การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ...

208
การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี นันทิดา มัชฌิม ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี พ.ศ. 2553 Copyright : Suratthani Rajabhat University

Upload: others

Post on 22-Feb-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

นันทิดา มัชฌิม

ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาบริหารธุรกิจ

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานีพ.ศ. 2553

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 2: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

DECISION IN RECEIVING ORTHODONTIC TREATMENT FROM DENTAL CLINICS IN AMPHUR MUANG SURAT TANI PROVINCE

NANTHADA MUCHCHIM

A Term Paper Submitted in Partial Fulfillment ofthe Requirements for the Degree Master of Business Administration

Graduate SchoolSuratthani Rajabhat University

2010

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 3: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

บทคัดยอ

ชื่อเรื่องภาคนิพนธ การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

ชื่อผูวิจัย นางสาวนันทิดา มัชฌิมชื่อปริญญา บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาวิชา บริหารธุรกิจปการศึกษา 2553คณะกรรมการท่ีปรึกษาภาคนิพนธ

1. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นันทวรรณ ชางคิด ประธานกรรมการ2. ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ชอบตรง กรรมการ

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ศึกษาปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี และศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาด กับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ประชากรท่ีใชในการศึกษา คือ ประชาชนที่ เขาไปใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีกลุมตัวอยาง ท่ีใชในการศึกษา จํานวน 400 ราย ใชวิธีการสุมตัวอยางแบบสะดวก เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัยเปนแบบสอบถาม สถิติท่ีใช ไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไค-สแควร

สรุปผลการวิจัย พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุระหวาง 12 - 24 ป สถานภาพโสด นับถือศาสนาพุทธ การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. เปนนักเรียน/นักศึกษา ไมมีรายไดตอเดือนเนื่องจากไดรับเงินจากผูปกครอง และมีภูมิลําเนาอยูในเขตอําเภอเมืองสุราษฎรธานีการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม พบวา เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม เพราะไปตามแพทยนัด ความถี่ในการเขามารับบริการทุกเดือน ประสบการณการท่ีใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน นอยกวา 1 ป ชวงเวลาท่ีใชบริการจะเปนวันหยุด จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง รูจักคลินิกทันตกรรมจัดฟนจากคนในครอบครัว บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการคือเพื่อน ปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 4: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

คลินิกทันตกรรม โดยรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา ระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด คือ ดานบุคคลหรือพนักงาน ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับ การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี พบวา ปจจัยสวนบุคคลทุกดานมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี อยางนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 ความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาดกับการการตัดสินใจใชบริการ จัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ปจจัยสวนผสมทางการตลาดทุกดาน มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชน จากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี อยางนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 5: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

ABSTRACT

Term Paper Title Decision in Receiving Orthodontic Treatment from Dental Clinics in Amphur Muang Surat Tani Province

Student’s Name Miss. Nanthada MuchchimDegree Sought Master of Business AdministrationMajor Business Administration Academic Year 2010Term Paper advisors: 1. Assist. Prof. Dr. Nantawan Changkid Chairperson

2. Assist. Prof. Dr. Somsak Choptrong Committee

This research was carried out to study the decision in receiving orthodontic treatment from dental clinics, to study mixed marketing factors in receiving orthodontic treatment from dental clinics, to study relationship between personal factors and decision in receiving orthodontic treatment from dental clinics in Amphur Muang, Surat Thani Province. The samples in this study were the 400 customers conveniently sampled from all customers who received orthodontic treatment. The tool employed in this study was in the form of questionnaire and the statistics used were frequency, percentage, average standard deviation and Chi-square test.

