟงในการเพิ่มพูนความรู ความคิด มีนิสัยและมารยาทที่ดีในการฟง หาความรูและความบันเทิงจากการฟงได

2. การพูดฝกแสดงมารยาทและบุคลิกภาพที่ดีในการพูดในโอกาสตาง ๆ โดยเนนการใชน้าํเสียง

ใชลีลาทาทางประกอบการพูด และการใชคําพูดไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล

Page 25: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

16

ฝกพูดออกเสียงคําที่ใชในชีวิตประจําวนั คาํควบกล้าํ คาํทีม่ ี ร ล ตามทีก่ําหนดใหถูกตองตามอักขรวิธี และฝกฝนการใชคําในการพูดใหถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา

ฝกเลาเรื่อง อธิบาย บรรยายความรูสึก รายงานเรือ่งราวตาง ๆ โดยเนนการใชน้าํเสียง ถอยคํา ความตอเนื่อง และสาระสําคัญของเรื่อง

ฝกอภิปราย แสดงความคิดเห็นเชิงวิจารณ โตวาที และสรุปความคิดเห็นเกี่ยวกับขอความที่พูด

ฝกพูดสนทนา ตอนรับเชื้อเชิญ พูดโทรศัพท กลาวแสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ การอธิบายชี้แจง การสัมภาษณ การเปนพิธีกร การประชุม โดยเนนขอควรปฏิบัติในการพูด การใชคําสุภาพ และคําราชาศัพทตามความจําเปน และการใชคําพูดที่เหมาะสมในการติดตอธุระการงาน

รวมกันดําเนินการและใชทักษะการพูดในการเลานิทาน เลนเลียนแบบ แสดงบทบาทสมมุติ แสดงละคร เลนเกมที่สงเสริมการพดู อภปิราย โตวาท ี การประชมุ การละเลนตาง ๆ การแสดงพื้นเมอืง รองเพลง พดูตอคาํคลองจอง ทองบทรอยกรองทีไ่พเราะ โดยเนนความสนกุสนานเพลดิเพลนิจากการรวมกจิกรรมทางภาษา

เพื่อใหมีความสามารถในการลําดับเหตุการณ วิพากษวิจารณ และสรุปความ มีทักษะในการพูดประเภทตาง ๆ พูดสื่อความไดชัดเจนถูกตอง คลองแคลวและมีวิจารณญาณ ใชคําพูดไดถูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล กลาพูด และสามารถใชคําพูดในการติดตอส่ือสารดาน มนุษยสัมพันธและธุระการงานได มีความชื่นชมตอภาษาไทย มีมารยาทและบุคลิกภาพที่ดีและใชทักษะในการพูดเพื่อความบันเทิงตาง ๆ

3. การอานฝกปฏิบัติตนใหถูกตองในการอาน และฝกจนเปนนิสัย รวมทั้งการใชพจนานุกรม

และหองสมุดในการเพิ่มพูนความรูฝกอานออกเสียงคํา วลี ประโยค และขอความตามทีก่าํหนดใหตามหลกัเกณฑการอาน

เกี่ยวกับคําสุภาพ คําราชาศัพท สํานวนภาษา ภาษิต คําพังเพย คําคม คําขวัญ คติพจนเครื่องหมายวรรคตอน อักษรยอ เครื่องหมายและสัญลักษณที่ใชในการอาน แผนที่ แผนผัง กราฟและสถิติ การอานบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะ โดยเนนการอานไดคลองแคลว รวดเร็ว ถูกตองตามอักขรวิธี มีวรรคตอน ใชน้ําเสียงไดเหมาะสมกับเรื่องที่อาน

ฝกอานออกเสียงและอานในใจเรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรม สถานที่สําคัญของทองถ่ินหรือของชาติ ชีวประวัติของบุคคลในทองถ่ินและชาติ แนวคิดในการประกอบอาชีพ แนวคิดใน

Page 26: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

17

การพัฒนาตนเอง เศรษฐกิจและสังคม นิทาน นิยายและเรื่องสั้นสําหรับเด็ก บทรอยกรองเรื่องจาก วรรณคดี สารคดีเชิงความรูและความบันเทิง บทความ ความเรียง ประกาศ โฆษณา คําชี้แจง คําแนะนํา แผนที่ แผนภูมิ และกราฟที่ประกอบบทความหรือเร่ืองราวที่นํามาอาน สารานุกรมสําหรับเด็ก หนังสือพิมพ นิตยสารและวารสารจากหองสมุด โดยเนนการอานไดรวดเร็วตามเวลาที่กําหนด อภิปรายซักถามเกี่ยวกับรายละเอียด ความคิดเห็นและใจความสําคัญ สรุปหลักการ เจตนารมณ และนัยของขอความและเรื่องที่อาน

เพื่อใหมีความรูเกี่ยวกับหลักเกณฑในการอาน มีทักษะในการอานในใจ และการอานออกเสียงไดถูกตอง คลองแคลวรวดเร็ว สามารถถายทอดอารมณความรูสึกจากเรื่องราวที่อานได สามารถจับใจความสําคัญ คิดเชิงวิจารณ และวิเคราะหใจความสําคัญ ปฏิบัติตนจนเปนนิสัยที่ดีในการอานหนังสือ การใชพจนานุกรม การเลือกการใช การเก็บรักษาหนังสือและการใชหองสมุด ในการแสวงหาความรูเพิ่มเติมและหาความเพลิดเพลินในยามวางและรักการอาน

4. การเขียนฝกคัดลายมือ และเขียนคํา วลี ประโยค ขอความตามที่กําหนดใหฝกเขียนคํา วลี ประโยค และขอความใหถูกตองตามหลักเกณฑทางภาษา

เครื่องหมายตางๆ อักษรยอ การเลือกใชถอยคําใหถูกตองตามความหมาย การเขยีนประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม ประโยคขอรอง ประโยคคําส่ัง ประโยคแสดงความตองการ การใชคําตามหนาที่ในประโยค การใชคําเชื่อมประโยค การเวนวรรคตอน ยอหนาและการใชคําราชาศัพท

อภิปรายซักถามเกี่ยวกับโครงเรื่อง ลําดับเหตุการณใจความสําคัญของเรื่องที่เขียน และฝกเขียนตามความคิดของตนเองอยางเสรีและสรางสรรค

ฝกเขียนตามคําบอก เขียนเลาเรื่อง รายงาน ตั้งคําถาม ตอบคําถาม บันทึกความรูจากการอานและการฟง บันทึกเหตุการณประจําวัน การเขียนสรุปความ การเขียนแผนที่และแผนผัง อยางงาย การเขียนคําแนะนําส่ังสอน คําตักเตือน คําอธิบาย ความคิดเห็นประกอบเหตุผล คําวิพากษวิจารณเร่ืองจากการฟงและการอาน เขียนจดหมาย เขียนยอความ เขียนกรอกแบบรายการตาง ๆ บัตรเชิญ บัตรอวยพร เขียนโฆษณาสินคา หรือโฆษณาเชิญชวน เขียนตอบคําถาม หรือยอเร่ืองจากวรรณคดีที่อาน เขียนเร่ืองจากจินตนาการ คําขวัญ คติพจน คําสัมผัสคลองจอง เขียน บทรอยกรองงาย ๆ คัดลอกขอความที่มีคติสอนใจหรือสํานวนภาษาที่ดีจากเรื่องที่อานและเขียนเร่ืองประกอบภาพ

Page 27: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

18

ฝกปฏิบัติตนใหถูกตองตามขอปฏิบัติและหลักเกณฑในการเขียน และใชการเขียนเพื่อเพิ่มพูนความรู

เพื่อใหมีทักษะในการเขียน เขียนไดถูกตองรวดเร็ว เปนระเบียบสวยงาม และ ส่ือความได เขียนอยางมีรูปแบบได สามารถคิดลําดับเหตุการณเกี่ยวกับเรื่องที่เขียน เขียนแสดงความรูสึกนึกคิดอยางเสรีและเขียนเชิงสรางสรรคได มีนิสัยที่ดีในการเขียน รักการเขียน และนํา การเขียนไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได

กิจกรรมกลุมทักษะภาษาไทยในชัน้ประถมศกึษาปที ่5 – 6 มกีจิกรรมทีค่วรเนนดงันี ้ (กระทรวงศกึษาธกิาร , กรมวชิาการ 2534

: 10 – 12)1. มารยาทในการฟง เนนการปฏิบัติตนไดถูกตอง ตามมารยาทของสังคมในโอกาส

ตาง ๆ จนสามารถแสดงออกเปนนิสัยสวนตัว2. มารยาทในการพูด ใหเนนประโยชนและความจําเปนของการมีมารยาทในการพูด

โดยฝกใหใชคําสุภาพ ใชคําพูดไดเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล การสงเสริมบุคลิกภาพการพูดทั้งทางรางกายและจิตใจ

3. การอภิปราย ใหฝกอภิปรายกลุมยอยและอภิปรายเปนคณะ4. รวมดําเนินการใชทักษะการพูด หมายถึงใหสามารถจัดการได และพูดประเภทนั้น ๆ

ได เชน การโตวาที สามารถรวมมือจัดใหมีการโตวาทีไดถูกตองตามแบบ และพูดโตวาทีได เปนตน

5. ขอปฏิบัติตนในการอาน การใช และการเก็บรักษาหนังสือ ฝกการวางทาทางใน การอาน การจับหนังสือ เปด – ปด และการพลิกหนังสือที่ถูกวิธี ฝกการใชสารบัญ เนนการใชและการเก็บรักษาและการซอมหนังสือ

6. การใชหองสมุด ฝกมารยาทในการใชหองสมุดการจัดหนังสือ และการรูจักเลขหมูหนังสือ และฝกใหรูขอมูลตาง ๆ ที่มีในหองสมุด

7. ขอปฏิบัติในการเขียน ฝกวางทาทางในการนั่งเขียน การจับดินสอ การวางสมุด วางมือ และเคลื่อนไหวมือในการเขียนไดถูกวิธี เนนการปฏิบัติและแกไขขอบกพรองอยูเสมอ

8. หลักเกณฑในการเขียน ฝกวิธีเขียนพยัญชนะ สระ และวรรณยุกตใหถูกตอง การวางตําแหนงตัวอักษรใหถูกที่ การเวนชองไฟ ใหพองาม ฝกเขียนตัวหนังสือไทยใหมีหัว หัวไมบอด ตัวอักษรใหโตเสมอกัน เปนระเบียบและสวยงาม ใหฝกปฏิบัติและกวดขันการเขียนใหถูกตองตามหลักเกณฑจนเปนนิสัย

Page 28: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

19

9. นิสัยการเขียนที่ดี ปลูกฝงนิสัยการเขียนที่ดี โดยใหเขียนในที่ที่เหมาะสม ไมขีดเขียนตามฝาผนัง โตะ มานั่ง ฝกเขียนใหอานงาย สะอาด รูจักขีดเสนคั่นหนา ทํางานเปนระเบียบเรียบรอยและรวดเร็ว

10. การคัดลายมือ เนนการคัดตัวหวัดแกมบรรจง11. การประสมอักษร ฝกการเขียนประสมคําดวยพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต เปน

คําที่ไมมีตัวสะกด มีตัวสะกดตามมาตราตาง ๆ คําที่ไมตรงตามมาตรา และคําที่มีการันต12. การเขียนเพื่อเพิ่มพูนความรู เชน การจดบันทึกความรูหรือเร่ืองราวตาง ๆ การทํา

สมุดคําศัพท การทําบัญชีการเปรียบเทียบคําพื้นฐานกับคําภาษาอื่น เพื่อชวยเพิ่มพูนทักษะและความเขาใจการอาน

13. การใชพจนานุกรม ฝกวิธีใชพจนานุกรมใหถูกตองและรวดเร็ว และฝกนิสัยใหใชเปนประจําในการตรวจสอบความถูกตองของการเขียน การอาน ความหมาย และการใชคํา

14. หลักเกณฑทางภาษา ฝกการใชภาษาจนผูเรียนสามารถจับหลักเกณฑทางภาษาได

2. หลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544กําหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรูเปนเกณฑในการกําหนดคุณภาพของผูเรียนเมื่อจบ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2544 ค : 12)สาระและมาตรฐานการเรียนรูสาระที่ 1 : การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 : ใชกระบวนการอานสรางความรู และความคิดไปใชตัดสินใจ แกปญหา และสรางวิสัยทัศนในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน

สาระที่ 2 : การเขียนมาตรฐาน ท 2.1 : ใชกระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ

และเขียนเร่ืองราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศ และรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ

สาระที่ 3 : การฟง การดู และการพูดมาตรฐาน ท 3.1 : สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู

ความคิด ความรูสึกในโอกาสตาง ๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรคสาระที่ 4 : หลักการใชภาษา

มาตรฐาน ท 4.1 : เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

Page 29: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

20

มาตรฐาน ท 4.2 : สามารถใชภาษาแสวงหาความรู เสริมสรางลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมอาชีพ สังคมและชีวิตประจําวัน

สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรมมาตรฐาน ท 5.1 : เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม

ไทยอยางเห็นคุณคา และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

คุณภาพของผูเรียนเมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยแลว ผูเรียนตองมี

ความรู ความสามารถ ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2544 ก : 10)1. สามารถใชภาษาสื่อสารไดอยางดี2. สามารถอาน เขียน ฟง ดู และพูดไดอยางมีประสิทธิภาพ3. มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีเหตุผล และคิดเปนระบบ4. มีนิสัยรักการอาน การเขียน การแสวงหาความรู และใชภาษาในการพัฒนาตน

และสรางสรรคงานอาชีพ5. ตระหนักในวัฒนธรรมการใชภาษาและความเปนไทย ภูมิใจและชื่นชมในวรรณคดี

และวรรณกรรมซึ่งเปนภูมิปญญาของคนไทย6. สามารถนําทักษะทางภาษามาประยุกตใชในชีวิตจริงไดอยางมีประสิทธิภาพ

และถูกตองตามสถานการณและบุคคล7. มีมนุษยสัมพันธที่ดี และสรางความสามัคคีในความเปนชาติไทย8. มีคุณธรรม จริยธรรม วิสัยทัศน โลกทัศนที่กวางไกลและลึกซึ้งนอกจากนี้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ไดกําหนดสาระการเรียนรู

ภาษาไทยที่เกี่ยวของกับหลักภาษาไทยในชวงชั้นที่ 2 ดังนี้คือ ( กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ2544 ก : 11 – 13)

1. มาตรฐานการเรียนรูชวงชั้นที่ 2 (ป.4 – 6) สาระที่ 4 : หลักการใชภาษา

มาตรฐาน ท 4.1 : เขาใจธรรมชาตขิองภาษาและหลกัภาษาไทย การเปลีย่นแปลงของภาษาและพลงัของภาษา ภูมิปญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

1. สามารถสะกดคําในวงคําศัพทที่กวางและยากขึ้น อานและเขียนคําไดถูกตองคลองแคลว

Page 30: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

21

2. สามารถใชคํา กลุมคําตามชนิดและหนาที่มาเรียบเรียงเปนประโยค ใชประโยคสื่อสารไดชัดเจน รูจักใชคําที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย

3. สามารถใชภาษาในการสนทนา เชื้อเชิญ ชักชวน ปฏิเสธ ช้ีแจง ดวยถอยคําสุภาพและใชคําราชาศัพทไดถูกตอง รูจักคิดไตรตรองกอนพูดและเขียน

4. เขาใจลักษณะของคําไทย คําภาษาถิ่น คําภาษาตางประเทศที่ปรากฏในภาษาไทย ซ่ึงทําใหมีคําใชมากขึ้น

5. สามารถแตงบทรอยกรองประเภทกาพยและกลอน โดยแสดงความคิดเชิง สรางสรรค

6. สามารถเลานิทานพื้นบาน และตํานานพื้นบานในทองถ่ินอยางเห็นคุณคามาตรฐาน ท 4.2 : สามารถใชภาษาแสวงหาความรู เสรมิสรางลกัษณะนสัิย บคุลิกภาพ

และความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และชีวิตประจําวัน1. สามารถใชทักษะทางภาษาเปนเครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู

และ การดํารงชีวิต และการอยูรวมกันในสังคม และใชเทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาความรู2. เขาใจระดับของภาษา ลักษณะของภาษาพูดและภาษาเขียน ใชภาษาได

ถูกตองเหมาะกับบุคคลและสถานการณ ใชภาษาในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ ในการพัฒนาความรู เห็นคุณคาการใชเลขไทย

3. ใชภาษาอยางถูกตอง มีคุณธรรม โดยการพูดและเขียนตามความเปนจริงและเหมาะแกสถานการณ ไมสรางความเสียหายแกผูอ่ืน ใชภาษาอยางสรางสรรคเปนประโยชนตอ สวนรวม และสรางความสามัคคีสอดคลองกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เขาใจการใชภาษาของกลุมบุคคลในชุมชน 2. สาระการเรียนรูแกนกลางตามที่กรมวิชาการกําหนดในชั้นประถมศึกษาปที่ 6 สาระที่ 4 หลักการใชภาษาคือ (กระทรวงศึกษาธิการ , กรมวิชาการ 2544 ค : 46 – 47)

2.1 การอานและเขียนสะกดคําที่เปนวงคําศัพทที่ยากขึ้น ทั้งคําที่มาจากสื่อมวลชน และคําที่มาจากกลุมสาระการเรียนรูอ่ืนไดถูกตองคลองแคลว และแมนยํา

2.2 การใชคําและกลุมคําตามชนิดและหนาที่ เรียบเรียงเปนประโยคไดถูกตอง2.3 หลักการใชประโยค2.4 การรูจักใชคําที่มีความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัยในการสื่อสาร2.5 การใชคําราชาศัพทที่เปนคํานามราชาศัพท คําสรรพนามราชาศัพท และ

คํากรยิาราชาศัพทที่ใชแกพระมหากษัตริย พระราชวงศ พระสงฆและคําสุภาพ ทั้งการพูดและ การเขียน

Page 31: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

22

2.6 ลักษณะคําไทย และคําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย2.7 หลักการแตงคําคลองจองและคําประพันธ2.8 การใชทักษะทางภาษาเปนเครื่องมือการเรียน การแสวงหาความรู เสริมสราง

ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ การดํารงชีวิตและการอยูรวมกันในสังคม2.9 การใชทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีการสื่อสารพัฒนาความรู2.10 การใชพจนานุกรมในการอาน การเขียน และคนหาความหมายของคํา2.11 การใชภาษาในการพูดและการเขียน เหมาะแกบุคคลและสถานการณตามระดับ

ของภาษาอยางสรางสรรค สอดคลองกับวัฒนธรรม และเปนประโยชนตอสวนรวม2.12 การเขาใจการใชภาษาของกลุมบุคคลในชุมชน

3. ผังมโนทัศนสาระการเรียนรูภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปที่ 6

Page 32: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

23

แผนภูมิที่ 2 ผังมโนทัศนและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยที่มา : กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ, ผังมโนทัศนและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภา ลาดพราว, 2546), 11.

ภาษาไทย ป. ๖

คุณธรรม จริยธรรมคานิยม

วรรณคดีและวรรณกรรม

การอาน

การเขียน

การอานออกเสียง

ทักษะการอานในใจ

หลักการอาน หลักเกณฑและทักษะ

การฟง การดูและการพูด

หลักการใชภาษา

- การอานรอยแกวและรอยกรอง- การอานทํานองเสนาะ- การทองบทอาขยานและนําไปใชอางอิง

- การอานโวหารการบรรยาย การพรรณนา การเปรียบเทียบ การจับใจความ แยกขอเท็จจริงขอคิดเห็น วิเคราะหความ สรุปความ

- การใชบริบทในการอานและเขาใจความหมายของคํา ประโยค ขอความ

- การเขียนสะกดคําและการเขียนตามคําบอก- การคัดลายมือ และเขียนหัดแกมบรรจง- การเขียนเรียงความ ยอความเรื่องจาก

จินตนาการและเรื่องท่ีสัมพันธกับชีวิตจริง- การเขียนรายงานและเขียนชี้แจงการปฏิบัติ

งาน- การเขียนจดหมายกิจธุระ- การกรอกรายการ- การใชเลขไทย

- มารยาทและนิสัยรักการเขียน

- นิทาน ตํานาน- เร่ืองสั้น- สารคดี บทความ- บทละคร บทรอยกรอง- การรวบรวมนิทานพื้นบาน- หลักการพิจารณาหนังสือ- การนําความรูจากการอานไปใชประโยชนใน

การตัดสินใจ คาดการณ แกปญหาและพัฒนาตน

- การใชคํา กลุมคํา ตามชนิดและหนาท่ีเรียบเรียงเปนประโยค

- หลักการใชประโยค- การใชคําท่ีมีความหมายโดยตรงและ

โดยนัย- การใชพจนานุกรม- คําราชาศัพทและคําสุภาพ- คําภาษาตางประเทศในภาษาไทย- การแตงคําประพันธ- การใชภาษาพูดและภาษาเขียน- การใชภาษาของกลุมบุคคลในสังคม

และคําในกลุมสาระการเรียนรูอ่ืน

- หลักเกณฑการฟง การดูและการพูด

- การจับใจความ แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นการวิเคราะห การสรุปความเรื่องท่ีฟงและดู

- การเขาใจจุดประสงคของเรื่องและของผูพูดเขาใจถอยคํา น้ําเสียงกิริยาทาทางของผูพูด

- การพูดรายงาน การพูดวิเคราะห การตั้งขอสังเกตเปรียบเทียบกับชีวิตจริง

- การสนทนา โตตอบ

- มารยาทการฟง การดู การพูด

- การอานคําท่ีมีตัวการันต อักษรควบอักษรนํา การผันวรรณยุกต

- การอานอักษรยอ เครื่องหมายวรรคตอน- การแนะนําหนังสือ

- มารยาทและนิสัยรักการอาน- การเลือกอานหนังสือและสื่ออิเล็กทรอนิกส

คุณธรรม จริยธรรมคานิยม

หลักเกณฑและทักษะ

คุณธรรม จริยธรรมคานิยม

Page 33: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

24

ประโยค

ความหมายของประโยคพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525( 2538 : 509) ใหความหมายคําวา

ประโยควา “ประโยค คือ คําพูดหรือขอความที่ไดความบริบูรณตอนหนึ่ง ๆ เชน ประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ ประโยคคําถาม”

เปรมจิต ชนะวงศ (2538 : 246 – 248) ไดใหความหมายของประโยควา ประโยค หมายถึงถอยคําที่เรียงกันอยูอยางเปนระบบตามกฎเกณฑทางไวยากรณและมีเนื้อหาสมบูรณวา ใครทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทําไม อยางไร ประโยคจึงประกอบดวยภาคประธานและภาคแสดง ภาคประธานประกอบดวยประธานและ/หรือสวนขยาย ภาคแสดงประกอบดวย กริยาและ/หรือกรรมหรือสวนขยายดังนี้

ภาคประธาน ภาคแสดงฉันใครนองคนเล็กของเธอคนนั่งแถวหนานักศึกษาปสุดทาย

กําลังเขียนหนังสือกวาดขยะละมีเสื้อผาสวย ๆ หลายชุดเปนลูกอาจารยใหญกําลังเตรียมออกคายอาสาพัฒนา

และหากแจกแจงใหละเอียดไปถึงสวนประกอบของประโยคแตละสวนจะเปนดังนี้

ภาคประธาน ภาคแสดงประธาน ขยาย กริยา ขยาย กรรม ขยายฉันใครนองคนนักศึกษา

--

คนเล็กของเธอนั่งแถวหนาปสุดทาย

กําลังเขียนกวาดมีเปนกําลังเตรียมออก

-ละหลายชุดลูกอาจารย

-

หนังสือขยะเสื้อผา

-คาย

--

สวย ๆ-

อาสาพัฒนา

Page 34: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

25

สุธิวงศ พงศไพบูลย ( 2543 : 128 ) ไดกลาวถึงประโยควา ประโยคอยางนอยที่สุดและงายที่สุดอาจจะมีเพียงประธานและกริยา สวนประโยคที่ซับซอนที่สุดอาจจะมีคํามาขยายทั้งประธาน กริยา และกรรม และถามีคํามาขยายทั้งสามสวนก็จะวางลําดับดังนี้คือ ประธาน, ขยายประธาน, กริยา, กรรม, ขยายกรรม, ขยายกริยา เชน

ประธาน ขยายประธาน กริยา กรรม ขยายกรรม ขยายกริยาแมวนางคําเจิด

ขาวตัวโตคนใชสาวเครือฟา

กัดไล

หนูนางจําปา

ตัวเล็กภรรยานอยหลวงณรงค

ตายออกจากบาน

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544 ข : 43 – 44) ไดใหความหมายของประโยควา ประโยค คือ ถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ แตละประโยคจะมี 2 ภาค คือ ภาคประธานและภาคแสดง

1. ภาคประธาน ไดแก สวนที่ผูกลาวอางถึงขึ้นกอน เพื่อใหรูวาเปนสวนสําคัญของ ขอความ วาเปนใคร หรือส่ิงใด มักเปนคํานามหรือสรรพนาม แบงเปน 2 สวน คือ บทประธาน และบทขยายประธาน

2. ภาคแสดง ไดแก สวนที่แสดงอาการของภาคประธานใหไดความครบถวนวา แสดงอาการอยางไร แบงเปน 4 สวน คือ บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรม บทขยายกรรม

กําชัย ทองหลอ (2545 : 367) ใหความหมายของประโยควา ประโยค คือ กลุมคําที่มีความเกี่ยวของกันเปนระเบียบ และมีเนื้อความครบสมบูรณ โดยปกติประโยคจะตองมีบทประธาน และบทกริยาเปนสําคัญ แตถาใชสกรรมกริยา จะตองมีบทกรรมมารับ ถาใชวิกตรรถกริยาจะตองมีบทขยาย จึงจะไดความสมบูรณ บทขยายนั้นจะเปนคํา วลี หรือประโยคก็ได ถาใชอกรรมกริยา ไมตองมีกรรมมารับ เพราะไดความสมบูรณอยูแลว แตจะมีบทขยายใหความชัดเจนขึ้นอีกก็ได เชน

1. นก บิน (ใชอกรรมกริยา) 2. คน เดิน ที่ถนน (ใชอกรรมกริยา)

3. เด็ก อาน หนังสือ (ใชสกรรมกริยา) 4. ทหาร ถือ ปน (ใชสกรรมกริยา) 5. เขา เปน พอคา (ใชวิกตรรถกริยา) 6. หลอน เปน คนชอบทํางาน (ใชวิกตรรถกริยา)

Page 35: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

26

พระยาอุปกิตศิลปสาร (2546 : 192 – 193) ไดใหความหมายของประโยควา ประโยค คือ ถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ ประโยคหนึ่ง ๆ แบงออกเปนสองภาคดังนี้

1. ภาคประธาน หมายความวาสวนที่ผูกลาวอางขึ้นกอน เพื่อใหผูฟงรูวาอะไรเปนขอสําคัญของขอความ ภาคนี้โดยมากมักเปนคํานามหรือสรรพนามเปนสวนใหญ ซ่ึงผูพูดและ ผูเขียนกลาว ขึ้นกอน เชน ตาสี บาน ฉัน เขา เปนตน ซ่ึงทราบไดแตเพียงวาเปนใคร หรืออะไรเทานั้น

2. ภาคแสดง หมายถึงคําที่แสดงอาการของภาคประธานใหไดความครบวา แสดงอาการอยางนั้นอยางนี้ เชน ตาสี – นอน บาน – งาม ฉัน – กินขาว เขา – เปนนายอําเภอ ฯลฯ ภาคที่อยูทายประธาน เชนคํา นอน งาม กินขาว เปนนายอําเภอ นี้เรียกวา ภาคแสดง ขอความใด ๆ ถามีความหมายครบ 2 ภาคบริบูรณเชนนี้แลว ก็ไดช่ือวา ประโยค

จากการศึกษาความหมายของประโยคดังกลาว สรุปไดวา ประโยค คือ การนําคํามาเรียงกันใหไดใจความสมบูรณ วาใครทําอะไร ประกอบดวย 2 ภาค คือ ภาคประธานและภาคแสดง

ชนิดของประโยคกฤตวิทย ดวงสรอยทอง (2522 : 195 – 197) แบงชนิดของประโยคออกเปน 3 ชนิด

คือ1. เอกรรถประโยค (เอก+อรรถ+ประโยค) คือประโยคที่มีเนื้อความหนึ่งหรือมี

ความหมายเพียงอยางเดียว ตัวอยาง - เสือกินตามี - นกเขาชวาขันเพราะ

2. อเนกกรรถประโยค (อน+เอก+อรรถ+ประโยค) คือประโยคเอกรรถประโยคตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปมารวมกันเขาเปนประโยคเดียว โดยมีคําสันธานเปนตัวเชื่อม มี 4 ชนิดคือ

2.1 อันวยาเนกรรถประโยค คืออเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความคลอยตามกัน อันวย(อนุ+อย แปลวา ไปตามกัน) หมายความวาเอกรรถประโยคทุก ๆ ประโยคที่รวมกันเปนอเนกรรถประโยค มีเนื้อความคลอยตามกันทั้งส้ิน สังเกตไดจากคําสันธาน และ ก็ กับ (บางแหง) จึง เชื่อมอยูในระหวางประโยคบาง ปนอยูประโยคทายบาง ซ่ึงจําแนกเปนพวก ๆ ดังนี้

Page 36: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

27

2.1.1 มีเนื้อความตามกันตามเวลา ประโยคพวกนี้มักมีกริยานุเคราะห แลว หรือ คําวิเศษณ คร้ัน พอ เมื่อ ประกอบอยูในประโยคหนา เปนเครื่องชวยสันธาน เพื่อแสดงเวลาตอเนื่องกัน

ตัวอยาง - คร้ัน เขานอน แลวฝนก็ตก - พอ เขาหลับ แลวไมชา ฉันจึงไดไป

2.1.2 มีเนื้อความตามกันหรือรวมกันตามอาการ ไดแก อเนกรรถประโยครวมที่มีคํา และ เปนสันธาน เชนยายและตาทํานา

2.1.3 มีเนื้อความตามกันโดยสังเกตคําวิเศษณ ไดแก อเนกรรถประโยครวมที่ละสันธาน เชน ถา ถาวา ผิ ผิวา แม แมวา ฯลฯ รวมกันกับสันธาน และ ก็ หรือ โดยใชควบกันบาง คาบกันบาง เชน ถาฝนไมตก ฉันก็ไมไป คําสันธาน และ ที่ใชเชื่อมบทหลายบทนั้นไมไดเชื่อมทุกบท แตเราเชื่อมเพียงบทเดียวเทานั้น

2.2 พยติเรกาเนกรรถประโยค (วิ+อดิเรก) คือประโยคที่เอามาพวงเขานั้น ทําใหความมากขึ้นโดยผิดปรกติ มีคําสันธาน แต หรือสันธานประสมที่เกี่ยวกับคําแต เชน แตวา แตก็ แตทวา ฯลฯ เชน น้ําขึ้น แต ลมลง เขานอน แตทวา เขายังไมหลับหรือแตทวา ยังไมหลับ เขาอยากนอน แตเขา ก็นอนไมได

2.3 วิกัลปาเนกรรถประโยค ไดแก อเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความกําหนดขอใดขอหนึ่ง หรือเลือกเอาขอใดขอหนึ่ง ประโยคชนิดนี้มีสันธาน หรือ เชื่อมอยูในระหวางเปนพื้นและบางทีก็ใชคําวิเศษณวลีบอกความปฏิเสธ เชน ไมเชนนั้น ไมอยางนั้น มิเชนนั้น มิฉะนั้น ฯลฯ เขามาชวยประกอบบาง บางทีก็ละสันธาน หรือ ที่เปนบทเชื่อมสําคัญออกเสียงบาง เชน

- วิกัลปาเนกรรถประโยคธรรมดา เชน นาย ก มา หรือ นาย ข มา- วิกัลปาเนกรรถประโยครวม เชน นาย ก หรือ นาย ข มา- ใชบทวิเศษณวลีประติเสธ กับ ก็ เชน นาย ก หรือไมเชนนัน้ ก ็ นาย ข มา- ละ สันธาน หรือ ออกเสียง เชน นาย ก ไมเชนนั้นก็นาย ข เปน

คนราย2 .4 เหตวาเนกรรถประโยค ( เหตุ+อน+ เอก+อรรถ+ประโยค ) ไดแก

อเนกรรถประโยคที่เกี่ยวกับเหตุ ซ่ึงมีลักษณะคลายกันอันวยาเนกรรถประโยค ในขอที่วามีเนื้อความคลอยตามกัน ตางกันก็แตเหตุวา เนยกรรถประโยคนี้มีเนื้อความตามกันในทางเปนเหตุผลแกกัน กลาวคือประโยคหนาเปนเหตุ

Page 37: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

28

3. สังกรประโยค คือประโยคซึ่งมีประโยคอื่นมาปรุงแตง คือเอาประโยคซึ่งเปนเอกรรถประโยคดวยกันมาแตงสวนใดสวนหนึ่งของประโยคหนา หรือมาเปนสวนใดสวนหนึ่งของประโยค ถาเอกรรถประโยคนั้นมาทําหนาที่แทนนาม ก็เรียกวา นามานุประโยค ถามาทําหนาที่วิเศษณขยายกริยาหรือวิเศษณเรียกวา วิเศษณานุประโยค เอกรรถประโยคใหญซ่ึงเปนประโยคที่มีเนื้อความสําคัญเรียกวา มุขยประโยค สวนเอกรรถประโยคซึ่งแทรกแซงเขามาเปนสวนใดสวนหนึ่งของมุขยประโยค เรียกวา อนุประโยค อนุประโยค แบงออกเปน 3 ชนิดคือ

3.1 นามานุประโยค คือ อนุประโยคที่ทําหนาที่แทนนาม คือเปนบทประธาน บทกรรมและบทวิกัติการกขยายนาม ดังตัวอยาง

- เปนบทประธาน เชน เธอขยันเชนนี้ ยอมเจริญ- เปนบทกรรม เชน ฉันใหเขากินสมเกล้ียง- เปนบทวิกัติการก เชน หลักฐานวาโลกกลมมีมาก

3.2 คุณานุประโยค คือ อนุประโยคซึ่งทําหนาที่แทนบทวิเศษณ เพื่อประกอบนามหรือสรรพนาม ในมุขยประโยค โดยมีประพันธสรรพนาม ที่ ซ่ึง อัน เปนบทเชื่อม เชน

- ชีวิตที่ลวงไป เหมือนเข็มนาฬิกา - บุคคลอันมีจิตสงบแลว มีสุขในโลก1.3 วิเศษณานุประโยค คือ อนุประโยคซึ่งทําหนาที่เปนวิเศษณสําหรับขยายกริยา

หรือขยายวิเศษณอันเปนสวนหนึ่งของมุขยประโยค เชน - เขามาหาเมื่อฉันไมอยู - หมองูตายเพราะงูกัด

ประภาศรี สีหอําไพ และคณะ (2534 : 292-296) กลาววา ประโยคในภาษาไทยมีหลายแบบ อาจจะแบงตามรูปประโยค ตามความหมาย หรือตามสวนประกอบของประโยค การแบง แตละแบบก็แตกตางกันไปดังนี้

1. แบงตามรูปประโยค โดยเนนความสําคัญของบทที่ขึ้นตนมี 4 ชนิดดวยกันคือ ก. ประโยคกรรตุ คือประโยคที่เอากรรตุการก (ผูกระทํา) ขึน้เปนประธานไวขางหนา เชน แมรักลูก รถแลนเร็ว

ข. ประโยคกรรม คือ ประโยคที่เอากรรมการก (ผูถูกกระทํา) ขึ้นเปนประธานไวขางหนา เชน ขนมนี้กินอรอย แหวนของฉันถูกขโมยไปแลว

Page 38: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

29

ค. ประโยคกริยา คือประโยคที่ผูพูดตองการเนนกริยา จึงเอาคํากริยาไวตนประโยคแลวเอาบทประธานไวขางหลัง คาํกรยิาทีใ่ชเรียงไวตน ประโยคนีม้เีฉพาะกรยิาทีม่คีวามหมายวา เกิด มี ปรากฏ เชน เกิดไฟไหมที่โรงกล่ันน้ํามัน มีกับขาวหลายอยางวันนี้ ปรากฏเหตุการณประหลาดในบานหลังนั้น

ง. ประโยคการิต คือประโยคที่มีผูรับใชซ่ึงเรียกวา การิตการก แทรกเขามา เชน แมใหนองทําขนม นองถูกแมใหทําขนม

2. แบงตามเนื้อความในประโยค มี 5 ชนิดคือก. ประโยคบอกเลา คือประโยคที่มีใจความอยางใดอยางหนึ่งเปนกลาง ๆ ไมเปน

คําถาม ไมเปนปฏิเสธ ไมเปนคําส่ังหรือคําขอรอง เชน ประโยคในตัวอยางในขอหนึ่งทั้งหมดข. ประโยคคําถาม คือประโยคที่มีใจความเปนคําถาม ซ่ึงจะมีคําที่แสดงคําถาม

ประกอบอยูดวย ไดแก คําปฤจฉาสรรพนาม และปฤจฉาวิเศษณ มีคําวา ใคร อะไร ไหน ใด ทําไม อยางไร เหตุใด และคําสันธาน หรือ เชน ใครทําหนังสือขาด เธอมีความคิดอยางไร เธอจะไปเที่ยวหรือ

ค. ประโยคปฏิเสธ คือ ประโยคที่มีใจความปฏิเสธหรือไมตอบรับ ซ่ึงจะมีคําวิเศษณที่แสดงความปฏิเสธประกอบอยูดวย ไดแกคําวา ไม หามิได หาไม บ บ เปลา เชน ฉันไมเคยมาที่นี่ หามิไดขาพเจาไมไดรับของไว

ง. ประโยคคําสั่ง คือประโยคกรรตุอาจจะละบทประธานหรือบทกริยาไวในฐานที่เขาใจ บทประธานที่ละไว มักจะเปนสรรพนามบุรุษที่ 1 หรือ 2 เชน (เธอ)ยืนขึ้น (เรา)หามเดินลัดสนาม (ทาน)จงระวังคนลวงประเปา (แดง)เงียบเดี๋ยวนี้

จ. ประโยคขอรอง ชักชวน คือประโยคกรรตุที่มีใจความเชิงขอรอง ชักชวน อาจจะละบทประธานไวในฐานที่เขาใจ และมักจะมีคําลงทาย เชน ซิ เถอะ นา หนอย หรือมีคํานําประโยค เชน โปรด วาน ชวย กรุณา เชน ไปดวยกันเถอะ โปรดเขาขางใน ชวยหยิบใหหนอยซิ

3. แบงตามสวนประกอบของประโยค มี 3 ชนิดก. เอกรรถประโยค คือประโยคสามัญที่มีใจความเพียงอยางเดียว มีบทประธานบท

เดียวและมีบทกริยาบทเดียว เชน เรากําลังเรียนวิชาภาษาไทยข. อเนกรรถประโยค คือประโยคที่มีใจความหลายอยาง ไดแก เอกรรถประโยค

ตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปเรียงกัน และมีสันธานเชื่อม ลักษณะของรูปประโยคจะมี 2 ลักษณะ คือ1) รวมประธานและภาคแสดง ตัวอยาง เชน ฉันไปเที่ยว นองไปเที่ยว

ฉันไปเที่ยวและนองไปเที่ยว ฉันและนองไปเที่ยว

Page 39: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

30

2) รวมภาคแสดง ละประธาน ตัวอยาง เชน แมกินขาว แมปอนขาวนอง แมกินขาวและแมปอนขาวนอง แมกินขาวและปอนขาวนอง

อเนกรรถประโยคแบงเปนชนิดตาง ๆ ตามชนิดของสันธาน 4 ชนิดคือ1) อเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความคลอยตามกัน 2) อเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความขัดแยงกัน 3) กรรถประโยคที่มีเนื้อความเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง 4) อเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความเปนเหตุเปนผล (เหตุตองมากอนผล)

ค. สังกรประโยค คือประโยครวมที่มีเอกรรถประโยคประโยคหนึ่งเปนหลัก และเอกรรถประโยคอีกประโยคหนึ่งทําหนาที่เปนสวนใดสวนหนึ่งของเอกรรถประโยคหลัก ประโยคที่เปนประโยคหลัก เรียกวา มุขยประโยค และประโยคที่เปนสวนประกอบเรียกวา อนุประโยค สังกรประโยคแบงออกเปน 3 ชนิด คือ

1) สังกรประโยคที่มีนามานุประโยคเปนสวนประกอบ นามานุประโยคคือ อนุประโยคที่ทําหนาที่แทนนาม สรรพนาม หรือกริยาสภาวมาลา เชน

- เด็กไทยคือหัวใจของชาติเปนคําขวัญวันเด็ก - ฉันไมชอบคนใสเสื้อสีแดง2) สังกรประโยคที่มีคุณานุประโยคเปนสวนประกอบ คุณานุประโยคคือ

