การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 ·...

13
วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีท่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560) 44 การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อเผยแพร ่สารสนเทศด้านการท่องเที่ยว ของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี Application of Geo-Information Technology for Distributing Tourism Information of Muangsingh Historical Park, Kanchaburi Province Yutthakan Asavinakun et al. Burapha University บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดท�าแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถาน ภาพถ่าย 360º และวิดีโอ น�าเสนอจุดท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ และเพื่อเผยแพร่สารสนเทศเหล่านั้นผ่านเว็บไซต์ ขั้นตอนการด�าเนินงานเริ่มจากท�าการส�ารวจรังวัดค่าระยะความกว้าง ความยาว ความสูง และเก็บค่าพิกัด ของจุดท่องเที่ยวบริเวณโบราณสถานเพื่อน�ามาใช้ในการสร้างแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานด้วยโปรแกรม Google SketchUp ในการขึ้นโครงสร้างของโบราณสถานโดยอ้างอิงจากข้อมูลระยะที่ได้จากการส�ารวจ ส่วนที่ 2 ท�าการบันทึกภาพถ่ายภาพ 360º จุดท่องเที่ยวจ�านวน 15 แห่ง ด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนทีผ่านแอพพลิเคชั่น Google Street View และถ่ายท�าวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวจ�านวน 15 แห่ง จากนั้น ตัดต่อและบันทึกค�าบรรยายข้อมูลประวัติศาสตร์ความเป็นมาของแหล่งท่องเที่ยวแต่ละจุด ส่วนสุดท้าย คือ จัดท�าเว็บไซต์ และน�าเสนอข้อมูลทั้งหมดผ่านเว็บไซต์ จากการด�าเนินการพบว่า แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานสามารถแสดงและปรับทิศทาง การชมได้ตามความต้องการ และแบบจ�าลองสามมิติมีโบราณสถานความถูกต้องตามมาตราส่วนที่ได้ก�าหนด ไว้ ส่วนภาพถ่าย 360º ผู้ใช้สามารถปรับมุมมองของการชมภาพได้แบบ 360 องศาเสมือนการมองจาก สถานที่จริง และวิดีโอน�าเสนอจุดท ่องเที่ยวจ�านวน 15 แห ่งประกอบด้วยเสียงและข้อความบรรยาย ส่วนการจัดท�าเว็บไซต์นั้นได ้แบ่งออกเป็น 4 เมนู ได้แก่ ประวัติความเป็นมา แบบจ�าลองสามมิติ โบราณสถาน ภาพถ่าย 360º และวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยว โดยนักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึง เว็บไซต์ได้จาก http://muangsing.890m.com/ โดยสามารถใช้ข้อมูลส�าหรับวางแผนการท่องเที่ยว และศึกษาประวัติศาสตร์และความเป็นมาของโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ได้ ค�าส�าคัญ : เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ แบบจ�าลองสามมิติ การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์

Upload: others

Post on 04-Jan-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

44

การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อเผยแพร่สารสนเทศด้านการท่องเที่ยวของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ จังหวัดกาญจนบุรี

Application of Geo-Information Technology for Distributing Tourism Information of Muangsingh Historical Park, Kanchaburi Province