The result of this study showed that most of the samples were female, age between 12 - 24 years, single, Buddhist, studying in secondary schools and technical colleges, without salary but with monthly allowances from their parents and were domiciles of Amphur Muang, Surat Thani. The decision in receiving orthodontic treatment was based on having the out-of alignment teeth and the reason for visiting dental clinics was based on the dentists’ appointments. Frequency of the visit was monthly with duration of the past treatment less than one year. Most of the visit occurred during holidays and the visit of each sample was made to only one clinic at the time of survey. The studied subjects knew the dental clinics through their family members while friends were the most influential factors in deciding to receive the treatment. The mixed marketing factors on receiving the treatment in overall were at high level of decision while each individual factor that had high level of decision was the clinics’ staffs. The relationship between personal factors and decision in

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 6: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

receiving the orthodontic treatment from dental clinics in Amphur Muang, Surat Thani province showed that every aspects of personal factors was related significantly to the decision in receiving treatment at 0.05 level. The relationship between mixed marketing factors and the decision in receiving treatment from dental clinics in Amphur Muang, Surat Thani province also showed that every aspects of mixed marketing factors was related significantly to the decision in receiving treatment at 0.05 level .

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 7: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

กิตติกรรมประกาศ

ภาคนิพนธฉบับนี้สําเร็จไดอยางสมบูรณ ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย ดร.นันทวรรณ ชางคิด ประธานกรรมการควบคุมภาคนิพนธ ผูชวยศาสตราจารย ดร.สมศักดิ์ ชอบตรง กรรมการควบคุมภาคนิพนธ ท่ีไดใหคําปรึกษาชี้แนะแนวทาง ปรับปรุงแกไขภาคนิพนธในสวน ท่ีบกพรองมาโดยตลอด ชี้แนะจนมีความสมบูรณในการจัดทําภาคนิพนธ

ขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารยสุณีย ลองประเสริฐ ผูชวยศาสตราจารยสาโรช เนติธรรมกลุ และผูชวยศาสตราจารย ดร.นิตย หทัยวสีวงศ สุขศรี ท่ีกรุณาเปนผูเช ี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือ เพื่อความถูกตองสบบูรณของเคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

ขอขอบพระ คุณ ห องสมุดกลา งสํานั กงา นวิทย บริกา รและ เทคโ นโลยี สารส นเทศ หองปรีชาสามารถ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี ท่ีกรุณาชวยเหลือดานการคนควาหนังสือตํารา งานวิจัยภายในและตางประเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี ท่ีกรุณาใหคําแนะนําการจัดทําภาคนิพนธ

ขอขอบคุณ เพื่อนนักศึกษาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ท่ีมีสวนรวมใ นความสําเร็จ คอยใหความชวยเหลือ ความเขาใจ ความหวงใย และเปนกําลังใจใหแกผูวิจัยมาโดยตลอด ทายท่ีสุด ขอกราบขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม และทุกคนในครอบครัว ท่ีเปน ผูอยู เ บ้ืองหลังความสําเร็จ อยางแทจริง

คุณประโยชนของงานวิจัยนี้ ผูวิจัยขอมอบแดคุณพอ คุณแม ครู อาจารย ผู เขียนหนังสือตําราทุกเลมท่ีผูวิจัยไดรับแสงสวางแหงความรู ท่ีมีสวนเกี่ยวของกับความสําเร็จครั้งนี้

นันทิดา มัชฌิมCopyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 8: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

สารบัญ

หนาบทคัดยอภาษาไทย .................................................................................................................................. ขบทคัดยอภาษาอังกฤษ ............................................................................................................................ งกิตติกรรมประกาศ .................................................................................................................................. ฉสารบัญ ....................................................................................................................................................... ชสารบัญตาราง ........................................................................................................................................... ฌสารบัญภาพ............................................................................................................................................... ฏบทที่

1 บทนํา .......................................................................................................................................... 1ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ....................................................................... 1วัตถุประสงคการวิจัย ......................................................................................................... 3ความสําคัญของการวิจัย.................................................................................................... 3ขอบเขตการศึกษา............................................................................................................... 4กรอบแนวคิดในการวิจัย................................................................................................... 4สมมติฐานการวิจัย.............................................................................................................. 5นิยามศัพทเฉพาะ ................................................................................................................ 6

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ............................................................................................ 8คลินิกทันตกรรมจัดฟนและคลินิกทันตกรรมจัดฟนในเขตอําเภอเมือง

จังหวัดสุราษฎรธานี ................................................................................................... 8แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค........................................................... 30แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ............................................ 42ทฤษฎีสวนผสมทางการตลาด ......................................................................................... 53งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ............................................................................................................. 57