ประโยคที่ทําหนาที่แทนคําวิเศษณ สําหรับประกอบนามหรือสรรพนาม มีประพันธสรรพนาม ที่ ซ่ึง อัน เปนบทเชื่อม เชน

- อาหารท่ีมีสีสวย ๆ อาจเปนอันตรายได- ฉันไมชอบคนท่ีใสเสื้อสีแดง

3) สังกรประโยคที่มีวิเศษณานุประโยคเปนสวนประกอบ วิเศษณานุประโยคคืออนุประโยคที่ทําหนาที่เปนวิเศษณประกอบกริยา หรือคําวิเศษณดวยกัน และมีคํา เมื่อ จน เพราะ ฯลฯ เปนบทเชื่อม เชน

- เขามาเม่ือเธอหลับ - เขาพูดเร็วจนฉันฟงไมทัน - ชาวนาเดือดรอนเพราะฝนไมตกตามฤดูกาล

สมถวิล วิเศษสมบัติ (2543 : 176 – 180) กลาววาชนิดของประโยคมี 3 ชนิด คือ1. ประโยคความเดียว (อเนกรรถประโยค) มีกริยาสําคัญเพียงตัวเดียว ใจความสําคัญ

เพียงหนึ่ง

Page 40: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

31

กาลใดก็ได - ตัวอยาง อดีตกาล อนาคตกาล ปจจุบันกาลบอกเลา - ตัวอยาง ผมจะไปพักผอนที่เชียงใหมปฏิเสธ - ตัวอยาง ลูกไมไดทําคําถาม - ตัวอยาง ใครมาหาฉันคําส่ัง - ตัวอยาง ไปทํามาใหดีที่สุด

2. ประโยคความรวม (อเนกรรถประโยค) แบงเปน 4 ชนิด เอกรรถ+เอกรรถ มีสันธานเชื่อม

2.1 ความคลอยตามกัน (อันวยาเนกรรถประโยค) สันธานเชื่อมมี และ กับคร้ัน …จึง คร้ัน …. แลว แลว …จึง เชน

- เมื่อ ส.ส. ทําหนาที่ครบ 4 ปแลวกรมการปกครองจึงใหมีการเลือกตั้งใหม- เธอและเขารักกันมาก

2.2 ความขัดแยงกัน (พยติเรกาเนกรรถประโยค) สันธานเชื่อมมี แต แตทวา กวา …ก็ กวา .. แต …ก็ เชน

- เขาเปนคนเรียนเกงแตทวาสอนคนอื่นไมได- กวาเธอจะไดรับจดหมายฉันก็จากไปไกลแลว

2.3 ความเลือกเอาอยางใดอยางหนึ่ง (วิกัลปาเนกรรถประโยค) สันธานเชื่อมมี หรือ มิฉะนั้น เชน

- คุณจะคุยกับฉันหรือนองกันแน- เธออาจจะเรียนตอมิฉะนั้นก็หางานทํา

2.4 ความเปนเหตุเปนผลกัน (เหตวาเนกรรถประโยค)

ขอสังเกต ถาสันธานเชื่อม หรือตําแหนงของประโยคตางจากกรอบขางบนนี้ก็ไมใชประโยคที่มีความเปนเหตุเปนผลกัน

ประโยคเหตุมาหนา ประโยคผลมาหลัง สันธาน จึง เชื่อมอาจมีคําวา เพราะ มาหนาประโยค ฉะนั้นมาหนาจริง

Page 41: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

32

ตัวอยาง- เขาไมออกกําลังกายจึงไมแข็งแรง - ความเปนเหตุเปนผล- เขาไมออกกําลังกายแลวเขาจึงไมแข็งแรง - ความคลอยตาม

3. ประโยคความซอน (สังกรประโยค) คือมุขยประโยค (เอกรรถประโยค)+อนุประโยคอนุประโยค แบงออกเปน 3 ชนิด คือ

1. นามานุประโยค วิธีสังเกตนามานุประโยคบทประธานและบทกรรม ใหหากริยาสําหรับประโยคมุขย(ประโยคใหญ) แลวสังเกตดูหนาและหลังกริยา ถาเปนผูกระทําและมีกริยาอีกตัวหนึ่งเปนกริยาของอนุประโยค ก็เปนนามานุประโยคบทประธาน ถาเปนผูถูกกระทําและมีกริยาเชนเดียวกัน ก็เปนนามานุประโยคบทกรรมตัวอยาง

- ตํารวจจับคนไมขามทางมาลาย เปนอนุประโยคนามาบทกรรม - แมคากําลังขายขนมตีลูก เปนอนุประโยคนามาบทประธาน2. คุณานุประโยค เปนอนุประโยคที่มีประพันธสรรพนาม ที่ ซ่ึง อัน อยูใน

ประโยค ตัวอยาง - ครูยอมรักนักเรียนที่มีความประพฤติเรียบรอย - สุนัขซ่ึงมีขนสีขาวคือสุนัขของฉัน - เขาอันเปนที่รักของพวกเราจากไปดีแลว3. วิเศษณานุประโยค (ประโยคเงื่อนไข) อนุประโยคประเภทนี้มักอยูขางทาย

ประโยค ตัวอยาง - บอกสถานที่ เชน มะพราวหลนตรงฉันนั่งทองหนังสือ - บอกเวลา เชน เพื่อนมาบานตอนฉันกําลังรับประทานอาหาร - บอกลักษณะ เชน นักเรียนทําขอสอบภาษาไทยไดดีตามครูสอน - บอกเปรียบเทียบ เทากัน เชน เขาวิ่งเร็วราวลมพัด - บอกเปรียบเทียบ ไมเทากัน เชน เด็กคนนี้สวยกวาพี่สาว - บอกเหตุ เชน เขาไมแข็งแรงเพราะเขาไมออกกําลังกาย

- บอกผล เชน เขาไมออกกําลังกายจนเปนคนไมแข็งแรงกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544 ข : 44 – 47) แบงประโยคเปน 3 ชนิด คือประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีความหมายอยางเดียว

Page 42: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

33

ตัวอยาง- ใครมา- แมไปตลาด- โครงกระดูกไดโนเสารมีขนาดใหญมากประโยคความรวม คือ ประโยคความเดียวตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยมี

สันธานเชื่อมประโยค เพื่อใหเนื้อความติดตอเปนประโยคเดียวกันตัวอยาง- ภาคเหนือฝนตกหนัก เปนประโยคความเดียว- ภาคอีสานฝนแลง เปนประโยคความเดียวภาคเหนือฝนตกหนักแตภาคอีสานแหงแลง เปนประโยคความรวม เชื่อมดวย

สันธาน แต เนื้อความขัดแยง- เธอจะเรียนคอมพิวเตอร เปนประโยคความเดียว- เธอจะเรียนดนตรี เปนประโยคความเดียวเธอจะเรียนคอมพิวเตอรหรือเธอจะเรียนดนตรี เปนประโยคความรวมเชื่อมดวยสันธาน

หรือ เนื้อความเลือกอยางใดอยางหนึ่ง- ฉันชอบเลนกีฬา เปนประโยคความเดียว- นองชอบเลนกีฬา เปนประโยคความเดียวฉันและนองชอบเลนกีฬา เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน และ เนื้อความ

คลอยตามกัน- เขาออกกําลังกาย เปนประโยคความเดียว- เขาแข็งแรง เปนประโยคความเดียวเพราะเขาออกกําลังกาย เขาจึงแข็งแรง เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน

เพราะ ……. จึง เนื้อความเปนเหตุผลกันประโยคความซอน คือ ประโยคใจความสําคัญเปนประโยคหลัก และมีประโยคยอย

แทรกเขามา เพื่อทําหนาที่เปนคํานามของประโยคหลัก หรือทําหนาที่ประกอบคํานาม หรือคํากริยา หรือคําวิเศษณ

ตัวอยาง- คนทํางานหนักยอมเปนคนมั่งมีคนทํางานหนัก เปนประโยคยอย ทําหนาที่เปนคํานาม และบทประธานของประโยคหลกั

Page 43: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

34

- เขาชวยเหลือเด็กตกน้ําในคลองเด็กตกน้ําในคลอง เปนประโยคยอย ทําหนาที่เปนคํานาม และบทกรรมของประโยคหลกั

- นักเรียนสัญญาวาเขาจะขยันเรียนเขาจะขยันเรียน เปนประโยคยอย ทําหนาที่เปนคํานาม ตามหลังคําวา “วา”

- เขานอนหลับเมื่อฉันมาหาเขาเขานอนหลับ เปนประโยคหลัก ฉันมาหาเขา เปนประโยคยอย เม่ือ เปนสันธานเชื่อม

- เขาเปนคนดีที่โลกไมลืมเขาเปนคนดี เปนประโยคยอย คนดีที่โลกไมลืม เปนประโยคหลัก ท่ี เปนบทเชื่อมกําชัย ทองหลอ (2545 : 374 – 382) แบงประโยคออกเปน 3 ชนิด คือ1. เอกรรถประโยค คือประโยคสามัญที่มีบทกริยาสําคัญเพียงบทเดียว และเปน

กระแสความเดียวที่มีความหมายครบบริบูรณ เชน- นกตัวใหญบินในทองฟา- เธอเห็นสุนัขดําตัวนั้นไหม

2. อเนกรรถประโยค คือประโยคใหญที่มีใจความสําคัญอยางนอย 2 ใจความรวมกันและใจความสําคัญนั้น ๆ จะตองมีลักษณะเปนประโยค โดยมีสันธานเปนบทเชื่อมหรือละสันธานไวในฐานเขาใจ เชน

- ฉันเปนพอคา แตเขาเปนกสิกร- ถึงเขาจะรอน เขาก็ถอดเสื้อไมได- เขาเปนชาวสวน และพี่เขาก็เปนชาวสวน- เพราะเขาขยัน เขาจึงหาเงินไดคลองตามตัวอยางนี้จะเห็นวา อเนกรรถประโยคจะตองประกอบดวยประโยคตั้งแต 2

ประโยคขึ้นไปรวมกัน ประโยคที่จะนํามารวมกันเปนอเนกรรถประโยคนั้นอาจจะเปน2.1 เอกรรถประโยค กับ เอกรรถประโยค เชน

- ฉันมีวิชาแตเขามีทรัพย - เขาทํางานหรือเขานอนหลับ

Page 44: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

35

2.2 เอกรรถประโยค กับ สังกรประโยค เชน - เขาเดินมาแตนายดําซ่ึงเปนตํารวจเดินไป

- เขาเปนคนดีหรือเด็กที่พูดกับเธอเปนคนดี2.3 สังกรประโยค กับ เอกรรถประโยค เชน - คนที่พูดเกงคนนั้นเปนครูแตเพื่อนของเขาเปนทนายความ

- เพราะสุนัขที่ฉันจับเลนเปนบามันจึงกัดฉัน2.4 สังกรประโยค กับ สังกรประโยค เชน - เพราะเด็กที่อยูกอนมีความขยัน เด็กที่มาใหมจึงไดขยันตาม

- ฉันรักคนดีที่ฉันชอบ แตฉันไมชอบคนดีที่ฉันชัง2.5 เอกรรถประโยค กับ อเนกรรถประโยค เชน - เขามีพายแตฉันและนองมีมือ - นายแดงจะไดที่หนึ่งหรือนายดําและนายขาวจะไดที่หนึ่ง

2.6 อเนกรรถประโยค กับ เอกรรถประโยค เชน - บิดาและบุตรเปนชาวนา แตหลานเปนพอคา - ตนไมและหญามีสีเขียว หรือทองฟามีสีเขียว

2.7 เนกรรถประโยค กับ อเนกรรถประโยค เชน - ตาและหูอยูขางบน แตจมูกและปากอยูขางลาง - เพราะหัวหินและบางแสนมีอากาศดี เขาและฉันจึงชอบมาก

2.8 สังกรประโยค กับ อเนกรรถประโยค เชน- คนที่ขมเหงกํานันและผูใหญบานเปนคนพาล แตกํานันและผูใหญบานนั้น

เปนคนดี - ถ่ัวที่ขึ้นในกระถางคือถ่ัวเขียว แตตาสีและตาสาไมชอบถ่ัวเขียว

2.9 อเนกรรถประโยค กับ สังกรประโยค เชน - นายดําและนายแดงเปนคนรวย แตคนที่เดินตามหลังเขาเปนคนจน

- เนื้อและกระดูกเปนอวัยวะ หรือมือที่เปบขาวเปนอวัยวะอเนกรรถประโยค จําแนกออกเปน 4 ชนิด คือ

1. อันวยาเนกรรถประโยค (อันวย+อเนกรรถประโยค) คืออเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความตามกัน ประโยคหนาและประโยคหลังที่นํามารวมกันนั้น มีเนื้อความที่คลอยตามไปในแนวเดียวไมขัดแยงกัน โดยใช และ กับ แลว – จึง คร้ัน-เมื่อ ถา ถาวา ฯลฯ เปนบทเชื่อม เชน

Page 45: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

36

- เขาเปนคนไทยและฉันก็เปนคนไทย- เขาทํางานได ฉันก็ทํางานได

2. พยติเรกาเนกรรถประโยค (พยติเรก+อเนกรรถประโยค) คืออเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความทอนหนากับทอนหลังแยงกัน โดยใช แต ถึง-ก็ กวา – ก็ ฯลฯ เปนบทเชื่อม เชน

- เขาเรียนอักษรศาสตร แต ฉันเรียนวิทยาศาสตร- กวา เขาจะเรียนจบ หนังสือ ก็ ขาดหมด

3. วิกัลปาเนกรรถประโยค (วิกัลป+อเนกรรถประโยค) คืออเนกรรถประโยคที่มีเนื้อความใหเลือกเอาแตอยางใดอยางหนึ่ง ประโยคชนิดนี้ตองการเนื้อความทอนหนาหรือทอนหลังเพียงทอนเดียว โดยใช หรือ ไมเชนนั้น มิฉะนั้น ก็ ฯลฯ เปนบทเชื่อม เชน

- ทานจะเขียนหนังสือ หรือ ทานจะทําสวนครัว- นักเรียนทุกคนตองทํางาน หรือไมเชนนั้นก็ นอนเสีย

4. เหตวาเนกรรถประโยค (เหตุ+อเนกรรถประโยค) คืออเนกรรถประโยคที่มี เนื้อความทอนหนาเปนเหตุ ทอนหลังเปนผล โดยใช จึง เพราะ – จึง เพราะฉะนั้น – จึง ฉะนั้น – จึง ฯลฯ เปนบทเชื่อม เชน

- เขาเหนี่ยวกิ่ง จึง กิ่งหัก- เขาเปนคนดี คน จึง สงสารเขา

3. สังกรประโยค คือประโยคใหญที่มีประโยคเล็กตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปรวมกัน แตประโยคหัวหนาหรือประโยคหลักที่มีใจความสําคัญเพียงประโยคเดียว นอกนั้นเปนประโยคเล็กที่ทําหนาที่แตงหรือประกอบประโยคหลัก

ตามปรกติประโยคเล็กที่นํามารวมกันเปนสังกรประโยคนั้น ใชประพันธสรรพนาม ประพันธวิเศษณ หรือบุพบทเปนบทเชื่อม เชน

1. ใชประพันธสรรพนามเปนบทเชื่อม เชน- เด็กท่ีรองเพลงคนนั้นเปนนักเรียนชั้นประถม- ฉันเห็นสุนัขท่ีคาบเนื้อ

2. ใชประพันธวิเศษณเปนบทเชื่อม เชน- เขาเปนคนดีท่ีโลกไมลืมเขา- ฉันตองการหีบใหญซ่ึงฉันเก็บมันไวในหอง

Page 46: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

37

3. ใชบุพบทเปนบทเชื่อม เชน- เขามาหาฉันเม่ือฉันมีธุระ- เขามาที่นี่เพื่อเขาจะไดพบฉัน

สังกรประโยคประกอบดวยประโยคเล็ก 2 ชนิด คือ1. มุขยประโยค คือประโยคหัวหนาหรือประโยคหลัก นับเปนประโยคสําคัญซึ่งจะ

ขาดไมได และมีไดเพียงประโยคเดียวตอหนึ่งสังกรประโยคเทานั้น ดังตัวอยางที่พิมพเสนหนาไว ตอไปนี้

- คนที่ปรารถนาความสุข จะตองมีหลักธรรมในใจ- คนเกียจคราน ที่รองไหอยูในหอง สอบไลตก

2. อนุประโยค คือประโยคเล็กที่ทําหนาที่แตงมุขยประโยคใหไดความดีขึ้น แบงออกเปน 3 ชนิด

2.1 นามานุประโยค คืออนุประโยคที่ทําหนาที่ไดคลายกับนาม อาจเปนบทประธาน บทกรรมหรือบทขยายก็ได เชน

- เปนบทประธาน เขาพูดเชนนี้ เปนการสอนิสัยช่ัว- เปนบทกรรม ฉันเห็นเด็กเรียนหนังสือ- เปนบทขยาย อาหารสําหรับนักเรียนเลนละครมีอยูในหอง

2.2 คุณานุประโยค คืออนุประโยคที่ทําหนาที่ประกอบนามหรือสรรพนามเชนเดียวกับคําวิเศษณ และใชประพันธสรรพนามเปนบทเชื่อม เชน

- แมวท่ีจับจิ้งจกมีนัยนตาสีน้ําเงิน- ฉันรักคนไทยท่ีรักชาติไทย

2.3 วิเศษณานุประโยค คืออนุประโยคซึ่งทําหนาที่ประกอบคํากริยาหรือคําวิเศษณ และใชประพันธวิเศษณ หรือ คําบุพบทซึ่งทําหนาที่อยางประพันธวิเศษณ เปนบทเชื่อม เชนคํา ที่ซ่ึง อัน เมื่อ จน ตาม เพราะ เปนตน ตัวอยางเชน

- คนอวนท่ีนั่งอยูบนเกาอี้มีปากกาสองดาม- ถังใหญซ่ึงอยูในบอน้ํามีสนิม- คําหยาบอันไรสาระเปนสมบัติของคนชั่ว- เขาพูดกับฉันเม่ือฉันพบเขา- เขาออนเพลียจนเขาตองพักผอน- เขาพูดตามฉันบอก

- เขามีความรูเพราะเขาอานหนังสือมาก

Page 47: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

38

หมายเหตุ : 1. วิเศษณานุประโยคตางกับคุณานุประโยค คือคุณานุประโยคทําหนาที่ประกอบนาม หรือสรรพนาม และคําประพันธสรรพนามซึ่งเปนบทเชื่อม ตองเรยีงตดิตอกบันาม หรือสรรพนาม สวนวิเศษณานุประโยคทําหนาที่ประกอบคํากริยาหรือคําวิเศษณ และคําประพันธวิเศษณซ่ึงเปนบทเชื่อม ตองเรยีงไวขางหลังคาํกรยิาหรือคาํวเิศษณ

2. วิเศษณานุประโยคตางกับเหตวาเนกรรถประโยคคือ เหตวาเนกรรถประโยคตอง เรียงประโยคเหตุไวหนาและเรียงประโยคผลไวหลัง สวนวิเศษณานุประโยคเรียง ประโยคผลไวหนา เรียงประโยคเหตุไวหลัง

ประโยคเพื่อการสื่อสารเปรมจิต ชนะวงศ (2538 :263 – 265) กลาวถึงการใชประโยคสื่อสารในชีวิตประจําวัน

ใชในลักษณะตาง ๆ ดังนี้1. ประโยคบอกเลา หมายถึงประโยคที่ผูพูดเจตนาจะบอกเลาเรื่องราวตาง ๆ ใหผูรับ

สารไดทราบ โดยมีเนื้อความในเชิงบอกเลาทั่ว ๆ ไป หรือมีเนื้อความในเชิงรับหรือบอกเลาในเชิงปฏิเสธ ประโยคบอกเลาเปนประโยคที่ใชส่ือสารมากที่สุด เชน

- เด็กหญิงเหมือนแกวชอบอานหนังสือมากที่สุด- คนเราตองรูจักแพบางสิ- เงาะสวนโนนขายดีกวาเรานะ- วันนี้คุณพอไมไปทํางานคะ

จากตัวอยางจะเห็นไดวา บางประโยคใชคําปฏิเสธแตมีเนื้อความบอกเลา2. ประโยคปฏิเสธ หมายถึงประโยคที่ใชคําปฏิเสธ ไม ไมได ไมใช มิ บ อยู

ในประโยคและมีเนื้อความปฏิเสธ เชน- ฉันไมชอบเปนครู- ละครเรื่องนี้ฉันไมชอบ- ฉันไมเห็นเขาเลย- บริษัทนี้ไมรับพนักงานสตรี

3. ประโยคคําถาม เปนประโยคที่ใชถามเรื่องราวจากผูฟง โดยมีคําแสดงคําถามกํากับอยูดวย เชน ใคร อะไร เทาไร กี่ ทําไม เมื่อไร หรือ ไหม เปนตน โดยคําแสดงคําถามจะปรากฏตนประโยคหรือทายประโยคก็ได และในบางกรณีเนื้อความของคําถามอาจเปนการถามในเชิงปฏิเสธ ถามในเชิงใหเลือก หรือรําพึงกับตัวเอง

Page 48: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

39

- ใครเปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ- นองของหนูอายุเทาไรคะ- อาจารยไมไปไมไดหรือคะ- ทําไมไมใหนองอยูกับเพื่อนละ- เขาชอบและไมชอบอะไรเธอรูไหม

4. ประโยคคําส่ัง ลักษณะคําส่ังในประโยคคําส่ังมีหลายลักษณะทั้งเปนคําส่ังโดยตรง คือ ส่ังใหกระทํา และส่ังโดยออมคือในเชิงอนุญาต ชักชวน และขอรอง เชน

ส่ังใหทํา - จงขีดเสนใตประโยคตอไปนี้ - หยิบไมบรรทัดใหหนอย - ติ๋มกวาดขยะดวยนะ

หามไมใหกระทํา - เธออยาหลอกฉันนะ - หามเดินลัดสนาม - แปดอยาใชเตารีดนี้นะ

อนุญาต - คุณออกไปเถอะ - แอวกลับบานไดแลว - เชิญออกไปรอขางนอก

ชักชวน - เดี๋ยวเราหยุดพักเถอะนะ - นักเรียนเชื่อครูเถอะ

ขอรอง - ทุกคนโปรดนั่งเงียบ ๆ - กรุณาทิ้งขยะในถัง - โปรดรักษาความสะอาด

บรรจบ พันธุเมธา (2540 : 101 – 104) กลาวถึงลักษณะประโยคไววา1. ประโยคคําส่ัง ไมจําเปนตองมีผูทํากริยา ถาหากจะมีก็เพื่อเนนความ หรือเพื่อบอก

ใหรูตัว เชน- แก มา- ออด ระวัง

2. ประโยคขอรองหรือชักชวน ไมตองมีผูทํากริยาเชนเดียวกันแตมักจะมีคําลงทายประโยค เชน ซิ ซี เถอะ เถอะนะ นะ นา นะ เชน ไปซิ ไปซี ไปเถอะ ไปเถอะนะ ไปนะ ไปนา

3. ประโยคคําถาม ตามธรรมดาก็มักจะมีคําวิเศษณแสดงคําถามวา ใคร อะไร ที่ไหนทําไม เมื่อไร อยางไร หรือ หรือไม อยูดวย

Page 49: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

40

ใคร อะไร มีลักษณะทั้งเปนคําถามและเปนสรรพนามแทนคน หรือส่ิงที่ไมไดระบุช่ือในที่นั้น ใคร อะไร ทําหนาที่ไดอยางนามคือ เปนผูทําก็ได ผูถูกก็ได เชน ใครเห็น เห็นใคร อะไรมา กินอะไร ฉะนั้นอยูในที่ใดในประโยคก็ไดแลวแตความ

ทําไม เม่ือไร อยางไร มีลักษณะเปนกริยาวิเศษณขยายกริยา ใชไวตนประโยคก็ไดหรือทายประโยคก็ได เชน มาทําไม ทําไมจึงมา ทําไม ที่อยูหนากับหลังมีความตางกันอยูบาง ทําไม คําตนถามผลวามาเพื่ออะไร คําทายถามเหตุ

หรือ หรือไม ไหม เปนคําลงทายประโยคทั้งส้ิน เชน จะไปไหม เธอไปหรือ เธอไปหรือไม ถาหากจะใช หรือ นําหนาประโยค หรือ ในที่นั้นก็ตองเปนสันธานแบงรับแบงสู เชน หรือเธอจะไป หรือไมเธอก็ไปแทนฉัน คําหรือ ถามตองการคําตอบเด็ดขาดลงไปเพราะรูอยูแลว เชน เธอจะไปหรือ(รูวาจะไป) ถาถามวา เธอจะไปไหม ถามใหเลือกตอบ

4. ประโยคบอกเลา ใชในเรื่องราวเลาบอกตามธรรมดา บางทีก็เปนไปในทางรับบางทีก็เปนไปในทางปฏิเสธ

ประโยครับ ถาใชในภาษาเขียน ไมมีการใชคําลงทายประโยคเพื่อแสดงความสุภาพ แตในภาษาพูด จะมีคํา จะ คะ หรือ ครับ (ตางกันไปตามเพศของผูพูด) ลงทายประโยคตามควรแกโอกาสในการตอบคําถามเชิงรับ คํารับวา จะ คะ ครับ หรือ ใช ใชละ ฮื่อ เฮอ เออเพียงคําเดียวอาจแทนความทั้งประโยคได เชน การไปทัศนาจรคราวนี้เธอเปนผูจัดใชไหม คําตอบวา ใช ไดความเทากับตอบรับทั้งประโยคโดยไมตองกลาวทวนซ้ํา

ประโยคปฏิเสธ คําปฏิเสธในการตอบคําถามเชิงปฏิเสธวา เปลา บางทีก็กินความไดเทากับตอบปฏิเสธความทั้งประโยค เชน ที่ทางการประกาศรับสมัครงานเธอไปสมัครหรือเปลาคําเปลา คําเดียวก็เปนการตอบปฏิเสธทั้งความ แต เปลา ใชปฏิเสธไมไดทุกความไป เชน ไปไหนมาตอบวา เปลา ไมมีทางรูไดวาปฏิเสธเรื่องอะไร นอกจากจะกลาวตอไปวา เปลาไมไดไปไหน

คํา ไม ใชตอบปฏิเสธคําเดียวไมได เพราะไมชวยทําใหรูความที่ปฏิเสธได จําเปนตองใชกริยาที่ตองการปฏิเสธกํากับลงไวดวย เชน ไมได ไมไป มีแปลบกก็แตคํา เปน ถาถามวาเปนครูหรือ ผูตอบที่ไมไดเปนครูจะตองตอบวา ไมใชครู ถาพูดวา ไมเปน ความจะตางออกไปเปนวา ฉันไมยอมเปน หรือ ไมตองการเปนครู แตถาใชคํา คือ เชน ถามวา เธอคือครูหรือ จะตอบวาไมคือ หรือ คือไม คําตอบก็ตองเปน ไมใช เชนกัน

ใช เชน ใชวาเขาไมรักไมใคร (= ไมใชวา) หา….. ไม เชน หาใชไม หาไดไปไม (= ไมใช ไมไดไป) มิ เชน มิไดมีใครเห็นใจ(= ไมไดมี) มิ ใชไดจําเพาะกริยาบางคําเทานั้น นอกจาก มิได ก็มี มิใช มิ เปนการ หามิได

Page 50: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

41

กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2540 ข : 9 – 11) กลาวถึงประโยคเพื่อการสื่อสารวาประโยคเพื่อการสื่อสาร เปนประโยคที่ใชส่ือสารเพื่อจุดประสงคอยางใดอยางหนึ่งของ ผูสงสารไดแก

- ประโยคบอกเลา- ประโยคปฏิเสธ

- ประโยคคําถามประโยคบอกเลา คือ ประโยคที่มีใจความเพื่อบอกใหทราบวา ใครทําอะไร ทําที่ไหน

ทําอยางไร เปนการแจงเรื่องราวใหทราบ หรือบอกเรื่องราวตาง ๆตัวอยาง- ลุงของฉันเปนร้ัวของชาติ- เด็กยุคโลกาภิวัตนตองรูจักพัฒนาตนเอง- นักเรียนชวยครูพัฒนาโรงเรียน

- ทุกเชายายและเอียดจะชวยกันเตรียมอาหารไวตักบาตร

ประโยคปฏิเสธ เปนประโยคที่มีใจความไมตอบรับ มีเนื้อความตรงขามกับประโยค บอกเลา มักใชคําวา ไม ไมได ไมใช มิได ประกอบประโยค

ตัวอยาง- ฉันไมเคยพูดเท็จกับเพื่อน ๆ- แดงไมไดไปโรงเรียนเพราะปวดศีรษะ- เขามิไดเปนคนเห็นแกตัว- คนนั้นคบไมได เพราะเขาไมมีคุณธรรม

ประโยคคําถาม คือ ประโยคที่มีใจความเปนคําถาม เพื่อตองการคําตอบ คําที่เปนคําถาม อยูตนประโยคหรือทายประโยคก็ได ประโยคคําถามมี 2 ลักษณะ

1. ประโยคคําถามที่ตองการคําตอบเปนเนื้อความใหม มักมีคําที่ใชถามวา ใคร อะไรที่ไหน อยางไร เหตุใด เทาใด คําเหลานี้อาจจะอยูหนาประโยคหรือหลังประโยคก็ได

ตัวอยาง - สมชายจะไปเรียนพิเศษกับใคร - บานของเธออยูจังหวัดอะไร - เมื่อไรเธอจะไปกรุงเทพฯ

Page 51: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

42

1. ประโยคคําถามที่ตองการคําตอบรับหรือปฏิเสธ มักมีคําที่ใชถามวา หรือ หรือไม ไหม อยูทายประโยค

ตัวอยาง - กระเปาใบนี้เปนของคุณหรือ - เธอจะไปตลาดกับฉันไหม

นอกจากนี้ กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (2544 ข: 31 – 32) ยังกลาวถึงประโยคเพื่อ การสื่อสารอีก 3 ชนิดคือ

- ประโยคขอรอง- ประโยคคําส่ัง- ประโยคแสดงความตองการ

ประโยคขอรอง เปนประโยคที่มีขอความแสดงความตองการใหชวยเหลือในลักษณะ ตาง ๆ มักจะมีคําวา โปรด กรุณา ชวย วาน อยูหนาประโยค และมักจะมีคําวา หนอย ซิ นานะ อยูทายประโยค

ตัวอยาง- โปรดใชน้ํามันไรสารตะกั่ว เพื่อคุณภาพชีวิตของพวกเราทุกคน- กรุณาลดการใชสารเคมีในการปราบศัตรูพืช- ชวยกันรักษาความสะอาดบริเวณน้ําตกหนอย- วานตั้งนาฬิกาปลุกใหหนอยซิ- ฟงขาวทุกวันนะ จะไดรูเหตุการณและความเคลื่อนไหวในบานเมือง

ประโยคคําส่ัง เปนประโยคที่บอกใหบุคคลอื่นทําหรือไมทําส่ิงใดสิ่งหนึ่ง มักจะละ ประธานไว

ตัวอยาง- จงคิดกอนลงมือทําทุกครั้งนะ- ใหทุกคนในหมูบานนําสินคาไปขายที่รานสหกรณ- ลงมือทํางานไดแลว- อยานอนหลับทับสิทธิ์นะ- อยาดื่มเครื่องดองของเมา

Page 52: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

43

- หามเสพสิ่งเสพยติด- หามตัดไมทําลายปา

ประโยคแสดงความตองการ เปนประโยคที่แสดงความอยากได อยากมี อยากเปนส่ิงใดสิ่งหนึ่ง มักจะมีคําวา อยาก ตองการ ปรารถนา ประสงค อยูในประโยค

ตัวอยาง- ฉันอยากใหครอบครัวของเรามีรายไดมากขึ้น- ครูทุกคนตองการใหนักเรียนเปนคนดี- เขาปรารถนาใหสังคมสงบสุข

- พอประสงคจะใหลูกรูจักเก็บหอมรอมริบสมถวิล วิเศษสมบัติ (2543 : 180-181) กลาวถึงประโยคตามเจตนาในการสื่อสาร

แบงออกไดเปน 3 ประเภท คือ1. ประโยคแจงใหทราบ หมายความถึง ประโยคที่มีใจความบอกเลาหรือประสงค

จะแจงขอความบางประการใหผูฟงทราบ เชน วันนี้คุณแตงตัวสวย ประโยคแจงใหทราบมีขอแตกตางจากประโยคแจงใหทราบที่มีเนื้อปฏิเสธ คือ ในประโยคแจงใหทราบที่มีเนื้อความปฏิเสธจะมีคําตอไปนี้อยูในประโยค เชน ไม มิ หามิได เชน วันนี้คุณแตงตัวไมสวยเลย

2. ประโยคถามใหตอบ หมายความถึง ประโยคที่ผูพูดถามขอความบางประการ เพื่อใหผูฟงตอบสิ่งที่ผูถามอยากทราบ เชน รถคันไหนไปบางเขน เธอไปกับฉันไหม ประโยคถามใหตอบแตกตางจากประโยคแจงใหทราบ คอื รูปประโยคถามใหตอบ จะมคีาํวา ใคร อะไร ทีไ่หน เมื่อไร หรือ อยางไร อยูในประโยค

3. ประโยคบอกใหทํา โดยท่ัวไปมีลักษณะคือ เปนประโยคที่ผูพูดตองการใหผูฟงปฏิบัติบางอยางตามความตองการของผูพูด เชน

กินขาวซี อยากินขาวนะคุณออกไปนะ คุณอยาออกไปนะกลับบานกันเถอะ อยากลับบานนะคุณตองทําเพื่อพวกเราซี คุณตองอยาทําเพื่อพวกเขาซี

ประโยคปฏิเสธประโยคบอกใหทํา

Page 53: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

44

รูปประโยคจะชวยใหเราเขาใจเจตนาของผูส่ือสารได เพราะในรูปประโยคของแตละชนิดจะมีคําเฉพาะของรูปประโยคใหสังเกต เชน ประโยคถามใหตอบ จะมีคําแสดงคําถามปรากฏอยู เชน ใคร ไหน ฯลฯ สวนประโยคบอกใหทํา จะมีคําลงทายวา นะ ซิ เถอะ ฯลฯ แตถาในกรณีที่รูปประโยคไมแสดงไวชัดเจน เราตองอาศยัพจิารณาจากขอความแวดลอม หรือสถานการณแวดลอมชวย

บริบท หมายความถึง สถานการณแวดลอมหรือส่ิงแวดลอมขอความ บริบทจะชวยใหเราทราบเจตนาของผูสงสารได ในกรณีที่รูปประโยคไมชัดเจน เชน

- เร่ืองอยางนี้ฉันไมสนใจหรอก (แจงใหทราบเชิงปฏิเสธ)- เร่ืองอยางนี้ ใครจะสนใจ (ประโยคคําถาม) จากประโยคนี้จะเห็นวา ถามีขอความ

เฉพาะ “ใครจะสนใจ” ผูฟงตองพิจารณาวาเปนรูปประโยคคําถาม แตเมื่อเติมขอความเรื่อง “อยางนี้” เขาขางหนา ประโยคดังกลาวจึงทําใหทราบวาผูพูดมีเจตนาปฏิเสธ

การเรียนแบบรวมมือ (Cooperative Learning )

ความหมายของการเรียนแบบรวมมือนักวิชาการหลายทานไดใหความหมายเกี่ยวกับการเรียนแบบรวมมือดังนี้พรรณรัศมิ์ เงาธรรมสาร (2533 : 35) กลาววา การเรียนแบบรวมมือ เปนการเรียน

แบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน (Cooperative Learning) เปนการจัดประสบการณเรียนรูที่แบงผูเรียนเปนกลุมเล็ก ๆ สมาชิกในกลุมจะมีความสามารถแตกตางกัน ผูเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และรับผิดชอบการทํางานของตัวเองเทา ๆ กับรับผิดชอบการทํางานของสมาชิกใน กลุมดวย

ฐิติมา อุนใจ (2538 : 28) กลาววา การเรียนแบบรวมมือ หมายถึง กระบวนการเรียนรูโดยครูตองจัดสภาพการณและเงื่อนไขใหผูเรียนทํางานประสานกันเปนกลุมตั้งแต 2 คนขึ้นไป โดยปกติจะประกอบดวยสมาชิก 2 – 5 คน ที่มีความสามารถและบทบาทในกลุมแตกตางกัน ผูเรียนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชวยเหลือซ่ึงกันและกันในการแกไขปญหาภายในกลุม เพื่อทุกคนจะไดรับความสําเร็จรวมกัน

กนกพร แสงสวาง (2540 : 11) กลาววาการเรียนแบบรวมมือ หมายถึงการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนที่จัดนักเรียนออกเปนกลุม ๆ โดยการจัดใหสมาชิกแตละกลุมมีความหลากหลาย ทั้งในดานความสามารถ ความสนใจ เพศ และอื่น ๆ โดยแตละคนจะมีบทบาทหนาที่และ

Page 54: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

45

ความรับผิดชอบที่ตองพึ่งพาอาศัยกัน โดยเนนกระบวนการรวมมือกันมากกวาการแขงขัน ความสําเร็จของตนเองจะตองควบคูไปกับความสําเร็จของกลุม

อรพรรณ พรสีมา (2540 : 1 – 4) กลาววา การเรียนแบบรวมมือ หมายถึง วิธีการเรียนที่เนนการจัดสภาพแวดลอมทางการเรียนใหนักเรียนไดเรียนรูรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ แตละกลุมประกอบสมาชิกที่มีความรู ความสามารถแตกตางกัน แตละคนจะตองมีสวนรวมอยางแทจริงใน การเรียนรู และในความสําเร็จของกลุม ทั้งโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น รวมทั้งการเปนกําลังใจแกกันและกัน

วัชรา เลาเรียนดี (2547 : 1) กลาววาเปนการจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญแบบหนึ่ง เพื่อใหนักเรียนไดรวมกันเรียนรูและปฏิบัติกิจกรรมใหบรรลุผลสําเรจ็ตามจดุมุงหมาย มุงเนนการรวมกันปฏิบัติงานชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และมุงสงเสริมพัฒนาทักษะทางสังคม และใหทุกคนรับผิดชอบตอผลงานของตนเองและของกลุม ทุกคนตองมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชวยเหลือพึ่งพากัน ยอมรับกันและกัน รวมทั้งชวยเหลือเพื่อนสมาชิกใหสามารถเรียนรูไดตาม วัตถุประสงคที่กําหนด

จอหนสัน (Johnson , 1991 : 55 , อางถึงใน ชัยยา โพธ์ิแดง 2540 : 7) กลาววา การเรียนแบบรวมมือ หมายถึง การเรียนที่มีปฏิสัมพันธกับภายในกลุมนักเรียน เชน มีการอภิปรายรวมกัน การชวยเหลือกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน

แวน เดอ เคล (Van Der Kley 1991, อางถึงใน วรรณทิพา รอดแรงคา 2541 : 45) กลาววา การเรียนแบบรวมมือ หมายถึง การที่นักเรียนมีปฏิสัมพันธรวมกันในการทํางานชวยเหลือเกื้อกูล สนับสนุนความสําเร็จของกันและกัน โดยที่นักเรียนแตละคนในกลุมจะมีความรับผิดชอบงานของตนเอง การทํางานที่ไดรับมอบหมายของนักเรียนแตละคน จะมีการตรวจสอบ และการนําผลการทํางานเสนอในกลุม กลุมจะทําหนาที่ชวยเหลือวาใครออนดานใด คนที่เกงจะชวยเหลือดานนั้น ซ่ึงจะทําใหการทํางานเขมแข็งขึ้น

จากการศึกษาความหมายของการเรียนแบบรวมมือดังกลาว สรุปไดวา การเรียนแบบรวมมือ หมายถึงวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่แบงผูเรียนออกเปนกลุมเล็ก กลุมละ 2 – 6 คนสมาชิกในกลุมจะมีระดับความสามารถแตกตางกัน ทุกคนตองทํางานรวมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน รับผิดชอบงานรวมกัน ผลสําเร็จของสมาชิกคือผลสําเร็จของกลุม

แนวคิดสําคัญของการเรียนแบบรวมมือการเรียนแบบรวมมือ (Cooperative Learning) เปนยุทธวิธีในการจัดกิจกรรมการเรียน

การสอน โดยจัดใหนักเรียนไดเรียนรูรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ โดยทั่วไปจะจัดกลุมละ 4 – 5 คน

Page 55: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

46

แตละกลุมประกอบดวยนักเรียนที่มีความสามารถในการเรียนสูง ปานกลาง และต่ําคละอยูในกลุมเดียวกัน นักเรียนแตละคนตองมีสวนรวมในการเรียนรูรวมกัน มีการชวยเหลือกันในการเชื่อมโยงความรูเดิมกับความรูใหม และชวยกันคิดแลกเปลี่ยนความรู จนทําใหกลุมประสบความสําเร็จ การที่ครูจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใหผูเรียนพึ่งพาอาศัยกันอยางสม่ําเสมอ จะทําใหผูเรียนมี ความกระตือรือรนในการเรียน และบรรลุผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น อีกทั้งยังสามารถพัฒนาทักษะ การทํางานรวมกับผูอ่ืนได นอกจากแนวคิดดังกลาวขางตน ยังมีนักการศึกษาอีกหลายคนไดศึกษา เกี่ยวกับการเรียนแบบรวมมือ และใหแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนแบบรวมมือดังนี้

จอยซและเวลล (Joyce and Wiel 1986 : 39, อางถึงใน วราภรณ บรรติ 2543 : 26) ได กลาวถึงการสอนแบบรวมมือกันเรียนรูวา เปนการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนทางดานสติปญญาใหเกิดการเรียนรู โดยมีเพื่อนกลุมเดียวกันเปนผูคอยแนะนําหรือชวยเหลือ เพราะผูเรียนที่อยูในวัยเดียวกัน จะมีการใชภาษาสื่อสารที่เขาใจงายกวาครูผูสอน

สลาวิน (Slavin 1987 : 8) กลาววา การเรียนแบบรวมมือ คือ วิธีสอนรูปแบบหนึ่ง ซ่ึงนักเรียนทํางานรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ ตามปกติจะมีสมาชิกกลุมละ 4 คน และการจัดกลุมตองคํานึงถึงความสามารถของนักเรียน เชน นักเรียนที่มีความสามารถสูง 1 คน ความสามารถปานกลาง 2 คน และความสามารถต่ํา 1 คน โดยสมาชิกในกลุมจะตองชวยกันรับผิดชอบ และชวยเหลือ การเรียนซ่ึงกันและกัน

อาทซทและนิวแมน (Artzt and Newman 1990 : 448 – 449) ไดกลาวถึงการเรียนแบบรวมมือวาเปนแนวทางการเรียนรูรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ ซ่ึงสมาชิกในกลุมทุกคนตองระลึกเสมอวา พวกเขามีความสําคัญที่จะชวยใหกลุมประสบความสําเร็จหรือความลมเหลว ดังนั้นสมาชิกในกลุมตองชวยเหลือกันในการแกปญหาการเรียนรูรวมกัน ครูผูสอนมีหนาที่คอยใหความชวยเหลือ ช้ีแนะแหลงขอมูล และจัดหาสื่ออุปกรณใหผูเรียนไดใชความสามารถในการเรียนรูอยางเต็มที่

อาโจสและจอยเนอร (Ajose and Joyner 1990 : 198) กลาววา การเรียนแบบรวมมือเปนกระบวนการซึ่งนักเรียนที่มีความสามารถแตกตางกันมาอยูรวมกันเปนกลุมเล็ก ๆ ทํางานรวมกันเพื่อบรรลุเปาหมายรวมกัน

คาแกน (Kagan 1994 : 1 – 4 , อางถึงใน พิมพพันธ เดชะคุปต 2542 : 80 –81) ไดกลาวถึงวาการเรียนแบบรวมมือ มีความแตกตางจากการเรียนโดยกระบวนการกลุมปกติ ซ่ึงการเรียน แบบรวมมือตองมีโครงสรางการเรียนชัดเจน โดยมีแนวคิดสําคัญ 6 ประการ คือ

1. เปนกลุม/เปนทีม (Team) ซ่ึงเปนกลุมขนาดเล็ก ประมาณ 2 – 6 คน และขนาดที่ เหมาะที่สุด คือ 4 คน ที่จะเปดโอกาสใหทุก ๆคนรวมมืออยางเทาเทียมกัน รวมทั้งสามารถแบงให

Page 56: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

47

ทํางานเปนคูไดสะดวก ภายในกลุมประกอบดวยสมาชิกที่มีความสามารถแตกตางกันคละกัน2. มีความเต็มใจ (Willing) เปนความเต็มใจที่รวมมือในการเรียนและทํางาน โดย

ชวยเหลือกันและกัน และมีการยอมรับกันและกัน อันจะทําใหงานราบรื่น3. มีการจัดการ (Management) การจัดการเพื่อใหการทํางานเปนกลุมแบบรวมมือ

เปนไปอยางราบรื่น ไดผลอยางมีประสิทธิภาพ4. มีทักษะ (Skills) เปนทักษะทางสังคม รวมทั้งทักษะการสื่อความหมาย การชวย

สอน และการแกปญหาความขดัแยง เปนตน ทกัษะเหลานีจ้ะชวยใหสามารถทาํงานอยางมปีระสิทธิภาพ5. มีหลักการสําคัญ 4 ประการ (Basic Principles) เปนตัวบงชี้วา เปนการเรียนเปน

กลุม หรือการเรียนแบบรวมมือ ดังนี้5.1 มีการพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน ชวยเหลือกัน เพื่อสูความสําเร็จ และเขาใจวา

ความสําเร็จของแตละคน คือ ความสําเร็จของกลุม5.2 มีความรับผิดชอบเปนรายบุคคล ทุกๆคนในกลุมมีบทบาทหนาที่ความรับผิด

ชอบในการคนควาการทํางาน สมาชิกทุกคนตองเรียนรูในสิ่งที่เรียนเหมือนกัน จึงถือวาเปนความสําเร็จของกลุม

5.3 มีสวนรวมเทาเทียมกัน ทุก ๆ คนตองมีสวนรวมในการคนควา การอาน การทํางานเทา ๆ กัน โดยกําหนดบทบาทของแตละคน กําหนดบทบาทกอนหลัง เชน ใหใครพูด ใหใครฟง ใหใครบันทึก

5.4 มีการปฏิสัมพันธไปพรอม ๆ กัน คือ สมาชิกทุกคนจะตองทํางาน คิด อาน ฟง ฯลฯ ไปพรอม ๆ กัน

6. มีเทคนิคหรือรูปแบบการจัดกิจกรรม (Structures) รูปแบบการจัดกิจกรรมหรือเทคนิคการเรียนแบบรวมมือ เปนสิ่งที่ใชเปนคําส่ังใหผูเรียนมีปฏิสัมพันธตอกัน เทคนิคตาง ๆ จะตองเลือกใชใหตรงกับเปาหมายที่ตองการ แตละเทคนิคนั้นไดออกแบบเหมาะสมกับเปาหมายที่ตางกัน จากขอมูลดังกลาว สรุปไดวา การเรียนแบบรวมมือนั้นเปนกิจกรรมการเรียนรูที่ให นักเรียนรวมกลุมกันประกอบกิจกรรมใหกลุมประสบความสําเร็จ โดยสมาชิกทุกคนจะมีความสามารถทางการเรียนแตกตางกัน แตทุกคนสามารถชวยเหลือกัน และมีความรับผิดชอบตอกลุมรวมกัน ทําใหเกิดผลดีทางดานทักษะทางสังคม

Page 57: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

48

ลักษณะสําคัญของการเรียนแบบรวมมือวัชรา เลาเรียนดี (2547 : 2) ไดสรุปลักษณะสําคัญของวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรู

ดังนี้คือ การจัดการเรียนการสอนดวยวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรู ไมใชการสอนโดยใหนักเรียนเขากลุมกันเรียนรูแบบปกติที่ครูใชเปนประจํา แตจะตองเปนการเรียนรูรวมกันอยางจริงจังของสมาชิกกลุมทุกคน เปนการมุงสงเสรมิพฒันาทกัษะทางสงัคม และพฤตกิรรมการทาํงานกลุมทีช่วยเหลือ พึ่งพาแนะนําซ่ึงกันและกันจนงานบรรลุผลสําเร็จ ครูจึงตองติดตามดูแลการเรียนรูและปฏิบัติงานกลุมของนักเรียนตลอดเวลา ใหทุกคนรับผิดชอบตอผลงานของตนเองและของกลุม ทุกคนตองมี การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ชวยเหลือพึ่งพากัน ยอมรับกันและกัน รวมทั้งชวยเหลือเพื่อนสมาชิกใหสามารถเรียนรูไดตามวัตถุประสงคที่กําหนด

จอหนสัน และจอหนสัน (Johnson and Johnson 1987 : 23 – 24 , อางถึงใน ชีวพร ตปนียากร 2538 : 9 -10 ) ไดสรุปลักษณะสําคัญของการเรียนแบบรวมมือดังนี้

1. สมาชิกในกลุมมีความรับผิดชอบตอกลุมรวมกัน “ อยูดวยกันหรือตายดวยกัน ” ชวยกันทํางานที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จ โดยมีจุดมุงหมายการปฏิบัติงานรวมกัน มีการแบงขอมูลและอุปกรณระหวางสมาชิกของกลุม

2. สมาชิกในกลุมมีปฏิสัมพันธ(Interaction)ตอกัน อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ซ่ึงกันและกัน

3. สมาชิกกลุมแตละคนมีความรับผิดชอบในตัวเอง ตองานที่ไดรับมอบหมาย จุดมุงหมายที่สําคัญ คือ การที่แตละคนทํางานอยางเต็มความสามารถ

4. สมาชิกในกลุมมีทักษะในการทํางานกลุม(Small Group Skills) และมมีนษุยสมัพนัธที่ดี ครูสอนทักษะการทํางานกลุม และประเมินการทํางานกลุมของนักเรียน การที่จับใหนักเรียนที่ขาดทักษะการทํางานกลุมมาทํางานรวมกัน จะไมประสบความสําเร็จ

เทเนนเบิรก และ สมิท (Tenenberg1995, Smith 1996 , อางถึงใน ปทีป เมธาคุณวุฒิ 2543 : 1 – 2) ไดกลาวถึงลักษณะสําคัญของการเรียนแบบรวมมือดังตอไปนี้

1. การพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกันเชิงบวก ผูเรียนตองมีความเชื่อวา ตนเองจะตองเชื่อมโยงกับผูอ่ืนในทางที่จะไมมีใครประสบความสําเร็จ ถาสมาชิกคนอื่นของกลุมไมประสบความสําเร็จดวย ผูเรียนจะตองทํางานดวยกันเพื่อใหงานสําเร็จ ทุกคนในกลุมตองพึ่งกันในดานทรัพยากร แบงปนในสิ่งที่ตนมีอยูแกกันและกัน ตองรูจักแบงงานกันทําตามสายงาน ตามความถนัด และความเชี่ยวชาญของตน

2. ปฏิสัมพันธที่สงเสริมการทํางานรวมกัน การเรียนแบบรวมมือเปนวิธีการเรียน การสอนที่เนนใหผูเรียนเปนตัวเชื่อมโยง ผูเรียนตองมีปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกัน ชวยเหลือ อธิบาย

Page 58: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

49

ให และสอนกันและกัน คิดแกปญหารวมกัน สงเสริมความสําเร็จของกันและกัน3. ความรับผิดชอบสวนบุคคล สมาชิกแตละคนในกลุมรับผิดชอบงานสวนของตนที่

ไดจัดสรรกันในกลุมแลว และรับผิดชอบสอนเพื่อนในกลุมอีก 1 – 2 คน วิธีนี้เปนการเรียนรูดวยกัน เพื่อใหแตละคนดีขึ้น ดังนั้นกลุมจําเปนตองรูวาบุคคลใดควรเปนผูรับความชวยเหลือ

4. ทักษะการทํางานเปนทมี ทกัษะกลุมยอย เชน ทกัษะการฟง การสรปุขอสนบัสนนุของผูอ่ืน การขยายคําอธิบายของผูอ่ืน การแสดงความคิดเห็นอยางนักวิชาการ การแสดง ความนับถือในงานหรือหนาที่หรือตําแหนงของผูอ่ืนที่ไดรับมอบหมายจากกลุม ทักษะการเปนผูนํา การตัดสินใจ และทักษะการจัดการกับความขัดแยง

5. กระบวนการกลุม การเรียนแบบรวมมือตองอาศัยข้ันตอนของกระบวนการกลุม เพื่อใหองคประกอบที่กลาวมาทั้ง 4 ประการประสบความสําเร็จในการเรียนแบบรวมมือกัน

องคประกอบของการจัดการเรียนแบบรวมมือในการจัดการเรียนแบบรวมมือกันเรียนรู ครูจะตองคํานึงถึงและดําเนินการตามลักษณะ

และองคประกอบที่สําคัญของการเรียนรูแบบรวมมือกันอยางจริงจังดังนี้ สุจินต วิศวธีรานนท (2536 : 231 – 232) ไดกําหนดองคประกอบของการจัดการเรียน การสอนดวยวิธีเรียนแบบรวมมือกันดังตอไปนี้

1. สรางความรูสึกพึ่งพากันใหเกิดขึ้นในกลุมนักเรยีน โดยกาํหนดวตัถุประสงคเกีย่วกบัการพึ่งพาชวยเหลือกัน เพื่อนําไปสูความสําเร็จรวมกัน เชน ใหศึกษาจากเอกสารที่ไดรับและ ตรวจสอบวา สมาชิกทุกคนในกลุมเขาใจเนื้อหาสาระในเอกสารนั้น และเพื่อสงเสริมใหมีการพึ่งพากัน ครูอาจจะกําหนดใหมีการใหรางวัลรวม (Joint Rewards) เชน ถาสมาชิกทุกคนของกลุมใดไดคะแนนคิดเปนรอยละ 90 ขึ้นไปของคะแนนเต็ม สมาชิกในกลุมนั้นจะไดรางวัลพิเศษ (Bonus Point) อีกคนละ 5 คะแนน การสงเสริมการพึ่งพาอีกวิธีหนึ่ง ไดแก การแยกแหลงขอมูลที่จะให นักเรียน เชน ใหสมาชิกแตละคนมีขอมูลเพียงบางสวนของขอมูลทั้งหมด ในการทํางานที่ไดรับ มอบหมาย แตกําหนดใหทั้งกลุมทํางานใหเสร็จ นอกจากนั้นการสงเสริมพึ่งพากัน อาจทําไดโดย การใชวิธีกําหนดบทบาทของสมาชิกในกลุมเปนผูอาน ผูตรวจสอบ ผูใหกําลังใจ และผูช้ีแจง รายละเอียด

2. จัดใหมีการปฏิสัมพันธระหวางนักเรียน เมื่อครูจัดใหมีความรูสึกพึ่งพากันแลว ครูตองเปดโอกาสใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธตอกัน เพื่อชวยและสงเสริมการทํางานใหสําเร็จ นักเรียนจะตองซักถามและอภิปรายถึงส่ิงที่ไดเรียนรู อธิบายกันและกัน ใหเขาใจวิธีการทํางานที่ไดมอบหมาย ชวยเหลือ สนับสนุนและใหกําลังใจแกกัน

Page 59: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

50

3. จัดใหมีความรูสึกรับผิดชอบในสวนบุคคล วัตถุประสงคของการเรียนรูแบบรวมมือ คือการทําใหสมาชิกแตละคนมีความสมบูรณหรือพัฒนาขึ้น นักเรียนเรียนดวยกันเพื่อใหแตละคนมี ความสามารถสูงขึ้น มิใชจัดนักเรียนเปนกลุมเพื่อแกปญหาอุปกรณไมเพียงพอ เพื่อใหบรรลุ จุดประสงคดังกลาว จึงตองมีการประเมินผลงานของแตละคนควบคูไปกับผลงานกลุม ภายในกลุมจะตองทราบวาสมาชิกคนใดตองการความชวยเหลือ ตองการใหสนับสนุน หรือตองการกําลังใจ เพื่อใหงานประสบผลสําเร็จ อีกทั้งตองทําใหทุกคนทราบวาเขาไมสามารถกินแรงเพื่อนในกลุมได

4. จัดใหมีความรูเกี่ยวกับทักษะสังคม ครูจะจัดวิธีสอนแบบรวมมือเพื่อใหประสบ ความสําเร็จไดนั้นจะตองอาศัยทักษะระหวางบุคคลและทักษะระหวางกลุม ถานักเรียนไมมีทักษะสังคมจะเปนการยากที่กลุมการเรียนแบบรวมมือจะประสบความสําเร็จ ครูจะตองจัดสอนทักษะสังคมที่จําเปนในการทํางานรวมกันใหแกนักเรียน และเตือนใหนักเรียนใชทักษะดังกลาว ตัวอยางทักษะสังคมที่ตองมีการสอน ไดแก ความเปนผูนํา การตัดสินใจ การสรางความไวเนื้อเชื่อใจ การสื่อสารและทักษะการจัดการกับขอขัดแยง

5. จัดใหมีกระบวนการกลุม ครูจะตองใหสมาชิกของกลุมไดรวมกันอภิปรายวากลุมของตนทํางานบรรลุวัตถุประสงคไดเพียงใด และจะทําใหความสัมพันธในการทํางานคงอยูไดอยางไร กลุมจะตองระบุการกระทําของสมาชิกที่เปนประโยชน และไมเปนประโยชน และตกลงกันวา การกระทําใดควรคงไว และการกระทําใดควรละเวน กระบวนการกลุมจะชวยใหขอมูลปอนกลับ เกี่ยวกับการทํางานกลุมแกนักเรียน ความสําเร็จของกระบวนการกลุมอยูที่การใหเวลาอยางเพียงพอแกนักเรียน เตือนใหนักเรียนใชทักษะสังคมขณะทํางานในกลุม และอธิบายความคาดหวังของครูอยาง ชัดเจนวาตองการอะไร

วัชรา เลาเรียนดี (2547 : 3 – 4) ไดกําหนดองคประกอบของการจัดการเรียนการสอนดวยวิธีเรียนแบบรวมมือกันดังตอไปนี้

1. การพึ่งพาอาศัยกันและกันทางบวก (Positive interdependent)1.1 ครูตองอธิบายงานที่ใหนักเรียนปฏิบัติอยางชัดเจน1.2 ครูตองแจงวัตถุประสงคหรือเปาหมายของกลุม1.3 ครูตองพยายามทําใหนักเรียนเขาใจและยอมรับวาความพยายามของตนใหผลดี

ตอตนเองและตอสมาชิกกลุมทุกคนการยอมรับและพึ่งพาอาศัยทางบวกจะชวยสรางความผูกพันในภาระหนาที่ตอ

ความสําเร็จของกลุมเชนเดียวกับความสําเร็จของตนเอง ซ่ึงเปนหัวใจของการเรียนแบบรวมมือกัน2. การมีความรับผิดชอบตอตนเองและตอกลุม (Individuan and group accountability)

Page 60: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

51

2.1 สมาชิกกลุมทุกคนตองมีความรับผิดชอบตอผลสําเร็จของกลุมมีการรวมมือ รวมใจกันปฏิบัติงาน โดยไมเอาเปรียบซ่ึงกันและกัน

2.2 สมาชิกกลุมตองเขาใจตรงกันเกี่ยวกับเปาหมายการทํางานกลุม ตองสามารถวัดได รวมถึงความกาวหนาและความพยายามในการปฏิบัติงาน เพื่อใหทราบวาสมาชิกคนใดตองการ ความชวยเหลือ การสนับสนุน การกระตุนเสริมแรงเปนพิเศษ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดประสบความสําเร็จ โดยที่ทุกคนตองเขมแข็งและพัฒนาขึ้น

3. การมีปฏิสัมพันธที่ดีและการสรางสรรคตอกันระหวางบุคคลและระหวางสมาชิก ทุกคนในกลุม เนื่องจากนักเรียนตองปฏิบัติงานรวมกันอยางจริงจัง ทุกคนตองสนับสนุนชวยเหลือกัน เพื่อใหประสบผลสําเร็จในเปาหมายเดียวกัน โดยแบงปนวัสดุอุปกรณกัน ชวยเหลือ สนับสนุน กระตุนและชมเชยในความพยายามของกันและกัน การเรียนแบบรวมมือกันเปนระบบการให การสนับสนุน ทั้งดานวิชาการและดานบุคคล จะเห็นไดวา กิจกรรมการเรียนรูรวมกัน การชวยเหลือ การสนับสนุนพึ่งพาอาศัยกันจะปรากฏก็ตอเมื่อนักเรียนชวยเหลือกัน การยอมรับวิธีการแกปญหา วิธีปฏิบัติรวมอภิปราย การระดมความรูที่ไดเรียนมา มีการสอนหรืออภิปรายเพื่อเสริมความรูและ ความเขาใจใหแกเพื่อนดวย หรือเชื่อมโยงความรูใหมกับความรูเดิม เปนตน

4. การสอนทักษะทางสังคม ทักษะในการชวยเหลือพึ่งพาอาศัยกัน และทักษะ การปฏิบัติงานกลุมเปนสิ่งที่จําเปน และเปนเปาหมายที่สําคัญของการเรียนรูในแบบดังกลาว ดังนั้นการเรียนแบบรวมมือกันเปนกิจกรรมที่ซับซอนละเอียดมากกวาการเรียนแบบแขงขัน หรือเรียนดวยตนเอง เพราะนักเรียนจะตองเรียนทั้งสาระความรูดานวิชาการ (Task work) เชนเดียวกับทักษะทางดานสังคม การปฏิบัติงานรวมกันภายในกลุม (Team work) ดังนั้นสมาชิกแตละคนในกลุมจะตองรู เขาใจ และมีความสามารถในการใชภาวะผูนําอยางมีประสิทธิผล การตัดสินใจ การสราง ความเชื่อถือ การสื่อความหมาย การจัดการ แกไขขอขัดแยงในกลุมและการจูงใจใหปฏิบัติในเรื่องตาง ๆ ดังนั้นครูผูสอนจึงตองสอนทักษะการทํางานเปนกลุม ใหนักเรียนเขาใจและปฏิบัติไดถูกตองเชนเดียวกับการใหความรูและทักษะทางวิชาการตาง ๆ เพราะการรวมมือกับความขัดแยง มี ความสัมพันธซ่ึงกันและกัน

5. กระบวนการกลุม (Group processing) การปฏิบัติงานกลุมหรือกระบวนการกลุมเปนองคประกอบที่สําคัญองคประกอบหนึ่งของการเรียนแบบรวมมือกัน กระบวนการจะปรากฏเมื่อสมาชิกกลุมรวมกันอภิปรายจนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายกลุม โดยที่สมาชิกกลุมทุกคนมี ความสัมพันธที่ดีตอกัน ดังนั้นกลุมจะตองอภิปรายใหสมาชิกทุกคนไดเขาใจการปฏิบัติงานอยางไร ที่ชวยและไมชวยใหงานกลุมประสบผลสําเร็จตามเปาหมาย และชวยตัดสินใจวาพฤติกรรมใดในกลุมที่ควรปฏิบัติตอไป พฤติกรรมใดควรเปลี่ยนแปลง กระบวนการเรียนรูจะเกิดอยางตอเนื่องเปน

Page 61: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

52

ผลจากการวิเคราะหอยางละเอียดวา สมาชิกปฏิบัติงานรวมกันอยางไร และประสิทธิภาพกลุมจะพัฒนายิ่งขึ้นอยางไร

องคประกอบของการเรียนแบบรวมมือกันดังกลาว ไมเพียงแตเปนคุณลักษณะของ การเรียนแบบรวมมือที่มีคุณภาพ แตยังเปนวินัยขอปฏิบัติอยางจริงจังในการสรางสรรค เปนเงื่อนไขสําหรับการเรียนการสอนแบบรวมมือกันที่มีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซ่ึงจุดเนนหรือ เปาหมายสําคัญของการเรียนรูแบบรวมมือกันก็คือ การพัฒนาทักษะทางสังคม การปฏิบัติงานกลุมที่ชวยเหลือพึ่งพากันอยางแทจริง ซ่ึงจะนําไปสูความสามัคคีกันในที่สุด

ประเภทของการเรียนแบบรวมมือวิธีสอนแบบรวมมือ (Cooperative Learning Methods) ประกอบดวยเทคนิควิธีสอน

หลาย ๆ แบบที่ใชกันอยูอยางแพรหลาย ซ่ึงเปนแนวคิดของนักการศึกษาหลายทาน เชน Slavin , Johnson และ Johnson , Kagan และ Slavin เปนตน ซ่ึงเทคนิคตาง ๆ ดังกลาวก็คือ เทคนิค STAD (Student Teams - Achievement Division) หรือที่เรียกวาเทคนิคกลุมผลสัมฤทธิ์ , เทคนิค TGT (Teams – Games – Tournament) หรือที่เรียกเทคนิคทีมการแขงขัน, เทคนิค TAI (Team Assisted Individualized Instruction) หรือที่เรียกวา เทคนิคกลุมชวยสอนเปนรายบุคคล , เทคนิค CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) หรือเรียกวา เทคนิคกลุมผสมผสาน การอานและการเขียนเรียงความ เทคนิคจิ๊กซอร (Jigsaw) และเทคนิคการศึกษาแบบกลุม (Group Investigation) เปนตน ซ่ึงแตละเทคนิคจะมีขั้นตอนการดําเนินการจัดการเรียนการสอนดังนี้

เทคนิคการสอนแบบกลุมผลสัมฤทธิ์( Student Teams - Achievement Division , STAD) เปนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการจัดกลุมผูเรียนที่มีสมาชิกกลุมละ 4 – 6 คน โดยคละทั้งความสามารถทางการเรียนและเพศ โดยที่ครูจะทําการสอนหรือเสนอเนื้อหาสาระของบทเรียนแกนักเรียนทั้งชั้นกอน และมอบหมายใหแตละกลุมทํางานตามที่กําหนดตามวัตถุประสงคในแผน การสอน เมื่อสมาชิกกลุมชวยกันปฏิบัติ และทําแบบฝกหัด หรือทบทวนเนื้อหาตามที่ไดรับมอบหมายเสร็จแลว ครูจะใหนักเรียนทุกคนทําแบบทดสอบประมาณ 15 – 20 นาที คะแนนที่ไดจากการทดสอบจะถูกแปลงเปนคะแนนกลุมของแตละกลุมซึ่งเรียกวา “ กลุมสัมฤทธิ์ ” (Achievement Division) เทคนิค STAD นี้

ขั้นตอนการจัดการเรียนดวยเทคนิค STAD1. ขั้นนําหรือเตรียมความพรอมใหผูเรียน

1.1 บอกจุดประสงคการเรียนรู และความสําคัญของการเรียนรูในเรื่องนั้น 1.2 เราความสนใจดวยการตั้งคําถามหรือสาธิต

Page 62: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

53

1.3 ทบทวนความรูเดิม หรือทักษะเดิมที่เรียนไปแลว2. ขั้นสอน ควรดําเนินการดังนี้

2.1 ใชเทคนิควิธีสอนแบบตาง ๆ ทีเ่หมาะสม เพือ่ใหบรรลวุตัถุประสงคในแตละสาระ2.2 กิจกรรมการสอนและการเรียนรู ควรเนนความเขาใจมากกวาการจํา2.3 สาธิตทักษะ กระบวนการ อธิบายสาระความรูใหกระจางพรอมตัวอยางให

ชัดเจนตรวจสอบความเขาใจนักเรียนทุกคนอยางทั่วถึง2.4 ตรวจสอบความเขาใจนักเรียนทุกคนอยางทั่วถึง

2.5 อธิบายคําตอบ บอกสาเหตุที่ทําผิด และทบทวนวิธีทํา2.6 สอนเพิ่มเติมในเนื้อหาอื่น เมื่อนักเรียนเขาใจเรื่องที่สอนไปแลว2.7 ถามคําถามหลายระดับ และถามใหทั่วถึงทุกคนใหฝกปฏิบัติ โดยครคูอยแนะนาํ

3. ใหฝกจากใบงานหรือใบกิจกรรมที่มอบหมาย3.1 ฝกจากแบบฝกหัดที่กําหนด3.2 ถามคําถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบความเขาใจ

4. กิจกรรมกลุม (ใชเวลาประมาณ 1 – 2 คาบ)4.1 มอบหมายใบงาน ใบกิจกรรม ใบประเมินผลการปฏิบัติงานกลุม (2 ชุดตอ

1 กลุม) ทบทวนวิธีการเรียนรู และการประเมินผลการเรียนรูและการประเมินผลงานกลุม4.2 ทบทวนบทบาทหนาที่และการปฏิบัติตนในการทํางานกลุมของสมาชิกกลุม4.3 คอยติดตามดูแลการปฏิบัติงานกลุมและปรับแกไขพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมให

สมาชิกทุกคนรวมมือกันเรียนรู ชวยเหลือกันและกัน4.4 ทําขอสอบยอยเปนรายบุคคล (ใชเวลา 15 – 20 นาที)

4.5 ประเมินผลงานกลุมและการปฏิบัติงานกลุม4.6 ครูตองคอยเนนย้ําเสมอวา นักเรียนหรือสมาชิกกลุมทุกคนตองแนใจวา สมาชิก

ทุกคนรูและเขาใจอยางที่ตนเองรูและเขาใจงานที่ใหทํายังสงไมไดถาทุกคนยังทําไมเสร็จ(แตละกลุม)สมาชิกกลุมควรถาเพื่อนในกลุมถาไมเขาใจ (ไมควรอาย) และใหสมาชิกกลุมคอยเอาใจใสชวยเหลือแนะนําเพื่อนดวยกัน ดวยความเต็มใจ

เทคนิคการรวมมือกันเรียนรูแบบทีมเกมแขงขัน (Teams – Games – Tournament) การจัดการเรียนรูดวยวิธีสอนแบบรวมมือเทคนิคทีมเกมแขงขัน หรือ TGT จะมีการดําเนินการเรียนรูตามลําดับขั้นเชนเดียวกันกับเทคนิคการรวมมือกันเรียนรูอ่ืนๆกลาวคือ ครูตองดําเนินการสอนในสาระความรูหรือทักษะตาง ๆ ใหนักเรียนทั้งชั้นกอนจนแนใจวานักเรียนทุกคนรูและเขาใจในสาระความรูนั้น หรือรูและเขาใจแนวทางการปฏิบัติพอสมควรกอน แลวจึงจัดกลุมใหนักเรียนรวมมือ

Page 63: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

54

กันเรียนรูตามใบงาน หรือใบกจิกรรมทีเ่ตรยีมไวลวงหนาในแตละหนวยการเรยีนรู หรือแตละชัว่โมงสอน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหนักเรียนในกลุมไดรวมมือกันศกึษา และทําแบบฝกหดั คนเกงคอยชวยเหลือ แนะนําอธิบายใหเพื่อนสมาชิกที่เรียนดอยกวาภายในกลุม สมาชิกที่เรียนออนกวาจะตองยอมรับ รวมทั้งพยายามถาม – ตอบรวมเรียนรูและฝกปฏิบตัิจนรูและเขาใจในสาระเหลานั้นอยางแทจริง ที่สําคัญสมาชิกกลุมทุกคนตองรูยอมรับวาผลงานและผลการเรียนรูจากการทดสอบคือ ผลงานที่ทุกคนมีสวนรับผิดชอบและเปนผลงาน หรือผลการปฏิบัติของกลุม สําหรับเทคนิคทีมเกมแขงขัน TGTนั้น ในขั้นของการทําแบบทดสอบเปนรายบุคคลของเทคนิค การรวมมือกันเรียนรูแบบ STAD ครูจะตองจัดกลุมนักเรียนใหม สําหรับเทคนิค TGT นักเรียนจะไมทําแบบทดสอบเปนรายบุคคล แตจะแขงขันกันตอบคําถามที่เกี่ยวของกับเรื่องที่เรียนแทน โดยที่ครูจะตองเตรียมคําถามใหนักเรียนตอบ โดยอาจจะสรางขอคําถามใหมี 3 ระดับ คือ คําถามสําหรับเด็กเกง เด็กเรียนปานกลาง และเด็กเรียนออน เปนตน หรืออาจจะเปนขอคําถามคละกันทั้งยาก – งาย ใหแตละกลุมตอบคําถามเหลานั้น คําถามเหมือนกันก็ได โดยใหเหมาะสมกับระดับความพรอมของนักเรียน พรอมกับจําแนกเวลาในการทําแบบฝกหัดเพื่อการแขงขันแตละครั้งก็ได

ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคนิค TGT1. ขั้นสอน ครูสอนบทเรียนใชเวลา 1 – 2 ครั้ง/ช่ัวโมง 2. ขั้นกิจกรรมกลุม รวมกันศึกษา ฝกปฏิบัติตามใบงานใชเวลา 1 – 2 ครั้ง/ช่ัวโมง3. ขั้นการแขงขัน ตอบปญหาระหวางกลุมใหมที่จัดขึ้นใชเวลา 1 ช่ัวโมง ทีมละ

4 - 5 คน ตามจํานวนของนักเรียนในหอง4. ขั้นใหรางวัลกลุม คะแนนกลุม คํานวณไดจากคะแนนพัฒนาของสมาชิก

รวมกันและเฉลี่ยเทคนิคการรวมมือกันแบบบูรณาการการอานและเขียนเรียงความ (Cooperative

Imtegrated Reading and Composition )วิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูเทคนิคผสมผสานการอานและการเขียนเรียงความ CIRC เดิม ซ่ึงเปนรูปแบบเทคนิควิธีสอนเขียนเรียงความภาษาอังกฤษโดยบูรณาการกับการสอนอาน โดยเริ่มจากการสอนอานเพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ และจากการอานชวยพัฒนาความสามารถในการเขียนเรียงความซึ่งเปนวิธีสอนที่ใชในสหรัฐอเมริกามากอน และมีการนําไปใชอยางแพรหลาย และประสบผลสําเร็จ โดยเฉพาะสําหรับที่เปนการสอนดานภาษาแกหลักการเขียนภาษา แตสําหรับการสอนภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษในประเทศไทย ซ่ึงไมไดใชภาษาอังกฤษเปนภาษากลางหรือ ภาษาราชการ การที่จะนําเทคนิค CIRC ไปใชใหประสบผลสําเร็จไดไมงายนัก และที่สําคัญถาผูสอนและผูเรียนไมชํานาญ คุนเคย ยอมรับเทคนิควิธีดังกลาว แตอยางไรก็ตามในฐานะครูมืออาชีพ สามารถที่จะปรับประยุกตวิธีการ และวัตถุประสงคใหสอดคลอง

Page 64: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

55

ตามวัตถุประสงคการเรียนรูดวยภาษาของประเทศตนเองได โดยยึดหลักสําคัญของเทคนิคการรวมมือกันเรียนรูที่ใหสมาชิกกลุม รวมมือกันเรียนรูอยางจริงจังทุกคน มีการยอมรับกันและกันและมีเปาหมายความสําเร็จเดียวกัน โดยท่ีครูตองดําเนินการสอนความรูและฝกทักษะการอาน และการเขียนกอนใหฝกปฏิบัติดวยการรวมมือสําหรับเทคนิค CIRC ตองเลือกบทอานที่ประกอบดวยโครงสราง หลักการทางดานภาษาที่นักเรียนตองรูและเขาใจ และนําไปใชได บทอานตองมีสาระที่เหมาสมกับวัย ระดับชั้นมีความหมาย มีคุณคาที่จะใหรูและเขาใจ และนําไปสูการฝกเขียนตามวัตถุประสงคได

ขั้นตอนการจัดการเรียนรูเพื่อพัฒนาทักษะการอานและเขียน1. ครูนําเสนอความรูเกี่ยวกับการอาน วิธีอาน ความสําคัญของการอานเพื่อความ

เขาใจ พอสังเขป อธิบายความสําคัญของการเขียน วิธีเขียนแบบตาง ๆ ของการเขียนความเกี่ยวของสัมพันธ ซ่ึงกันและกันระหวางการอานและการเขียน

2. ครูดําเนินการสอน ยกตัวอยางบทอาน ครู – นักเรียนรวมกันอานบทอานทําความเขาใจ ถาม – ตอบชี้ใหเห็นประเด็นสําคัญ โครงสรางขอขอความ ประโยคตาง ๆ ความเชื่อมโยงของ ขอความ หรือประโยคในบทอาน ใชกิจกรรมการอานโดยพยายามบูรณาการชี้ใหเห็นลักษณะวิธีเขียน ซ่ึงการฝกหัดเขียนควรเริ่มจากการเขียนตอบงาย ๆ การสรางประโยคจากคําศัพทหรือคําเชื่อม คําขยาย ฯลฯ

3. ครูตรวจสอบความรูความเขาใจในเนื้อเร่ือง สาระสําคัญ ประเด็นหลัก – รอง ลักษณะของเนื้อเร่ือง โครงสรางประโยคที่ใช ความสัมพันธระหวางขอความหรือประโยคตางๆและบทความของเรื่อง รวมทั้งฝกใหคาดคะเนจุดจบของเรื่อง หรือบทสรุปของเรื่องที่จะเกิดขึ้นจากเหตุการณ เร่ืองราวตาง ๆ ความเปนไปไดหรือจินตนาการสรางสรรคความคิด

4.จัดกลุมนักเรียน โดยคละความสามารถเชนเดียวกับการจัดกลุมการเรียนรูแบบรวมมอืกนัแบบอืน่ ๆ แจกใบความรู ใบกจิกรรม ให 2 – 3 คนตอ 1 ชุด เพือ่จะไดรวมมอืกนัเรยีนใหรวมกันเรียนรู ปฏิบัติกิจกรรมตามขอตกลงที่ไดตกลงกันไวลวงหนากอนดําเนินการจัดการเรียนรู

5. สมาชิกกลุมทุกกลุมรวมกันเรียนรูและอานใบความรู ฝกกิจกรรมตามใบงานที่ครูเตรียมไวให โดยครูคอยติดตามดูแล ถาม – ตอบ การฝกปฏิบัติของนักเรียนอยางทั่วถึงทุกกลุม

6. การใหฝกหัดการเขียนควรใหสมาชิกไดตรวจสอบการเขียนของเพื่อนชวยกันแกไขปรับปรุงงานของกันและกันใหถูกตอง ในการฝกเขียนจากบทอานควรสอดคลองกับรูปแบบของบทอานในตอนเริ่มแรก แลวคอยพัฒนาเปนการเขียนในลักษณะอื่น ๆ ที่ซับซอน และใชความคิดมากขึ้น ที่สําคัญนักเรียนควรไดมองเห็น เขาใจรูปแบบโครงสรางของประโยคหรือขอความที่สําคัญกอน นั่นคือ การฝกเขียนควรจะเริ่มจากการเขียนตามรูปแบบที่ถูกตองกอนฝกเขียน

Page 65: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

56

จากการชี้นํา แนะนําแนวทางจนชํานาญกอนที่จะใชกิจกรรมฝกพัฒนาการเขียนที่หลากหลาย และมีประสิทธิภาพตอไป

7. การตรวจสอบความรูความเขาใจและผลการเรียนรูดานการอานและการเขียน ครูควรออกแบบทดสอบที่นักเรียนไดผานการเรียนรูและฝกปฏิบัติเปนกลุมมาแลว รูเกณฑการใหคะแนน สามารถตรวจใหคะแนนตนเองและคํานวณคะแนนกลุมของตนเองได การสอนโดยใชเทคนิค บูรณาการการอานและการเขียนสําหรับการสอนภาษาอังกฤษหรือภาษาไทยในการจัดการศึกษาของประเทศไทย ควรพิจารณาจากภูมิหลัง ความรู ประสบการณของนักเรียนแตละระดับชั้น แตละแหงเปนสําคัญ ซ่ึงครูผูสอนสามารถปรับประยุกตเทคนิควิธีดังกลาวไดอยางเหมาะสม เพยีงแตใหรูเขาใจเทคนิควิธีดังกลาวอยางชัดเจน เขาใจมาตรฐานการเรียนรูในแตละวิชาที่จะใชสอน ผลการเรียนรูที่คาดหวังและวัตถุประสงคการเรียนรูแตละวิชาเปนหลักสําคัญ

เทคนิคการรวมคิดหาคําตอบ (Numbered Heads Together) การรวมกันคิดหาคําตอบ(NH) เปนเทคนิคการเรียนแบบรวมมือที่งาย ที่จะนําไปใชสําหรับครูที่ตองการใหนักเรียนไดทบทวนความรู ความจํา ความเขาใจ หรือฝกคิดรวมกันอยางรวดเร็วเกี่ยวกับหลักการขอเท็จจริงในสาระ ความรูที่ครูสอน ซ่ึงจะมีประโยชนสําหรับนักเรียนทุกชั้นทุกระดับความสามารถ ซ่ึงเทคนิค ดังกลาวจะชวยใหนักเรียนมีสวนรวมมากขึ้นในการศึกษาเรียนรูในทุกเรื่องที่ซับซอน ครูสามารถใชเทคนิคนี้ในทุกสถานการณ ในการเรียนการสอนแตละครั้ง เทคนิครวมกันคิดหาคําตอบหรือ NH มีลักษณะสําคัญดังนี้ 1) นักเรียนแตละคนไดรับหมายเลข (1 – 4) 2) ครูเสนอคําถามหรือมอบหมายกิจกรรมใหทดสอบความรู 3) นักเรียนตองรวมกันคิดหาคําตอบและแนใจวา ทุกคนเขาใจและรูคําตอบนั้น และ 4) ครูเรียกหมายเลขใหตอบคําถาม (ไมเรียกชื่อ)