YutthakanAsavinakunetal. BuraphaUniversity

บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดท�าแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถาน ภาพถ่าย360ºและวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเท่ียวอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์และเพื่อเผยแพร่สารสนเทศเหล่านั้นผ่านเว็บไซต์ ขั้นตอนการด�าเนินงานเริ่มจากท�าการส�ารวจรังวัดค่าระยะความกว้างความยาวความสูงและเก็บค่าพิกัดของจุดท่องเที่ยวบริเวณโบราณสถานเพื่อน�ามาใช้ในการสร้างแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานด้วยโปรแกรมGoogleSketchUp ในการขึ้นโครงสร้างของโบราณสถานโดยอ้างอิงจากข้อมูลระยะที่ได้จากการส�ารวจส่วนที่2ท�าการบันทึกภาพถ่ายภาพ360ºจุดท่องเที่ยวจ�านวน15แห่งด้วยกล้องจากโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านแอพพลิเคชั่นGoogleStreetViewและถ่ายท�าวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวจ�านวน15แห่งจากนั้น ตัดต่อและบันทึกค�าบรรยายข้อมูลประวัติศาสตร์ความเป็นมาของแหล่งท่องเที่ยวแต่ละจุดส่วนสุดท้าย คือจัดท�าเว็บไซต์และน�าเสนอข้อมูลทั้งหมดผ่านเว็บไซต์ จากการด�าเนินการพบว่า แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานสามารถแสดงและปรับทิศทาง การชมได้ตามความต้องการและแบบจ�าลองสามมิติมีโบราณสถานความถูกต้องตามมาตราส่วนที่ได้ก�าหนดไว้ ส่วนภาพถ่าย360ºผู้ใช้สามารถปรับมุมมองของการชมภาพได้แบบ360องศาเสมือนการมองจาก สถานที่จริง และวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวจ�านวน 15 แห่งประกอบด้วยเสียงและข้อความบรรยาย ส่วนการจัดท�าเว็บไซต์นั้นได้แบ่งออกเป็น 4 เมนู ได้แก่ ประวัติความเป็นมา แบบจ�าลองสามมิต ิโบราณสถานภาพถ่าย360ºและวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวโดยนักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจสามารถเข้าถึง เว็บไซต์ได้จากhttp://muangsing.890m.com/ โดยสามารถใช้ข้อมูลส�าหรับวางแผนการท่องเท่ียว และศึกษาประวัติศาสตร์และความเป็นมาของโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ได้

ค�าส�าคัญ :เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศแบบจ�าลองสามมิติการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์

Page 2: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย

45

ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

Abstract This researchaimstoconduct3Dmodels,photo360º,videosof theattractions presentationoftheMuangsinghHistoricalParkanddistributeall informationviawebsite.Firstly, the process startedbymeasuringwidth, length, height and coordinate ofhistoricalsites.Subsequently,GoogleSketchUpwasappliedforsketchingthestructureof historicalsitereferredfromthesurvey.Secondly,GoogleStreetViewwasusedonmobilephonefortaking360ºphotosoffifteenattractions.Thirdly,videosoffifteenattractionsweremadeandthenarrationsofhistoryandinformationofeachwereadded.Lastly,awebsitewascreatedtopublishinformation. Theresultsshownthe3Dmodels fromGoogleSketchUpcanbepresentedandadjustedthedirectionsofviewasdesiredandthemodelsareaccurateasthedeterminedscale.Meanwhile, theusersareable toadjust theviewsofphotos360ºandtheycanwatchvideosof15attractionswithvoiceandnarrations.Thewebsitewasdividedintofourmenusnamely,history,3Dmodels,photo360ºandvideos.Thetouristsandtheotherscan access thewebsite at http://muangsing.890m.com for planning a travel trip and studyingthehistoryoftheMueangsinghHistoricalPark.