3 วิธีดําเนินการวิจัย..................................................................................................................... 62ประชากรและกลุมตัวอยาง .............................................................................................. 62เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล ....................................................................... 64การเก็บรวบรวมขอมูล ...................................................................................................... 65การวิเคราะหขอมูล............................................................................................................. 66

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 9: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

สารบัญ (ตอ)

บทที่ หนา4 ผลการวิเคราะหขอมูล ............................................................................................................ 67

สัญลักษณและอักษรยอท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ................................................... 67ผลการวิเคราะหขอมูล ....................................................................................................... 68

5 สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ ................................................................................ 170สรุปผล .................................................................................................................................. 170อภิปรายผล ........................................................................................................................... 175ขอเสนอแนะ ........................................................................................................................ 176

บรรณานุกรม ............................................................................................................................................ 179ภาคผนวก .................................................................................................................................................. 183

ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวิจัย................................................................................... 184ภาคผนวก ข คาอํานาจจําแนกของแบบสอบถาม .................................................................. 191ภาคผนวก ค รายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเคร่ืองมือ ............................................................. 193

ประวัติผูทําภาคนิพนธ ........................................................................................................................... 195

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 10: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา2.1 ประเภท รูปรางลักษณะและหนาที่ของฟน .................................................................. 122.2 การเรียกชื่อเต็มของฟน ..................................................................................................... 132.3 คลินิกทันตกรรมจัดฟน ในอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี .................................. 292.4 คําถาม 7 คําถาม (6Ws และ 1H) เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค 7 ประการ (7Os). 312.5 การเปรียบเทียบสวนประสมทางการตลาดในมุมมองของธุรกิจและมุมมอง

ของลูกคา .............................................................................................................................. 563.1 คลินิกทันตกรรมจัดฟนและกลุมตัวอยาง ..................................................................... 634.1 คาความถี่และรอยละขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม............................ 68 4.2 คาความถี่และรอยละเกี่ยวกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจาก

คลินิก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ...................................... 714.3 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการ

ใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม................................................................................................................................. 73

4.4 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานผลิตภัณฑ ..................................................................................................................... 74

4.5 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานราคา ............................................................................................................................... 74

4.6 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ ..................................................................................... 75

4.7 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสงเสริมการตลาด ................................................................................................ 76

4.8 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานบุคคลหรือพนักงาน ................................................................................................... 76

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 11: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา4.9 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการ

ใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ................................................................................... 77

4.10 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานกระบวนการ ................................................................................................................ 78

4.11 ความสัมพันธระหวางเพศกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ....................................... 79

4.12 ความสัมพันธระหวางอายุกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ....................................... 84

4.13 ความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรสกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ............. 90

4.14 ความสัมพันธระหวางศาสนากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ................................ 95

4.15 ความสัมพันธระหวางการศึกษากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ................................ 101

4.16 ความสัมพันธระหวางการศึกษากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ................................ 107

4.17 ความสัมพันธระหวางรายไดตอเดือนกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ............. 113

4.18 ความสัมพันธระหวางภูมิลําเนากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ................................ 119

4.19 สรุปความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ..... 125

4.20 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานผลิตภัณฑกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ..... 127

4.21 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานราคากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ............. 133

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 12: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

สารบัญตาราง (ตอ)

ตารางที่ หนา4.22 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการจัดจําหนายหรือสถานท่ีกับการตัดสินใจ

ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ........................................................................................................... 138

4.23 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการสงเสริมการตลาดกับการตัดสินใจ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ........................................................................................................... 144

4.24 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานบุคคลหรือพนักงานกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ........................................................................................................... 149

4.25 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการนําเสนอลักษณะกายภาพกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ........................................................................................................... 155

4.26 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานกระบวนการกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ..... 161

4.27 ความสัมพันธระหวางปจจัยสวยผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ........................................................................................................... 166

4.28 ผลการศึกษาปญหาในการใชบริการคลินิกทันตกรรม .............................................. 1684.29 ผลการศึกษาความตองการใหคลินิกทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติม................... 169