วิธีการจัดนักเรียนเปนทีม ครูจัดนักเรียนทีมละ 4 คน ใหหมายเลข 1 – 4 แกสมาชิกทีมแตละทีมในชั้นเรียน เมื่อนักเรียนเขาทีมเรียบรอยแลวจะเก็บหมายเลขของตนไวในซองสือ่หลังจากนั้นครูจะถามคําถาม คําถามสวนใหญจะเปนคําถามความรู ความจํา และการคิดคํานวณหรือการใชสูตรตาง ๆ เพื่อเปนการทบทวนและตรวจสอบความรูความเขาใจ จากนั้นแตละทีมจะรวมกันคิดหาคําตอบ และตองแนใจวาสมาชิกทีมทุกคนรูคําตอบ ครูจะใหสัญญาณใหหยุดระดมความคิดกัน สุมเรียกหมายเลขใหตอบ โดยนักเรียนแตละทีมที่มีหมายเลขที่ถูกเรียกจะยกมือหรือยืนขึ้น ครูจะเลือกหรือสุมใหตอบบนกระดาน ที่สําคัญตัวแทนทุกทีมควรมีโอกาสตอบเทาเทียมกัน แลวคนที่ตอบถูกจะไดคะแนน เปนตน

เทคนิคการเรียนแบบรวมมือแบบจิ๊กซอร II ( Jigsaw II ) เทคนิคจิ๊กซอร II หรือวิธีสอนแบบรวมมือเปนเทคนิคที่มีการปรับปรุงจากเทคนิคจิ๊กซอร I ตามแนวคิดของอารอนสัน ( Aronson ) ซ่ึงเทคนิคจิ๊กซอร I คะแนนจากการทดสอบของนักเรียนแตละคนจะไมนํามารวมกัน

Page 66: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

57

เปนคะแนนกลุมหรือผลงานของกลุม แตเทคนิคจิ๊กซอร II ของสลาวินจะกําหนดเกณฑคือ ผลงานของทุกคนเฉลี่ยรวมกันเปนผลงานกลุม ซ่ึงเปนความรับผิดชอบตอตนเองและตอกลุมในเวลาเดียวกัน นั่นคือ สมาชิกทุกคนมีโอกาสไดคะแนนผลสําเร็จเทาเทียมกัน ถึงแมวาคะแนนสอบตางกันก็ตามเทคนิค จิ๊กซอร I และเทคนิคจิ๊กซอร II จะมีการจัดกลุมผูเรียนคละความสามารถเชนเดียวกัน มีสมาชิกกลุมละ 5 – 6 คน สมาชิกในกลุม 1 คน แตละกลุมจะไดรับมอบหมายงานหรือสาระใหศึกษาคนควา หลังจากนั้นสมาชิกที่ไดรับมอบหมายงานจากแตละกลุมจะมารวมกันเปนกลุม “ผูเชี่ยวชาญ” (Expert) มีการศึกษาแลกเปลี่ยนความรูประสบการณกันและกัน จนสามารถเขาใจในทุกเรื่อง แลวกลับไปสอนหรืออธิบายใหกลุมของตนเองฟง ตอจากนั้นครูจะทดสอบเปนรายบุคคล คิดคะแนน คํานวณคะแนนพัฒนาแลวเฉลี่ยรวมเปนคะแนนกลุม กลุมที่ไดคะแนนพัฒนาสูงสุดจะไดรับรางวัลเปนการชื่นชม ยกยอง ประกาศผลงาน เปนตน

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนแบบจิ๊กซอร II1. ขั้นนํา เปนการเตรียมความพรอมของผูเรียน เพื่อสรางแรงจูใจในการเรียนรู

แจงวัตถุประสงคในการเรียน ซ่ึงเปนเปาหมายในการสอนแตละตัว ทบทวนความรูเดิมที่จําเปนสําหรับเรียนความรูใหม แนะนําวิธีการเรียนแบบรวมมือกัน บทบาทหนาที่ของสมาชิกกลุม วิธีการ ชวยเหลือพึ่งพากันและกัน เพื่อใหกลุมประสบผลสําเร็จและบรรลุเปาหมายของกลุม

2. ขั้นสอน เปนการเสนอหัวเร่ืองในการเรียนรูแกผูเรียน เตรียมเนื้อหา ส่ือที่เหมาะสม ใหรูและเขาใจความคิดรวบยอดของการเรียนรูแตละดาน ครูอาจใชสอนแบบบรรยาย อภิปราย สาธิต การใชดวยกรณีตัวอยาง ขาวและเหตุการณสําคัญหรือผสมผสานหลายเทคนิควิธีสอน

3. ขั้นศึกษากลุมยอย ครูแบงหัวขอเร่ืองที่จะใหนักเรียนศึกษาเปน 4 - 5 ประเด็นยอย ใหนักเรียนรับรูวาตนสนใจศึกษาหัวขอใด ใหสมาชิกในกลุมแยกกันไปศึกษารวมกับสมาชิกกลุมอ่ืน ๆ ที่สนใจในหัวขอเดียวกันรวมกันศึกษาใหเขาใจอยางแจมแจง จนสามารถเปนผูเชี่ยวชาญไดแลวใหกลับกลุมเดิม อธิบายเนื้อหาที่ตนเองศึกษามาแลว ใหสมาชิกกลุมไดเขาใจ โดยผลัดกันเปนผูอธิบาย

4. ขั้นทดสอบยอย ครูจะใหนักเรียนทําแบบทดสอบเปนรายบุคคล ซ่ึงนักเรียนจะตองนําเอาคะแนนที่ไดจากแบบทดสอบ จะถูกแปลงเปนคะแนนกลุม มีการคิดคะแนนพัฒนาของแตละคนและของกลุม จากคะแนนฐานแตละคน นักเรียนจะไดคะแนนกาวหนาหรือคะแนนพัฒนา ซ่ึงจะรวมกันเปนคะแนนของกลุมเพื่อตัดสินวากลุมใดจะเปนกลุมดีเลิศ ซ่ึงคะแนนสวนนี้จะมาจาก ความขยันความสามารถทําคะแนนพัฒนาขึ้น นั่นคือ ทุกคนมีสวนที่จะทําใหคะแนนกลุมสูงขึ้นเทา ๆ กัน หรืออาจทําคะแนนพัฒนาไมไดเลย ถาคะแนนที่ไดนอยกวาคะแนนฐานที่กําหนดคือ เอ

Page 67: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

58

การเรียนแบบรวมมือเทคนิคการศึกษาแบบกลุมรวมมือ(Group Investigation)การศึกษาแบบกลุมรวมมือ (Group Investigation) หรือแสวงหาความรูโดยใชกระบวนการกลุมแบบรวมมือเปนเทคนิคการเรียนรูแบบรวมมือกันอีกรูปแบบหนึ่ง ซ่ึงเปนแนวคิดที่นําเสนอโดยชาเรนและชาเรน เทคนิค GI จะไมมุงเนนการพัฒนาดานความรูและทักษะ ตาง ๆ แตจะมุงใหนักเรียนแสวงหาความรูเปนกลุมโดยละเอียดลึกซึ้งจากเรื่องที่ตนเองสนใจเปนหลัก ดังนั้นการเรียนรูโดยเทคนิค GI นักเรียนจะเรียนรูเกี่ยวกับโครงสรางวิธีการแสวงหาความรู และขอเท็จจริงตาง ๆ เชน หลักสูตรกําหนดใหเรียนเรื่องประวัติศาสตรทั้งชั้น นักเรียนก็จะไดรับโอกาสที่เลือกศึกษาโดยละเอียดในหนวยที่ตนเองสนใจเปนพิเศษ อยางไรก็ตามสิ่งที่สําคัญคือ วิธีการที่นักเรียนจะไดมาซึ่งความรูรายละเอียดตาง ๆ เหลานั้น ซ่ึงจะมีหลายวิธีที่จะไดมาซึ่งความรูและรายละเอียดตาง ๆ ที่กําหนด เชน อาจไดมาโดย การวิเคราะหวรรณกรรมที่เกี่ยวของ จากวรรณกรรมประเภทตาง ๆ เปนตน นั่นคือ ความถูกตอง การคิดอยางมีเหตุผลเชิงตรรกะและการสังเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของสัมพันธกัน จึงเปนองคประกอบที่สําคัญของการแสวงหาความรูแบบกลุม (GI) แตสําหรับเนื้อหาที่จะตองเรียนรูนั้น นักเรียนจะเปนผูเลือกตามความสนใจ

ขั้นตอนการดําเนินการสอนโดยใชเทคนิคการรวมมือแบบ GI1. การเลือกเรื่องที่สนใจ โดยปกติจะเปนการนําเสนอสาระ เนื้อหา วัตถุประสงคที่

นักเรียนสามารถจะเลือกไดตามความสนใจ เชน อาจจะเสนอหัวเร่ืองเหตุการณสําคัญในประวัติศาสตร วิทยาศาสตร และพลเมืองของประเทศ เปนตน หลังจากนั้นเขียนคําอธิบายพอสังเขปเกี่ยวกับเรื่องที่จะเสนอ ครูจะใหนักเรียนตั้งคําถามที่เกี่ยวของกับเรื่องตาง ๆ ที่เขียนบนกระดานใหนักเรียนจับคูหรือเขากลุมเปรียบเทียบคําถามตนเองรวมกันเปนรายการคําถามที่แตกตางกันมากมายหลายขอ ใหแตละคูหรือกลุมอานรายการคําถามใหจําแนกคําถามเปนเรื่อง ๆ โดยครูคอยชวยเหลือ เชน ในกลุมประวัติศาสตรอาจจะจัดกลุมเรื่องตาง ๆ ดังนี้ คือ ประเภทของงาน การสํารวจ สถาปตยกรรม เครื่องแตงกาย อาหาร ศิลปะ เกม โรงเรียน และการกสิกรรม ซ่ึงกลุมเหลานี้ก็จะเกี่ยวของและอยูในเรื่องที่นําเสนอตอนแรก

2. การจัดทีมเพื่อทําการศึกษาแบบกลุมรวมมือกันเรียนรู แตละทีมจะประกอบดวยสมาชิก 4 หรือ 5 คน ที่มีความสนใจในเรื่องเดียวกันและมีความหลากหลายระหวางสมาชิกในทีมดวย แตบางเรื่องอาจจะไมเปนที่สนใจของนักเรียนเลยก็ได ครูอาจจะตัดเรื่องนั้นออก แตถามีเร่ืองใดที่สมาชิกใหความสนใจเปนจํานวนมาก ครูสามารถจะจําแนกเปนหัวขอยอย ๆ เพื่อใหแตละทีมสามารถศึกษาในเรื่องยอยที่แตกตางกัน เชน ทีมแรกอาจจะอภิปรายกันเกี่ยวกับเรื่องที่เลือกอยาง กวาง ๆ และตอบคําถาม เชน เขาตองการศึกษาอะไรบาง สมาชิกจะรวมกันเขียนปญหาที่เกี่ยวของกัน แลวตัดสินวาใครจะรับผิดชอบเรื่องใดอยางไร เพื่อวัตถุประสงคอะไร เปนตน ขณะเดียวกันก็

Page 68: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

59

จะรวมกันพิจารณาสื่อ ทรัพยากรที่มีประโยชน กําหนดเวลาที่ปฏิบัติใหเสร็จสิ้น แลวพูดคุยเพื่อเสนอแผนปฏิบัติ

3. การดําเนินการศึกษาสํารวจเรื่องที่ไดเลือกแลว นักเรียนแตละคนจะปฏิบัติงานตามที่ไดวางแผน โดยครูคอยชวยเหลือในการเก็บรวบรวมขอมูล ตัดสินใจพิจารณาประโยชนของขอมูลรวมกับสมาชิกในทีม บางครั้งครูอาจจะชวยนักเรียนโดยการเตรียมใบงานให เชน ทําแบบฟอรมที่ประกอบดวยประเด็นตาง ๆใหนักเรียนกอน

4. การเตรียมเสนอผลงาน นักเรียนจะเตรียมเสนอผลงานการศึกษาคนควา หรือคําตอบของตนเองหนาชั้นเรียน โดยครูจะเปนผูประสานงานการเสนอรายงานทั้งหมดทุกทีม สมาชิกทีมแตละทีมจะรวมกันพิจารณาวาจะเสนอรายงานอะไรบาง อยางไร ใหมปีระสิทธิภาพสงูสุด สมาชิกจะเลือกวิธีเสนองาน เตรียมสื่อที่เหมาะสม รวมทั้งการสนับสนุนการนําเสนอ แตละทีมควรรวมกันกําหนดเกณฑการนําเสนอผลงานของทีมตนเองดวย

5. การนําเสนอผลงานในชั้นเรียน นักเรียนจะเสนอรายงานจากผลการศึกษาของทีม ตนเองใหทุกคนในชั้น โดยพยายามเชื่อมโยงกับเรื่องตาง ๆ ที่ทีมอ่ืน ๆ ไดทําการศึกษา และกําลังจะนําเสนอผลงานหรือเสนอผลงานแลว เพื่อใหเปนไปตามแนวทางที่ไดกําหนดรวมกันในขั้นที่ 1 การนําเสนอควรใหผูฟงมีสวนรวมในการใหขอมูลยอนกลับ

6. การประเมินผลงาน การประเมินผลงานกลุมยึดเกณฑที่เหมาะสมกับงานที่ใหเรียนรู เชน งานที่ใหทําเนนความรูความเขาใจ ครูควรมีการทดสอบความรูความเขาใจดวย โดยขอทดสอบอาจมาจากนักเรียนไดรวมกันออกขอสอบ แลวครูนํามาเลือกภายหลัง หรืออาจใหประเมินผลดวยตนเอง หรือกลุมเพื่อน หรือดูจากผลงานที่แตละคนปฏิบัติ ที่สําคัญควรเปนการพัฒนาความคิดระดับสูง (higher – order – thinking)

การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT (Team Games Tournament)

ความหมายของการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT เปนเทคนิคหนึ่งของวิธีสอนแบบรวมมือ โดยจัด

ใหนักเรียนรวมกันเปนกลุมยอย สมาชิกในกลุมมีระดับความสามารถแตกตางกัน สมาชิกภายในกลุมจะศึกษาคนควาและทํางานรวมกัน นักเรียนจะบรรลุเปาหมายก็ตอเมื่อเพื่อนรวมกลุมบรรลุถึงเปาหมายนั้นรวมกัน นักเรียนจึงมีปฏิสัมพันธที่ดีตอกัน เพื่อชวยเหลือสนับสนุน กระตุนและสงเสริม การทํางานของเพื่อนสมาชิกในกลุมใหประสบผลสําเร็จ นักเรียนไดอภิปรายซักถามซึ่งกันและกัน เพื่อใหเขาใจบทเรียนหรืองานที่ไดรับมอบหมายเปนอยางดีทุกคน ตอจากนั้นจะมีกิจกรรมแขงขัน

Page 69: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

60

ตอบปญหา เพื่อสะสมคะแนนความสามารถของกลุม โดยนักเรียนแตละคนจะเปนผูแทนของกลุมในการเขารวมแขงขันตอบปญหาทางวิชาการกับตัวแทนของกลุมอื่น ที่มีความสามารถระดับ ใกลเคียงกัน แลวนําคะแนนที่สมาชิกในกลุมแตละคนที่สะสมไดจากการตอบปญหามารวมกันเปนคะแนนเฉลี่ยของกลุม กลุมใดทําคะแนนไดสูงถึงเกณฑที่กําหนดจะไดรับรางวัล

เทคนิค TGT มีลักษณะสําคัญ คือ นักเรียนทุกคนจะไดรวมสนุก ตื่นเตนและทาทาย ความสามารถของนักเรียน ดวยการเขารวมเกมการแขงขันตอบปญหากับนักเรียนกลุมอื่นที่มี ความสามารถใกลเคียงกัน ดังนั้นนักเรียนทุกคนมีโอกาสเทาเทียมกันในการทําคะแนน จึงทําใหมีความภาคภูมิใจ มั่นใจในความพยายามและความสามารถของตน และเปนการกระตุนใหนักเรียนกระตือรือรนในการคนควาหาความรู และชวยเหลือกัน

องคประกอบสําคัญของการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTการเรียนรูโดยใชเทคนิค TGT มีองคประกอบสําคัญดังนี้ (สุวิทย มูลคํา และอรทัย

มูลคํา 2545 : 164)1. การเสนอเนื้อหา เปนการนําเสนอเนื้อหาหรือบทเรียนใหม รูปแบบการนําเสนอ

อาจจะเปนการบรรยาย อภิปราย กรณีศึกษาหรืออาจจะมีส่ือการเรียนอื่น ๆ ประกอบดวยก็ได เทคนิค TGT จะแตกตางจากเทคนิคอ่ืน ๆ ตรงที่ผูสอนตองเนนใหผูเรียนทราบวาผูเรียนตองใหความสนใจมากในเนื้อหาสาระ เพราะจะชวยใหทีมประสบความสําเร็จในการแขงขัน วิธีนี้เหมาะสมกับการเรียนรูในวิชาพื้นฐานที่สามารถถามคําถามที่มีคําตอบแนนอนตายตัว เชน ภาษาไทย คณิตศาสตร เปนตน

2. การจัดทีม เปนการจัดทีมผูเรียนโดยใหคละกันทั้งเพศและความสามารถ ทีมมีหนาที่ในการเตรียมตัวสมาชิกใหพรอมเพื่อการเลนเกม หลังจากจบชั่วโมงการเรียนรูแตละทีมจะนัดสมาชิกศึกษาเนื้อหาโดยมีแบบฝกหัดชวย และผูเรียนจะผลัดกันถามคําถามในแบบฝกหัดจนกวาจะเขาใจ เนื้อหาทั้งหมด เทคนิค TGT จุดเนนในทีมคือ ทําใหดีที่สุดเพื่อทีม จะชวยเหลือใหกําลังใจเพื่อนรวมทีมใหมากที่สุด

3. เกม เปนเกมตอบคําถามงาย ๆ เกี่ยวกับเนื้อหาสาระที่ผูเรียนไดศึกษาเรียนรูใน การเลนเกม ผูเรียนที่เปนตัวแทนจากทีมแตละทีมจะมาเปนผูแขงขัน

Page 70: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

61

ขั้นตอนการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTสุลัดดา ลอยฟา (2536 : 35-37) ไดกลาวถึงขั้นตอนการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือ

โดยใชกิจกรรมแบบกลุมการแขงขัน (TGT) ดังนี้1. การนําเสนอบทเรียนตอช้ันเรียน ครูสอนเนื้อหาตอช้ันเรียน โดยครูผูสอนจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมตามลักษณะเนื้อหาของบทเรียน และใชส่ือการเรียนการสอนประกอบคําอธิบายของครู เพื่อใหผูเรียนเขาใจเนื้อหาในบทเรียนมากที่สุด

2. การเรียนเปนกลุม เปนการทํางานกลุม ซ่ึงแตละกลุมจะประกอบดวยสมาชกิ 4 คน กิจกรรมของกลุมจะอยูในรูปของการอภิปรายหรือการแกปญหารวมกัน กลุมจะตองทําใหดีที่สุด เพื่อชวยเหลือสมาชิกแตละคนในกลุมของตน ครูควรกระตุนใหสมาชิกทุกคนทราบวางานของกลุมจะสําเร็จก็ตอเมื่อสมาชิกในกลุมสงเสริมและสนับสนุนซึ่งกันและกัน

3. การแขงขันเกมวิชาการ เปนการแขงขันตอบคําถามเกี่ยวกับเนื้อหาของบทเรียน โดยมีจุดมุงหมายเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในบทเรียน การแขงขันประกอบดวยผูเลนกลุมละ 4 คน ซ่ึงแตละคนจะเปนตัวแทนของกลุมยอยแตละกลุม การกําหนดนักเรียนเขากลุมเลนเกมจะยึดหลัก นักเรียนที่มีความสามารถทัดเทียมกันแขงขันกัน กลาวคือ นักเรียนที่มีความสามารถสูงของแตละกลุมจะแขงขันกัน นักเรียนที่มีความสามารถปานกลางของแตละกลุมจะแขงขันกัน และนักเรียนที่มี ความสามารถต่ําของแตละกลุมจะแขงขันกัน การที่นักเรียนมีความสามารถทัดเทียมกันของแตละกลุมมาทําการแขงขันกนั เพือ่ใหนกัเรยีนแขงขนักบัตวัเอง และนกัเรยีนแตละคนมโีอกาสไดชวยเหลือกลุมใหประสบผลสําเร็จเทาเทียมกัน

4. การยอมรับกลุม กลุมที่ไดคะแนนรวมถึงเกณฑที่กําหนดจะไดรางวัล โดยกําหนด รางวัลไว 3 รางวัล ไดแก กลุมยอดเยี่ยม กลุมเกงมาก และกลุมเกง

วัฒนาพร ระงับทุกข ( 2542 : 37 ) ไดกลาวถึงขั้นตอนการเรียนแบบรวมมือแบบ TGT มีดังนี้

1. ครูนําเสนอบทเรียนหรือขอความรูใหมแกผูเรียน โดยอาจนําเสนอดวยส่ือการเรียน การสอนที่นาสนใจ หรือใชการอภปิรายทั้งหองเรียนโดยครูเปนผูดําเนินการ

2. แบงกลุมนักเรียนโดยจัดใหคละความสามารถและเพศ แตละกลุมประกอบดวยสมาชิก 4 - 5 คน (เรียกกลุมนี้วา Study Group หรือ Home Group) กลุมเหลานี้จะศึกษาทบทวนเนื้อหา ขอความรูที่ครูนําเสนอ สมาชิกกลุมที่มีความสามารถสูงกวาจะชวยเหลือสมาชิกที่มีความสามารถดอยกวา เพื่อเตรียมกลุมสําหรับการแขงขันในชวงทายสัปดาหหรือทายบทเรียน

3. จัดการแขงขันโดยจัดโตะแขงขันและทีมแขงขัน (Tournament Teams) ที่มีตัวแทนของแตละกลุม (ตามขอ 2) ที่มีความสามารถใกลเคียงมารวมแขงขันกันตามรูปแบบและกติกาที่

Page 71: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

62

กําหนด ขอคําถามที่ใชในการแขงขันจะเปนคําถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียนมาแลว และมีการฝกฝนเตรียมพรอมในกลุมมาแลว ควรใหทุกโตะแขงขันเริ่มแขงขันพรอมกัน

4. ใหคาคะแนนการแขงขัน โดยใหจัดลําดับคะแนนผลการแขงขันในแตละโตะ แลว ผูเลนจะกลับเขากลุมเดิม (Study Group) ของตน

5. นําคะแนนการแขงขันของแตละคนมารวมกันเปนคะแนนของทีม ทีมที่ไดคะแนนรวมหรือคาเฉลี่ยสูงสุดจะไดรับรางวัล

สุวิทย มูลคํา และอรทัย มูลคํา (2545 : 165-166) ไดกลาวถึงขั้นตอนการจัดการเรียนรูโดยใชเทคนิค TGT ดังนี้

1. ขั้นเตรียมเนื้อหา ประกอบดวย1.1 การจัดเตรียมเนื้อหาสาระ ผูสอนจดัเตรยีมเนือ้หาสาระ หรือเร่ืองทีจ่ะใหผูเรียนได

เรียนรู1.2 การจัดเตรียมเกม ผูสอนจะตองจดัเตรยีมคาํถามงาย ๆ ซ่ึงเปนคาํถามจากเนือ้หาสาระ

ที่ผูเรียนเรยีนรู วิธีการใหคะแนนโบนัสในการเลนเกม รวมทั้งส่ืออุปกรณการเรียนรู เชน ใบงาน ใบความรู ชุดคําถาม กระดาษคําตอบ กระดาษบันทึกคะแนน เปนตน

2. ขั้นจัดทีม ผูสอนจัดทีมผูเรียนโดยใหคละกันทั้งเพศ และความสามารถทีมละประมาณ 4-5 คน เชน ทีมที่มีสมาชิก 4 คน อาจประกอบดวยชาย 2 คน หญิง 2 คน เปนคนเกง 1 คน ปานกลาง 2 คน และออน 1 คน เปนตน เพื่อเรียนรูโดยปฏิบัติกิจกรรมตามคําส่ังหรือใบงานที่กําหนดไว

3. ขั้นการเรียนรู ประกอบดวย3.1 ผูสอนแนะนําวิธีการเรียนรู3.2 ทีมวางแผนการเรียนรูและการแขงขัน

3.3 สมาชิกในแตละทีมรวมกันปฏิบัติกิจกรรมตามคําส่ังหรือใบงาน 3.4 กลุมหรือทีมเตรียมความพรอมใหกับสมาชิกในกลุมทุกคน เพื่อใหมีความรู

ความเขาใจในบทเรียน และพรอมที่จะเขาสูสนามแขงขัน3.5 แตละทีมทําการประเมินความรูความเขาใจในเนื้อหาของสมาชิกในทีม โดยอาจ

ตั้งคําถามขึ้นมาเอง โดยใหสมาชิกของทีมทดลองตอบคําถาม 3.6 สมาชิกของทีมชวยกันอธิบายเพิ่มเติม ในประเด็นที่บางคนยังไมเขาใจ

4. ขั้นการแขงขัน ผูสอนจัดการแขงขัน ประกอบดวย4.1 ผูสอนแนะนําการแขงขันใหผูเรียนทราบ4.2 จัดผูเรียนหรือสมาชิกตัวแทนของแตละทีมเขาประจําโตะการแขงขัน

Page 72: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

63

4.3 ผูสอนแนะนําเกี่ยวกับเกม โดยอธิบายจุดประสงคและกติกาของการเลนเกม4.4 สมาชิกหรือผูเรียนทุกคนเริ่มเลนเกมพรอมกัน ดวยชุดคําถามที่เหมือนกันผูสอน

เดินตามโตะการแขงขันตาง ๆ เพื่อตอบปญหาขอสงสัย4.5 เมื่อการแขงขันจบลง ใหแตละโตะตรวจคะแนน จัดลําดับผลการแขงขันและ

ใหหาคาคะแนนโบนัส4.6 ผูเขารวมแขงขันกลับไปเขาทีมเดิมของตน พรอมนําคะแนนโบนัสไปดวย4.7 ทีมนําคะแนนโบนัสของแตละคนมารวมกันเปนคะแนนรวมของทีม อาจจะหา

คาเฉลี่ยหรือไมก็ได ทีมที่ไดคะแนนรวมสูงสุดจะไดรับการยอมรับวาเปนทมีชนะเลศิ และรองชนะเลศิตามลําดับ

6. ขั้นยอมรับความสําเร็จของทีม ผูสอนประกาศผลการแขงขัน และเผยแพรสูสาธารณชนดวยวิธีการตาง ๆ เชน ปดประกาศที่บอรด ลงขาวหนังสือพิมพทองถ่ิน จดหมายขาว ประกาศหนาเสาธง เปนตน รวมทั้งมอบรางวัล ยกยอง ชมเชย

วัชรา เลาเรียนดี ( 2547 : 16 ) ไดกลาวถึงขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนโดยใชเทคนิค TGT ดังนี้

1. ขั้นสอน ครูสอนบทเรียนใชเวลา 1 – 2 คร้ัง/ช่ัวโมง 2. ขั้นกิจกรรมกลุม รวมกันศึกษา ฝกปฏิบัติตามใบงานใชเวลา 1 – 2 ครั้ง/ช่ัวโมง

3. ขั้นการแขงขัน ตอบปญหาระหวางกลุมใหมที่จัดขึ้น ใชเวลา 1 ช่ัวโมง ทีมละ 4 - 5 คน ตามจํานวนของนักเรียนในหอง

4. ขั้นใหรางวัลกลุม คะแนนกลุม คํานวณไดจากคะแนนพัฒนาของสมาชิกรวมกันและเฉลี่ย

นอกจากนี้ วัชรา เลาเรียนดี (2545 : 1) ไดอธิบายถึงการเตรียมการกอนสอนไว ดังนี้1. วัสดุการสอน ครูจะตองเตรียมวัสดุการสอนที่ใชในการทํางานกลุม ประกอบดวย

ใบงาน บัตรงาน บัตรกิจกรรม บัตรเฉลย และแบบฝกหัด รวมทั้งแบบทดสอบยอยสําหรับทดสอบ นักเรียนแตละคนหลังจากเรียนบทเรียนในแตละหนวยแลว

2. การจัดนักเรียนเขากลุม แตละกลุมจะประกอบดวย นักเรียนจํานวน 4 คน ซ่ึงมี ความสามารถทางวิชาการแตกตางกัน กลาวคือ ประกอบดวย นักเรียนเกง 1 คน นักเรียนปานกลาง 2 คน และออน 1 คน ถาเปนไปไดควรคํานึงถึงความแตกตางระหวางเพศดวย เชน ชาย 2 คน และหญิง 2 คน วิธีการจัดการนักเรียนเขากลุมอาจทําไดดังนี้

2.1 จัดลําดับนักเรียนในชั้นจากเกงที่สุดไปหาออนที่สุดโดยยึดตามผลการเรียนที่ผานมา ซ่ึงอาจจะเปนคะแนนจากแบบทดสอบ หรือการพิจารณาตัดสินใจของครูเองเปนสวน

Page 73: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

64

ประกอบ2.2 หาจํานวนทั้งหมดวามีกี่กลุม แตละกลุมควรประกอบดวยสมาชิกประมาณ 4

คน ฉะนั้นทั้งหมดจะมีกี่กลุมหาไดจากการหารจํานวนนักเรียนทั้งหมดดวย 4 ผลหารคือจํานวนกลุมทั้งหมด ถาหารไมลงตัวอนุโลมใหบางกลุมมีสมาชิก 5 คนได

Page 74: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

65

2.3 การกําหนดนักเรียนเขากลุม มีเทคนิคการจัดดังตารางตอไปนี้

ระดับผูเรียน อันดับของผูเรียน กลุมที่สังกัด

นักเรียนที่เรียนเกง

123456

ABCDEF

นักเรียนที่เรียนปานกลาง

789

101112131415161718

FEDCBAABCDEF

นักเรียนที่เรียนออน

19202122232425

FEDCBAA

นักเรียนในชั้นทั้งหมดรวม 25 คน

Page 75: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

66

จากขั้นตอนการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือที่ใชเทคนิค TGT ดังกลาว ผูวิจัยไดนําแนวคิดของนักการศึกษามาสังเคราะหรวมกับแนวคิด หลักการ และวิธีดําเนินการ แลวกําหนดขั้นตอนการสอนแบบรวมมือเทคนิค TGT ประกอบดวย 5 ขั้นตอนดังนี้

1. ขั้นนํา เพื่อใหผูเรียนพัฒนาความคิดรวบยอดหรือหลักการของการเรียน โดยใชเกม เพลง นิทาน การบรรยาย อภิปราย ฯลฯ ทบทวนความรูเดิมของนักเรียนในเรื่องที่จะเรียน เพื่อเชื่อมโยงใหเขากับเนื้อหาใหม

2. ขั้นสอน ครูเสนอเนื้อหาโดยใชเทคนิควิธีสอนที่เหมาะสม ผูเรียนตองสนใจและตั้งใจฟงในขณะที่ครูเสนอบทเรียนทั้งชั้น เพื่อนําความรูความเขาใจในบทเรียนไปใชในการแขงขัน

3. ขั้นจัดทีม แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 4 คน คละนักเรียนที่มีความสามารถ เกง ปานกลางและออน เพื่อใหสมาชิกรวมกันปฏิบัติกิจกรรมและเตรียมความพรอมที่จะเขาแขงขัน

4. ขั้นการแขงขัน เปนการแขงขันตอบคําถามจากเนื้อหาที่ผูเรียนเรียนรู แตละทีมจะสงตัวแทน 1 คนมาแขงขัน โดยยึดหลักนักเรียนที่มีความสามารถทัดเทียมกัน คือ นักเรียนเกงของ แตละทีมแขงขันกัน นักเรียนปานกลางแตละทีมแขงขันกันและนักเรียนออนแขงขันกัน คะแนนของแตละคนมารวมเปนคะแนนรวมของทีม เพื่อใหนักเรียนแขงขันกับตนเอง

5. ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน และมอบรางวัลทีมที่ไดคะแนนสูงสุด

การสอนแบบปกติ

ความหมายของการสอนแบบปกติประทุมวรรณ ไทยประทุม (2531 : 11 , อางถึงใน วรรณี ภิรมยคํา 2546 : 77) ได

กลาวถึงความหมายของการสอนแบบปกติไววา หมายถึง “วิธีสอนแบบบรรยาย โดยครูเปนผูอธิบายและบอกความรูใหแกนักเรียน” และ พัชรี ลินิฐฎา (2534 : 11) กลาววา การสอนแบบปกติหมายถึง “การสอนของครูโดยใชแผนการสอนปกติ ซ่ึงสวนมากจะเปนการบรรยายประกอบส่ือการสอน มีการอภิปราย แบงกลุมศึกษาคนควา แสงบทบาทสมมติ” สอดคลองกับ อมรรัตน ฉายศรี (2535 : 27) ที่กลาวไววา “การสอนแบบปกติจะเนนการสอนแบบบรรยายเปนสวนใหญ และ การสอนแบบปกติจะยึดแนวการสอนจากคูมือครูภาษาไทยของกรมวิชาการเปนหลัก” และยัง สอดคลองกับ ชวนพิศ อัตเนตร (2545 : 12) ที่วา “เปนการสอนตามแนวคูมือครูของกรมวิชาการที่มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามที่เสนอไวในคูมือการสอนวิชาภาษาไทยเลม 2 ช้ัน มธัยมศกึษาปที่ 2 ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ” นอกจากนี้ เข็มทอง จิตจักร (2544 : 9) ไดนิยาม

Page 76: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

67

ศัพทของการสอนแบบปกติวา “เปนการเรียนตามแผนการสอนที่ผูวิจัยสรางขึ้นจาก ขอเสนอแนะในคูมือครูหนังสือเรียนภาษาไทย กรมวิชาการ หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนตน พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) ” รัชนี ศิลปศร (2542 : 10) นิยามศัพทไววา “การสอนแบบปกติ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนเกิดการเรียนรูโดยครู เปนผูเตรียมศึกษาหาความรูวามเขาใจใน เร่ืองที่จะสอนจากตํารา แบบเรียนหรือหนังสือตาง ๆ แลวรวบรวมเรื่องราวทั้งหมดมาถายทอดให นักเรียนดวยการบรรยาย การบอก การใชส่ือประกอบการสอน ซ่ึงครูและ นักเรียนจะรวมกันอภิปรายซักถาม ตลอดจนชวยกันสรุปเนื้อเร่ืองหรือส่ิงที่ไดจากการเรียน” และ วรรณี ภิรมยคํา (2546 : 77) ไดสรุปความหมายของการสอนแบบปกติไววา หมายถึง “การจัดกิจกรรมการเรียนรูใหกับนักเรียนโดยยึดแนวการสอนตามคูมือครู ที่เนนการถายทอดความรู แบบบรรยาย และการใชส่ือประกอบการสอนเปนสวนใหญ”

สรุปไดวาการสอนแบบปกติ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ยึดแนวการสอนตามคูมือการสอนภาษาไทย ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ โดยเนนการบรรยาย การอภิปราย และการใชส่ือประกอบการสอน

วิธีสอนตามแนวคูมือครูวิธีสอนตามแนวคูมือครูของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (อภิญญา สิงหสมบัติ

2545 : 43 , อางถึงใน วรรณี ภิรมยคํา 2546 : 77 –78 ) มีขั้นตอนการสอนดังนี้1. ขั้นนํา ครูใชคําถามหรือกิจกรรมตาง ๆ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมของนักเรียน

และดึงดูดความสนใจของนักเรียนใหมาอยูที่การสอนและพรอมที่จะเริ่มเรียน2. ขั้นสอน ครูดําเนินการสอนเพื่อใหนักเรียนไดรับวามรูในเนื้อหาโดยเนนนักเรียน

เปนสําคัญ ในการสอนนั้นอาจใชกิจกรรมตาง ๆ เชน การอภิปราย บทบาทสมมติ สถานการณจําลอง การแสดงละคร เพื่อชวยใหการสอนนาสนใจและเราความสนใจของนักเรียนมากยิ่งขึ้น สงผลใหนักเรียนมีความกระตือรือรนตลอดเวลา และใหนักเรียนมีบทบาทในการเรียนการสอน รวมทั้งทําใหการสอนนั้นมีประสิทธิภาพ

3. ขั้นสรุป นักเรียนรวมกันสรุปเนื้อหา เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจเนื้อหาที่เรียนมากยิ่งขึ้น และเห็นความสัมพันธของสวนประกอบตาง ๆ ของเนื้อหาที่ไดเรียนมาแลว และยังเปน การย้ําใหผูเรียนไดเกิดการเรียนรูดียิ่งขึ้น โดยการอภิปราย การใชส่ือ เปนตน

4. ขั้นวัดและประเมินผล เปนขั้นตอนที่ทําใหครูทราบวานักเรียนไดเรียนไปมากนอย เพียงใด โดยการทดสอบและการทําแบบฝกหัด

Page 77: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

68

อารยา กลาหาญ (2545 : 92 , อางถึงใน วรรณี ภิรมยคํา 2546 : 78) ไดกลาวถึงขั้นตอนวิธีสอนตามแนวคูมือครูไวดังนี้

1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน มีการทบทวนความรูเดิม แจงจุดประสงคการเรียนรู และนําผูเรียนสูเนื้อหาใหม โดยใชวิธีการที่หลากหลาย เชน เกม บทบาทสมมติ นิทาน เพลง เปนตน

2. ขั้นกิจกรรมการเรียนการสอน ประกอบดวยการเสนอเนื้อหาการเรียนใหกับผูเรียนโดยใหนักเรียนใชวิธีการตาง ๆ การอธิบาย การสนทนาซักถาม ตอบปากเปลา อภิปราย การทํา แบบฝกหัด การทํากิจกรรมตามใบงานหรือทํางานกลุม ประกอบกับใชส่ือการสอน รูปภาพ ใบงาน หรือสัญลักษณประกอบการเรียนการสอน

3. ขั้นสรุปบทเรียน ครูและนักเรียนรวมกันสรุปหลักการและสาระรวมกัน4. ขั้นวัดและประเมินผล เปนการตรวจสอบเพื่อวินิจฉัยวานักเรียนบรรลุจุดประสงค

การเรียนรูที่กําหนดไวหรือไม ถานักเรียนยังไมบรรลุตามจุดประสงคก็จะไดรับการสอนซอมเสริมกอนเรียนเนื้อหาใหมตอไป โดยสังเกตพฤติกรรมนักเรียนขณะปฏิบัติกิจกรรม การตอบคําถาม การทําแบบฝกหัด และการตรวจแบบทดสอบ

การศึกษาความหมายและขั้นตอนของการสอนแบบปกติและการสอนตามแนวคูมือครูจากนักการศึกษาดังกลาวขางตนและจากประสบการณในการสอนของผูวิจัย จึงสรุปรูปแบบการสอนแบบปกติที่ผูวิจัยใชทดลองในครั้งนี้ไดดังนี้

1. ขั้นนํา เปนขั้นตอนที่ทําใหนักเรียนเกิดความสนใจในบทเรียน และเตรียมความพรอมใหแกผูเรียน โดยการทบทวนความรูเดิมหรือประสบการณเดิมของนักเรียน ที่ตองนํามาใชในการเรียนความรูใหม ดวยการสนทนา ซักถาม หรือใหนกัเรยีนปฏิบตักิจิกรรมตามทีค่รเูตรยีมไว

2. ขั้นสอน เปนขั้นตอนที่ครูเสนอบทเรียนใหม โดยอธิบายเนื้อหาและใชอุปกรณ ประกอบ เชน รูปภาพ บัตรคํา เปนตน จากนั้นครูใหนักเรียนทํากิจกรรมตาง ๆ ดวยตนเอง

3. ขั้นสรุป เปนขั้นตอนที่ครูและนักเรียนรวมสรุปเนื้อหาหรือหลักการ เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจเนื้อหาที่เรียนมากยิ่งขึ้น

4. ขั้นประเมินผล เปนขั้นตอนการวัดและประเมินคาพฤติกรรมที่นักเรียนทํานั้นวาได ผลตามจุดประสงคการเรียนรูเพียงใด โดยใชเครื่องมือที่เหมาะสม เชน การทดสอบและการทํา แบบฝกหัด

Page 78: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

69

งานวิจัยท่ีเก่ียวของ

งานวิจัยภายในประเทศเกษม วิจิโน (2535 : บทคัดยอ) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์และการใหความรวมมือตอกลุมใน

การเรียนวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่เรียนเร่ืองอัตราสวนและรอยละโดย การใชกิจกรรมการเรียนแบบ TGT และกิจกรรมการเรียนตามคูมือครูของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) กลุมตัวอยางจํานวน 80 คน โรงเรียนเทพลีลา หัวหมากบางกะป แบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุม โดยการสุมแบบแบงชั้น ไดกลุมละ 40 คน ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ืองอัตราสวนและรอยละของนักเรียนที่เรียนโดยใชกิจกรรมการเรียนแบบ TGT และนักเรียนที่เรียนโดยการใชกิจกรรมการเรียนตามคูมือครู ของ สสวท. แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุมทดลองมีคะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธ์ิสูงกวากลุมควบคุม แตคะแนนการใหความรวมมือตอกลุมในการเรียนวิชาคณิตศาสตรของกลุมตัวอยางทั้งสองไมแตกตางกัน