Keywords :geo-informationtechnology,3Dmodel,historicaltourism

Page 3: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

46

บทน�า ปัจจุบันการท่องเที่ยวของจังหวัดกาญจนบุรีได้รับความนิยมมากในกลุ ่มนักท่องเที่ยวภายในประเทศและต่างประเทศ โดยในปี 2550–2555 จังหวัดกาญจนบุรีมีจ�านวนนักท่องเที่ยวมาเยือน เพิ่มขึ้นทั้งหมด5,475,757คนและมีรายได้รวมจากการท่องเท่ียว9,289.703ล้านบาทเนื่องจากจังหวัดกาญจนบุรีมีแหล่งท่องเท่ียวท่ีสวยงามและแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์เป็นจ�านวนมากแม้ว่าจังหวัดกาญจนบุรีเป็นแหล่งท่องเท่ียวหลักของภูมิภาคตะวันตกอุดมด้วยทรัพยากรทางการท่องเที่ยวที่หลากหลายการเดินทางสะดวกและรวดเร็วแต่ยังขาดการประชาสัมพันธ์และการน�าเสนอข้อมูลผ่านทางส่ือออนไลน์ท่ีดี(MinistryofTourism&SportsKanchanaburi,2013) กาญจนบุรีมีประวัติศาสตร์อันยาวนานเท่าที่มีการค้นพบหลักฐานย้อนไปได้ถึงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีการค้นพบเครื่องมือหินในบริเวณบ้านเก่า อ�าเภอเมืองกาญจนบุรี ล่วงมาถึงสมัย ทวารวดีซึ่งมีหลักฐานคือซากโบราณสถานที่ต�าบลปรังเผลอ�าเภอสังขละบุรี เป็นเจดีย์ลักษณะเดียวกับ จลุประโทนจงัหวดันครปฐมรวมทัง้ค้นพบโบราณวตัถุเช่นพระพิมพ์สมยัทวารวดีจ�านวนมากสืบเนือ่งต่อมาถงึ สมัยพุทธศตวรรษที่16–18หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ค้นพบคือปราสาทเมืองสิงห์รูปแบบศิลปะแบบขอมสมัยบายน(MinistryofTourism&SportsKanchanaburi,2015) อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์เป็นหนึ่งในอุทยานประวัติศาสตร์ 10 แห่งของประเทศไทย ตั้งอยู่บนฝั่งแม่น�้าแควน้อยทางทิศเหนือในเขตต�าบลสิงห์อ�าเภอไทรโยคแวดล้อมด้วยทิวเขาเป็นแนวยาวอยู่ โดยรอบลักษณะผังเมืองเป็นรูปทรงสี่เหล่ียมผืนผ้าก�าแพงเมืองก่อด้วยศิลาแลงมีความกว้างประมาณ 800เมตรความยาวประมาณ850เมตรและความสูง7 เมตรมีประตูเข้าออก4ด้านและมีคูน�้าคันดิน ล้อมรอบภายในมีแหล่งโบราณคดีทั้งหมด4แห่ง (NationalPark,Wildlife&PlantConservation, 2014) ในปัจจุบันการท่องเท่ียวเชิงประวัติศาสตร์ภายในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ได้รับความนิยม มากขึ้นจากนักท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ได้จัดท�าเว็บไซต์ให้กับผู้ท่ีสนใจเข้าชมภายในเว็บไซต์มีเพียงข้อมูลภาพและข้อมูลเชิงบรรยายแต่ยังขาดสื่อมัลติมีเดียต่างๆ ในการสนับสนุนการท่องเที่ยวภายในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ ซ่ึงนักท่องเท่ียวสามารถสืบค้นข้อมูลส�าหรับวางแผนการท่องเที่ยวตลอดจนผู้ที่สนใจทั่วไปได้เรียนรู้และศึกษาประวัติศาสตร์ของปราสาทเมืองสิงห์ได้ งานวิจัยนี้ได้น�าเทคนิคและวิธีการทางระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic InformationSystem :GIS)การส�ารวจจากระยะไกล (RemoteSensing :RS)และระบบก�าหนดต�าแหน่งบนโลก(GlobalPositioningSystem :GPS)มาใช้ในการจัดท�าฐานข้อมูลรังวัดโบราณสถานบันทึกพิกัดของ จุดท่องเที่ยวและจัดท�าเป็นแผนท่ีนอกจากนี้ยังได้จัดท�าเว็บไซต์เพื่อน�าเสนอข้อมูลปราสาทเมืองสิงห์ในรูปแบบสื่อมัลติมีเดียประกอบด้วยแบบจ�าลองโบราณสถานสามมิติน�าเสนอโบราณสถานจ�านวน4แห่งโดยใช้โปรแกรมGoogleSketchUpภาพถ่ายจุดท่องเท่ียวแบบ360°จ�านวน15แห่ง โดยใช้โปรแกรมGoogle Street Viewและวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวส�าคัญภายในโบราณสถาน จ�านวน 15 แห่ง จากสื่อมัลติมีเดียที่ได้จัดท�าขึ้นนี้ บุคคลทั่วไปที่สนใจสามารถสืบค้นข้อมูลต่างๆผ่านเว็บไซต์ท�าให้เกิด การเรียนรู้ประวัติศาสตร์นอกจากนี้นักท่องเที่ยวยังสามารถน�าข้อมูลไปใช้ในการวางแผนการท่องเที่ยวได้

Page 4: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย

47

ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

วัตถุประสงค์ 1.จัดท�าแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานภาพถ่าย 360º และวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวใน อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ 2.จัดท�าเว็บไซต์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

ประโยชน์ที่ได้รับ 1.เผยแพร่สื่อมัลติมีเดียของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ ได ้แก ่ แบบจ�าลองสามมิต ิโบราณสถานภาพถ่าย360ºและวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวต่อนักท่องเที่ยวและผู้ที่สนใจทั่วไป 2.สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวและศึกษาประวัติศาสตร์ของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