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 13: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย................................................................................................... 52.1 โครงสรางภายนอกและภายในของฟน ......................................................................... 102.2 การแบงกลุมฟนตามสวนโคงแนวฟน และประเภทของฟน ................................... 122.3 การเรียกชื่อเต็มของฟน ..................................................................................................... 132.4 การเรียกชื่อฟนตามระบบตัวเลขสองหลัก ................................................................... 142.5 แสดงดานตาง ๆ ของฟน .................................................................................................. 152.6 แสดงการข้ึนของฟน ตั้งแตอายุครรภ 5 เดือน ถึง 6 ป ............................................... 172.7 การขึ้นของฟน ตั้งแตอายุครรภ 7 ป ถึง 35 ป .............................................................. 182.8 ลักษณะกายวิภาคศาสตรของอวัยวะปริทันต และสวนตาง ๆ ของเหงือก............ 192.9 รูปแบบพฤติกรรมผูซื้อ (ผูบริโภค) และปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อ

ของผูบริโภค........................................................................................................................ 352.10 ภาพจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของออลพอรท (Allport) ......................................... 362.11 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของวอลเตอรส (Walters) ....................................... 372.12 โมเดล 5 ขั้นตอนในกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค.................................... 452.13 ขั้นตอนระหวางการประเมินผลทางเลือกและการตัดสินใจซื้อ............................... 482.14 กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค ............................................................................... 502.15 จําแนกพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ......................................................... 51

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 14: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

บทที่ 1

บทนํา

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

อวัยวะทุกชนิดเปนองคประกอบท่ีสําคัญของรางกายซึ่งอวัยวะท่ีมีความสําคัญตอทุกชีวิต สวนหนึ่งในของคนคือ ปาก ในชองปากมีอวัยวะท่ีสําคัญ คือ เหงือก ลิ้น กระพุงแกม เพดาน และลําคอสวนตน ฟน ซึ่งภายในปากของคนมี ฟน เปนอวัยวะอวัยวะท่ีแข็งแรงท่ีสุดในรางกาย และ เปนสวนประกอบสําคัญของใบหนา คนเราใชฟนสําหรับบดเคี้ยวอาหารใหละเอียด ใชในการออกเสียงใหชัดเจน และชวยทําใหใบหนาของเราดูสวยงาม ถือไดวาฟนเปนอวัยวะท่ีมีประโยชนมากมาย โดยมีความแข็งแรงมากกวากระดูก เปนอวัยวะเดียวท่ีไมมีการเติบโต เพิ่มขนาดหรือเปลี่ยนแปลงรูปราง หลังจากขึ้นมาในชองปากแลว แตฟนยังเปนอวัยวะที่มีชีวิต รับความรูสึก และเ จ็บปวดได ถามีการสึกกรอน หรือทําลายชองเนื้อฟนลง ฟนมีความสําคัญตอชีวิต ตั้งแตเปนฟนน้ํานม ท่ีเริ่มขึ้นในวัยเด็ก จวบจนเปนฟนแทจนกระทั่งถึงวัยชรา ถาหากเราเอาใจใสดูแล รักษาความสะอาดอยางสมํ่าเสมอ ตลอดจนกินอาหารที่มีประโยชนตอฟน และท่ีสําคัญคือ ตองใชฟนใหถูกหนาท่ี คือ ฟนมีหนาท่ี บดเคี้ยวอาหาร ชวยในการออกเสียง และชวยสรางรอยยิ้มที่ประทับใจ (สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 1)