กิ่งดาว กล่ินจันทร (2536 : บทคัดยอ) ศึกษาผลการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิค การแขงขันระหวางกลุมดวยเกมที่มีตอความสามารถในการอานเขาใจความภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปที่ 1 กับกลุมที่เรียนตามคูมือครู กลุมตัวอยางจํานวน 90 คน จากโรงเรียน ดอนเมืองทหารอากาศบํารุง กรุงเทพมหานคร แบงออกเปน 2 กลุม ดวยวิธีการสุมอยางงาย กลุมละ 45 คน ผลการวิจัยพบวา ภายหลังการทดลอง นักเรียนในกลุมที่เรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคการแขงขันระหวางกลุมดวยเกม มีความสามารถในการอานเขาใจความภาษาไทยสูงกวา นักเรียนในกลุมที่เรียนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ปรารถนา เกษนอย (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาผลการเรียนแบบรวมมือในวิชาสังคมศึกษา ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการวิเคราะห ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนตน โรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยฝายมัธยม กรุงเทพมหานคร กลุมตัวอยางมี 2 กลุม คือ กลุมทดลองและกลุมควบคุม กลุมละ 30 คน โดยใชแผนการสอน 2 แบบ คือ แผนการสอนการเรียนแบบรวมมือ และแผนการสอนแบบปกติ ผลการวิจัย พบวา นักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือ มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนกลุมที่เรียนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนักเรียนที่เรียนวิชาสังคมศึกษาดวยวิธีการเรียนแบบรวมมือ มีคะแนนความสามารถในการวิเคราะหสูงกวานักเรียนกลุมที่เรียนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05

Page 79: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

70

รัตนา เจียมบุญ (2540 : บทคัดยอ) ไดวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียน การสอนแบบรวมมือประกอบการสอนแบบ TEAMS – GAMES - TOURNAMENTS กับ การสอนตามคูมือครู กลุมตัวอยางจํานวน 80 คน จากโรงเรียนทามวงราษฎรบํารุง อําเภอทามวง จังหวัดกาญจนบุรี แบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุม กลุมละ 40 คน ผลการวิจัยพบวานักเรียนในกลุมทดลองที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนแบบ TGT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนในกลุมควบคุมที่ไดรับการสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียน แบบ TGT มีเจตคติตอวิชาคณิตศาสตรสูงกวา นักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

อังคณา ชัยมณี (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาการพัฒนาโปรแกรมสงเสริมทักษะการอานเพื่อความเขาใจ โดยใชการเรียนแบบรวมมือดวยเทคนิคการแขงขันระหวางกลุมดวยเกมสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 โปรแกรมสงเสริมทักษะการอานภาษาไทย เพื่อความเขาใจ โดยใชการเรียนแบบรวมมือดวยเทคนิคการแขงขันระหวางกลุมดวยเกม ประกอบดวย 3 ขั้นตอน คือ 1) การพัฒนาโปรแกรมสงเสริมทักษะการอานภาษาไทยเพื่อความเขาใจ โดยใชการเรียนแบบรวมมือดวยเทคนิคการแขงขันระหวางกลุมดวยเกม 2) การทดลองใชโปรแกรม เพื่อดูผลสัมฤทธิ์ทาง การอานภาษาไทย เพื่อความเขาใจของนักเรียนหลังจากการเรียนการสอนที่จัดในโปรแกรม 3) การปรับปรุงโปรแกรม กลุมตัวอยางจํานวน 24 คน จากโรงเรียนบานผือพิทยาภูมิ จังหวัดอุดรธานี ผลการวิจัยพบวา คาเฉลี่ยของคะแนนความสามารถในการอานภาษาไทยเพื่อความเขาใจของนักเรียนหลังเขารวมโปรแกรมสูงกวาเกณฑการประเมินหลังเขารวมโปรแกรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และนักเรียนบางสวนที่เขารวมโปรแกรมมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมในโปรแกรมอยูในระดับเหมาะสมมาก และบางสวนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมในโปรแกรมอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง

ขวัญฤทัย สมัครคุณ (2541 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลการเรียนแบบรวมมือที่มีตอความสามารถในการอานภาษาไทย เพื่อความเขาใจและความคงทนในการเรียน และศึกษาปฏิกิริยาสัมพันธระหวางวิธีการเรียนกับระดับความสามารถทางการเรียนภาษาไทย ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 กลุมตัวอยางจํานวน 120 คน จากโรงเรียนนารีนุกูล กรุงเทพมหานคร แบงออกเปน 3 กลุมๆละ 40 คน กลุมทดลองที่ 1 เรียนแบบรวมมือแบบกลุมตั้งเปาหมายรวมกัน กลุมทดลองที่ 2 เรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์ และกลุมที่ 3 กลุมควบคุมเรียนแบบปกติ เครื่องมือที่ใชเปนแบบทดสอบความสามารถในการอานภาษาไทยเพื่อความเขาใจ ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่เรียนแบบรวมมือแบบกลุมตั้งเปาหมายรวมกัน และเรียนแบบรวมมือแบบ

Page 80: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

71

แบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์ มีความสามารถในการอาน ภาษาไทยเพื่อความเขาใจสูงกวานักเรียนที่เรียนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย นักเรียนที่เรียนแบบรวมมือแบบกลุมตั้งเปาหมายรวมกัน มีความสามารถในการอานภาษาไทยเพื่อความเขาใจสูงกวานักเรียนที่เรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ปฏิกิริยาสัมพันธระหวางวิธีการเรียนกับระดับความสามารถทางการเรียนภาษาไทยที่มีตอความสามารถในการอานภาษาไทย เพื่อความเขาใจอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นักเรียนที่เรียนแบบรวมมือแบบกลุมตั้งเปาหมายรวมกัน และเรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์ มีความคงทนในการเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนแบบปกติอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนักเรียนแบบรวมมือแบบกลุมตั้งเปาหมายรวมกันมีความคงทนในการเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนแบบรวมมือแบบแบงกลุมคละผลสัมฤทธิ์อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ศรีภรณ ณะวงศษา (2542 : บทคัดยอ) ศึกษาเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสนใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรม การเรียนแบบ TEAMS – GAMES – TOURNAMENT แบบ STUDENT TEAMS – ACHIEVEMENT DIVISION และการสอนตามคูมือครู กลุมตัวอยางจํานวน 120 คน จาก โรงเรียนมัธยมเบญจมบพิธ เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ TGT และแบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สวนนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ TGT กับ แบบ STAD มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ และนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ TGT และแบบ STAD มีความสนใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตรสูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 สวนนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ TGT กับแบบ STAD มีความสนใจในการเรียนวิชาคณิตศาสตรแตกตางกันอยางไมมีนัยสําคัญทางสถิติ

วรรณวิศา หนูเจริญ (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันและการสอนตามคูมือครู และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือกัน กลุมตัวอยางจํานวน 80 คน จากโรงเรียนวัดราชบพิตร เขตพระนคร กรุงเทพมหานครใชวิธีสุมอยางงาย แบงเปน 2 กลุม กลุมทดลองและกลุมควบคุม เครื่องมือที่ใช ประกอบดวย 1) แผนการสอนที่จัดการเรียนการสอนแบบรวมมือกันประกอบดวยเทคนิค Jigsaw II , TGT , STAD และTAI 2) แผนการสอนที่จัดการเรียน การสอนตามแนวคูมือครู

Page 81: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

72

3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็น ผลการวิจัยพบวา นักเรียนที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันกับนักเรียนที่ไดรับการสอนตามคูมือครู มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยกลุมทดลองมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมควบคุม และนักเรียนที่สอนการเรียน แบบรวมมือกันมีความคิดเห็นวา การเรียนแบบรวมมือกันเปนการเรียนการสอนที่ชวยใหเกิด ความสามัคคี เขาใจบทเรียนไดดีขึ้น มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรับผิดชอบตอตนเองและกลุม มีการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน และรับฟงความคิดเห็นของผูอ่ืน

วัสริน ประเสริฐศรี (2544 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ืองเศษสวน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอการสอนสอนดวยการเรียน แบบรวมมือกัน กับการสอนตามแนวคูมือครู และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ที่มีตอการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันกับการสอนตามแนวคูมือครู กลุมตัวอยาง 104 คน จากโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ อําเภอสามพราน จังหวัดนครปฐมโดยการสุมอยางงาย แบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุมกลุมละ 52 คน ผลการวิจัยพบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ืองเศษสวน ทีส่อนดวยการเรยีนแบบรวมมอืกนัสงูกวาการสอนตามแนวคูมอืครูอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และนักเรียนมีความคิดเห็นตอการสอนดวยการเรียน แบบรวมมือกันดังนี้ นักเรียนสวนมากชอบการเรียนแบบรวมมือกัน มีความสนกุสนาน ไดชวยกันคิดและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อน ๆ ทําใหพวกเขามีความกระตือรือรนในการเรียนและเกิดความมั่นใจในตนเอง สวนนักเรียนที่เรียนดวยการสอนตามแนวคูมือครูมีความคิดเห็นวาพวกเขาสามารถเรียนรู เขาใจการอธิบายของครู มีโอกาสใกลชิดซักถามไดตลอดเวลา และสามารถทํา แบบฝกหัดไดดวยตนเอง

อารยา กลาหาญ (2545 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กลุ สรางเสริมประสบการณชีวิต หนวยการเมืองการปกครอง ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่สอนดวยวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูและวิธีสอนตามคูมือครู ศึกษาทักษะการทํางานกลุมที่ไดรับ การสอนดวยวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูและวิธีสอนตามคูมือครู และศึกษาความคิดเห็นที่มีตอ การจัดการเรียนการสอนดวยวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรู และวิธีสอนตามคูมือครู กลุมตัวอยาง จํานวน 80 คน จากโรงเรียนอนุบาลหนองหญาไซ (วัดหนองหลวง) อําเภอหนองหญาไซ จังหวัดสุพรรณบุรี เครื่องมือที่ใชประกอบดวย 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2) แบบประเมินทักษะการทํางานกลุม ประเมินโดยครู 3) แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุม ประเมินโดยนักเรียนเปนกลุม 4) แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุม ประเมินโดยนักเรียนเปนรายบุคคล 5) แบบสังเกตทักษะการทํางานกลุม 6) แบบสอบถามความคิดเห็น ผลการวิจัย

Page 82: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

73

พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต หนวยการเมืองการปกครอง ของ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 5 ที่ไดรับการสอนดวยวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูและวิธีสอนตาม คูมือครู แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นักเรียนมีทักษะการทํางานกลุมอยูในระดับมาก มีพฤติกรรมการปฏิบัติงานกลุมบอยครั้ง และนักเรียนมีทักษะการทํางาน 4 ดาน คือ การสรางความคุนเคยไววางใจซึ่งกันและกัน การพูดจาสื่อสารสื่อความหมาย การชวยเหลือสนับสนุน ให กําลังใจ ยกยอง ชมเชย และการขจัดความขัดแยง และนักเรียนมีความคิดเห็นตอการจัดการเรียน การสอนดวยวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรูดังนี้ มีอิสระในการเรียน ไมเครียด ไดรับความรู ประสบการณในการเรียนแบบรวมมือกันเรียนรู เขาใจวิธีการทํางานกลุมมากขึ้น มี การทดสอบ การมอบรางวัล ทําใหตั้งใจเรียน สวนนักเรียนที่ไดรับการสอนดวยวิธีสอนตามคูมือครูมีความคิดเห็นวา บรรยากาศในการเรียนสนุกสนานไดรับความรู ความเขาใจในการทํางานกลุมเพิ่มมากขึ้น

นพนภา ออกดวง (2547 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียน แบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กลุมตัวอยางจํานวน 48 คน จากโรงเรียน ศาลาตึกวิทยา อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม เครื่องมือที่ใชประกอบดวย 1) แผนการจัด การเรียนรู 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและ หลังเรียน 3) แบบสอบถามความคิดเห็น ผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับนักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกติ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยกลุมที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD สูงกวากลุมที่ไดรับการสอนแบบปกติ และนักเรียนมีความพอใจตอการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD ในระดับมากที่สุด

งานวิจัยตางประเทศสลาวิน (Slavin 1980) ไดทดลองเพื่อศึกษาปฏิสัมพันธในกลุมเพื่อนที่เปนผิวขาวผิวดํา

กลุมที่มีผลสัมฤทธิ์สูงและกลุมที่ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา โดยแบงกลุมทดลองเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 เรียนตามรูปแบบกลุมสัมฤทธิ์ (STAD) กลุมที่ 2 เรียนตามรูปแบบทีมการแขงขัน (TGT) ผลการทดลองพบวา ปฏิสัมพันธในกลุมเพื่อนในกลุมสัมฤทธิ์ (STAD) มีความแนนแฟนมากกวาในกลุมแบบทีมการแขงขัน (TGT) ซ่ึงในกลุมสัมฤทธิ์ (STAD) จะหวงใยในกลุมเพื่อนเปนอยางดี

Page 83: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

74

วิลเลียมส (Williams 1988) ไดวิจัยเกี่ยวกับการใชยุทธวิธีการเรียนแบบรวมมือกันวาใหประสิทธิภาพในการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาพีชคณิต ทัศนคติที่มีตอตนเองและผูอ่ืนตอวิชาพีชคณิต กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลายที่เรียนวิชาพีชคณิต จํานวน 165 คน โดยแบงนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายเปนกลุมควบคุม 1 กลุม และกลุมทดลอง 1 กลุม สวนนักเรียนมัธยมศึกษาตอนตนแบงเปนกลุมควบคุม 2 กลุม และกลุมทดลอง 2 กลุม ทําการทดลองโดยใชวิธีสอนผสมผสานระหวางกิจกรรมแบบแบงกลุมสัมฤทธิ์ (STAD)กับกลุมการแขงขัน (TGT) ผลการทดลองพบวา คะแนนเฉลี่ยระหวางกลุมทดลอง และกลุมควบคุมแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถติ ิ และทศันคตขิองนกัเรยีนทัง้สองกลุมไมเปล่ียนแปลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

ดูบอยส (Dubois 1990 : บทคัดยอ , อางถึงใน ปยาภรณ รัตนากรกุล 2536 : 38) ไดวิจัยเกี่ยวกับการสอนแบบรวมมือกันเรียนรูที่ผสมผสานระหวางการเรียนแบบรวมมือแบบ STAD กับ การเรียนแบบแขงขันเปนกลุม TGT โดยกลุมตัวอยางเปนนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน 2,175 คน ครู 26 คน ที่มาจากชั้นเรียนจํานวน 86 ช้ันเรียน จํานวน 11 โรงเรียนในมลรัฐ หลุยสเซียนา กลุมตัวอยางจํานวน 3 กลุม กลุมที่หนึ่งสอนแบบรวมมือกันเรียนรู โดยครูที่สอนกลุมนี้ผานการอบรม กลุมที่สองครูผานการอบรมแตไมใชการเรียนแบบรวมมือกันเรียนรู และกลุมที่สามครูไมผานการอบรมและไมใชการสอนแบบรวมมือกันเรียนรู ผลการทดลองพบวา นักเรียนในกลุมที่ผานการอบรมและใชวิธีสอนแบบรวมมือกันเรียนรู มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุมควบคุมที่ไมมีการสอนแบบรวมมือกันเรียนรู แตไมพบความแตกตางดานเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร

ไซดี (Zaidi 1994) ไดศึกษาเรื่อง “การเปรียบเทียบความแตกตางระหวางการเรียนแบบรวมมือและการสอนปกติในวิชาคณิตศาสตรระดับ 7 : ผลสัมฤทธิ์และกลวิธีการควบคุมตนเอง” การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาผลของตัวแปร 2 ตัว ในการเรียนแบบรวมมือวิชาคณิตศาสตรคือ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและกลวิธีการควบคุมตนเองของนักเรียนระดับ 7 โรงเรียนรัฐบาลในชนบท โดยสุมนักเรียนมา 6 หองเรียน ครู 2 คน สอนคนละ 3 หองเรียน จัดการเรียนการสอน 3 แบบ คือ การสอนแบบปกติ การเรียนแบบทีม และการสงเสริมการเรียนแบบรวมมือ ผลการวิจัยพบวา วิธีการสอนทั้งสามวิธีใหผลไมแตกตางกัน สําหรับผลจากการสอบถามเรื่องการทํางานกลุมใน การวัดผล วิธีการควบคุมตนเองมีคาเฉลี่ยคอนขางต่ํา นอกจากนี้ผูวิจัยยังไดใหขอเสนอแนะวา การจัดการเรียนแบบรวมมือจะใหผลดีตอเมื่อไดมีการพัฒนาบุคลากรครูผูสอน

Page 84: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

75

กูดเดน – โจนส และเอพเส เมโดรา (Gooden – Jones and Epser Medora 1996) ไดวิจัยเรื่อง “การพัฒนาทักษะการเขียน โดยใชกลวิธีการเรียนแบบรวมมือของนักศึกษาที่มีความสามารถภาษาอังกฤษจํากัด” วิธีดําเนินการวิจัยจะใชการสังเกต ใหตอบแบบสอบถาม สัมภาษณ และใหนักศึกษาเขียนเรียงความเกี่ยวกับความสามารถในการพัฒนาทักษะการเขียน ในสถานการณการเรียนรูอยางไร กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย จะใชกลวิธีการเรียนแบบรวมมือในการเรียน การเขียนภาษาอังกฤษเปนภาษาที่ 2 และไดเรียนรูเกี่ยวกับทักษะการเขียนหลายรูปแบบที่แตกตางกัน รวมถึงกระบวนการคิดและรวบรวมความคิดใหมีเหตุผล และลงมือเขียนเปนขั้นตอนสุดทาย ผลการวิจัยพบวา การเรียนแบบรวมมือเปนกลวิธีที่มีผลในการปรับปรุงทักษะการเขียนจากการสงัเกตประสบการณการเขียนแตละคนจะพบวา การเขียนเปนทักษะที่ยาก แตกลวิธีการเรียนแบบรวมมือชวยใหคนพบวา เปนวิธีการเรียนวิธีหนึ่งเปนผลทําใหสามารถพัฒนาทักษะการเขียนและเปนนักเขียนที่ดีได

โฮลกิ้น (Holguin 1997) ไดวิจัยเกี่ยวกับผลของการเรียนแบบรวมมือตอการเรียนรูภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สองของนักเรียนเกรด 3 กลุมตัวอยางเปนนักเรียนเกรด 3 จํานวน 20 คน แบงเปนกลุมควบคุม 10 คน และกลุมทดลอง 10 คน กลุมทดลองไดรับการสอนโดยวิธีการเรียนแบบรวมมือทุกวันวันละ 1 ช่ัวโมง 50 นาที ตลอดระยะเวลา 6 เดือน ผูวิจัยศึกษาตามสมมติฐาน 3 ขอ ไดแก ดานทักษะการฟง พูดภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง ดานทักษะสังคม และดาน การยอมรับนับถือตนเอง โดยทําการเก็บรวบรวมขอมูลจากคะแนนทดสอบกอนและหลังการสอนโดยใชแบบทดสอบ IDEA Proficiency Test และศึกษาขอมูลดานทักษะสังคม และการยอมรับ นับถือตนเอง โดยใชแบบวัดเจตคติตอการเรียนแบบรวมมือ และส่ิงแวดลอมดานการอาน (CARE) ผลการวิจัย พบวา คะแนนหลังการเรียนของกลุมทดลองสูงกวากอนการทดลอง รวมทั้งมีเจตคติที่ดีขึ้น สวนคะแนนกอนและหลังการเรียนของกลุมควบคุมไมมีความแตกตาง

จากการศึกษาแนวคิด หลักการ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ทั้งในประเทศและตางประเทศ พบวา การจัดการเรียนการสอนแบบรวมมือทําใหผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนสูงขึ้น และผูเรียนสามารถแสดงศักยภาพของตนเองในการประกอบกิจกรรมเพื่อ ความสําเร็จของกลุม การเรียนแบบรวมมือกันเปนวิธีสอนที่ชวยพัฒนาทักษะทางสังคม นอกจากนี้ยังเปนวิธีสอนที่มีความเหมาะสมในหลายๆวิชา เชน คณิตศาสตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิต

Page 85: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

บทท่ี 3วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ืองการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนช้ัน ประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi - Experimental Research) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองประโยคและความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT มีรายละเอียดของวิธีดําเนินการวิจัยดังนี้

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการขั้นตอนที่ 2 ขั้นสรางเครื่องมือขั้นตอนที่ 3 ขั้นดําเนินการทดลองขั้นตอนที่ 4 ขั้นวิเคราะหและสรุปผล

ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมการประชากรและกลุมตัวอยางประชากรศึกษาครั้งนี้ ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา

2547 ของโรงเรียนในอําเภอบางคนที สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม จํานวน 19 โรงเรียน มีนักเรียนทั้งส้ิน 620 คน

กลุมตัวอยาง ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2547โรงเรียนวัดบางนอย อําเภอบางคนที สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม จํานวน 56 คน จาก 2 หองเรียน ซ่ึงไดมาโดยวิธีการสุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling ซ่ึงมีขั้นตอนการสุมตัวอยางดังนี้

1. การเลือกโรงเรียน ผูวิจัยคัดเลือกโรงเรียนที่ศึกษาจะตองมีนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 6 ตั้งแต 2 หองเรียนขึ้นไปซึ่งไดแก โรงเรียนวัดบางนอย อําเภอบางคนที สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม

2. คุณลักษณะของประชากรในแตละหองเรียน มีนักเรียนทั้งเกง ปานกลาง และออน คละกันและมีความรูความสามารถใกลเคียงกัน โดยการจัดลําดับนักเรียนในชั้นจากเกงที่สุดไปหา ออนที่สุด โดยยึดผลการเรียนในปการศึกษาที่ผานมา

76

Page 86: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

77

3. สุมนักเรียนโดยวิธีจับสลาก เพื่อหากลุมทดลองและกลุมควบคุม ไดนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ก เปนกลุมทดลอง ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ข เปนกลุมควบคุม ไดรับการสอนแบบปกติ

4. การกําหนดนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ก ซ่ึงเปนกลุมทดลองเขากลุม ใชเทคนิค A – F (วัชรา เลาเรียนดี 2545 : 1) โดยแบงระดับนักเรียนเปน 3 กลุม คือ นักเรียนที่เรียนเกงปานกลางและออน โดยดูผลการเรียนในปการศึกษาที่ผานมา แลวจัดอันดับของนักเรียนตั้งแตเกงที่สุดเปนหมายเลข 1 จนถึงออนที่สุดเปนหมายเลขสุดทายของหอง และจัดลงกลุมที่สังกัดตั้งแตกลุม A B C D E F (ขึ้นอยูกับจํานวนกลุม ในครั้งนี้เปน 6 กลุม)แลวตอดวย F E D C B A แลวตอดวย A B C D E F แลวตอดวย F E D C B A แลวตอดวย A B ……… จนถึงหมายเลขสุดทาย หมายเลขใดไดกลุมที่สังกัดเปน A แสดงวาหมายเลขเหลานั้นเปนกลุมเดียวกัน

ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ ประกอบดวยวิธีสอน 2 วิธี คือ1. วิธีสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT2. วิธีสอนแบบปกติตัวแปรตาม คือ1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยค2. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

ขั้นตอนที่ 2 ขั้นสรางเครื่องมือเครื่องมือที่ใชในการวิจัย มีดังนี้1. แผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนคิ TGT เรือ่งประโยค จาํนวน4 แผน2. แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ เร่ืองประโยค จํานวน 4 แผน3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค เปนขอสอบแบบปรนัย ชนิด 4

ตัวเลือก สําหรับทดสอบกอนและหลังเรียน จํานวน 30 ขอ4. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT เปน

แบบสอบถามปลายเปด (Opened Form) สอบถามในดานบรรยากาศ และการจัดกิจกรรม การเรียนรู 1 ฉบับ จํานวน 2 ขอ

Page 87: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

78

แผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTแผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT เร่ืองประโยค มีขั้นตอน

ในการสรางและตรวจสอบคุณภาพ ดังนี้1. ศึกษาหลักสูตร และคูมือการใชหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงค สาระสําคัญ หลักการและเนื้อหา เพื่อเปนแนวทางในการเขียนแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรูและการประเมินผล

2. ศึกษาเอกสารและตําราหลักภาษาที่เกี่ยวของกับเรื่องประโยค3. วิเคราะหเนื้อหาวิชาใหเหมาะสมกับเวลาเรียน4. ศึกษาวิธีการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT จากตาํรา เอกสารตาง ๆ และวทิยานพินธ

รวมทัง้ขอคาํแนะนาํจากผูเชีย่วชาญ5. จัดทําแผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT จํานวน 4 แผน

คือ แผนที่ 1 เร่ืองโครงสรางของประโยค แผนที่ 2 เรื่องชนิดของประโยค แผนที่ 3 เรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร 3 ชนิด ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคคําถามและประโยคปฏิเสธ แผนที่ 4เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร 3 ชนิด ไดแก ประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดงความตองการ ใชเวลาสอน 8 ช่ัวโมง ซ่ึงแตละแผนการจัดการเรียนรู มีองคประกอบดังนี้ 5.1 สาระสําคัญ

5.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 5.3 จุดประสงคการเรียนรู

5.4 เนื้อหาสาระ 5.5 กิจกรรมการเรียนรู

5.5.1 ขั้นนํา เพื่อใหผูเรียนพัฒนาความคิดรวบยอดหรือหลักการของการเรียน โดยใชเกม เพลง นิทาน การบรรยาย อภิปราย ฯลฯ ทบทวนความรูเดิมของนักเรียนในเรื่องที่จะเรียน เพื่อเชื่อมโยงใหเขากับเนื้อหาใหม

5.5.2 ขั้นสอน ครูเสนอเนื้อหาโดยใชเทคนิควิธีสอนที่เหมาะสม ผูเรียนตองสนใจและตั้งใจฟงในขณะที่ครูเสนอบทเรียนทั้งชั้น เพื่อนําความรูความเขาใจในบทเรียนไปใชในการแขงขัน

5.5.3 ขั้นจัดทีม นักเรียนแบงกลุมกลุมละ 4 คน คละนักเรียนที่มีความสามารถเกง ปานกลางและออน เพื่อใหสมาชิกรวมกันปฏิบัติกิจกรรม และเตรยีมความพรอมทีจ่ะเขาแขงขนั

5.5.4 ขั้นการแขงขัน เปนการแขงขันตอบคําถามจากเนื้อหาที่ผูเรียนเรียนรู เกมประกอบดวยผูเลน 4 คน ซ่ึงแตละทีมจะสงตัวแทน 1 คนมาแขงขัน โดยยึดหลักนักเรียนที่มี

Page 88: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

79

ความสามารถทัดเทียมกันแขงขันกัน คือ นักเรียนเกงของแตละทีมแขงขันกัน นักเรียนปานกลาง แตละทีมแขงขันกันและนักเรียนออนแขงขันกัน นําคะแนนของแตละคนมารวมเปนคะแนนรวมของทีม เพื่อใหนักเรียนแขงขันกับตนเอง

5.5.5 ขั้นสรุป ครูและนักเรียนรวมกันสรุปบทเรียน และมอบรางวลัทีมทีไ่ดคะแนนสูงสดุ

5.6 ส่ือการเรียนรู 5.7 การวัดและประเมินผล

6. นําแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นเสนออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ เพื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกตอง และความเหมาะสมของเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู ส่ือการเรียนรู การวัดและประเมินผล แลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําเกี่ยวกับจุดประสงคการเรียนรู สาระการเรียนรู การประเมินผลและสื่อการเรียนรู 7. นําแผนการจัดการเรียนรูที่ปรับปรุงแกไขแลวไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน ตรวจความถูกตองของภาษา เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู ความสอดคลองของจุดประสงคการเรียนรู เพื่อนํามาปรับปรุงแกไข และนําขอมูลความคิดเห็นมาหาคาดัชนีความสอดคลองของเครื่องมือ (IOC)โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี้

ใหคะแนนเทากับ +1 เมื่อแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นมีความเหมาะสมใหคะแนนเทากับ 0 เมื่อไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นมีความเหมาะสมหรือ

ไมใหคะแนนเทากับ - 1 เมื่อแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นไมมีความเหมาะสม

IOC = ∑R N

IOC แทน ดัชนีความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้น∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญN แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญแสดงผลการพิจารณาความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้น พบวา

แผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นมีคาเทากับ 1.00 แสดงวา แผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นมีความสอดคลองเหมาะสม สามารถนําไปใชในการทดลองตอไปได

8. นําแผนการจัดการเรียนรูที่ปรับปรุงแลว ไปใชกับนักเรียนกลุมทดลอง

Page 89: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

80

แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ มีขั้นตอนการสรางดังนี้

1. ศึกษาหลักสูตร และคูมือการใชหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับจุดประสงค สาระสําคัญ หลักการและเนื้อหา เพื่อเปน แนวทางในการเขียนแผนการจัดการเรียนรูและการประเมินผล

2. ศึกษาเอกสารและตําราที่เกี่ยวของกับเรื่องประโยค3. วิเคราะหเนื้อหาวิชาใหเหมาะสมกับเวลาเรียน4. จัดทําแผนการจัดการเรียนรู แบบปกติ 4 แผน คือ แผนที่ 1 เรื่องโครงสรางของ

ประโยค แผนที่ 2 เร่ืองชนิดของประโยค แผนที่ 3 เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร 3 ชนิด ไดแก ประโยคบอกเลา ประโยคคําถามและประโยคปฏิเสธ แผนที่ 4 เรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร 3 ชนิด ไดแก ประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดงความตองการ ใชเวลาสอน 8 ช่ัวโมง ซ่ึงแตละแผนมีองคประกอบดังนี้

4.1 สาระสําคัญ 4.2 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

4.3 จุดประสงคการเรียนรู 4.4 เนื้อหาสาระ

4.5 กิจกรรมการเรียนรู4.5.1 ขั้นนํา

4.5.2 ขั้นสอน 4.5.3 ขั้นสรุป 4.5.4 ขั้นประเมินผล

4.6 ส่ือการเรียนรู 4.7 การวัดและประเมินผล 5. นําแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นเสนออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ เพื่อพิจารณาตรวจสอบความถูกตอง และความเหมาะสมของเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู ส่ือการเรียนรู การวัดและประเมินผล แลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําเกี่ยวกับจุดประสงคการเรียนรู สาระ การเรียนรู การประเมินผลและสื่อการเรียนรู

6. นําแผนการจัดการเรียนรูที่ปรับปรุงแกไขแลวไปใหผูเชี่ยวชาญจํานวน 3 ทาน ตรวจความถูกตองของภาษา เนื้อหา และกิจกรรมการเรียนรู ความสอดคลองของจุดประสงคการ

Page 90: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

81

เรียนรู เพื่อนํามาปรับปรุงแกไข และนําขอมูลความคิดเห็นมาหาคาดัชนีความสอดคลองของเครื่องมือ (IOC)โดยกําหนดเกณฑการใหคะแนนดังนี้

ใหคะแนนเทากับ +1 เมื่อแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นมีความเหมาะสมใหคะแนนเทากับ 0 เมื่อไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นมีความเหมาะสมหรือ

ไมใหคะแนนเทากับ - 1 เมื่อแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูนั้นไมมีความเหมาะสม

IOC = ∑R N

IOC แทน ดัชนีความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้น∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญN แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญแสดงผลการพิจารณาความสอดคลองของแผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัยสรางขึ้น พบวา

แผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นมีคาเทากับ 1.00 แสดงวา แผนการจัดการเรียนรูที่สรางขึ้นมีความสอดคลองเหมาะสม สามารถนําไปใชในการทดลองตอไปได

8. นําแผนการจัดการเรียนรูที่ปรับปรุงแลว ไปใชกับนักเรียนกลุมควบคุม

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองประโยคแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค เปนแบบทดสอบปรนัย ชนิด 4

ตัวเลือก จํานวน 1 ฉบับ 30 ขอ ซ่ึงมีขั้นตอนในการสรางและตรวจสอบคุณภาพดังนี้1. ศึกษาหลักสูตรกลุมทักษะภาษาไทยจากหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521

(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533) และสาระการเรียนรูภาษาไทยจากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544

2. ศึกษาเอกสารและตําราที่เกี่ยวของกับเรื่องประโยค3. ศึกษาวิธีการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากหนังสือ ตําราและ

เอกสารที่เกี่ยวของ4. วิเคราะหเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรูจากแผนการจัดการเรียนรู เพื่อสรางผัง

การออกขอสอบ โดยแบงพฤติกรรมการเรียนรูออกเปน 6 ดาน คือ4.1 ความรู – ความจํา

4.2 ความเขาใจ

Page 91: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

82

4.3 การนําไปใช 4.4 การวิเคราะห

4.5 การสังเคราะห 4.6 การประเมินคา

5. วางแผนการแบงเนื้อหาในการสรางขอสอบใหมีสัดสวนที่เหมาะสม6. สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนแบบทดสอบแบบปรนัยชนิด

4 ตัวเลือก จํานวน 1 ฉบับ 60 ขอ เปนแบบทดสอบกอนและหลังเรียน7. นําแบบทดสอบที่สรางขึ้นเสนออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธพิจารณา เพื่อตรวจสอบ

ความถูกตอง แลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนําเกี่ยวกับภาษาในการใชคําถาม และตัวเลือกของแบบทดสอบ 8 . นําแบบทดสอบที่สร างขึ้น เสนอผู เชี่ ยวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกตอง ความสอดคลองของเนื้อหากับจุดประสงค แลวนําความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญมาหาคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) โดยไดดัชนีความสอดคลอง เทากับ 1.00 แสดงวาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับนี้ มีความสอดคลองเหมาะสมกับเนื้อหาที่เรียน

9. นาํแบบทดสอบทีไ่ด จาํนวน 60 ขอ ไปทดลองใชกบันกัเรยีนชัน้ประถมศกึษาปที ่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2547 โรงเรียนในกลุมโรงเรียนบางนอย อ. บางคนที จ. สมุทรสงคราม จํานวน 50 คน ที่ไมใชกลุมตัวอยาง เพื่อหาคุณภาพของแบบทดสอบ

10. ตรวจใหคะแนนแบบทดสอบที่นักเรียนทํา โดยใหคะแนน 1 คะแนน สําหรับขอที่ ตอบถูก และให 0 คะแนนสําหรับขอที่ตอบผิด หรือไมตอบ หรือตอบเกิน

11. นําผลที่ไดจากการตรวจแบบทดสอบมาวิเคราะหขอสอบเปนรายขอ เพื่อตรวจสอบหา คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) แลวเลือกขอสอบที่มีความยากงาย (p) อยูในเกณฑระหวาง 0 .37 - 0.76 และคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.27 - 0.77 จํานวน 30 ขอ

12. นําแบบทดสอบ จํานวน 30 ขอ มาวิเคราะหหาคาความเชื่อมั่น โดยใชสูตรของคูเดอร ริชารดสัน จากสูตร K R – 20 (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2538 : 197) โดยใชเกณฑคาความเชื่อมั่นตั้งแต 0.80 ขึ้นไป ไดคาความเชื่อมั่น 0.87

13. นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่เหมาะสม จํานวน 30 ขอ ไปใชกับ กลุมทดลองและกลุมควบคุมตารางที่ 1 สรุปคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองประโยค

จํานวน(ขอ) p r rtt

แบบทดสอบ 30 0.37 – 0.76 0.27 – 0.77 0.87

Page 92: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

83

แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT เปน

แบบสอบถามปลายเปด 2 ขอ คือ 1) บรรยากาศในการเรียนรู 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู จํานวน 1 ฉบับ ผูวิจัยไดดําเนินการสรางแบบสอบถามดังนี้

1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการสรางแบบสอบถาม เพื่อเปนแนวทางใน การสรางแบบสอบถาม

2. สรางแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT แบบพรรณนาความ จํานวน 2 ขอ คือ 1) บรรยากาศในการเรียนรู 2) การจัดกิจกรรมการเรียนรู

3. นําแบบสอบถามความคิดเห็นที่ผูวิจัยสรางขึ้น เสนออาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ เพื่อตรวจสอบ ดานเนื้อหาและภาษา แลวนํามาปรับปรุงแกไขตามคําแนะนํา

4. นําแบบสอบถามความคิดเห็นที่ปรับปรุงแกไขแลว ไปใหผูเชี่ยวชาญตรวจสอบดาน เนื้อหาและภาษา

5. นําแบบสอบถามความคิดเห็น ไปใชกับนักเรียนกลุมทดลอง ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

ขั้นตอนที่ 3 ขั้นดําเนินการทดลอง3.1 รูปแบบการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง แบบแผนการวิจัยเปน

แบบอสมดุลยภาพมีกลุมควบคุม Nonequivalent Control Design (นิคม ตังคะพิภพ 2543 : 333 - 335) โดยมีรูปแบบการวิจัยดังนี้

สัญลักษณที่ใชในการทดลองO1 หมายถึง การทดสอบกอนที่จะจัดกระทําการทดลองของกลุมทดลองO2 หมายถึง การทดสอบหลังที่จัดกระทําการทดลองของกลุมทดลองX หมายถึง การสอนโดยใชการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTO3 หมายถึง การทดสอบกอนที่จะจัดกระทําการทดลองของกลุมควบคุมO4 หมายถึง การทดสอบหลังที่จัดกระทําการทดลองของกลุมควบคุม

O1 X O2

O3 O4

กลุมทดลอง

กลุมควบคุม

Page 93: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

84

3.2 วิธีดําเนินการทดลอง มีดังนี้ 3.2.1 ทดสอบกอนเรียน (Pretest) ผูวิจัยทดสอบนักเรียนกลุมควบคุมและกลุมทดลองดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนเรื่องประโยค แลวบันทึกผลการสอบไวเปนคะแนนกอนเรียนสําหรับการวิเคราะหขอมูล 3.2.2 ดําเนินการทดลอง โดยผูวิจัยดําเนินการสอนนักเรียนทั้ง 2 กลุมดวยตนเอง ซ่ึงใชเนื้อหาเดียวกันระยะเวลาการสอนเทากัน ดังนี้

1) กลุมทดลองไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT 2) กลุมควบคุมไดรับการสอนแบบปกติ

3.2.3 ทดสอบหลังเรียน (Posttest) ผูวิจัยทดสอบนักเรียนกลุมควบคุมและกลุมทดลองดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนเร่ืองประโยค ซ่ึงเปนชุดเดียวกับที่ใชทดสอบกอนเรียน แลวบันทึกผลการสอบไวเปนคะแนนหลังเรียนสําหรับการวิเคราะหขอมูล

3.2.4 สอบถามความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลอง ดวยแบบสอบถามหลังการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

ขั้นตอนที่ 4 ขั้นวิเคราะหและสรุปผล การวิเคราะหขอมูลมีดังนี้

4.1 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ ดวยการเปรียบเทียบความแตกตางคาเฉลี่ย (X) คา ความแปรปรวน โดยการใช ทดสอบ ที (t – test) แบบกลุมตัวอยาง 2 กลุมอิสระตอกัน (Independent Samples)

4.2 ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ใช การวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) แลวนําเสนอโดยการพรรณนาความ

Page 94: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

85

สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล มีดังนี้1. หาคาคะแนนเฉลี่ย (Mean)โดยใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2538 : 73

เมื่อ X แทน คะแนนเฉลี่ยΣX แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดN แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง

2. หาคาความแปรปรวน (Variance) ของคะแนน โดยใชสูตร (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2538 : 77 )

เมื่อ S2 แทน ความแปรปรวนของคะแนนΣX แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดΣX2 แทน ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสองN แทน จํานวนนักเรียนในกลุมตัวอยาง

3. การเปรียบเทียบผลตางระหวางคาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม โดยการทดสอบคาที (t – test) แบบกลุมตัวอยาง 2 กลุมอิสระตอกัน (Independent Samples)

4. การวิเคราะหแบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ใชการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

ΣXNX =

NΣX2 – (ΣX)2

S2 =N(N – 1)

Page 95: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

บทท่ี 4ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTกับการสอนแบบปกติ ผูวิจัยเก็บรวบรวมขอมูล โดยนําเครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แผนการจัดการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค และแบบสอบถามความคิดเห็น ทดลองสอนนักเรียนที่เปนกลุมตัวอยาง จํานวน 56 คน แบงเปนกลุมทดลองสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT จํานวน 28 คน และกลุมควบคุมสอนแบบปกติ จํานวน 28 คน ผูวิจัยไดดําเนินการทดลองตามขั้นตอน และสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนกลุมทดลอง เพื่อเปนการตอบวัตถุประสงคของการวิจัย ผูวิจัยขอเสนอผลการวิเคราะหขอมูล โดยแบงเปน 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติ

ตอนที่ 2 คะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเร่ืองประโยค ระหวางกลุมที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติ

ตอนที่ 3 ความคิดเห็นของนักเรียน ที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT

ตอนที่ 1 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองประโยค ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบ รวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติ

86

Page 96: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

87

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ที่ไดรับการสอนโดยการเรียน แบบรวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติ

กลุมตัวอยาง N X S.D T Sigกลุมทดลองกลุมควบคุม

2828

23.6821.25

4.474.12

2.11 0.04*

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05จากตารางที่ 2 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของกลุมทดลองที่สอนโดย

การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT มีคาเฉลี่ย 23.68 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.47 สวนผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนเรื่องประโยคของกลุมควบคุมที่สอนโดยการเรียนแบบปกติ มีคาเฉลี่ย 21.25 คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน 4.12 จึงอาจกลาวไดวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยคของกลุมทดลอง ที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และกลุมควบคุมที่สอนโดยการเรียนแบบปกติ มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 กลาวคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยคของนักเรียนกลุมทดลองสูงกวานักเรียนกลุมควบคุม ซ่ึงเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว

ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเรื่องประโยค ระหวางกลุมท่ีไดรับการสอนโดย การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติ

ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเร่ืองประโยค ระหวางกลุมที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติ

กลุมตัวอยาง N X S.D T Sigกลุมทดลองกลุมควบคุม

2828

16.3916.21

4.693.89

0.16 0.88

* มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

Page 97: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

88

จากตารางที่ 3 พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน (Pre-test) เร่ืองประโยคของ นักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT มีคาเฉลี่ย 16.39 คาเบี่ยงเบน มาตรฐาน 4.69 สวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน (Pre-test) เร่ืองประโยคของนักเรียนกลุม ควบคุมที่สอนโดยการเรียนแบบปกติ มีคาเฉลี่ย 16.21 คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.89 จึงอาจกลาวไดวาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนเรียน(Pre-test)เร่ืองประโยคของนักเรียนกลุมทดลองและกลุมควบคุมไมแตกตางกัน กลาวคือ คะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเรื่องประโยคของนักเรียนกลุมทดลองที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และกลุมควบคุมที่สอนโดยการเรียนแบบปกติเทากัน

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTการเก็บขอมูลนักเรียนที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT โดยใหนักเรียนตอบ

สอบถามจํานวน 2 ขอ ใชเวลา 30 นาที วิเคราะหขอมูลโดยใชการวิเคราะหเนื้อหา(Content Analysis) ปรากฏผล ดังนี้ 1. บรรยากาศในการเรียน

1.1 นักเรียนสวนใหญชอบการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ทําใหมีความสุข มีอิสระในการเรียนและมีวิธีการเรียนนาสนใจดี จํานวน 28 คน คิดเปนรอยละ 100

1.2 นักเรียนไดทํางานรวมกัน ใหความรวมมือ และชวยเหลือซ่ึงกันและกัน จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 89.29

1.3 นักเรียนมีความสนุกสนาน และมคีวามกระตอืรือรนในการแขงขนั จาํนวน 28 คน คิดเปนรอยละ 100

2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู 2.1 ครูมีใบความรู และแบบทดสอบเสริม ทําใหเกิดความมั่นใจในการเรียน จํานวน

28 คน คิดเปนรอยละ 1002.2 การจัดการเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน ทําใหนักเรียนไดเรียนรูกับเพื่อน และเกิด

ความเขาใจในการสื่อสารกันไดดี จํานวน 24 คน คิดเปนรอยละ 85.712.3 การใชเกมหรือคําถามจากเนื้อเรื่อง ทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจและจดจํา

เนื้อหาที่เรียนไดมากขึ้น จํานวน 20 คน คิดเปนรอยละ 71.43

Page 98: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

บทท่ี 5สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองประโยค ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติมีวัตถุประสงค 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย ไดแก นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดบางนอย อําเภอบางคนที สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรสงคราม จํานวน 2 หองเรียน รวมทั้งส้ิน 56 คน ไดมาโดยวิธีการสุมแบบเจาะจง (Purposive Sampling)

เครื่องมือที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ ไดแก 1) แผนการจดัการเรยีนรูโดยการเรยีนแบบรวมมอืเทคนิค TGT เร่ืองประโยค จํานวน 4 แผน 2) แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ เร่ืองประโยค จํานวน 4 แผน 3) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน เร่ืองประโยค เปนแบบทดสอบปรนัย จํานวน 30 ขอ มีคาความยากงาย (p) ระหวาง 0.37 ถึง 0.76 มีคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.27 – 0.77 และมีคาความเชื่อมั่น 0.87 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT เปนแบบสอบถามความคิดเห็นโดยใชคําถามปลายเปด จํานวน 2 ขอ คือ บรรยากาศในการเรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดวิเคราะหขอมูลโดยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนเรื่องประโยค ระหวางการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT และการสอนแบบปกติโดยใช t – test แบบ กลุมตัวอยาง 2 กลุมอิสระตอกัน และวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่ไดรับ การสอนแบบรวมมือเทคนิค TGT โดยการวิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis)

89

Page 99: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

90

สรุปผลการวิจัย

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับ การสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยนักเรียนที่เรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวานักเรียนที่เรียนแบบปกติ ซ่ึงผลการทดลองสอดคลองกับสมมติฐานการวิจัยขอที่ 1 ที่วาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT สูงกวาที่ไดรับการสอนแบบปกติ

2. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT จากการตอบ แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนในดานบรรยากาศในการเรียน นักเรียนมีความคิดเห็นวา ชอบการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT ทําใหมีความสุข มีอิสระในการเรียนและมีวิธีการเรียนนาสนใจดี และมีความสนุกสนาน มีความกระตือรือรนในการแขงขัน คิดเปนรอยละ 100 ไดทํางานรวมกัน ใหความรวมมือและชวยเหลือซ่ึงกันและกัน คิดเปนรอยละ 89.29 สวนดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู นักเรียนมีความคิดเห็นวาในการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่มีใบความรู และแบบทดสอบเสริม ทําใหเกิดความมั่นใจในการเรียน คิดเปนรอยละ 100 การจัดกิจกรรมการเรียนเปนกลุม กลุมละ 4 คน ทําใหนักเรียนไดเรียนรูกับเพื่อน และเกิดความเขาใจในการสื่อสารกันไดดี คิดเปนรอยละ 85.71 และการใชเกมหรือคําถามจากเนื้อเร่ือง ทําใหนักเรียนมีความรูความเขาใจ และจดจําเนื้อหาที่เรียนไดมากขึ้น คิดเปนรอยละ 71.43

นอกจากนี้ผูวิจัยยังพบวา นักเรียนที่ไดรับการสอนแบบรวมมือเทคนิค TGT มคีวามสนใจในการเรียน ชวยอธิบายใหเพื่อนในกลุมใหเขาใจบทเรียน เพื่อเตรียมความพรอมสมาชิกใน การแขงขัน สมาชิกทุกคนมีความรับผิดชอบในตนเอง ทําใหมีบรรยากาศในการเรียนรูที่ดี มี ความเปนกันเอง มคีวามสามคัคใีนหมูเพือ่น และมคีวามกลาทีถ่ามคาํถามหรือเนือ้หาทีต่นเองไม เขาใจ

อภิปรายผล

จากผลการเปรยีบเทยีบผลสมัฤทธิท์างการเรยีนเร่ืองประโยคของนกัเรยีนชัน้ประถมศกึษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ ผูวิจัยขอนําเสนอประเด็นการอภิปรายผล ดังรายละเอียดตอไปนี้

1. จากผลการวิจัยพบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยค ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ มีความแตกตางกัน โดยนักเรียนที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT มีคะแนน

Page 100: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

91

เฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงกวานักเรียนที่ไดรับการสอนแบบปกติ ซ่ึงสอดคลองกับงานวิจัยของ เกษม วิจิโน (2535 : บทคัดยอ) ปรารถนา เกษนอย (2540 : บทคัดยอ) วรรณวิศา หนูเจริญ (2544 : บทคัดยอ) วัสริน ประเสริฐศรี (2544 : บทคัดยอ) อารยา กลาหาญ (2545 : บทคัดยอ) ซ่ึงบุคคลดังกลาวไดศึกษาเปรียบเทียบวิธีสอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันกับการสอนตามแนวคูมือครู พบวา นักเรียนที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวาการเรียนดวยการสอนตามแนวคูมือครู แสดงใหเห็นวา การเรียนแบบรวมมือกัน จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพ การเรียนรูของ นักเรียนใหสูงขึ้น ซ่ึงสอดคลองกับแนวคิดกับแนวคิดของสลาวิน (Slavin 1983 :32) ที่กลาววา การเรียนแบบรวมมือกันจะชวยใหผูเรียนพัฒนาความรู เพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนสูงขึ้น จากผลการศึกษาวิจัยดังกลาว อาจเนื่องมาจาก

1.1 การเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT เปนการจัดใหนักเรียนไดเรียนรูรวมกันเปนกลุมยอย ๆ กลุมละ 4 คน แบบคละความสามารถทางผลสมัฤทธิท์างการเรยีน โดยแตละกลุมมนีกัเรยีนที่มีความสามารถสูง ปานกลางและต่ํา ในสัดสวน 1 : 2 : 1 สมาชิกภายในกลุมมีความรวมมือกัน ใหความชวยเหลือซ่ึงกันและกันเรียน โดยนักเรียนที่มีความสามารถสูงกวาจะชวยอธิบาย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นใหกับนักเรียนที่มีระดับความสามารถต่ํากวา ซ่ึงอาจจะยังไมเขาใจเนื้อหาของบทเรียนใหมีความรู ความเขาใจมากขึ้น ทั้งนี้อาจเปนเพราะนักเรียนคุนเคยกัน อยูในวัยที่ใกลเคียงกัน การสื่อสารและภาษาที่นักเรียนพูดกันนั้นสามารถสื่อความเขาใจกันไดดี ทําใหนักเรียนสามารถเขาใจเนื้อหาของบทเรียนจากเพื่อนไดมากยิ่งขึ้น และสอดคลองกับผลงานวิจัยของ กิง่ดาว กล่ินจนัทร(2536 : 88) ที่พบวาการเรียนแบบรวมมือกัน ทําใหนักเรียนมีความสุข สนุกกับการเรียน กระตุนใหนักเรียนเกิดความมั่นใจในตัวเอง และมีความสัมพันธที่ดีตอเพื่อน นอกจากนี้ยังสอดคลองกับแนวคิดของ สุรพล พยอมแยม (2544 : 98-99) ที่กลาววา กลุมเพื่อนรวมวัยชวยเหลือในเรื่องระหวางการเรียนมีผลตอการเรียนของเด็กใหดีขึ้น เนื่องจากกลุมเพื่อนรวมวัยที่มีปฏิสัมพันธตอกันสวนใหญชวยเหลือเกื้อกูลกันในการเรียน ตั้งใจเรียน และมีแรงจูงใจใหสมาชิกคนอื่นในกลุมปฏิบัติตนไปในทางที่ดี และประสบความสําเร็จในการเรียนไปพรอม ๆ กัน นอกจากนี้ ฮิลการด (Hilgard 1967 : 328) ไดกลาววา การที่นักเรียนไดเรียนรูเปนกลุม จะสามารถใชพลังกลุมซ่ึงเปนแรงผลักดันใหเกิดการเรียนรู โดยทีน่กัเรยีนเกงจะเปนผูชวยเหลือนกัเรยีนออนภายในกลุมของตน เพือ่ความสาํเรจ็ของกลุม

1.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบรวมมือเทคนิค TGT มีการแขงขันเกมวิชาการ ทําใหการเรียนการสอนมีความสนุกสนาน นาเรียน ผูเรียนจะไมรูสึกเบื่อหนายตอการเรียน ซ่ึงการแขงขันเปนการตอบคําถามเกี่ยวกับเนื้อหาที่เรียน โดยนกัเรยีนทีม่คีวามสามารถทดัเทยีมกนัจะแขงขนักัน การที่นักเรียนที่มีความสามารถทัดเทียมกันของแตละกลุมแขงขันกัน จะทําใหผูแขงขันแตละคนมีโอกาสไดชวยเหลือกลุมใหประสบผลสําเร็จเทาเทียมกัน สอดคลองกับแนวคิดของ ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง (2541 : 38) ที่กลาววา เกมเปนการใหความรูและทักษะแกนักเรียน

Page 101: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

92

แตความสนุกสนานเพลิดเพลิน ถือวาเปนลักษณะที่สําคัญประการหนึ่ง เพราะความสนุกสนานเพลิดเพลินเปนตัวการสําคัญที่ทําใหเกิดการจูงใจที่สงผลตอการเรียนในที่สุด การที่นักเรียนจะตองเปนตัวแทนของกลุมเขารวมการแขงขันกับกลุมอ่ืน ๆ ทําใหสมาชิกทุกคนภายในกลุมจึงตองรวมแรง ชวยเหลือและพึ่งพาอาศัยกัน และการที่เด็กเกงไดชวยเหลือเพื่อนที่เรียนชา ทําใหตัวเด็กเกงเองได เพิ่มความรูความเขาใจในเนื้อหานั้น ๆ ไดลึกซึ้งกวาเดิมเพราะไดอธิบายใหแกเพื่อนในกลุม นักเรียนที่เรียนออนจะไดรับการฝกฝนและไดแนวทางจากนักเรียนที่เรียนเกงทําใหมีความเขาใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น

1.3 หลังจากการจัดกิจกรรมการเรียนรูจบในแตละเรื่อ งแลว จะมีการทําแบบทดสอบเปนรายบุคคล เพื่อตรวจสอบความสามารถของนักเรียนแตละคน คะแนนที่ไดของแตละคนจะมารวมเปนคะแนนของกลุม ถากลุมใดสามารถทําคะแนนทั้งการเลนเกมทางวิชาการและทําแบบทดสอบรายบุคคลไดสูงสุด จะไดรับรางวัลทั้งกลุม การใหรางวัลเปนแรงเสริมทางบวก เปนการกระตุนใหนักเรียนมีความพยายามในการเรียนรูมากขึ้น และพยายามปรับพฤติกรรมของตนเพื่อความสําเร็จของกลุม การไดรับรางวัลทั้งกลุมเปนการเปลี่ยนแปลงประสบการณของนักเรียน

จากการที่เคยไดรับรางวัลเปนรายบุคคลมาเปนการไดรับรางวัลเปนกลุม ทําใหนักเรียนเกิดความตื่นเตน ซ่ึงเปนไปตามแนวคิดพื้นฐานดานจิตวิทยาที่วา การเสริมแรงเปนสิ่งที่ชวยกระตุนใหนักเรียนตองการที่จะเรียนมากยิ่งขึ้น และการเสริมแรงดวยการใหรางวัลและคําชมเชยในทางบวกอยางสม่ําเสมอเชนนี้ เปนไปตามทฤษฎีการวางเงื่อนไขของ สกินเนอร (Skinner) เกี่ยวกับการเสริมแรงวา การเสริมแรงทางบวกดวยการใหรางวัลหรือส่ิงที่ผูรับพอใจนั้น จะสงผลทําใหเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงคเพิ่มขึ้น ดังนั้นการใหรางวัลและคําชมเชยในทางบวกอยางสม่ําเสมอ จะเปนสิ่งที่ชวยกระตุนใหนักเรียนตองการจะเรียนมากยิ่งขึ้น อาจสงผลใหนักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเรื่องประโยคสูงขึ้น

2. ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของนักเรียนที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT พบวา นักเรียนชอบการเรียนแบบรวมมือ ชอบทํางานรวมกัน มีความสุข สนุกสนานและนาสนใจ เพราะการสอนดวยการเรียนแบบรวมมือ เปดโอกาสใหนักเรียนชวยกันคิด ปฏิบัติกิจกรรมรวมกัน สอดคลองกับ รุง แกวแดง (2541 : 29) ไดกลาววาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรมี กิจกรรมหลากหลาย สนุกสนาน จะทําใหนักเรียนเกิดความสนใจและเปดโอกาสใหนักเรียนทุกคนมีสวนรวมในกิจกรรม นักเรียนชอบทํางานกลุมเพราะไดทํากิจกรรมตาง ๆ ไดปรึกษาหารือและ ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ทั้งนี้อาจเปนเพราะเพื่อนรวมวัย ชวยสรางความสัมพันธ ที่ดีภายในกลุม สรางความคุนเคยกัน ยอมรับซึ่งกันและกัน เกิดความรูสึกวาตนเองมีความสําคัญ และทุกคนมี ความสําคัญเทาเทียมกัน จึงสงผลใหเกิดการชวยเหลือซ่ึงกันและกัน จากงานวิจัยของ เพ็ญนภา ขุนโหร (2543 : 92) ไดอธิบายวาการเรียนโดยใหเพื่อนนักเรียนชวยเพื่อนนักเรียน (Peer Tutor) คือ

Page 102: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

93

การที่นักเรียนชวยเหลือกันในวัยเดียวกัน ทําใหบรรยากาศในการเรียนเปนแบบรวมมือกัน จะมี การปฏิสัมพันธในกลุมเพื่อนรวมวัย ทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ทุกคนมีความสําคัญเทาเทียมกัน มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและไดชวยเหลือกลุมใหประสบผลสําเร็จ นอกจากนี้การสอนแบบรวมมือยังสอดคลองกับการปฏิรูปการเรียนรูตามแนวทางพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 ไดกําหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ยึดหลักวา นักเรียน ทุกคนมีความสําคัญที่สุด โดยใหนักเรียนไดมีโอกาสเรียนรูดวยตนเอง สามารถทํางาน และอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมีความสุข

ขอเสนอแนะ

จากขอคนพบจากการวิจัยและการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ผูวิจัยมีแนวคิดที่จะเสนอแนะใน 2 สวน คือ ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช และขอเสนอแนะในการวิจัย คร้ังตอไป ดังรายละเอียดตอไปนี้

ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใชจากผลการวิจัยที่พบวานักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่สอนแบบรวมมือเทคนิค TGT

มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องประโยคสูงกวาการสอนแบบปกติ ผูวิจัยมีขอเสนอแนะดังนี้1. หนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา ควรนํารูปแบบการสอนแบบรวมมือเทคนิค

TGT ไปเผยแพรในหนวยงาน โดยการจัดพิมพเอกสารเผยแพรหรือเสนอแนะใหโรงเรียนในเขตความรับผิดชอบไปทดลองใชตอไป

2. ครูผูสอนที่จะนํารูปแบบการสอนแบบรวมมือเทคนิค TGT ไปทดลอง ควรศึกษาให เขาใจทุกขั้นตอนจนเกิดความชํานาญ เพื่อจะไดนําไปประยุกตใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพตอไป ทั้งนี้เพราะการสอนแบบรวมมือเทคนิค TGT เปนวิธีสอนที่จะตองเตรียมการสอนมาอยางดี และควรกําหนดเวลาใหเพียงพอสําหรับการทํากิจกรรมแตละเรื่องดวย

ขอเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป1. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อทดลองรูปแบบการสอนแบบรวมมือในเทคนิคตาง ๆ

ที่สอดคลองกับเนื้อหาของรายวิชาอ่ืน ๆ เชน ภาษาตางประเทศ สังคมศึกษา คณิตศาสตร2. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรู

ภาษาไทย ดวยวิธีสอนแบบรวมมือ โดยใชเทคนิคอ่ืน ๆ เชน แบบแบงกลุมผลสัมฤทธิ์ (STAD) แบบกลุมชวยสอนเปนรายบุคคล (TAI) แบบกลุมรวมมือ (Co – op Co – op) เปนตน

Page 103: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

94

3. ควรมีการศึกษาวิจัยปจจัยที่สงผลตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT เชน ปจจัยดานผูสอน ปจจัยดานการจัดกิจกรรมการเรียนรู ปจจัยดานผูเรียน เปนตน

Page 104: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

95

บรรณานุกรม

กนกพร แสงสวาง. “ การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทํางานรวมกันที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือ โดยใชเทคนคิจกิซอรกบัการสอนตามปกต ิ ในรายวิชา

ส 305 โลกของเรา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่3โรงเรียนริ้วหวาวิทยาคมจังหวัดอางทอง.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตร

และการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.

กระทรวงศึกษาธิการ . กรมวิชาการ. หลักสูตรตามหลักสูตรประถมศกึษา พุทธศักราช 2521 ( ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2533 ). กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ การศาสนา, 2532.

. คูมือการประเมินผลตามหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521( ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2533). กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพการศาสนา, 2533.

. คูมือหลักสูตรประถมศึกษา พุทธศักราช 2521(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2533) กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2534.

. รายงานการวิจัยการวิเคราะหรูปแบบนวัตกรรมการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพการศาสนา, 2535.

. หนังสือเรียนภาษาไทย ชุดพื้นฐานภาษา ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 เลม 1.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2540.

. ก คูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2540.

. ข หนังสือเรียนภาษาไทย ชุดพื้นฐานภาษา ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 เลม 2.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2544.

. ค หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพองคการรับสงสินคาและพัสดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2544.

. ผังมโนทัศนและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว, 2546.

Page 105: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

96

กฤตวิทย ดวงสรอยทอง. หลักภาษา. พิมพคร้ังที่ 2. สงขลา :โครงการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสงขลา, 2522.

กลา พิมพวงษ. “ ผลของการเรียนแบบรวมมือโดยใชโปรแกรม CIRC ตอความสามารถใน การอานจับใจความสําคัญ เจตคติและความสัมพันธทางสังคม ของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปที่ 5.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การประถมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2543.

กัญญา ธนิกกุล. ครูโรงเรียนศาลจาวอามา กลุมโรงเรียนบางนอย . สัมภาษณ, 2 พฤศจิกายน 2546.

กาญจนา คุณารักษ. “ การเรียนรูแบบรวมมือกันในชั้นเรียนบูรณาการ.” ทับแกว 2, 4(มีนาคม 2541) : 69.

กําชัย ทองหลอ. หลักภาษาไทย. กรุงเทพฯ : อมรการพิมพ, 2545.

กิ่งดาว กล่ินจันทร. “ ผลของการเรียนแบบรวมมือโดยใชเทคนิคการแขงขันระหวางกลุมดวยเกมที่มีตอความสามารถในการอานเขาใจความภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1.”วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษา ภาควิชา

จิตวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2536.

เกษม วิจิโน. “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรและการใหความรวมมือตอกลุมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนแบบ TGTกับกิจกรรมการเรียนตามคูมือครูของ สสวท. ” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต

วิชาเอกการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2535.

ขวัญฤทัย สมัครคุณ. “ ผลของการเรียนแบบรวมมือที่มีตอความสามารถในการอานภาษาไทย เพื่อความเขาใจและความคงทนในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. ” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ภาควิชามัธยมศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2541.

จันทรทิพย อุดม. “ ผลของการใชแผนการสอนวิชาภาษาไทย ตามหลักการรวมมือกันเรียนรู ของนกัเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 .” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2538.

Page 106: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

97

จุฑามาศ สดแสงจันทร. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และพฤติกรรมการทํางานกลุมที่กลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันโดยใชเทคนิค STAD กับการสอนตามปกติ ในรายวิชา ส 401 สังคมศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนสมุทรปราการจังหวัดสมุทรปราการ. ” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.

ชวนพิศ อัตเนตร. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยที่สอนโดยหนังสือ การตูนกับวิธีสอนแบบปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.

ชัยยา โพธ์ิแดง. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษารายวิชาเอเซียตะวันออกเฉียงใตในโลกปจจบุนั ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ระหวางกลุมที่สอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเปนกลุมกับการเรียนแบบปกติ.” รายงานการวิจัยผลงานทางวิชาการโรงเรียนวัดเขมาภิตาราม นนทบุรี,2540.

ชาญชัย อาจิณเสมาจร. “ การเรียนรูแบบรวมมือ. ” ประชาศึกษา 10, 2 (มีนาคม 2533) : 27 – 28.

ชีวพร ตปนียกร. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตรและความคิด สรางสรรคทางวิทยาศาสตรของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่

เรียนดวยวิธีเรียนแบบรวมมือและวิธีเรียนตามปกติ.” วิทยานิพนธปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, 2538.

ชูศรี สนิทประชากร. “ ประโยชนของการเรียนแบบรวมมือ. ” จันทรเกษม 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม2534) : 48-49.

ฐะปะนีย นาครทรรพ. “ สอนหลักภาษาอยางไรไมนาเบื่อ. ” วิชาการ 1 (11 พฤศจิกายน 2541) : 5 – 9.

ฐิติมา อุนใจ. “ การเปรียบเทียบการคิดแบบอเนกนัยของเด็กปฐมวัยที่ไดรับประสบการณการเรียนแบบรวมมือกับประสบการณตามแผนปกติ. ” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2538.

Page 107: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

98

ถนอมพร (ตันพิพัฒน) เลาหจรัสแสง. คอมพิวเตอรชวยสอน. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: วงกมลโพรดักชั่น, 2541.

ธนาลัย ตปนีย. “ การศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษและทักษะทางสังคมดวยเทคนิคการเรียนแบบรวมมือกับการเรียนแบบปกติ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5. ” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2535.

นพนภา ออกดวง. “การเปรียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องคําและหนาที่ของคําในภาษาไทย ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่ไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือกันเทคนิค STAD กับการสอนแบบปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาไทย ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย

ศิลปากร, 2547.

นิคม ตังคะพิภพ. สถิติเพื่อการวิจัยทางการศึกษา. นครปฐม : โรงพิมพมหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.

นิตยา สุดสวาท. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องการเขียนเชิงสรางสรรคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับการสอนโดยใชชุดการและ

การสอนปกติ. ” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและ การนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

บรรจบ พันธุเมธา. ลักษณะภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2540.

บุญเหลือ เทพยสุวรรณ, หมอมหลวง. ภาษาไทยวิชาที่ถูกลืม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพคุรุสภา, 2520.

บุปผชาติ ทัฬหิกรณ. การเรียนแบบรวมมือรวมใจในการสรางความรู. กรุงเทพมหานคร :โรงเรียนหอวัง, 2541.

ปทีป เมธาคุณวุฒิ. การจัดการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2543.

ประภาศรี สีหอําไพ และคณะ. ภาษาไทย 4. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,2534.

Page 108: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

99

ปรารถนา เกษนอย. “ ผลของการเรียนแบบรวมมือในวิชาสังคมศึกษาที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทาง การเรยีนและความสามารถในการวิเคราะห ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. ” วิทยานพินธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา ภาควิชามัธยมศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.

ปรีชา ชางขวัญยืน. ความรูพื้นฐานสําหรับการใชภาษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพวิชาการ, 2525.

ปรีชา ทิชินพงศ. ลักษณะภาษาไทย (104). กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, 2522.

ปยาภรณ รัตนากรกุล. “ ผลของการเรียนแบบรวมมือโดยใชการแบงกลุมแบบกลุมสัมฤทธิ์ที่มีตอผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3. ” วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวทิยาลัย,

2536.

เปรมจิต ชนะวงศ. หลักภาษาไทย. พิมพคร้ังที่ 8. นครศรีธรรมราช : โครงการตําราและเอกสารทางวิชาการ สถาบันราชภัฏนครศรีธรรมราช , 2538.

พรรณรัศมิ์ เงาธรรมสาร. “ การเรียนแบบทํางานรับผิดชอบรวมกัน. ” สารพัฒนาหลักสูตร 9 (กุมภาพันธ 2533) : 35-37.

พัชรี ลินิฐฏา. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่อง”รามเกียรติ์” โดยใชชุดการสอนจุลบทกับการสอนแบบปกติ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนสตรีวัดระฆัง กรุงเทพมหานคร.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2534.

พิมพพันธ เดชะคุปต. แนวคิดและแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ยึดนักเรียนเปนศูนยกลาง.กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ, 2542.

เพ็ญแข แสงแกว. การวิจัยทางสังคมศาสตร. พิมพคร้ังที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2541.

เพ็ญนภา ขุนโหร. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องอักษรไทยและหลักการเขียนตัวอักษร ที่สอนดวยชุดการสอนมินิคอรสและวิธีสอนแบบเอ็กซพลิซิทของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2543.

Page 109: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

100

รัตนา เจียมบุญ. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนการสอนแบบรวมมือประกอบการสอนแบบ Teams – Games – Tournament กับการสอนตามคูมือ

ครู.” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2540.

รุง แกวแดง. ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : มติชน, 2541.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน, 2538.

ลวน สายยศ และ อังคณา สายยศ. เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพคร้ังที่ 5. กรุงเทพฯ :สุวีริยาสาสน , 2538.

วรนารถ เถ่ือนคํา. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1ที่สอนโดยวิธีรวมมือกันเรียนรูแบบผสมผสานและการสอนตาม

คูมือครู.”วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2539.

วรรณทิพา รอดแรงคา. การเรียนแบบรวมมือ. กรุงเทพฯ : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2540.

วรรณวิศา หนูเจริญ. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เร่ืองหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่สอนดวยการเรียนแบบรวม และการสอนตามแนว

คูมือครู. ” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและ การนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

วรรณา บัวเกิด และ ศรีสุดา จริยากุล. เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาเพื่อการสื่อสารหนวยที่ 1 - 7.พิมพคร้ังที่ 7. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2534.

วรรณี ภิรมยคํา. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยเรื่องคํา และหนาที่ของคําในภาษาไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ที่สอนโดยวิธีสอน

แบบเอ็กซพลิซิท กับวิธีสอนแบบปกติ.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาการสอนภาษาไทย ภาควชิาหลักสตูรและวธีิสอน บณัฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลัยศลิปากร, 2546.

Page 110: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

101

วรรณี โสมประยูร. การสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษา. พิมพคร้ังที่ 4. กรุงเทพมหานคร :

โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช จํากัด, 2544.

วราภรณ บรรติ. “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพฤติกรรมในการทํางานกลุมในกลุมวิชาสรางเสริมประสบการณชีวิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 โดยการสอนแบบ

รวมมือกันเรียนรู. ” วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2543.

วัชรา เลาเรียนดี. “เทคนิคการจัดการสอนและการนิเทศ.” นครปฐม : โครงการสงเสรมิการผลติตาํราและ เอกสารการสอน คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง

สนามจันทร, 2545. (อัดสําเนา)

. “เทคนิควิธีจัดการเรียนรูสําหรับครูมืออาชีพ.” นครปฐม : โครงการสงเสริมการผลิต ตําราและเอกสารการสอน คณะศกึษาศาสตร มหาวทิยาลยัศลิปากร วทิยาเขตพระราชวงั สนามจันทร, 2547. (อัดสําเนา)

วัฒนาพร ระงับทุกข. แผนการสอนที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร: คอมพิวเตอรกราฟฟค, 2542.

วัสริน ประเสริฐศรี. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเร่ืองเศษสวน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ที่สอนดวยการเรียนแบบรวมมือกันกับการสอนตามแนวคูมือครู.” วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและ

การนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2544.

วิภาวรรณ รมร่ืนบุญกิจ. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร เร่ืองความนาจะเปนและเจตคติตอวิชาคณิตศาสตร ระหวางกลุมที่รับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือ

กับการสอนแบบปกติของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 โรงเรียนเทพลีลา กรุงเทพมหานคร. ” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอน

คณิตศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, 2542.ศรีภรณ ณะวงศษา. “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสนใจในการเรียนคณิตศาสตร

ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ที่ไดรับการสอนโดยใชกิจกรรมการเรียนแบบ STAD แบบ TGT และการสอนตามคูมือครู.” ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกการมัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 2542.

Page 111: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

102

สมถวิล วิเศษสมบัติ. สอนภาษาไทย งายนิดเดียว. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรไทย,2543.

สมศักดิ์ ขจรชัยกุล. “ รวมคิด รวมทํา รวมใจ ในการรวมกลุมเรียนวิชาคณิตศาสตร.” สารพัฒนา หลักสูตร 7, 3 (พฤษภาคม 2534) : 19 – 23.

สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ. ภาษาไทยเรานี้มีทํานอง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา, 2539.

สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย. วิธีสอนภาษาไทยระดับมัธยมศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2523.

สุจินต วิศวธีรานนท. การจัดสภาพแวดลอมที่สงเสริมความรวมมือ. นนทบุรี : คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2536.

สุธิวงศ พงศไพบูลย. หลักภาษาไทย. พิมพคร้ังที่ 15. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2543.

สุมณฑา พรหมบุญ และอรพรรณ พรสีมา. “ การเรียนรูแบบมีสวนรวม. ” วารสารครุศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 26 (กรกฎาคม – ตุลาคม 2540) : 28 – 29.

สุรพล พยอมแยม. จิตวิทยาการเรียนการสอน. นครปฐม : คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2544.

สุลัดดา ลอยฟา. “ เอกสารการสอนรูปแบบการสอนแบบรวมมือกันเรียนรู.” คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยขอนแกน, 2536.

สุวิทย มูลคํา และ อรทัย มูลคํา. 19 วิธีจัดการเรียนรู : เพื่อพัฒนาความรูและทักษะ. พิมพคร้ังที่ 2.กรุงเทพฯ : โรงพิมพภาพพิมพ, 2545.

อมรรัตน ฉายศรี. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยเรื่องมหาเวชสันดรชาดกกัณฑกุมาร ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 2 ที่เรียนดวยกระบวนการกลุม

สัมพันธกับการสอนแบบปกติ วิทยาลัยเทคนิคพิจิตร.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย บณัฑติวทิยาลยั มหาวทิยาลัยเกษตรศาสตร, 2535.

อรพรรณ พรสีมา. “ การเรียนแบบรวมมือรวมใจ.” กรุงเทพมหานคร : โครงการพัฒนาคุณภาพ การเรียนการสอน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, 2540. (อัดสําเนา)

Page 112: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

103

ออยทิพย ชาติมาลากร. “การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ผลการเรียนวิชาหลักภาษาไทย และความคงทนในการเรียนรูเร่ืองการจําแนกคําในภาษาไทยออกเปน 7 ชนิด โดยใชบทเพลงทํานองไทยสากล เกมประกอบการสอน และการสอนปกติ ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

โรงเรียนตาพระยา จังหวัดปราจีนบุรี.” วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร , 2532.

อังคณา ชัยมณี. “ การพัฒนาโปรแกรมสงเสริมทักษะการอานภาษาไทยเพื่อความเขาใจ โดยใชการเรียนแบบรวมมือดวยเทคนิคการแขงขันระหวางกลุมดวยเกม สําหรับนักเรียน

ช้ันประถมศึกษาปที่ 3.” วิทยานิพนธปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การประถมศึกษา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2540.

อัจฉรา ชีวพันธ. คูมือการสอนภาษาไทย กิจกรรมการเลนประกอบการสอน. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช, 2534.

อารยา กลาหาญ. “ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสรางเสริมประสบการณชีวิตหนวยการเมืองการปกครองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5 ที่สอนดวยวิธีสอนแบบ

รวมมือกันเรียนรูและวิธีสอนตามคูมือครู. ” วทิยานพินธปริญญาศกึษาศาสตรมหาบณัฑติ สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2545.

อุปกิตศิลปสาร, พระยา. หลักภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพไทยวัฒนาพานิช, 2547.

Ajose, Sunday A., and Virginia G. Joyner. “Cooperative Learning : The Rebirth of anEffective Teaching Strategy. ” Educational Horizons 24,1(Summer 1990) : 198.

Artzt, Alice F., and Chaire M. Newman. “ Cooperative Learning.” The Mathematics Teacher83, 6 (September 1990) : 448 - 449.

Gooden – Jones., and Epsey Medora. “Developing Writing Proficiency Through Cooperative Learning Strategies in Limited English Proficient College Students.” Dissertation Abstracts International 57 (November 1996) : 1950- A.

Hilgard , E.R. Introduction to Psychology. New York : Harcourt Prace World, 1967.

Holguin, C. “A Study of Cooperative Learning as an Organizational Design in theAcguisition of English as a Second Language in a Third BilingualClassroom.” Dissertation Abstracts International 58(August 1997) : 366.

Page 113: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

104

Slavin, Robert E. “ Cooperative Learning. ” Review of Educational Research 50, 2( Summer 1980) : 319 - 320.

________. Cooperative Learning. New York : Longman, 1983.

Slavin, Robert E. “ Cooperative Learning and Cooperative School. ” Educational Leadership 46(November 1987) : 8 - 26.

William, Mary Susan. “ The Effects of Cooperative Team Learning on Student AchievementAnd Student Attitude in the Algebra Classroom. ” Dissertation AbstractsInternational 49, 12 (June 1988) : 3611 - A.

Zaidi, H.A. “Comparing Cooperative Learning Variation and Tradition Instruction inSevnth – Grade Mathematics : Effects on Achievement and Self – RegulationStrategies .” Dissertation Abstracts International 55 ( January 1994 ) : 858 – A.