วิธีด�าเนินการวิจัย 1.ท�าการรังวัดโบราณสถานบริเวณอุทยานประวิติศาสตร์เมืองสิงห์ ประกอบด้วยโบราณสถาน 4แห่งโดยใช้เครื่องมือสายวัดระยะและกล้องวัดระยะด้วยเลเซอร์ในการหาค่าระยะของวัตถุและน�าข้อมูลที่ได้จากการส�ารวจภาคสนามน�ามาใช้ในการสเก็ตช์แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานโดยใช้โปรแกรมGoogleSketchUp ในการขึ้นโครงสร้างแบบจ�าลองโบราณสถานสามมิติอ้างอิงลักษณะความกว้างความยาว และความสูงของตัวปราสาทจากข้อมูลท่ีได้จากการส�ารวจภาคสนามจากนั้นท�าการตรวจสอบความถูกต้องของแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานด้วยการเปรียบเทียบภาพถ่ายโบราณสถาน 2.จัดท�าภาพถ่าย360º โดยใช้โทรศัพท์เคล่ือนที่ในการถ่ายผ่านแอพพลิเคชั่นGoogleStreetViewและท�าการอัพโหลดไฟล์ภาพลงGoogleAccount 3.จัดท�าวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวโดยใช้กล้องดิจิตอลในการถ่ายท�าวิดีโอ จากนั้นเข้าสู่ขั้นตอน การตัดต่อวิดีโอด้วยโปรแกรมMovieFreeMakerพร้อมทั้งบันทึกเสียงบรรยายลงในไฟล์วิดีโอ 4.จัดท�าเว็บไซต์โดยใช้ภาษาHTMLภายในเว็บไซต์ประกอบด้วยข้อมูลแบบจ�าลองโบราณสถานสามมิติข้อมูลเชิงบรรยายข้อมูลภาพถ่าย360ºและวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

ผลการวิจัย 1.แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ จากการส�ารวจและเก็บข้อมูลภาคสนามบริเวณพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ ได้ท�า การเก็บระยะโบราณสถานจ�านวนทั้งสิ้น 4 แห่ง จากนั้นน�าข้อมูลเข้าสู ่กระบวนการสร้างแบบจ�าลอง สามมิติโบราณสถานพบว่าแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานที่ได้จากการใช้โปรแกรมGoogleSketchUp มีโครงสร้างคล้ายคลึงกับสถานที่จริงทั้งขนาดมาตราส่วน และรูปทรง แต่มีข้อแตกต่างในบางกรณี เช่น โบราณสถานท่ีมีสภาพช�ารุดเป็นจ�านวนมากจะไม่สามารถหาค่าระยะท่ีแท้จริงได้ ส่วนจุดท่ีท�า การรังวัดมีระยะต�่ากว่า 10 เซนติเมตร ไม่สามารถน�ามาสเก็ตช์ในโมเดลได้เนื่องจากก�าหนดมาตราส่วน ต�่าสุด10 เซนติเมตรพื้นผิวและสีของวัตถุมีความซับซ้อนซึ่งยากต่อการสร้างแบบจ�าลองให้มีลักษณะเหมือนจริง(Lilitwarangkul,T.,2004)

Page 5: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

48

1.1)โบราณสถานหมายเลข1 ต้ังอยู ่ใจกลางของกลุ่มโบราณสถานด้านทิศตะวันออกมีพลับพลาจัตุรมุขรูปทรงกากบาท เป็นทางยาวซ้อนกันเป็นชั้นสร้างจากหินศิลาแลงใช้เป็นเส้นทางเดินเข้าสู้ประตูทางทิศตะวันออก ซ่ึงรอบตัวปราสาทเป็นก�าแพงล้อมรอบขนาดกว้างประมาณ80 เมตรและความยาวโดยรอบ80 เมตรก�าแพงส่วนใหญ่ช�ารุดเกือบท้ังหมดบริเวณหน้าทางเข้าโคปุระทิศตะวันออกเป็นชานศิลาแลงสี่เหลี่ยมมีแอ่งน�้าต้ืนจ�านวน4แอ่งถัดจากลานหน้าปราสาทมีบันไดขึ้นสู่ปราสาทซึ่งมีลักษณะเป็นปราสาทหลังเดียวหันหน้าไปทางทิศตะวันออกล้อมรอบด้วยระเบียงคดตรงกลางของระเบียงคดแต่ละด้านมีโคปุระ โคปุระด้านทิศตะวันออกเหลือส่วนยอดด้านหน้าเพียงด้านเดียวโคปุระด้านทิศเหนือและทิศใต้พังทลายจนเหลือแต่ฐานโคปุระที่สมบูรณ์ที่สุดคือโคปุระด้านทิศตะวันตกดังภาพที่1(MuangSingHistoricalParkOffice,2013)

ภาพที่1แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานหมายเลข1

1.2)โบราณสถานหมายเลข2 เป็นกลุ่มอาคารตั้งอยู่บนพื้นท่ีราบนอกก�าแพงแก้ว ใกล้มุมก�าแพงด้านทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ของโบราณสถานหมายเลข1กลุ่มอาคารท้ังหมดตั้งอยู่บนฐานเดียวกัน เป็นฐานเขียงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าซ้อนกัน2ชั้นฐานชั้นล่างกว้าง32เมตรยาว54เมตรและสูง0.80เมตรตรงกลางใช้ดินลูกรังหรือศิลาแลง เม็ดเล็กๆ อัดแน่นก่อสร้างด้วยศิลาแลงแล้วประดับด้วยลายปูนปั้น ถัดไปเป็นฐานชั้นบนกว้าง24 เมตร และยาว45เมตรมีทางขึ้นอยู่ทางด้านทิศตะวันออกถัดจากลานเป็นที่ตั้งของปรางค์ประธานมีประตู4ทิศด้านทิศตะวันตกเป็นกลุ่มอาคาร6หลังตั้งรวมกันเป็นกลุ่มด้านข้างเป็นโคปุระด้านทิศเหนือและด้านทิศใต้ด้านหลังเป็นโคปุระด้านทิศตะวันตกมีระเบียงคดและทางเดินเชื่อมต่อกันดังภาพที่2(MuangSingHistoricalParkOffice,2013)

Page 6: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย

49

ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

ภาพที่2แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานหมายเลข2

1.3)โบราณสถานหมายเลข3 เป็นโบราณสถานขนาดเล็กตั้งอยู่ด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโบราณสถานหมายเลข1ห่างออกไป150 เมตรอาคารหลังนี้ตั้งอยู่บนพื้นที่ราบโล่งลักษณะเป็นแนวของฐานภายในก่อด้วยอิฐและศิลาแลงฐานช้ันล่างมีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสก่อด้วยหินศิลาแลง ฐานชั้นบนก่อด้วยอิฐและที่มุมด้านนอกอาคารท้ัง 4มุมมีแผ่นหินปักไว้คล้ายกับใบเสมาซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นเจดีย์ 2องค์ฐานแรกมีขนาด5.20คูณ5.20เมตรเป็นฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสสูง1.43 เมตรลักษณะเป็นฐานเขียงสี่เหลี่ยมก่อขึ้นไปเป็นฐานปัทม์ส่วนเจดีย์อีกองค์หนึ่งทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือใช้ศิลาแลงก่อเป็นฐานเจดีย์อีกองค์นี้สภาพช�ารุดมากจึงไม่สามารถบอกขนาดและลักษณะที่แน่นอนได้จากการขุดแต่งโบราณสถานหมายเลข3นี้ได้พบพระพิมพ์โลหะ ที่ท�าจากตะกั่วจ�านวนมากอาคารหลังนี้มีผู้เสนอแนวความคิดว่าน่าจะถูกสร้างมาตั้งแต่สมัยทวารวดีต่อมาได้ถูกปรับเปลี่ยนโครงสร้างให้มีคล้ายคลึงกับสถาปัตยกรรมของกัมพูชานอกจากนี้ยังคาดว่าที่แห่งนี้ใช้เพื่อเป็นศาลหลักเมืองหรือศาลเทพารักษ์ดังภาพที่3(MuangSingHistoricalParkOffice,2013)

ภาพที่3แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานหมายเลข3

Page 7: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

50

1.4)โบราณสถานหมายเลข4 อยู่ห่างจากก�าแพงด้านทิศตะวันตกของโบราณสถานหมายเลข1ประมาณ236เมตรลักษณะเป็นฐานของอาคารฐานมีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้าเรียงกัน4ห้องแต่ละห้องกว้าง3.90เมตรและยาว6.65เมตรระยะเรียงห่างกัน0.50 เมตรฐานถูกบดอัดแน่นด้วยทรายกรวดแม่น�้าและปูทับด้วยศิลาแรงบริเวณโดยรอบพบตะปูและขอยึดมีผู้ตั้งข้อสันนิฐานว่าในอดีตอาคารแห่งนี้ใช้ในการเก็บของมีค่าและเครื่องใช้ที่ท�าด้วยทองค�าเงินและสมุนไพรดังภาพที่4(MuangSingHistoricalParkOffice,2013)