Page 114: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

ภาคผนวก

Page 115: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

ภาคผนวก กแผนการจัดการเรียนรูกลุมทดลองและกลุมควบคุม

แผนการจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTแผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ

Page 116: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

107

แผนที่ 1 การจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

เร่ืองโครงสรางของประโยค เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

โครงสรางของประโยค แบงออกเปน 2 สวน คือ สวนที่เปนประธานของประโยคเรียกวาภาคประธาน สวนที่แสดงอาการของภาคประธาน เรียกวา ภาคแสดง ภาคประธาน ประกอบดวยบทประธาน และบทขยายประธาน ภาคแสดง ประกอบดวย บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรมและบทขยายกรรม การศึกษาเรื่องโครงสรางของประโยคจะชวยใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ สามารถนําไปใชเพื่อการสื่อสารไดถูกตองผลการเรียนรูที่คาดหวัง

บอกลักษณะ และเขาใจหลักการสรางประโยค และแยกสวนตาง ๆ ของประโยคไดจุดประสงคการเรียนรู

1. บอกโครงสรางของประโยคได2. แยกสวนตาง ๆของประโยคได

สาระการเรียนรูประโยค คือขอความหรือถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ วาใครทําอะไร ที่ไหน

เมื่อไร แตละประโยคจะแบงออกเปน 2 ภาค คือ ภาคประธานและภาคแสดง1. ภาคประธาน ไดแก สวนที่ผูกลาวอางขึ้นกอน เพื่อใหรูวาเปนสวนสําคัญของ

ขอความวาเปนใคร หรือส่ิงใด มักเปนคํานามหรือคําสรรพนาม ภาคประธานจะประกอบดวย บทประธานและบทขยายประธาน เชน

- เด็กคนนั้นมีเงิน 3 บาท เด็กคนนั้น เปน ภาคประธาน เด็ก เปน บทประธาน คนนั้น เปน บทขยายประธาน

2. ภาคแสดง ไดแก สวนที่แสดงอาการของภาคประธานใหไดความครบถวนวาแสดงอาการอยางไร ภาคแสดงจะประกอบดวย บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรมและบทขยายกรรม เชน

- นองของฉันกินขาวหมูแดงอยางเอร็ดอรอย กินขาวหมูแดงอยางเอร็ดอรอย เปน ภาคแสดง กิน เปน บทกริยา

Page 117: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

108

อยางเอร็ดอรอย เปน บทขยายกริยา ขาว เปน บทกรรม หมูแดง เปน บทขยายกรรม

ในประโยคหนึ่ง อยางนอยจะตองมี บทประธานและบทกริยากระบวนการจัดการเรียนรู

1. ขั้นนํา1.1 ครูนําแถบขอความ 5 ขอความมาใหนักเรียนสังเกตดูบนกระดานดํา

แถบขอความ- เร็วมากเหลือเกิน- นกเกาะบนตนไม- รองเพลงเพราะมาก- สะพานพระพุทธเลิศหลา- ทหารถือปนยาว

1.2 ครูและนักเรียนรวมอภิปรายลักษณะของขอความนั้น ๆ วา ขอความใดมใีจความสมบูรณหรือไมสมบูรณอยางไร

2. ขั้นสอน2.1 ครูอธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียนแตละคนอานใบความรู เร่ืองโครงสราง

ของประโยค ใชเวลา 15 นาที2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน ตามความสมัครใจ แลวสงตัวแทน 1

คน มาแขงขันแตงประโยคที่ครูกําหนดให คนละ 1 ประโยค บนกระดานดํา ครูตรวจแกไข3. ขั้นจัดทีม

3.1 ครูแบงกลุมนักเรียน กลุมละ 4 คน (แบงกลุมแบบ A-F) แลวเลือกประธานและเลขานุการกลุม

3.2 นักเรียนแตละกลุมประเมินความรู ความเขาใจในเนื้อหาเรื่องโครงสรางของประโยค โดยการตั้งคําถามทดสอบความรูสมาชิก เพื่อเตรียมการแขงขัน

4. ขั้นการแขงขัน 4.1 ครูแนะนําวิธีการเลนเกมชุดคําถามแตละชุด4.2 นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนมาแขงขันทีละคน โดยยึดหลักนักเรียนที่มี

ความสามารถทัดเทียมกัน เชน นักเรียนเกงของแตละกลุมมาแขงขันกัน หรือนักเรียนที่ออนกับออนมาแขงขัน เปนตน

Page 118: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

109

4.3 ตัวแทนนักเรียนแตละกลุม กลุมเกง ปานกลางและออน เลนเกมชุดคําถามตามลําดับ และนําคะแนนที่ไดไปรวมที่กลุมของตนเอง เพื่อเปนคะแนนของกลุม

5. ขั้นสรุป 5.1 ครูและนักเรียนรวมสรุปเรื่องโครงสรางของประโยค และใหแตละกลุม

ทาํแผนภูมิความคิดติดที่ปายแสดงผลงาน5.2 ครูใหรางวัลกลุมที่ไดคะแนนสูงสุด5.3 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค จํานวน 10 ขอ

สื่อการเรียนรู1. แถบขอความ 5 ขอความ2. ใบความรูเร่ืองโครงสรางของประโยค3. ชุดคําถามเรื่องโครงสรางของประโยค4. แบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค5. กระดาษ เอ 46. สี

การวัดและประเมินผล1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุม โดยผานเกณฑตั้งแตระดับ 2ขึ้นไป

1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค จํานวน 10 ขอ โดยผานเกณฑรอยละ 70

2. เครื่องมือวัดผล2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม2.2 แบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค

Page 119: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

110

แถบขอความเรื่องโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- เร็วมากเหลือเกิน

- นกเกาะบนตนไม

- รองเพลงเพราะมาก

- สะพานพระพุทธเลิศหลา

- ทหารถือปนยาว

Page 120: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

111

ประโยค คือ ขอความหรือถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ เพื่อใหรูวาใครหรือส่ิงใดแสดงอาการ หรือทําอะไร แบงออกเปน 2 ภาค คือ

1. ภาคประธาน หมายถึง ผูกระทํา มักจะเปนคํานาม หรือสรรพนาม ภาคประธานจะประกอบดวย บทประธานและบทขยายประธาน เชน

แมของฉันกําลังลางผลไม - แม เปน บทประธาน- ของฉัน เปน บทขยายประธาน

2. ภาคแสดง หมายถึง อาการกระทําของผูกระทํา หรือภาคประธานของประโยค ภาคแสดงจะประกอบดวย บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรมและบทขยายกรรม เชน

พี่อานนิทานเรื่องแมวอวดดีอยางสนุกสนาน- อานนิทานเรื่องแมวอวดดีอยางสนุกสนาน เปนภาคแสดง- อาน เปน บทกริยา- อยางสนุกสนาน เปน บทขยายกริยา- นิทาน เปน บทกรรม- เร่ืองแมวอวดดี เปน บทขยายกรรม

ตัวอยาง

ภาคประธาน ภาคแสดงบทประธาน ขยายประธาน บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรม บทขยายกรรม

แมพ่ี

ของฉัน-

ลางอาน

กําลังอยางสนุกสนาน

ผลไมนิทาน

-เรื่องแมวอวดดี

ใบความรูเรื่องโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

Page 121: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

112

คําสั่ง ขีด หนาประโยคที่มีครบทั้งสวนขยายประธาน ขยายกริยา และขยายกรรม

….. 1. นักเรียนสามคนอานหนังสือนวนิยายอยางสนุก สนาน ….. 2. ผูวาราชการจังหวัดสมุทรสงครามทําพิธีเปดปาย อาคารเรียน ….. 3. ภารโรงโรงเรียนวัดบางใหญรดน้ําตนไมทุกวัน ….. 4. ตํารวจอําเภอบางคนทีจับผูรายที่ชิงสรอยได เมื่อคืนนี้ ….. 5. แมวอวนตัวนั้นกินปลายางอยางเอร็ดอรอย

ชุดคําถาม ชุดที่ 1เร่ืองโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 122: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

113

คําสั่ง ขีด หนาประโยคที่มีสวนขยายประธาน และ ขยายกริยา

….. 1. พอของฉันปลูกมะมวงเขียวเสวยที่สวนหลังบาน….. 2. นกตัวเล็ก ๆ กําลังบินขึ้นสูทองฟา….. 3. สุเทพรองเพลงไดไพเราะมาก….. 4. นองของดําอานหนังสือไมได….. 5. แมเก็บสายบัวไปขายที่ตลาด

ชุดคําถาม ชุดที่ 2เร่ืองโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 123: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

114

คําสั่ง ขีด หนาประโยคที่มีสวนขยายกรรม

….. 1. ฝนตกหนักเมื่อเชานี้….. 2. ปนัดดาชอบกุหลาบสีชมพู….. 3. พี่เลนฟุตบอลที่สนาม….. 4. แมทําขนมบัวลอย….. 5. ครูใหรางวัลนักเรียนดีเดน

ชุดคําถาม ชุดที่ 3เร่ืองโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 124: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

115

คําสั่ง ขีด หนาขอความที่เปนประโยค

….. 1. ดอกไมบานเมื่อเชานี้….. 2. ลอยอยูกลางแมน้ํา….. 3. ลมพายุพัดแรงมาก….. 4. สะพานพระพุทธเลิศหลา….. 5. นองเตะฟุตบอลที่สนาม

ชุดคําถาม ชุดที่ 4เร่ืองโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 125: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

116

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองโครงสรางของประโยค คะแนนเต็ม 10 คะแนน--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------คําชี้แจง แบบทดสอบนี้มี 2 ตอน ตอนละ 5 ขอตอนที่ 1 จงกาเครื่องหมาย ลงใน ( …….. ) หนาขอความที่เปนประโยค (5 คะแนน)

( ………. ) 1. ทุงหญาอันเขียวขจี( ………. ) 2. นักเรียนไหวครู( ………. ) 3. สวยเหมือนนางฟา( ………. ) 4. นองเลนตุกตา( ………. ) 5. ฉันเปนนักมวย

ตอนที่ 2 แยกประโยคตอไปนี้ ลงในตารางที่กําหนดใหถูกตอง (5 คะแนน)1. ดอกไมบานเมื่อเชานี้2. นองของฉันกําลังอานหนังสือ3. คุณครูสมใจชอบเลนเปตอง4. นกนางนวลเกาะบนกอนหิน5. แมทําขนมเทียนอรอยมาก

ภาคประธาน ภาคแสดงบทประธาน บทขยายประธาน บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรม บทขยายกรรม

Page 126: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

117

แผนที่ 2 การจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองชนิดของประโยค เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

การศึกษาลักษณะของประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอน ซ่ึงแตละชนิดมีลักษณะแตกตางกัน จะชวยใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจหลักการสรางประโยค และสามารถใชประโยคในการสื่อสารไดถูกตองผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

แตงประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอนไดถูกตองตามหลักการใชภาษา ทั้งการพูดและการเขียนจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอนได2. จําแนกชนิดของประโยคได3. แตงประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอนได

สาระการเรียนรู ประโยคแบงออกเปน 3 ชนิด คือ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม

และประโยคความซอน ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความสําคัญเพียงใจความเดียว และจัดเปน

ประโยคที่มีองคประกอบเล็กที่สุด เชน- นองรองไห- นิดขัดรองเทา- กีฬาคือยาวิเศษประโยคความรวม คือ ประโยคความเดียวตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปมารวมกันโดยมี

สันธานเชื่อม เพื่อใหเนื้อความติดตอเปนประโยคเดียวกัน เชน- ภาคเหนือฝนตกหนัก เปนประโยคความเดียว - ภาคอีสานฝนแลง เปนประโยคความเดียว ภาคเหนือฝนตกหนักแตภาคอีสานแหงแลง เปนประโยคความรวม เชื่อมดวย

สันธาน แต เนื้อความขัดแยง

Page 127: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

118

- ฉันไปโรงเรียน เปนประโยคความเดียว - นองไปโรงเรียน เปนประโยคความเดียว ฉันและนองไปโรงเรียน เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน และ เนื้อความ

คลอยตามกัน- เธอชอบนอยหนา เปนประโยคความเดียว

- เธอชอบมังคุด เปนประโยคความเดียว เธอชอบนอยหนาหรือมังคุด เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน หรือ เนือ้ความ

เลือกอยางใดอยางหนึ่ง - เขาออกกําลังกาย เปนประโยคความเดียว - เขาแข็งแรง เปนประโยคความเดียวเพราะเขาออกกําลังกายจึงแข็งแรง เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน

เพราะ …. จึง เนื้อความเปนเหตุผลกันประโยคความซอน คือ ประโยคใจความสําคัญเปนประโยคหลัก และมีประโยคยอย

แทรกเขามา เพื่อทําหนาที่เปนคํานามของประโยคหลัก หรือทําหนาที่ประกอบคํานาม หรือคํากริยา หรือคําวิเศษณ เชน

- คนทํางานหนักยอมเปนคนมั่งมี คนทํางานหนัก เปนประโยคยอย ทาํหนาทีเ่ปนคาํนาม และบทประธานของประโยคหลัก

- เขาชวยเหลือเด็กตกน้ําในคลอง เด็กตกน้ําในคลอง เปนประโยคยอย ทําหนาที่เปนคํานาม และบทกรรมของประโยคหลกั

- เขานอนหลับ เปนประโยคหลกั ฉนัมาหาเขา เปนประโยคยอย เม่ือ เปนสนัธานเชือ่ม - เขาเปนคนดีที่โลกไมลืม

เขาเปนคนดี เปนประโยคยอย คนดีที่โลกไมลืม เปนประโยคหลัก ท่ี เปนบทเชื่อมกระบวนการจัดการเรียนรู

1. ขั้นนํา1.1 ครูนําแถบประโยค 5 ประโยคมาใหนักเรียนสังเกตดูบนกระดานดํา

แถบประโยค- นักเรียนอานหนงัสือ- พอไปทํางานแตแมอยูบาน- ฉันเห็นเด็กตกน้ํา

Page 128: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

119

- ดอกไมบาน- น้ําทวมเพราะฝนตก

1.2 ครูและนักเรียนรวมอภิปรายวาประโยคเหลานั้นมีความแตกตาง หรือเหมือนกันอยางไร 2. ขั้นสอน

2.1 ครูอธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียนแตละคนอานใบความรูเรือ่งชนดิของประโยค ใชเวลา 15 นาที

2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 5 คน ตามความสมัครใจ แลวสงตวัแทน 1 คนมาแขงขันแตงประโยคที่ครูกําหนด คนละ 1 ประโยค บนกระดานดํา ครูตรวจแกไข

3. ขั้นจัดทีม3.1 ครูแบงกลุมนักเรียน กลุมละ 4 คน(แบงกลุมแบบA-F) แลวเลือกประธาน

และเลขานุการกลุม3.2 นักเรียนแตละกลุมประเมินความรู ความเขาใจในเนื้อหาเรื่องชนิดของ

ประโยค โดยการตั้งคําถามทดสอบความรูของสมาชิก เพื่อเตรียมการแขงขัน4. ขั้นการแขงขัน

4.1 ครูแนะนําวิธีการเลนเกมชุดคําถามแตละชุด4.2 นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนมาแขงขันทีละคน โดยยึดหลักนักเรียนที่มีความ

สามารถทัดเทียมกัน เชน นักเรียนเกงของแตละกลุมมาแขงขันกัน หรือนักเรียนที่ออนกับออนมาแขงขันกัน เปนตน

4.3 ตัวแทนนักเรียนแตละกลุม กลุมเกง ปานกลางและออน เลนเกมชุดคําถามตามลําดับ และนําคะแนนที่ไดไปรวมที่กลุมของตนเอง เพื่อเปนคะแนนของกลุม

5. ขั้นสรุป5.1 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องชนิดของประโยค และใหแตละกลุมทํา

แผนภูมิความคิดติดที่ปายแสดงผลงาน5.2 ครูใหรางวัลกลุมที่ไดคะแนนสูงสุด5.2 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค จํานวน 10 ขอ

Page 129: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

120

สื่อการเรียนรู1. แถบประโยค 5 ประโยค2. ใบความรูเร่ืองชนิดของประโยค3. ชุดคําถามเรื่องชนิดของประโยค4. แบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค5. กระดาษ เอ 46. สี

การวัดและประเมินผล1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุม โดยผานเกณฑตั้งแตระดับ 2ขึน้ไป

1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค จาํนวน 10 ขอ โดยผานเกณฑรอยละ 70

2. เครื่องมือวัดผล 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม2.2 แบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค

Page 130: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

121

แถบประโยคเรื่องชนิดของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- นักเรียนอานหนังสือ

- พอไปทํางานแตแมอยูบาน

- ฉันเห็นเด็กตกน้ํา

- ดอกไมบาน

- น้ําทวมเพราะฝนตก

Page 131: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

122

ประโยค คือ ขอความหรือถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ เพื่อใหรูวา ใคร หรือส่ิงใดแสดงอาการ หรือทําอะไร แบงออกเปน 3 ชนิด คือ

1. ประโยคความเดียว คือประโยคที่มีใจความสําคัญเพียงใจความเดียว และจัดเปนประโยคที่มีองคประกอบเล็กที่สุด ตัวอยาง - แมไปตลาด

- ตํารวจจับผูราย- แกวน้ําแตก

2. ประโยคความรวม คือ ประโยคที่มีขอความที่เปนประโยคความเดียว ตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปเรียงกัน โดยมี คําสันธาน เปนตัวเชื่อมใหเปนประโยคเดียวกัน

ตัวอยาง - พอไปทํางาน - แมอยูบาน พอไปทํางานแตแมอยูบาน เชื่อมดวยสันธาน แต เนื้อความขัดแยง

- เธอชอบเรียนดนตรี - เธอชอบเรียนคอมพิวเตอร เธอชอบเรียนดนตรีหรือคอมพิวเตอร เชื่อมดวยสันธาน หรือ เนื้อความ

เลือกอยางใดอยางหนึ่ง - วินัยไมมาโรงเรียน - วินัยสอบตก วินัยไมมาโรงเรียนจึงสอบตก เชื่อมดวยสันธาน จึง เนือ้ความเปนเหตผุลกนั

- ฉันเลนปงปอง- นองเลนปงปอง

ใบความรูเรื่องชนิดของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

Page 132: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

123

ฉันและนองเลนปงปอง เชื่อมดวยสันธาน และ เนื้อความคลอยตามกัน2. ประโยคความซอน คือ ประโยคที่มีขอความเปนประโยคความเดียวเปน

ประโยคหลัก และมีประโยคยอยแทรกเขามา ทําใหขอความชัดเจนยิ่งขึ้น ตัวอยาง เด็ก ๆกลับบานเมื่อโรงเรียนเลิก

- เด็ก ๆกลับบาน เปน ประโยคหลัก - โรงเรียนเลิก เปน ประโยคยอย

หมายเหตุ เชื่อมดวยคําวา เม่ือ เขาเปนคนดีท่ีโลกไมลืม - เขาเปนคนดี เปน ประโยคยอย - คนดีที่โลกไมลืม เปน ประโยคหลัก หมายเหตุ เชื่อมดวยคําวา ท่ี เขาชวยเหลือเด็กตกน้ําในคลอง - เด็กตกน้ําในคลอง เปน ประโยคยอย ทําหนาที่เปนคํานาม และ

บทกรรมของประโยคหลัก - เขาชวยเหลือเด็ก เปน ประโยคหลัก

Page 133: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

124

คําสั่ง ขีด หนาขอประโยคที่ไมอยูในเรื่องชนิดของ ประโยค

….. 1. เขาพูดคลายนักการเมือง ….. 2. ดวงใจอยากมีฐานะมั่นคงแตไมกลาลงทุน ….. 3. ผูใหญตองอบรมลูกหลานใหเปนคนดี ….. 4. คุณชอบเปนนักการเมืองไหม ….. 5. ใครเปนผูแตงเรื่องพระอภัยมณี

ชุดคําถาม ชุดที่ 1เร่ืองชนิดของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 134: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

125

คําสั่ง ขีด หนาขอที่เปนประโยคความซอน

….. 1. ลูกเสือกระโดดขามรั้วเมื่อไดรับคําสั่งจากนายหมู ….. 2. เขาอานทํานองเสนาะไดไพเราะมาก ….. 3. คนที่นั่งรองไหเปนนองสาวของฉัน ….. 4. นักเรียนตองเปนคนดีของสังคม ….. 5. เขาตั้งใจทํางานมากจนไมมีเวลาพักผอน

ชุดคําถาม ชุดที่ 2เร่ืองชนิดของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 135: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

126

คําสั่ง ขีด หนาขอที่เปนประโยคความรวม

….. 1. เขาไมมาโรงเรียนเพราะปวดศีรษะ ….. 2. ฝนตกแตแดดออก ….. 3. พี่ชอบเลนฟุตบอลหรือปงปอง ….. 4. พอและแมไปทําบุญที่วัด ….. 5. แจกันใบนี้สวยงามมาก

ชุดคําถาม ชุดที่ 3เร่ืองชนิดของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 136: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

127

คําสั่ง ขีด หนาขอที่เปนประโยคความเดียว

….. 1. นองกินมะมวงสุก ….. 2. พี่ขับรถยนตยี่หอโตโยตา ….. 3. ลุงและปาทําสวนผลไม ….. 4. นองเปดหนาตาง ….. 5. สุนทรภูเปนกวีเอกของโลก

ชุดคําถาม ชุดที่ 4เร่ืองชนิดของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 137: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

128

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองชนิดของประโยค คะแนนเต็ม 10 คะแนนคําสั่ง จงนําตัวอักษร ก ข หรือ ค ใสลงใน ( …….. ) หนาขอประโยคที่กําหนดให

( ………. ) 1. นองนอนอยูในหอง( ………. ) 2. นอยและนิดเปนเด็กดี( ………. ) 3. ฉันเห็นสุนัขกัดแมว( ………. ) 4. เขาวิ่งจนเปนลม( ………. ) 5. พี่อานหนังสือแตนองดูโทรทัศน( ………. ) 6. กวาแดงจะมาดําก็ไปแลว( ………. ) 7. แหวนที่ฉันซื้อมาหายไปแลว( ………. ) 8. รถยนตแลนอยางรวดเร็ว( ………. ) 9. ทุกคนควรทําความดี( ………. ) 10. เธอจะเรียนหรือจะเลน

ชนิดของประโยคก. ประโยคความเดียวข. ประโยคความรวมค. ประโยคความซอน

Page 138: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

129

แผนที่ 3 การจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 1 ) เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

การศึกษาลักษณะของประโยคเพื่อการสื่อสาร เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงตามจุดมุงหมายของผูสงสารทั้งในรูปการเขียนและการพูด ถาผูรับสารและผูสงสารมีความรู ความเขาใจกับโครงสรางของประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถาม จะชวยใหการสื่อสารนั้นสัมฤทธิ์ผลไดดียิ่งขึ้นผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

ใชประโยคในการสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนไดถูกตอง ทั้งประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถามจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถามได2. แตงประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถามได

สาระการเรียนรูประโยคบอกเลา คือ ประโยคที่ผูสงสารตองการชี้แจง อธิบาย บอกกลาว หรือ

เสนอแนะ เชน- แมวขโมยปลายาง- แมออกไปทําธุระขางนอก- นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้งประโยคปฏิเสธ คือ ประโยคที่ผูสงสารบอกความปฏิเสธ มักใชคําวา ไม ไมได

ไมใช มิได มาประกอบในประโยค เชน- เขาไมไดทําการบาน- วนันี้ทองฟาไมแจมใสเทาที่ควร- ครูไมชอบนักเรียนที่มีนิสัยเกเรประโยคคําถาม คือ ประโยคที่ผูสงสารตองการคําตอบ ประโยคชนิดนี้มีคําแสดง

คําถาม วาใคร อะไร เมื่อไร ทําไม อยางไร ซ่ึงจะอยูตนประโยคหรือทายประโยคก็ได เชน

Page 139: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

130

- ภูเขาอะไรสูงที่สุดในโลก- ใครเปนเจาของบานหลังนี้- ความกตัญคูืออะไร

กระบวนการจัดการเรียนรู1. ขั้นนํา

1.1 ครูนําแถบประโยค 5 ประโยคมาใหนักเรียนสังเกตดูบนกระดานดําแถบประโยค- นอยไมชอบเลนกีฬา- แมไปซื้อของที่ตลาด- เลขขอนี้มีวิธีคิดอยางไร- บานหลังนี้เปนของใคร- คําไทยแทไมมีตัวการันต

1.2 ครูและนักเรียนรวมอภิปรายวาประโยคเหลานัน้ มคีวามแตกตางหรอืเหมอืนกนัอยางไร

2. ขั้นสอน2.1 ครูอธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียนแตละคนอานใบความรูเร่ืองประโยค

เพื่อการสื่อสาร ใชเวลา 15 นาที2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 5 คนตามความสมัครใจ แลวสงตัวแทน 1

คน มาแขงขันการแตงประโยคที่ครูกําหนด คนละ 1 ประโยค บนกระดานดํา ครูตรวจแกไข3. ขั้นจัดทีม

3.1 ครูแบงกลุมนักเรียน กลุมละ 4 คน( แบงกลุมแบบ A-F ) แลวเลือกประธานและเลขานุการกลุม

3.2 นักเรียนแตละกลุมประเมินความรู ความเขาใจในเนื้อหาเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร โดยการตั้งคําถามทดสอบความรูของสมาชิก เพื่อเตรียมการแขงขัน

4. ขั้นการแขงขัน4.1 ครูแนะนําวิธีการเลนเกมชุดคําถามแตละชุด4.2 นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนมาแขงขันทีละคน โดยยึดหลักนักเรียนที่มี

ความสามารถทัดเทียมกัน เชน นักเรียนเกงของแตละกลุมมาแขงขันกัน หรือนักเรียนที่ออนกับออนมาแขงขันกัน เปนตน

Page 140: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

131

4.3 ตัวแทนนักเรียนแตละกลุม กลุมเกง ปานกลางและออน เลนเกมชุดคําถามตามลําดับ และนําคะแนนที่ไดไปรวมที่กลุมของตนเอง เพื่อเปนคะแนนของกลุม

5. ขั้นสรุป5.1 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร และใหแตละกลุม

ทําแผนภูมิความคิดติดที่ปายแสดงผลงาน 5.2 ครูใหรางวัลกลุมที่ไดคะแนนสูงสุด 5.3 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอ

สื่อการเรียนรู1. แถบประโยค 5 ประโยค2. ใบความรูเร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร3. ชุดคําถามเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร4. แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร5. กระดาษ เอ 46. สี

การวัดและประเมินผล 1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุม โดยผานเกณฑตั้งแตระดับ 2 ขึ้นไป

1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอ โดยผานเกณฑรอยละ 70

2. เครื่องมือวัดผล2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม2.2 แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร

Page 141: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

132

แถบประโยคเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 1 )

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- นองไมชอบเลนกีฬา

- แมไปซ้ือของที่ตลาด

- เลขขอนี้มีวิธีคิดอยางไร

- บานหลังนี้เปนของใคร

- คําไทยแทไมมีตัวการันต

Page 142: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

133

การสื่อสาร หมายถึง การติดตอกันระหวางบุคคล 2 ฝาย เพื่อส่ือเร่ืองราวใหเขาใจตรงกัน ซ่ึงอาจจะเปนการสื่อสารระหวางบุคคล หรือกลุมบุคคล ทั้งเจาะจงและไมเจาะจงรูปประโยคที่ใชสื่อสารในภาษาไทย

1. ประโยคบอกเลา คือ ประโยคที่มีใจความเพื่อบอกใหทราบวา ใครทําอะไร ทําที่ไหน ทําอยางไร เปนการแจงเรื่องราวใหทราบหรือบอกเรื่องราวตาง ๆ

ตัวอยาง - แมของฉันตองทํางานนอกบาน - นักเรียนชวยครูพัฒนาโรงเรียน - ทหารเปนร้ัวของชาติ

2. ประโยคปฏิเสธ คือ ประโยคที่มีใจความไมตอบรับ มีเนื้อความตรงขามกับประโยคบอกเลา จะมีคําวา ไม ไมได ไมใช มิได อยูในประโยค

ตัวอยาง- แดงไมไดไปทํางาน- พอแมของฉันไมใชคนร่ํารวย- เขามิไดเปนคนเห็นแกตัว

3. ประโยคคําถาม คือ ประโยคที่มีใจความเปนคําถาม เพื่อตองการคําตอบ ตัวอยาง- สมชายจะไปเรียนพิเศษกับใคร

- เมื่อไรเธอจะไปเที่ยวกับฉัน- บานของเธออยูจังหวัดอะไร

ใบความรูเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 1 )

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

Page 143: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

134

คําสั่ง ขีด หนาประโยคที่ไมใชประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธ และประโยคคําถาม

….. 1. ฉันไมไดเก็บกระเปามาใหเธอ ….. 2. คุณพอไปทํางานที่ตางจังหวัด ….. 3. เธอมาโรงเรียนกับใคร ….. 4. อยานําสิ่งของเขามาในหองสมุด ….. 5. นักเรียนชอบอานหนังสือประเภทไหน

ชุดคําถาม ชุดที่ 1เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (1)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 144: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

135

คําสั่ง ขีด หนาขอประโยคที่เปนประโยคปฏิเสธ

….. 1. ฉันไมชอบพูดคําหยาบ ….. 2. คุณพอไมดื่มสุรา ….. 3. ฉันไมไดเปนหนี้ใคร ….. 4. เขาจะไปไหนก็ไมได ….. 5. บังอรไมทําการบาน

ชุดคําถาม ชุดที่ 2เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (1)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 145: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

136

คําสั่ง ขีด หนาขอที่เปนประโยคบอกเลา

….. 1. วันนี้ฉันจะไปเที่ยวที่บานของเธอ ….. 2. คุณยายจะตักบาตรทุกวันพระ ….. 3. นักเรียนชวยพอแมทํางานบาน ….. 4. ลูกเสือมาพักแรมที่คายบางกุง ….. 5. สีดา ดินสอแทงนี้เปนของเธอใชไหม

ชุดคําถาม ชุดที่ 3เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (1)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 146: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

137

คําสั่ง ขีด หนาประโยคที่เปนประโยคคําถาม

….. 1. เมื่อไรเธอจะสงการบานใหครบ ….. 2. ทําไมเธอถึงทําแบบนี้ ….. 3. แดงไปซื้อขนมกับใคร ….. 4. เขาตองการอะไรจากฉัน ….. 5. ฉันไมชอบพูดกับใคร

ชุดคําถาม ชุดที่ 4เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (1)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 147: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

138

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (1 ) คะแนนเต็ม 10 คะแนนคําสั่ง จงนําตัวอักษร ก ข หรือ ค ใสลงใน ( …….. ) หนาขอประโยคที่กําหนดให

( ………. ) 1. ทําไมยายตองใชใบตองหออาหาร( ………. ) 2. นักเรียนชั้น ป.6 รองเพลงไทยสากล( ………. ) 3. หนอยไมเคยทําการบาน( ………. ) 4. ไกขันตอนเชามืด( ………. ) 5. นองไมชอบรับประทานผักสด( ………. ) 6. เธอไปตลาดกับใคร( ………. ) 7. เขาไมไดไปโรงเรียนเพราะปวดทอง( ………. ) 8. แมวชอบกินปลาทู( ………. ) 9. เมื่อไรแมจะพาฉันไปเที่ยวกรุงเทพฯ( ………. ) 10. พอของฉันเปนทหารบก

ชนิดของประโยคก. ประโยคบอกเลาข. ประโยคปฏิเสธค. ประโยคคําถาม

Page 148: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

139

แผนที่ 4 การจัดการเรียนรูโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 2 ) เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

การศึกษาลักษณะของประโยคเพื่อการสื่อสาร เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงตามจุดมุงหมายของผูสงสาร ทั้งในรูปการเขียนและการพูด ถาผูรับสารและผูสงสารมีความรู ความเขาใจกับโครงสรางของประโยคขอรอง ประโยคคําส่ัง และประโยคแสดงความตองการ จะชวยใหการสื่อสารนั้นสัมฤทธิ์ผลไดดียิ่งขึ้นผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

ใชประโยคในการสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนไดถูกตอง ทั้งประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดงความตองการจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของประโยคขอรอง ประโยคคําส่ัง และประโยคแสดงความตองการได

2. แตงประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดงความตองการไดสาระการเรียนรู

ประโยคขอรอง คือ ประโยคที่ผูสงสารแสดงความตองการใหชวยเหลือในลักษณะตาง ๆ มักจะมีคําวา โปรด กรุณา ชวย วาน อยูหนาประโยค และมักจะมีคําวา หนอย ซิ นา นะ อยูทายประโยค เชน

- โปรดชวยดิฉันดวยเถอะคะ- ขอความกรุณาสงเงินมาใหดวยนะ- กรุณานั่งชิดในดวยประโยคคําส่ัง คือประโยคที่ละประธานไวในฐานที่เขาใจ ขึ้นตนประโยคดวยคํากริยา

ที่ผูสงสารตองการใหทํา เชน- หามเดินลัดสนาม- อยาจอดรถขวางทางเขาออก- นั่งเงียบ ๆ

Page 149: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

140

ประโยคแสดงความตองการ คือ ประโยคที่ผูสงสารแสดงความอยากได อยากมีอยากเปนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักจะมีคําวา อยาก ตองการ ปรารถนา ประสงค อยูในประโยค เชน

- ครูทุกคนตองการใหนักเรียนเปนคนดี- นองอยากไดเครื่องบิน- พอประสงคจะใหลูกศึกษาตอ

กระบวนการจัดการเรียนรู1. ขั้นนํา

1.1 ครูนําแถบประโยค 5 ประโยคมาใหนักเรียนสังเกตดูบนกระดานดําแถบประโยค- วานหยิบไมบรรทัดใหหนอย- จงวงกลมขอที่ถูกที่สุด- ฉันตองการเปนคนเกงของโรงเรียน- พี่อยากเปนทหารอากาศ- กรุณารอสักครู

1.2 ครูและนักเรียนรวมอภิปรายวาประโยคเหลานั้น มีความแตกตาง หรือเหมือนกันอยางไร

2. ขั้นสอน2.1 ครูอธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียนแตละคนอานใบความรูเร่ืองประโยคเพื่อการ

ส่ือสาร ใชเวลา 15 นาที2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 5 คน ตามความสมัครใจ แลวสงตัวแทน 1

คน มาแขงขันแตงประโยคที่ครูกําหนด คนละ 1 ประโยค บนกระดานดํา คนละ 1 ประโยค ครูตรวจแกไข

3. ขั้นจัดทีม3.1 ครูแบงกลุมนักเรียน กลุมละ 4 คน ( แบงกลุมแบบ A - F ) แลวเลือกประธาน

และเลขานุการกลุม3.2 นักเรียนแตละกลุมประเมินความรู ความเขาใจในเนื้อหาเรื่องประโยคเพื่อการ

ส่ือสาร โดยการตั้งคําถามทดสอบความรูของสมาชิก เพื่อเตรียมการแขงขัน

Page 150: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

141

4. ขั้นการแขงขัน4.1 ครูแนะนําวิธีการเลนเกมชุดคําถามแตละชุด4.2 นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนมาแขงขันทีละคน โดยยึดหลักนักเรียนที่มีความ

สามารถทัดเทียมกัน เชน นักเรียนเกงของแตละกลุมมาแขงขันกัน หรือนักเรียนที่ออนกับออนมาแขงขันกัน เปนตน

4.3 ตัวแทนนักเรียนแตละกลุม กลุมเกง ปานกลางและออน เลนเกมชุดคําถามตามลําดับ และนําคะแนนที่ไดไปรวมที่กลุมของตนเอง เพื่อเปนคะแนนของกลุม

5. ขั้นสรุป5.1 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร และใหแตละกลุมทํา

แผนภูมิความคิดติดที่ปายแสดงผลงาน5.2 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอ

สื่อการเรียนรู1. แถบประโยค 5 ประโยค2. ใบความรูเร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร3. ชุดคําถามเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร4. แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร5. กระดาษ เอ 46. สี

การวัดและประเมินผล1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุมโดยผานเกณฑตั้งแตระดบั 2 ขึน้ไป1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอ โดยผานเกณฑ

รอยละ 702. เครื่องมือวัดผล

2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม2.2 แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร

Page 151: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

142

แถบประโยคเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 2 )

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- วานหยิบไมบรรทัดใหหนอย

- จงวงกลมขอที่ถูกที่สุด

ฉันตองการเปนคนเกงของโรงเรียน

พี่อยากเปนทหารอากาศ

- กรุณารอสักครู

Page 152: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

143

คําสั่ง ขีด หนาขอที่ไมใชประโยคขอรอง ประโยค คําสั่งและประโยคแสดงความตองการ

….. 1. กรุณานั่งคอยคุณแมที่โรงเรียน ….. 2. โปรดชวยกันรักษาความสะอาด ….. 3. เขาตองการน้ําดื่ม 1 แกว ….. 4. หามเด็ดดอกไมในบริเวณนี้ ….. 5. เลือกคําตอบขอที่ถูกตองที่สุด

ชุดคําถาม ชุดที่ 1เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร(2)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 153: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

144

คําสั่ง ขีด หนาขอที่เปนประโยคขอรอง

….. 1. กรุณาวางปากกาบนโตะ ….. 2. ชวยกันเก็บขยะที่สนามหนอยนะ ….. 3. โปรดใชเวลาวางใหเปนประโยชนตอตนเอง ….. 4. วานเก็บเสื้อผาที่ราวหนอยนะ ….. 5. เชิญนมัสการหลวงพอบานแหลมที่ศักดิ์สิทธ์ิ

ชุดคําถาม ชุดที่ 2เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร(2)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 154: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

145

คําสั่ง ขีด หนาขอที่เปนประโยคคําสั่ง

….. 1. อยาวางสิ่งของบนทางเทา ….. 2. หามเดินลัดสนาม ….. 3. จงขีดเสนใตขอความที่สําคัญ ….. 4. อานขอความนี้ แลวตอบคําถามขอ 1 - 2 ….. 5. ขอใหทุกคนชวยกันประหยัดน้ํามัน

ชุดคําถาม ชุดที่ 3เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร(2)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 155: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

146

คําสั่ง ขีด หนาขอที่เปนประโยคแสดงความตองการ ….. 1. พอตองการใหฉันเปนคนดี ….. 2. ทุกคนปรารถนาใหบานเมืองสงบสุข ….. 3. นักกีฬาโอลิมปกอยากไดเหรียญทอง ….. 4. แมประสงคจะใหลูกเปนแมบานแมเรือน ….. 5. เพื่อนสงความปรารถนาดีมาใหฉันในวันปใหม

ชุดคําถาม ชุดที่ 4เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร(2)

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที่ 6

Page 156: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

147

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (2 ) คะแนนเต็ม 10 คะแนนคําสั่ง จงนําตัวอักษร ก ข หรือ ค ใสลงใน ( …….. ) หนาขอประโยคที่กําหนดให

( ………. ) 1. หามเกษตรกรใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช( ………. ) 2. มนุษยตองการผลประโยชนจากธรรมชาติ( ………. ) 3. นองอยากไดเครื่องบิน( ………. ) 4. หามสงเสียงดังในหองสมุด( ………. ) 5. โปรดชวยเหลือสตรีและคนชรา( ………. ) 6. หามเดินลัดสนาม( ………. ) 7. กรุณารอนอกหองเรียน( ………. ) 8. ฉันปรารถนาใหเพื่อนรักฉันทุกคน( ………. ) 9. วานเปดหนาตางใหดวยนะ( ………. ) 10. อยาไปเลนริมบอน้ํานะ

ชนิดของประโยคก. ประโยคขอรองข. ประโยคคําส่ังค. ประโยคแสดงความตองการ

Page 157: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

148

แผนที่ 1 การจัดการเรียนรูโดยใชวิธีสอนแบบปกติกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองโครงสรางของประโยค เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

โครงสรางของประโยค แบงออกเปน 2 สวน คือสวนที่เปนประธานของประโยค เรียกวา ภาคประธาน สวนที่แสดงอาการของภาคประธาน เรียกวา ภาคแสดง ภาคประธาน ประกอบดวย บทประธาน และบทขยายประธาน ภาคแสดง ประกอบดวย บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรมและบทขยายกรรม การศึกษาเรื่องโครงสรางของประโยคจะชวยใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ สามารถนําไปใชเพื่อการสื่อสารไดถูกตองผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

บอกลักษณะ และเขาใจหลักการสรางประโยค และแยกสวนตาง ๆของประโยคไดจุดประสงคการเรียนรู

1. บอกโครงสรางของประโยคได2. แยกสวนตาง ๆของประโยคได

สาระการเรียนรูประโยค คือขอความหรือถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ วาใครทําอะไร ที่ไหน

เมื่อไร แตละประโยคจะแบงออกเปน 2 ภาค คือ ภาคประธานและภาคแสดง1. ภาคประธาน ไดแก สวนที่ผูกลาวอางขึ้นกอน เพื่อใหรูวาเปนสวนสําคัญของ

ขอความวาเปนใคร หรือส่ิงใด มักเปนคํานามหรือคําสรรพนาม ภาคประธานจะประกอบดวยบทประธานและบทขยายประธาน เชน

- เด็กคนนั้นมีเงิน 3 บาทเด็กคนนั้น เปน ภาคประธานเด็ก เปน บทประธานคนนั้น เปน บทขยายประธาน

2 .ภาคแสดง ไดแก สวนที่แสดงอาการของภาคประธานใหไดความครบถวนวาแสดงอาการอยางไร ภาคแสดงจะประกอบดวย บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรมและบทขยายกรรม เชน

Page 158: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

149

- นองของฉันกินขาวหมูแดงอยางเอร็ดอรอยกินขาวหมูแดงอยางเอร็ดอรอย เปน ภาคแสดงกิน เปน บทกริยา

อยางเอร็ดอรอย เปน บทขยายกริยา ขาว เปน บทกรรม หมูแดง เปน บทขยายกรรม

ในประโยคหนึ่ง อยางนอยจะตองมี บทประธานและบทกริยากระบวนการจัดการเรียนรู

1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน1.1 ครูนําแถบขอความ 5 ขอความ มาใหนักเรียนสังเกตดูบนกระดานดํา

แถบขอความ- เร็วมากเหลือเกิน- นกเกาะบนตนไม- รองเพลงเพราะมาก- สะพานพระพุทธเลิศหลา- ทหารถือปนยาว

1.2 ครูและนักเรียนแลวรวมอภิปรายลักษณะของขอความนั้น ๆวา ขอความใดมีใจความสมบูรณหรือไมสมบูรณอยางไร

2. ขั้นสอน2.1 ครูอธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียนแตละคนอานใบความรู เร่ืองโครงสรางของ

ประโยค ใชเวลา 15 นาที2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 5 คนตามความสมัครใจ แลวสงตัวแทน 1 คน

มาแขงขันแตงประโยคที่ครูกําหนด คนละ 1 ประโยค บนกระดานดํา ครูตรวจแกไข3. ขั้นสรุป

3.1 ครูและนักเรียนรวมสรุปเรื่องโครงสรางของประโยค และใหแตละกลุมทํา แผนภูมิความคิดติดที่ปายแสดงผลงาน

3.2 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค จํานวน 10 ขอ

Page 159: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

150

สื่อการเรียนรู1. แถบขอความ 5 ขอความ2. ใบความรูเร่ืองโครงสรางของประโยค3. แบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค4. กระดาษ เอ 45. สี

การวัดและประเมินผล1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุม โดยผานเกณฑตัง้แตระดบั 2 ขึน้ไป1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค จํานวน 10 ขอโดยผานเกณฑ

รอยละ 702. เครื่องมือวัดผล

2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม 2.2 แบบทดสอบเรื่องโครงสรางของประโยค

Page 160: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

151

แถบขอความเรื่องโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- เร็วมากเหลือเกิน

- นกเกาะบนตนไม

- รองเพลงเพราะมาก

- สะพานพระพุทธเลิศหลา

- ทหารถือปนยาว

Page 161: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

152

ประโยค คือ ขอความหรือถอยคําที่มีเนื้อความครบบริบูรณ เพื่อใหรูวาใครหรือส่ิงใดแสดงอาการ หรือทําอะไร แบงออกเปน 2 ภาค คือ

1. ภาคประธาน หมายถึง ผูกระทํา มักจะเปนคํานาม หรือสรรพนามภาคประธานจะประกอบดวย บทประธานและบทขยายประธาน เชน

แมของฉันกําลังลางผลไม - แม เปน บทประธาน- ของฉัน เปน บทขยายประธาน

2. ภาคแสดง หมายถึง อาการกระทําของผูกระทํา หรือภาคประธานของประโยคภาคแสดงจะประกอบดวย บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรมและบทขยายกรรม เชน

พี่อานนิทานเรื่องแมวอวดดีอยางสนุกสนาน- อานนิทานเรื่องแมวอวดดีอยางสนุกสนาน เปน ภาคแสดง- อาน เปน บทกริยา- อยางสนุกสนาน เปน บทขยายกริยา- นิทาน เปน บทกรรม- เร่ืองแมวอวดดี เปน บทขยายกรรม

ตัวอยาง

ภาคประธาน ภาคแสดงบทประธาน ขยายประธาน บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรม บทขยายกรรม

แมพ่ี

ของฉัน ลางอาน

กําลังอยางสนุกสนาน

ผลไมนิทาน

-เรื่องแมวอวดดี

ใบความรูเรื่องโครงสรางของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

Page 162: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

153

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองโครงสรางของประโยค คะแนนเต็ม 10 คะแนนคําชี้แจง แบบทดสอบนี้มี 2 ตอน ตอนละ 5 ขอตอนที่ 1 จงกาเครื่องหมาย ลงใน ( …….. ) หนาขอความที่เปนประโยค (5 คะแนน)

( ………. ) 1. ทุงหญาอันเขียวขจี( ………. ) 2. นักเรียนไหวครู( ………. ) 3. สวยเหมือนนางฟา( ………. ) 4. นองเลนตุกตา( ………. ) 5. ฉันเปนนักมวย

ตอนที่ 2 แยกประโยคตอไปนี้ ลงในตารางที่กําหนดใหถูกตอง (5 คะแนน)1. ดอกไมบานเมื่อเชานี้2. นองของฉันกําลังอานหนังสือ3. คุณครูสมใจชอบเลนเปตอง4. นกนางนวลเกาะบนกอนหิน5. แมทําขนมเทียนอรอยมาก

ภาคประธาน ภาคแสดงบทประธาน บทขยายประธาน บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรม บทขยายกรรม

Page 163: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

154

แผนที่ 2 การจัดการเรียนรูโดยใชวิธีสอนแบบปกติกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองชนิดของประโยค เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

การศึกษาลักษณะของประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอน ซ่ึงแตละชนิดมีลักษณะแตกตางกัน จะชวยใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจหลักการสรางประโยค และสามารถใชประโยคในการสื่อสารไดถูกตองผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

ใชประโยคในการสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนไดถูกตอง ทั้งประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอนจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอนได

2. จําแนกชนิดของประโยคได3. แตงประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยคความซอนได

สาระการเรียนรูประโยคแบงออกเปน 3 ชนิด คือ ประโยคความเดียว ประโยคความรวมและประโยค

ความซอนประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความสําคัญเพียงใจความเดียว และจัดเปน

ประโยคที่มีองคประกอบเล็กที่สุด เชน- นองรองไห- นิดขัดรองเทา- กีฬาคือยาวิเศษประโยคความรวม คือ ประโยคความเดียวตั้งแต 2 ประโยคขึ้นไปมารวมกัน โดยมี

สันธานเชื่อมเพื่อใหเนื้อความติดตอเปนประโยคเดียวกัน เชน- ภาคเหนือฝนตกหนัก เปนประโยคความเดียว- ภาคอีสานฝนแลง เปนประโยคความเดียวภาคเหนือฝนตกหนักแตภาคอีสานแหงแลง เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน

แต เนื้อความขัดแยง

Page 164: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

155

- ฉันไปโรงเรียน เปนประโยคความเดียว- นองไปโรงเรียน เปนประโยคความเดียวฉันและนองไปโรงเรียน เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน และ เนื้อความ

คลอยตามกัน- เธอชอบนอยหนา เปนประโยคความเดียว

- เธอชอบนอยหนาหรือมังคุด เปนประโยคความรวมเชื่อมดวยสันธาน หรือ เนื้อความเลือกอยางใดอยางหนึ่ง

- เขาออกกําลังกาย เปนประโยคความเดียว- เขาแข็งแรง เปนประโยคความเดียวเพราะเขาออกกําลังกายเขาจึงแข็งแรง เปนประโยคความรวม เชื่อมดวยสันธาน

เพราะ …….. จึง เนื้อความเปนเหตุผลกันประโยคความซอน คือ ประโยคใจความสําคัญเปนประโยคหลัก และมีประโยคยอย

แทรกเขามา เพื่อทําหนาที่เปนคํานามของประโยคหลัก หรือทําหนาที่ประกอบคํานาม หรือคํากริยา หรือคําวิเศษณ เชน

- คนทํางานหนักยอมเปนคนมั่งมีคนทํางานหนัก เปนประโยคยอย ทําหนาทีเ่ปนคาํนามและบทประธานของประโยคหลัก- เขาชวยเหลือเด็กตกน้ําในคลองเด็กตกน้ําในคลอง เปนประโยคยอย ทาํหนาทีเ่ปนคาํนาม และบทกรรมของประโยคหลกั- เขานอนหลับเมื่อฉันมาหาเขาเขานอนหลับ เปนประโยคหลัก ฉันมาหาเขา เปนประโยคยอย เม่ือ เปนสนัธานเชือ่ม- เขาเปนคนดีที่โลกไมลืมเขาเปนคนดี เปนประโยคยอย คนดีที่โลกไมลืม เปนประโยคหลัก ท่ี เปนบทเชื่อม

กระบวนการจัดการเรียนรู1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1.1 ครูนําแถบประโยค 5 ประโยคมาใหนักเรียนสงัเกตดูบนกระดานดําแถบประโยค- นักเรียนอานหนังสือ- พอไปทํางานแตแมอยูบาน- ฉันเห็นคนตกน้ํา

Page 165: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

156

- ดอกไมบาน- น้ําทวมเพราะฝนตก

1.2 ครูและนักเรียนแลวรวมอภิปรายวาประโยคเหลานั้นมีความแตกตาง หรือเหมือนกันอยางไร 2. ขั้นสอน

2.1 ครูอธิบายลักษณะของประโยคความเดียว ประโยคความรวม และประโยคความซอน พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ

2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 5 คนตามความสมัครใจ แลวสงตัวแทน 1 คน มาแขงขันแตงประโยคที่ครูกําหนด คนละ 1 ประโยค บนกระดานดํา ครูตรวจแกไข

3. ขั้นสรุป3.1 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องชนิดของประโยค และใหแตละกลุมทาํแผนภมูิ

ความคดิตดิทีป่ายแสดงผลงาน3.2 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค จํานวน 10 ขอ

สื่อการเรียนรู1. แถบประโยค 5 ประโยค2. แบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค3. กระดาษ เอ 44. สี

การวัดและประเมินผล1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุมโดยผานเกณฑตั้งแตระดับ2ขึ้นไป1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค จํานวน 10 ขอ โดยผานเกณฑ

รอยละ 702. เครื่องมือวัดผล

2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม2.2 แบบทดสอบเรื่องชนิดของประโยค.