ภาพที่4แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานหมายเลข4

เมื่อท�าการสร้างแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานจ�านวน4แห่งเสร็จสมบูรณ์จึงน�าฐานข้อมูลขอบเขตอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ และแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานมาจัดท�าแผนที่ขอบเขตอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์โดยโบราณสถาน4แห่งประกอบด้วยโบราณสถานหมายเลข1มีจ�านวนจุดท่องเที่ยวจ�านวน9แห่งตั้งอยู่บริเวณทิศตะวันออกของอุทยานฯโบราณสถานหมายเลข2มีจ�านวน จุดท่องเที่ยว4แห่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของโบราณสถานหมายเลข1โบราณสถานหมายเลข3ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของโบราณสถานหมายเลข1และโบราณสถานหมายเลข4ตั้งอยู่ห่างจากโบราณสถานหมายเลข3ทางทิศตะวันตก100 เมตร โดยผู้ที่สนใจสามารถท�าการศึกษาที่ต้ังของโบราณสถาน เพื่อใช้ควบคู่กับการท่องเที่ยวภายในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์(Inthawong,P.,n.d.)ดังภาพที่5

Page 8: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย

51

ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

ภาพที่5แผนที่ขอบเขตและต�าแหน่งของโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์

2.ภาพถ่าย360ºบริเวณจุดท่องเที่ยวของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ จากการบันทึกภาพถ่าย360ºบริเวณพ้ืนท่ีอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ ในจุดต่างๆจ�านวน 15แห่งจากนั้นน�าข้อมูลภาพที่ได้บรรจุลงลงแอพพลิเคชั่นPhotoSphere เพื่อเผยแพร่ข้อมูลภาพสู่สาธารณะภาพถ่าย360º15แห่งโดยแบ่งเป็น4โบราณสถานโบราณสถานที่1จ�านวน9แห่งโบราณสถานที่ 2จ�านวน4แห่ง โบราณสถานท่ี3จ�านวน1แห่ง โบราณสถานที่ 4จ�านวน1แห่งพบว่า ภาพที่ได้สามารถปรับทิศการมองได้ทุกทิศทางเสมือนการมองผ่านสถานท่ีจริง เพ่ือเพิ่มจิตนาการให้กับ ผู้ใช้มากยิ่งขึ้น

Page 9: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

52

3.วิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ หลังจากบันทึกวิดีโอโบราณสถานท่ีอยู ่ในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์จ�านวน 15 แห่ง จากน้ันท�าการแก้ไขและตัดต่อไฟล์วิดีโอ บันทึกเสียงบรรยายและข้อความประวัติศาสตร์และรายละเอียดสถาปัตยกรรมของโบราณสถานแต่ละแห่ง เพ่ือให้นักท่องเท่ียวและผู้ท่ีสนใจได้รับข้อมูลอย่างละเอียดรวดเร็วและถูกต้อง 4.เว็บไซต์อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ หลังจากที่จัดท�าข้อมูลและสารสนเทศเสร็จเรียบร้อย ขั้นตอนต่อมาเป็นการสร้างเว็บไซต์ โดยสามารถเข้าถึงได้จากhttp://muangsing.890m.com/ โครงสร้างของเว็บไซต์ ประกอบด้วย 4 เมนูหลัก ได้แก่ ประวัติความเป็นมา แบบจ�าลอง สามมิติโบราณสถานภาพถ่าย360ºและวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยว โดยแต่ละเมนูสามารถเชื่อมโยงกันได้ ในการออกแบบเว็บไซต์นั้นเน้นความสะดวกและง่ายในการเข้าถึงโดยแบ่งเป็น4เมนูหลักดังนี้ 4.1)ส่วนที่1ประวัติความเป็นมา เมนูประวัติความเป็นมาประกอบด้วยข้อความและวิดีโอบรรยายประวัติความเป็นมาของอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์แหล่งโบราณสถานและจุดท่องเที่ยวภายในอุทยานฯดังภาพที่6

ภาพที่6เมนูประวัติความเป็นมา

4.2)ส่วนที่2ภาพแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ เมนูแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถาน ประกอบด้วย แผนที่แสดงจุดท่องเที่ยวอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์จ�านวน15แห่ง โดยสามารถกดเข้าไปดูรายละเอียดข้อมูลเชิงบรรยายแต่ละแห่งและอีกส่วนหนึ่งคือแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถาน4แห่งผู้ชมสามารถปรับทิศทางการหมุนเพื่อดูรายละเอียดของโบราณสถานในส่วนต่างๆ รวมถึงการย่อและขยายแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานได้ ดังภาพที่7