Page 166: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

157

แถบประโยคเรื่องชนิดของประโยค

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- นักเรียนอานหนังสือ

- พอไปทํางานแตแมอยูบาน

- ฉันเห็นเด็กตกน้ํา

- ดอกไมบาน

- น้ําทวมเพราะฝนตก

Page 167: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

158

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองชนิดของประโยค คะแนนเต็ม 10 คะแนนคําสั่ง จงนําตัวอักษร ก ข หรือ ค ใสลงใน ( …….. ) หนาขอประโยคที่กําหนดให

( ………. ) 1. นองนอนอยูในหอง( ………. ) 2. นิดและนอยเปนเด็กดี( ………. ) 3. ฉันเห็นสุนัขกัดแมว( ………. ) 4. เขาวิ่งจนเปนลม( ………. ) 5. พี่อานหนังสือแตนองดูโทรทัศน( ………. ) 6. กวาแดงจะมาดําก็ไปแลว( ………. ) 7. แหวนที่ฉันซื้อมาหายไปแลว( ………. ) 8. รถยนตแลนอยางรวดเร็ว( ………. ) 9. ทุกคนควรทําความดี( ………. ) 10. เธอจะเรียนหรือเธอจะเลน

ชนิดของประโยคก. ประโยคความเดียวข. ประโยคความรวมค. ประโยคความซอน

Page 168: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

159

แผนที่ 3 การจัดการเรียนรูโดยใชวิธีสอนแบบปกติกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 1 ) เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

การศึกษาลักษณะของประโยคเพื่อการสื่อสาร เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงตามจุดมุงหมายของผูสงสาร ทั้งในรูปการเขียนและการพูด ถาผูรับสารและผูสงสารมีความรู ความเขาใจกับโครงสรางของประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถาม จะชวยใหการสื่อสารนั้นสัมฤทธิ์ผลไดดียิ่งขึ้นผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

ใชประโยคในการสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนไดถูกตอง ทั้งประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถามจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถามได2. แตงประโยคบอกเลา ประโยคปฏิเสธและประโยคคําถามได

สาระการเรียนรูประโยคบอกเลา คือ ประโยคที่ผูสงสารตองการชี้แจง อธิบาย บอกกลาว หรือ

เสนอแนะ เชน- แมวขโมยปลายาง- แมออกไปทําธุระขางนอก- นายกรัฐมนตรีมาจากการเลือกตั้งประโยคปฏิเสธ คือ ประโยคที่ผูสงสารบอกความปฏิเสธ มักใชคําวา ไม ไมได

ไมใช มิได มาประกอบในประโยค เชน- เขาไมไดทําการบาน- วันนี้ทองฟาไมแจมใสเทาที่ควร- ครูไมชอบนักเรียนที่มีนิสัยเกเรประโยคคําถาม คือ ประโยคที่ผูสงสารตองการคําตอบ ประโยคชนิดนี้มีคําแสดง

คําถามวา ใคร อะไร เมื่อไร ทําไม อยางไร ซ่ึงจะอยูตนประโยคหรือทายประโยคก็ได เชน

Page 169: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

160

- ภูเขาอะไรสูงที่สุดในโลก- ใครเปนเจาของบานหลังนี้- ความกตัญคูืออะไร

กระบวนการจัดการเรียนรู1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1.1 ครูนําแถบประโยค 5 ประโยคมาใหนักเรียนสังเกตดูบนกระดานดํา แถบประโยค

- นอยไมชอบเลนกีฬา- แมไปซื้อของที่ตลาด- เลขขอนี้มีวิธีคิดอยางไร- บานหลังนี้เปนของใคร- คําไทยแทไมมีตัวการันต

1.2 ครูและนักเรียนรวมอภิปรายวาประโยคเหลานั้นมีความแตกตาง หรือเหมือนกันอยางไร

2. ขั้นสอน2.1 ครูอธิบายเพิ่มเติม และใหนักเรียนแตละคนอานใบความรูเร่ืองประโยคเพื่อการ

ส่ือสาร ใชเวลา 15 นาที2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 5 คนตามความสมัครใจ แลวสงตัวแทน 1 คน

มาแขงขันแตงประโยคที่ครูกําหนด คนละ 1 ประโยคบนกระดานดํา ครูตรวจแกไข3. ขั้นสรุป

3.1 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร และใหแตละกลุมทําแผนภูมิความคิดติดที่ปายแสดงผลงาน

3.2 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอสื่อการเรียนรู

1. แถบประโยค 5 ประโยค2. ใบความรูเร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร3. แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร4. กระดาษ เอ 45. สี

Page 170: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

161

การวัดและประเมินผล1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุม โดยผานเกณฑตัง้แตระดบั 2 ขึน้ไป1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอโดยผานเกณฑ

รอยละ 702. เครื่องมือวัดผล

2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม2.2 แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร

Page 171: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

162

แถบประโยคเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 1 )

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- นองไมชอบเลนกีฬา

- แมไปซ้ือของที่ตลาด

- เลขขอนี้มีวิธีคิดอยางไร

- บานหลังนี้เปนของใคร

- คําไทยแทไมมีตัวการันต

Page 172: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

163

การสื่อสาร หมายถึง การติดตอกันระหวางบุคคล 2 ฝาย เพื่อส่ือเร่ืองราวใหเขาใจตรงกัน ซ่ึงอาจจะเปนการสื่อสารระหวางบุคคล หรือกลุมบุคคล ทั้งเจาะจงและไมเจาะจงรูปประโยคที่ใชสื่อสารในภาษาไทย

1. ประโยคบอกเลา คือ ประโยคที่มีใจความเพื่อบอกใหทราบวา ใครทําอะไร ทําที่ไหน ทําอยางไร เปนการแจงเรื่องราวใหทราบหรือบอกเรื่องราวตาง ๆ

ตัวอยาง- แมของฉันตองทํางานนอกบาน

- นักเรียนชวยครูพัฒนาโรงเรียน- ทหารเปนร้ัวของชาติ2. ประโยคปฏิเสธ คือ ประโยคที่มีใจความไมตอบรับ มีเนื้อความตรงขามกบัประโยค

บอกเลา จะมีคําวา ไม ไมได ไมใช มิได อยูในประโยคตัวอยาง- แดงไมไดไปทํางาน- พอแมของฉันไมใชคนร่ํารวย- เขามิไดเปนคนเห็นแกตัว3. ประโยคคําถาม คือ ประโยคที่มีใจความเปนคําถาม เพื่อตองการคําตอบตัวอยาง- สมชายจะไปเรียนพิเศษกับใคร- เมื่อไรเธอจะไปเที่ยวกับฉัน- บานของเธออยูจังหวัดอะไร

ใบความรูเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 1 )

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

Page 173: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

164

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (1 ) คะแนนเต็ม 10 คะแนนคําสั่ง จงนําตัวอักษร ก ข หรือ ค ใสลงใน ( …….. ) หนาขอประโยคที่กําหนดให

( ………. ) 1. ทําไมยายตองใชใบตองหออาหาร( ………. ) 2. นักเรียนชั้น ป.6 รองเพลงไทยสากล( ………. ) 3. หนอยไมเคยทําการบาน( ………. ) 4. ไกขันตอนเชามืด( ………. ) 5. นองไมชอบรับประทานผักสด( ………. ) 6. เธอไปตลาดกับใคร( ………. ) 7. เขาไมไดไปโรงเรียนเพราะปวดทอง( ………. ) 8. แมวชอบกินปลาทู( ………. ) 9. เมื่อไรแมจะพาฉันไปเที่ยวกรุงเทพฯ( ………. ) 10. พอของฉันเปนทหารบก

ชนิดของประโยคก. ประโยคบอกเลาข. ประโยคปฏิเสธค. ประโยคคําถาม

Page 174: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

165

แผนที่ 4 การจัดการเรียนรูโดยใชวิธีสอนแบบปกติกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 2 ) เวลา 2 ชั่วโมงสาระสําคัญ

การศึกษาลักษณะของประโยคเพื่อการสื่อสาร เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงตามจุดมุงหมายของผูสงสารทั้งในรูปการเขียนและการพูด ถาผูรับสารและผูสงสารมีความรู ความเขาใจกับโครงสรางของประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดงความตองการ จะชวยใหการส่ือสารนัน้สมัฤทธิผ์ลไดดยีิง่ขึน้ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง

ใชประโยคในการสื่อสารทั้งการพูดและการเขียนไดถูกตอง ทั้งประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดงความตองการจุดประสงคการเรียนรู

1. อธิบายลักษณะของประโยคขอรอง ประโยคคาํสัง่และประโยคแสดงความตองการได2. แตงประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดงความตองการได

สาระการเรียนรูประโยคขอรอง คือ ประโยคที่ผูสงสารแสดงความตองการใหชวยเหลือในลักษณะ

ตาง ๆ มักจะมีคําวา โปรด กรุณา ชวย วาน อยูหนาประโยค และมักจะมีคําวา หนอย ซิ นา นะ อยูทายประโยค เชน

- โปรดชวยดิฉันดวยเถอะคะ- ขอความกรุณาสงเงินมาใหดวยนะ- กรุณานั่งชิดในดวยประโยคคําส่ัง คือ ประโยคที่ละประธานไวในฐานที่เขาใจ ขึ้นตนประโยคดวย

คํากริยาที่ผูสงสารตองการใหทํา เชน- หามเดินลัดสนาม- อยาจอดรถขวางทางเขาออก- นั่งเงียบ ๆประโยคแสดงความตองการ คือ ประโยคที่ผูสงสารแสดงความอยากไดอยากมี

อยากเปนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มักจะมีคําวา อยาก ตองการ ปรารถนา ประสงค อยูในประโยค เชน

Page 175: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

166

- ครูทุกคนตองการใหนักเรียนเปนคนดี- นองอยากไดเครื่องบิน- พอประสงคจะใหลูกศึกษาตอ

กระบวนการจัดการเรียนรู1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน

1.1 ครูนําแถบประโยค 5 ประโยค ใหนักเรียนสังเกตดูบนกระดานดําแถบประโยค- วานหยิบไมบรรทัดใหหนอย- จงวงกลมขอที่ถูกที่สุด- ฉันตองการเปนคนเกงของโรงเรียน- พี่อยากเปนทหารอากาศ- กรุณารอสักครู

1.2 ครูและนักเรียนรวมอภิปรายวาประโยคเหลานั้นมีความแตกตางหรือเหมือนกนัอยางไร

2. ขั้นสอน2.1 ครูอธิบายลักษณะของประโยคขอรอง ประโยคคําส่ังและประโยคแสดง

ความตองการ พรอมทั้งยกตัวอยางประกอบ2.2 ครูใหนักเรียนแบงกลุมกลุมละ 5 คนตามความสมัครใจ แลวสงตัวแทนมา

1 คน มาแขงขันแตงประโยคที่ครูกําหนด คนละ 1 ประโยค บนกระดานดํา ครูตรวจแกไข3. ขั้นสรุป

3.1 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร และใหแตละกลุมทําแผนภูมิความคิด ติดที่ปายแสดงผลงาน

3.2 นักเรียนทําแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอสื่อการเรียนรู

1. แถบประโยค 5 ประโยค2. แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร3. กระดาษ เอ 44. สี

Page 176: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

167

การวัดและประเมินผล1. วิธีการวัดผล

1.1 สังเกตพฤติกรรมการรวมปฏิบัติกิจกรรมกลุม โดยผานเกณฑตัง้แตระดบั 2ขึน้ไป

1.2 ตรวจแบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร จํานวน 10 ขอ โดยผานเกณฑรอยละ 70

2. เครื่องมือวัดผล 2.1 แบบสังเกตพฤติกรรม

2.2 แบบทดสอบเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร

Page 177: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

168

แถบประโยคเรื่องประโยคเพื่อการสื่อสาร ( 2 )

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 6

- วานหยิบไมบรรทัดใหหนอย

- จงวงกลมขอที่ถูกที่สุด

ฉันตองการเปนคนเกงของโรงเรียน

พี่อยากเปนทหารอากาศ

- กรุณารอสักครู

Page 178: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

169

แบบทดสอบกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6เร่ืองประโยคเพื่อการสื่อสาร (2 ) คะแนนเต็ม 10 คะแนนคําสั่ง จงนําตัวอักษร ก ข หรือ ค ใสลงใน ( …….. ) หนาขอประโยคที่กําหนดให

( ………. ) 1. หามเกษตรกรใชสารเคมีกําจัดศัตรูพืช( ………. ) 2. มนุษยตองการผลประโยชนจากธรรมชาติ( ………. ) 3. นองอยากไดเครื่องบิน( ………. ) 4. หามสงเสียงดังในหองสมุด( ………. ) 5. โปรดชวยเหลือสตรีและคนชรา( ………. ) 6. หามเดินลัดสนาม( ………. ) 7. กรุณารอนอกหองเรียน( ………. ) 8. ฉันปรารถนาใหเพื่อนรักฉันทุกคน( ………. ) 9. วานเปดหนาตางใหดวยนะ( ………. ) 10. อยาไปเลนริมบอน้ํานะ

ชนิดของประโยค ก. ประโยคขอรอง

ข. ประโยคคําส่ัง ค. ประโยคแสดงความตองการ

Page 179: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

ภาคผนวก ขแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

Page 180: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

171

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน เร่ืองประโยคกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

คําชี้แจง

1. แบบทดสอบฉบับนี้เปนแบบเลือกตอบ มีจํานวน 30 ขอ คะแนนเต็ม 30 คะแนน ใชเวลา 60 นาที

2. การตอบใหเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว จากตัวเลือก ก ข ค หรือ ง แลวทําเครื่องหมาย ลงใน ( ) ของกระดาษคําตอบใหตรงกับตัวเลือกที่ตองการ เชน ถาตองการตอบขอ ก ใหทําดังนี้

ก ข ค ง ( ) ( ) ( ) ( )

ถาตองการเปลี่ยนคําตอบ ก เปน ง ใหขีดทับรอยคําตอบเดิมใหชัดเจน แลวเลือกใหมดังนี้ ก ข ค ง

( ) ( ) ( ) ( )

3. หามนักเรียนขีดเขียนในแบบทดสอบฉบับนี้4. หลังจากทําเสร็จหรือหมดเวลาแลว ใหสงแบบทดสอบฉบบันีค้นืกรรมการสอบดวย

Page 181: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

172

1. องคประกอบของประโยค อยางนอยตอง ประกอบดวยอะไรบาง

ก. บทประธานข. บทประธานและบทกริยาค. บทประธาน บทขยายประธาน และ บทกริยาง. บทประธาน บทกริยาและบทขยายกริยา

2. “ นกจิกแมลง ” คําที่ขีดเสนใต ทําหนาที่ตามขอใดก. กริยาข. กรรมค. ประธานง. ขยายกรรม

3. ขอความใด มีใจความบริบูรณก. ดอกไมใหคุณข. ลมโชยกล่ินดอกไมค. นกรองอยูในปาใหญง. หนังสือแบบเรียนภาษาไทย

4. ประโยคใดเรียงลําดับ จากกรรรม ประธานกริยา ไดถูกตองก. นกเขาตัวนั้นมันขันแลวข. กระโปรงตัวนี้เขาขายแลวค. เชือกเสนนั้นมันยาวเกินไปง. นักเรียนโรงเรียนนี้เขาเรียบรอย

5. “ บานสวยหลังนั้นปลูกตรงเชิงเขา ” ขอใดเปนสวนขยายประธาน

ก. เชิงเขาข. ตรงเชิงเขาค. สวยหลังนั้นง. ปลูกตรงเชิงเขา

6. ขอใดมีบทขยายประธานก. ผมทํางานเสร็จแลวข. เขาคงมาโรงเรียนสายค. เธอยืนอยูใตตนจามจุรีง. นองของฉันนอนหลับอยางมคีวามสุข

7. ขอใดมีสวนขยายกริยาก. พี่เดินอยางรวดเร็วข. นองกินขาวซอมมือค. ปกสมุดของเธอขาดง. แมของฉันทําขนมบัวลอย

8. ขอใดไมมีสวนขยายกริยาก. งูเหลือมฉกทันทีข. เตาคลานชามากค. แมวจับหนูตัวใหญง. นกบินเหนือยอดไม

Page 182: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

173

9. ขอใดเปนประโยคที่มีสวนขยายประธานขยายกริยา และขยายกรรมก. เธอใสกระโปรงสั้นมากข. ชาวนาปลูกขาวจาวและขาวเหนียวค. นักเรียนชั้นอนุบาลชอบเลนฟุตบอลง. พี่ของฉันกินขาวหมูแดงอยางเอร็ดอรอย

10. “วันนี้นองตื่นแตเชามืด” เปนประโยคชนิดใดก. ประโยคความซอนข. ประโยคความเดียวค. ประโยคความรวมที่ขัดแยงกันง. ประโยคความรวมที่คลอยตามกัน

11. ขอใดไมใชประโยคความเดียวก. ตํารวจจับผูรายข. ฝนตกแตแดดออกค. ปลาวายน้ําในคลองง. ดอกไมบานเมื่อเชานี้

12. “ คุณจะทานขาวหรือขนมปง ” ขอความนี้ เปนประโยคชนิดใด

ก. ประโยคขอรองข. ประโยคความรวมค. ประโยคความเดียวง. ประโยคความซอน

13. ขอใดเปนประโยคความรวมก. คุณยายดื่มน้ํารอนข. คุณยาทําขนมหมอแกงค. คุณปาปลูกตนไมในสวนง. คุณลุงชอบดื่มกาแฟหรือชารอน

14. ขอใดไมใชประโยคความรวมก. พลอยไปทําบุญที่วัดทุกวันพระข. ออยชอบเลนเปตองหรือปงปองค. แปงกับแปวรองเพลงเพราะมากง. บวัสอบไดทีห่นึง่เพราะอานหนงัสอืทุกวัน

15. ขอใดเปนประโยคความซอนก. ชางโขลงนั้นกําลังเลนน้ําข. เขาเช็ดหนาตางบานนี้แลวค. สุนัขนอนอยูบนพรมเช็ดเทาง. นักฟุตบอลที่ขยันซอมจะกาวหนาเร็ว

16. ขอใดไมใชประโยคความซอนก. เธอจะทานยาหรือจะฉีดยาข. ครูใหรางวัลเมื่อนักเรียนทําความดีค. แกงนีเ้ผ็ดมากเกนิไปทีเ่ดก็ ๆ จะกนิไดง. ฉนัออกจากบานตัง้แตตะวนัยงัไมตกดนิ

17. ขอใดเปนประโยคบอกเลาก. คนไหนไมสงการบานข. คําไหนที่เธออานไมออกค. คนไหนจะนอนกอนก็ไดง. มีการแขงขันกีฬาที่ไหน

18. ขอใดไมเปนประโยคบอกเลาก. ลูกเสือกินขาวข. นกจิกขาวโพดค. คุณแมเขียนจดหมายง. คุณยาไปตลาดหรือ

Page 183: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

174

19. ขอใดเปนประโยคปฏิเสธก. เธอทําผิดอีกแลวหรือนี่ข. รถประจําทางแนนเหลือเกินค. บานที่ไมมีความสุขคือนรกนั่นเองง. เขาไมไดโกงทรัพยสมบัติของใคร

20. ขอใดไมใชประโยคปฏิเสธก. ฉันมิไดโกรธคุณข. นองไมอานหนังสือค. คนไหนไมทําการบานง. พระไมชอบฉันขนมหวาน

21. ขอใดเปนประโยคคําถามก. บานนี้อบอุนจริง ๆข. ใคร ๆ ก็หาวาเธอขี้เหนียวค. อะไร ๆ ก็ไมแนนอนทั้งนั้นง. จะมีใครบางไหมที่คิดเหมือนเธอ

22. “ แหวนวงนี้เปนของคุณหรือ ” ประโยคนี้เหมือนกับขอใดก. พี่พาคุณยายไปไหวพระข. ไมไปคะ ฉันจะอยูกับพอค. คุณจะไปเชียงใหมอยางไรง. นองอยากไดขนมปงหรือไสกรอก

23. คําวา “ อะไร ” ในขอใดไมใชประโยคคําถามก. เธอหยิบอะไรมาใหฉันข. อะไรติดที่เสื้อของเธอค. ฉันกินอะไรก็ไดทั้งนั้นง. มีอะไรบางที่ฉันไมไดทําในวันนี้

24. “ ……ถอดรองเทาดวยครบั ” ควรเตมิคาํใดใน ชองวาง

ก. จงข. อยาค. หามง. กรุณา

25. ประโยคในขอ 24 เปนประโยคแบบใดก. คําส่ังข. ขอรองค. ชักชวนง. อนุญาต

26. ขอใดเปนประโยคคําส่ังไมใหกระทําก. จงทาํเครือ่งหมายกากบาทหนาขอท่ีถูกข. โปรดลางมือกอนรับประทานอาหารค. อยานําอาหารเขามาในหองสมุดง. วางปนลงเดี๋ยวนี้

27. ขอใดเปนประโยคคําส่ังก. หยุด ไมตองเถียงกันข. อ่ิม วางซาลาเปาลงบนศาลค. ไมจริง ของฉันอรอยกวาง. ออย อยาไปเที่ยวกลางคืนเลยนะจะ

28. ขอใดเปนประโยคคําส่ังใหทําก. ขนมปงอยูในตูเย็นข. เธอจะไปกับฉันไหมค. เธออธิบายใหฉันฟงหนอยซิง. ฉันไมไปเที่ยวสวนสัตวกับเธอแลว

Page 184: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

175

29. “ นองอยากไปเที่ยวสวนสนุก ” เปนประโยคชนิดใดก. ประโยคคําส่ังข. ประโยคขอรองค. ประโยคคําถามง. ประโยคแสดงความตองการ

30. ขอใดเปนประโยคแสดงความตองการก. พี่ไปซื้อของที่ราชประสงคข. เขาปรารถนาใหเธอพนทุกขค. ครทูกุคนมคีวามปรารถนาดตีอนกัเรยีนง. โรงเรียนมีอาคารอเนกประสงคไวใช

ประโยชน

Page 185: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

ภาคผนวก คแบบสอบถามความคิดเห็น

Page 186: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

177

คําชี้แจง

1. แบบสอบถามความคิดเห็นฉบับนี้ เปนแบบสอบถามความคิดเห็นปลายเปด (Open End) จํานวน 2 ขอ ไดแก บรรยากาศในการเรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู

2. คําตอบทุกขอจะไมมีถูก ไมมีผิด ขอใหนักเรียนตอบตามความคิดเห็นหรือสภาพที่เปนจริง เพราะความคิดเห็นจะเปนประโยชนตอการจัดการเรียนการสอนเปนอยางมาก

3. คําตอบของนักเรียนจะไมมีผลตอการเรียนของนักเรียน ซ่ึงขอมูลนี้จะถูกเก็บไวเปนความลับ

วิธีตอบ1. นักเรียนอานคําอธิบายในการตอบคําถามใหเขาใจ2. ขอใหนักเรียนตอบคําถามทุกขอและใชเวลาในการตอบแบบสอบถาม 30 นาที

ขอขอบใจนักเรียนทุกคนที่ชวยตอบแบบประเมินครั้งนี้นางมณี บุญญาติศัย

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาการสอนภาษาไทยมหาวิทยาลัยศิลปากร

แบบสอบถามความคิดเห็นเร่ือง

การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร่ืองประโยคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

ท่ีไดรับการสอนโดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGT กับการสอนแบบปกติ

Page 187: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

178

คําอธิบาย โปรดอานคําถามที่กําหนดใหอยางรอบคอบ แลวพิจารณาวานักเรียนมีความคิดเห็นตอการจัดการเรียนรูที่ผูสอนจัดใหกับนักเรียนอยางไร แลวเขียนอธิบายความคดิเหน็ลงในชองวางที่กําหนดให ที่ตรงกับความคิดเห็นที่เปนจริงของนักเรียน

1. นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับบรรยากาศในการเรียนสาระการเรียนรูภาษาไทย เร่ืองประโยคที่ครูสอน อยางไรบาง……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………………………………………………….

2. นักเรียนมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู สาระการเรียนรูภาษาไทยเร่ืองประโยค ของครูอยางไรบาง………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ช่ือนักเรียน ………………………………………………

ความคิดเห็นที่มีตอการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTสาระการเรียนรูภาษาไทยที่ผูสอนจัดใหนักเรียน

Page 188: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

ภาคผนวก งการจัดนักเรียนกลุมตัวอยาง

นักเรียนกลุมตัวอยางชั้นประถมศึกษาปที่ 6 กนักเรียนกลุมตัวอยางชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ข

Page 189: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

180

ตารางที่ 4 การจัดนักเรียนกลุมตัวอยาง ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ก

เลขที่ ช่ือกลุม คะแนนผลการเรียนที่ผานมา1011719

AAAA

64808090

282126

BBBB

69798981

6141625

CCCC

79827288

7121824

DDDD

74798287

4132028

EEEE

85757984

391523

FFFF

78758484

1152227

GGGG

77847884

Page 190: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

181

ตารางที่ 5 การจัดนักเรียนกลุมตัวอยาง ช้ันประถมศึกษาปที่ 6 ขเลขที่ ช่ือกลุม คะแนนผลการเรียนที่ผานมา

4131719

AAAA

80668190

8102126

BBBB

67818089

161625

CCCC

69888082

351824

DDDD

70798682

9112028

EEEE

83857478

7121523

FFFF

78838475

2142227

GGGG

77847684

Page 191: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

ภาคผนวก จการหาคาความเชื่อมั่น

คาความยากงาย (p) และคาอํานาจจําแนก (r) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์การคํานวณหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์

คะแนนกอนเรียนและหลังเรียน โดยการเรียนแบบรวมมือเทคนิค TGTกับการสอนแบบปกติ

การคํานวณเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนระหวางกลุมทดลองและกลุมควบคุม

Page 192: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

183

ตารางที่ 6 ผลการหาคาความยากงาย ( p ) และคาอํานาจจําแนก ( r ) ของแบบทดสอบวดัผลสมัฤทธิ์ ทางการเรียนเรื่องประโยค

ขอ คา p คา r ขอ คา p คา r ขอ คา p คา r1 0.09 0.09 21 0.45 0.41 41 0.58 0.362 0.48 0.45 22 0.67 0.59 42 0.58 0.553 0.54 0.14 23 0.61 0.68 43 0.75 0.594 0.76 0.14 24 0.57 0.59 44 0.61 0.595 0.21 0.14 25 0.69 0.55 45 0.61 0.506 0.88 0.27 26 0.49 0.55 46 0.61 0.777 0.37 0.18 27 0.60 0.64 47 0.34 0.368 0.85 0.32 28 0.34 0.50 48 0.76 0.559 0.75 0.27 29 0.42 0.45 49 0.57 0.3610 0.58 0.09 30 0.33 0.50 50 0.37 0.0511 0.63 0.36 31 0.25 0.14 51 0.39 0.3212 0.18 -0.14 32 0.54 0.45 52 0.51 0.3613 0.82 0.09 33 0.22 0.18 53 0.57 0.5914 0.37 0.18 34 0.39 0.55 54 0.55 0.6815 0.43 0.27 35 0.78 0.59 55 0.66 0.5916 0.55 0.32 36 0.60 0.41 56 0.55 0.5917 0.63 0.41 37 069 0.68 57 0.66 0.6418 0.46 0.59 38 0.48 0.36 58 0.61 0.5919 0.37 0.41 39 0.43 0.36 59 0.57 0.4520 0.66 0.50 40 0.60 0.59 60 0.54 0.32

Page 193: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

184

การคํานวณหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ

การหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชสูตร KR – 20 โดยวิธีแบบคูเดอร – ริชารดสัน (ลวน สายยศ และอังคณา สายยศ 2538 :197-198)

rtt = ⎭⎬⎫

⎩⎨⎧ Σ−

− 211 ts

pqn

n

เมื่อ n คือ จํานวนขอของเครื่องมือวัด p คือ สัดสวนของผูทําไดในขอหนึ่ง ๆ นั่นคือ สัดสวนของคนทําถูกกับคนทั้งหมด q คือ สัดสวนของผูทําผิดในขอหนึ่ง ๆ หรือคือ 1 – p 2

ts คือ คะแนนความแปรปรวนของเครื่องมือฉบับนั้น

คํานวณคา ( )2

222

NXXNst

Σ−Σ=

( )( )2

2

6711312211967 −×

= = 45.18

จากสูตร rtt = ⎭⎬⎫

⎩⎨⎧ Σ−

− 211 ts

pqn

n

⎭⎬⎫

⎩⎨⎧ −

−=

18.4512.71

13030

= 0.87

ดังนั้นแบบทดสอบฉบับนี้มีคาความเชื่อมั่น 0.87

Page 194: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

185

ตารางที่ 4 คะแนนกอนเรียนและหลังเรียนโดยวิธีสอนแบบรวมมือเทคนิค TGT แบบปกติ เรื่องประโยค

กลุมทดลอง กลุมควบคุมคะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนเต็ม 30 คะแนน

คนที่Pre - test Post - test

คนที่Pre - test Post - test

1 15 21 1 20 232 21 27 2 7 133 16 25 3 18 214 22 29 4 15 185 19 25 5 11 206 13 28 6 15 197 8 20 7 20 238 20 26 8 14 219 19 22 9 15 1810 8 15 10 15 2211 19 25 11 11 1212 10 21 12 18 2013 16 28 13 17 2514 16 23 14 22 2815 20 25 15 12 1916 12 19 16 15 2617 14 21 17 18 2418 23 29 18 12 18

Page 195: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

186

กลุมทดลอง กลุมควบคุมคะแนนเต็ม 30 คะแนน คะแนนเต็ม 30 คะแนน

คนที่Pre - test Post - test

คนที่Pre - test Post - test

21 10 16 21 13 1622 19 29 22 18 2323 20 28 23 21 2224 15 22 24 11 2025 20 26 25 20 2426 22 29 26 20 2627 13 18 27 15 1628 19 24 28 19 25

Page 196: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

187

การคํานวณเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบกอนเรียน(pretest)ระหวางกลุมทดลองกับกลุมควบคุม

วิเคราะหขอมูลโดยใช t – test (independence test)

เมื่อ t แทน การตรวจสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยคะแนนการทดสอบกอนเรียน 1x แทน คะแนนการทดสอบกอนเรียนเฉลี่ยของกลุมทดลอง 2x แทน คะแนนการทดสอบกอนเรียนเฉลี่ยของกลุมควบคุม 2

ps แทน คะแนนความแปรปรวนรวมของกลุมทดลองและกลุมควบคุม 2

1s แทน คะแนนความแปรปรวนของกลุมทดลอง 2

2s แทน คะแนนความแปรปรวนของกลุมควบคุม 1n แทน จํานวนของกลุมตัวอยางในกลุมทดลอง 2n แทน จํานวนของกลุมตัวอยางในกลุมควบคุม

จากสูตร

⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛+

−=

21

2

21

11nn

s

xxt

p

( ) ⎟

⎠⎞

⎜⎝⎛ +

−=

281

28131.4

21.1639.16

2

15.118.0

=

16.0=

เมื่อ ( ) ( )2

11

21

222

211

−+−+−

=nn

snsns p

( )( ) ( )( )22828

89.312869.4128 22

−+−+−

=

54

46.1002=

31.4=

Page 197: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

188

การคํานวณเปรียบเทียบคะแนนการทดสอบหลังเรียน (posttest)ระหวางกลุมทดลองกับกลุมควบคุม

วิเคราะหขอมูลโดยใช t – test (independence test)

เมื่อ t แทน การตรวจสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยการทดสอบหลังเรียน 1x แทน คะแนนการทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยของกลุมทดลอง 2x แทน คะแนนการทดสอบหลังเรียนเฉลี่ยของกลุมควบคุม 2

ps แทน คะแนนความแปรปรวนรวมของกลุมทดลองและกลุมควบคุม 2

1s แทน คะแนนความแปรปรวนของกลุมทดลอง 2

2s แทน คะแนนความแปรปรวนของกลุมควบคุม 1n แทน จํานวนของกลุมตัวอยางในกลุมทดลอง 2n แทน จํานวนของกลุมตัวอยางในกลุมควบคุม

จากสูตร

⎟⎟⎠

⎞⎜⎜⎝

⎛+

−=

21

2

21

11nn

s

xxt

p

( ) ⎟

⎠⎞

⎜⎝⎛ +

−=

281

28130.4

25.2168.23

2

15.143.2

=

11.2=

เมื่อ ( ) ( )2

11

21

222

211

−+−+−

=nn

snsns p

( )( ) ( )( )22828

12.412847.4128 22

−+−+−

=

54

79.997=

30.4=

Page 198: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

ภาคผนวก ฉรายนามผูเชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ

Page 199: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

190

รายนามผูเชี่ยวชาญในการตรวจเครื่องมือ

1. นางอรุณี สวัสดิผลวุฒิการศึกษา : ศษ.บ. จากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชตําแหนง : อาจารย 3 ระดับ 8สถานที่ทํางาน : โรงเรียนวัดประชาโฆสิตาราม

อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

2. นางบุญชวย นุชอุดมวุฒิการศึกษา : ค.บ. จากวิทยาลัยครูสวนสุนันทาตําแหนง : อาจารย 3 ระดับ 8สถานที่ทํางาน : โรงเรียนวัดเทพประสิทธิ์คณาวาส

อําเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม

3. นางสาวสุนิจจา ทัพศาสตรวุฒิการศึกษา : ค.ม. จากสถาบันราชภัฏสวนสุนันทาตําแหนง : อาจารย 3 ระดับ 8สถานที่ทํางาน : โรงเรียนวัดเจริญสุขาราม

อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

Page 200: การเปรียบเทยบผลสี ัมฤทธิ์ทางการเรียนื่องประโยค เร ของนักเ ... · cooperative

191

ประวัติผูวิจัย

ช่ือ-สกุล นางมณี บุญญาติศัยที่อยู 32 หมู 2 ตําบลยายแพง อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม

75120ที่ทํางาน โรงเรียนวัดบางนอย ตําบลจอมปลวก อําเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม โทรศัพท (034) 761778ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2522 สําเร็จการศึกษาปริญญาการศึกษาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทยวิชาโทประวัติศาสตร จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร กรุงเทพมหานคร

พ.ศ. 2544 ศึกษาตอระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทยบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประวัติการทํางานพ.ศ. 2514-2518 ครูตรี โรงเรียนวัดบางคนทีใน(วามโกประชานุกูล)

จังหวัดสมุทรสงครามพ.ศ. 2518-2521 ครู 2 โรงเรียนวัดบางนอย จังหวัดสมุทรสงครามพ.ศ. 2522-2529 อาจารย 1 โรงเรียนวัดบางนอย จังหวัดสมุทรสงครามพ.ศ. 2530-2540 อาจารย 2 โรงเรียนวัดบางนอย จังหวัดสมุทรสงครามพ.ศ. 2540-2548 อาจารย 3 โรงเรียนวัดบางนอย จังหวัดสมุทรสงครามพ.ศ. 2548-ปจจุบัน ครู ค.ศ.3 โรงเรียนวัดบางนอย จังหวัดสมุทรสงคราม