Page 10: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย

53

ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

ภาพที่7หน้าเว็บไซต์แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานจ�านวน4แห่ง

4.3)ส่วนที่3ภาพถ่าย360º เมนูภาพถ่าย360ºของโบราณสถานที่อยู่ในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ 15แห่งผู้ชมสามารถเลือกดูภาพได้ครั้งละ1ภาพและสามารถปรับมุมมองได้360ºดังภาพที่8

ภาพที่8หน้าเว็บไซต์ส่วนภาพถ่าย360º

Page 11: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

54

4.4)ส่วนที่4วีดีโอน�าเสนอประวัติศาสตร์ เมนูวิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยวและรายละเอียดของโบราณสถาน 15 แห่ง ในแต่ละไฟล์ประกอบด้วยวิดีโอภาพเสียงบรรยายและข้อความท�าให้นักท่องเท่ียวและผู้ที่สนใจทั่วไปรับรู้ข้อมูลของ จุดท่องเที่ยวได้หลากหลายช่องทางมากขึ้นดังภาพที่9

ภาพที่9หน้าเว็บไซต์วิดีโอน�าเสนอจุดท่องเที่ยว

สรุปผลการวิจัย ในปัจจุบันอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์มีจ�านวนนักท่องเที่ยวเข้ามาใช้บริการเพิ่มขึ้นอีกทั้ง มีพื้นที่สามารถรองรับนักท่องเท่ียวได้จ�านวนมากอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ได้จัดท�าเว็บไซต์เพื่อ เผยแพร่ข้อมูลและรายละเอียดของโบราณสถานซ่ึงประกอบด้วยข้อความและรูปภาพเท่านั้น ในการวิจัยนี้ได้ท�าการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการท่องเที่ยวในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ นักท่องเที่ยวหรือผู้ที่สนใจสามารถสืบค้นข้อมูลจากกเว็บไซต์ได้ 1. การจัดท�าแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานโดยใช้เทคนิคการสร้างด้วยโปรแกรม GoogleSketchUpพบว่ามีความถูกต้องและคล้ายคลึงกับสถานท่ีจริงเมื่อเปรียบเทียบกับซอฟท์แวร์อื่นเช่นAutoCADมีข้อแตกต่างกันทางด้านการอ้างค่าพิกัดของแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานโดยGoogleSketchUpมีปลั๊กอินที่สามารถแชร์แบบจ�าลองสามมิติลงในโปรแกรมGoogleEarth โดยค่าพิกัดสามารถอ้างอิงจากสถานที่ตั้งจริงได้อีกทั้งGoogleSketchUpเป็นโปรแกรมประเภทFreeSoftwareผู้ใช้จึงไม่เสียค่าลิขสิทธิ์ซึ่งสามารถน�าไปพัฒนาต่อในงานวิจัยอื่นๆได้นอกจากนี้โปรแกรมGoogleSketchUpมีความซับซ้อนในการใช้งานน้อยกว่าและจากการเปรียบเทียบแบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานที่ได้จากการใช้โปรแกรมGoogleSketchUpกับสถานที่จริงจ�านวน9แห่งพบว่าแบบจ�าลองท่ีได้มีความถูกต้องสูงและเป็นไปตามมาตราส่วนที่ก�าหนด(Panawiwatn,C.,2011)

Page 12: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย

55

ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

2.ในการวิจัยนี้ได้จัดท�าภาพถ่าย 360ºด้วยโปรแกรมGoogle StreetViewซึ่งในปัจจุบัน มีหลายโปรแกรมที่สามารถถ่ายภาพลักษณะเดียวกันนี้ได้ อาทิCardboardCameraทั้งสองโปรแกรม มีข้อแตกต่างกันทางด้านการเผยแพร่ข้อมูลลงโปรแกรมGoogleMapซึ่งโปรแกรมGoogleStreetViewสามารถเผยแพร่ภาพถ่าย360ºจากแอพพลิเคชั่นสู่GoogleMapได้ทันทีภาพที่ได้มีค่าพิกัดซ่ึงสามารถอ้างอิงจุดถ่ายภาพบนพื้นโลกได้และผู้ใช้สามารถสร้างแกลเลอรี่ภาพถ่าย360ºให้กับผู้สนใจเข้าชมภาพถ่าย360ºมีทั้งข้อดีและข้อด้อยกล่าวคือผู้ชมสามารถรับชมภาพได้ในรูปแบบของภาพสามมิติซึ่งสามารถเข้าถึงจินตนาการในการรับชมมากกว่าชมภาพสองมิติข้อด้อยของโปรแกรมGoogleStreetViewใช้เวลาใน การถ่ายท�าช้าในกรณีใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการถ่ายท�า(Laorattanakul,S.,2016) 3.เว็บไซต์ท่ีพัฒนาจากการวิจัยนี้ คือ http://muangsing.890m.com/ มีรายละเอียดและประวัติศาสตร์ของโบราณสถานที่อยู่ภายในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์และยังมีการน�าเสนอข้อมูลแบบสื่อมัลติมีเดียกล่าวคือรูปแบบการน�าเสนอข้อมูลและรายละเอียดมีความหลากหลายทั้งในรูปแบบ สามมิติภาพถ่ายของจุดท่องเที่ยวแบบ360องศาการน�าเสนอรายละเอียดของจุดท่องเที่ยวในรูปแบบวิดีโอพร้อมค�าบรรยายดังน้ันนักท่องเท่ียวและผู้ที่สนใจทั่วไปสามารถเข้าชมรายละเอียดของแหล่งโบราณสถานในอุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ได้จากเว็บไซต์นี้ในรูปแบบของการน�าเสนอที่แตกต่างกัน ท�าให้เกิดความน่าสนใจอีกท้ังการออกแบบเว็บไซต์อุทยานประวัติศาสตร์เมืองสิงห์ได้ออกแบบให้สามารถใช้งานผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่และคอมพิวเตอร์รวมท้ังรูปแบบและหน้าเพจสามารถใช้งานได้ง่ายและไม่ซับซ้อน(Phothong,T.,2008)

ข้อเสนอแนะ 1.แบบจ�าลองสามมิติโบราณสถานสามารถสร้างโดยใช้ซอฟท์แวร์อื่นๆ ได้ เช่นAshampoo3DและCADArchitectureโดยสามารถสร้างแบบจ�าลองได้รวดเร็วกว่าGoogleSketchUpเนื่องจากมีเมนูส�าหรับการขึ้นโครงสร้างของอาคารแบบส�าเร็จรูปเช่นโครงสร้างก�าแพง 2.การน�าเสนอสารสนเทศและข้อมูลของแหล่งท่องเที่ยวสามารถจัดท�าและน�าเสนอในรูปแบบอื่นๆได้อีกเพื่อเป็นการเพิ่มความน่าสนใจเช่นวิดีโอ360ºที่สามารถถ่ายได้จากกล้องBubcamเป็นต้น

Page 13: การประยุกต์เทคโนโลยีภูมิ ... · 2018-10-11 · historical sites. Subsequently, Google SketchUp was applied for sketching the structure

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2560)

56

References Inthawong,Piyaporn. (n.d.).3D Map Presentation by 360 Degree Panorama Creation 3D Model with Google SketchUp 8 Program.MasterofArchitecture.Facultyof Architecture.KasetsartUniversity.Lilitwarangkul, Theera. (2004). 3DModelCreationwith ShortDistancePhotography. Journal of Science and Technology Thammasat University,12(1),72-76.MinistryofTourism&SportsKanchanaburi. (2013).Tourists Statistics Kanchanaburi. RetrievedJune11,2016,fromhttp://www.mots.go.th/main.php?filename=index.MinistryofTourism&SportsKanchanaburi. (2015).General Information Kanchanaburi. RetrievedJune11,2016,fromhttp://www.mots.go.th/ewt_news.php?nid=5793.MuangSingHistorical ParkOffice. (2013).Historic Site Muang Sing Historical Park. RetrievedMarch15,2016,fromhttp://historypark.tripod.com/place-4.htm.National Park,Wildlife& PlantConservation. (2014).Department Historical Park. RetrievedJune15,2016,fromhttp://park.dnp.go.th/visitor/.Panawiwatn,Chaisilp. (2011).Google Sketch Up Program Handbook.RetrievedMay2, 2016,fromhttps://drive.google.com/file/d/0B-CnS7QDe4t_OEFuRktEenRneWs/edit.Phothong,Thongchai. (2008). PresentationofGeo-InformationDataonThe Internet SystemWithOpenCode.KMUTT Research and Development Journal, 32(1), 169-187.