ความกาวหนาทางวิทยาการ ดานทันตกรรม คือการจัดฟนถึงแมวาการจัดฟนจะเหมาะสําหรับคนอายุนอย ซึ่งสืบเนื่องจากพัฒนาการของรางกาย แตผูใหญก็สามารถทําไดเชนเดียวกันหากมีความจําเปน ขอจํากัดเรื่องอายุจึงหมดไป เพียงแตการรักษาหรือการจัดฟนใหกับผูมีอายุมากมักพบปญหาโรคฟนอื่น ๆ เชน โรคปริทนตซึ่งตองรักษาใหหายเสียกอนจึงจะจัดฟนได และตองเขาใจวาการรักษาตองใชระยะเวลานานกวาคนอายุนอย การจัดฟนสามารถทําไดในทุกวัย เพียงแตเม่ือมีอายุท่ีมากข้ึนปจจัยในการเคล่ือนตัวของฟนจะแตกตางไป และอาจตองเขารับการรักษาวิธีอื่น ๆ รวมดวย การจัดฟนจึงควรอยูภายใตการพิจารณาอยางถองแทของทันตแพทยเฉพาะทางทันตกรรมจัดฟน โดยคํานึงถึงหลักการรักษาเพื่อแกไขปญหาการสบฟนหรือแกไขปญหาโรคในชองปาก ในอนาคตเปนหลักในการพิจารณา การจัดฟนเพื่อความเทหรือเปนความจําเปนจึงควรเปนการตัดสินใจรวมกันระหวางเจาตัว ผูปกครองและทันตแพทยเฉพาะทางทันตกรรมจัดฟนเปนพื้นฐาน (ประทีป พันธุมวนิช. 2549 : 157)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 15: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

2

ทันตกรรมจัดฟน เปนสาขาหนึ่งของทันตกรรมซึ่งจะเกี่ยวของกับการแกไขฟนและขากรรไกรท่ีอยูในตําแหนงที่ไมถูกตอง ฟนยื่นและฟนที่ขบกันไมพอดีจะทําใหยากตอการทําความสะอาด และมีความเสี่ยงตอการสูญเสียฟนกอนวัยอันควรเนื่องมาจากฟนผุและโรคเหงือก นอกจากนี้ยังทําใหเกิดการกดทับตอกลามเนื้อท่ีใชในการบดเคี้ยวซึ่งสามารถทําให เกิดอาการปวดศีรษะ อาการปวดท่ีขอตอขากรรไกร คอ ไหล และแผนหลังได ฟนท่ียื่นหรือไมอยูในตําแหนง ท่ีเหมาะสมก็ยังทําลายบุคลิกภาพอีกดวย ซึ่งประโยชนของทันตกรรมจัดฟนนั้นรวมถึงสุขภาพปากท่ีแข็งแรงขึ้น ลักษณะบุคลิกภาพที่นาพึงใจกวาเดิม และฟนที่สามารถจะคงทนไปตลอดชีวิต การรักษาดวยทันตกรรมจัดฟนมีหลายวิธีที่จะชวยในการจัดฟน จัดระเบียบกลามเนื้อและขากรรไกร โดยมีท้ัง ท่ีเปนแบบติดถาวรและแบบถอดออกได ซึ่งเคร่ืองมือเหลานี้จะทําการดัดฟนและขากรรไกรแบบนุมนวล ความรุนแรงของปญหาของผูจัดฟน (สมาคมทันตแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย. 2553 : 2)

ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี มีคลินิกทันตกรรมที่ใหบริการทันตกรรมจัดฟนซึ่ง มีปร ะชาชน มาใช บริการ โดยกา รควบคุมดูแลของทันตแพทยผู เชี่ย วชาญ ดานกา รจัดฟ น ท่ีมีความสามารถในการออกแบบ วางแผน การปรับเปลี่ยนตําแหนงของฟนใหสามารถเลื่อนมายังตําแหนงท่ีถูกตองและเหมาะสมได บางคลินิกดําเนินการในรูปแบบของบริษัทจํากัด บางแหงดําเนินการโดยแพทยเปนผูจัดตั้ง จากบัญชีรายชื่อคลินิกทันตกรรมจัดฟนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ปจจุบันมีจํานวนคลินิกท่ีดําเนินการท้ังสิ้นจํานวน 5 แหง (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎรธานี. 2553) เนื่องจากไดรับการยอมรับจากลูกคา ท้ังในเรื่องคุณภาพการรักษาและวิทยาการสมัยใหม และมีเคร่ืองมือท่ีทันสมัยสามารถบําบัดรักษาตรงตามจุดประสงคของผูรับบริการ เพราะผูคนในปจจุบันมีความรูและความใสใจกับสุขภาพภายในชองปากมากขึ้นจึงเขามาใชบริการกับคลินิกทันตกรรมจัดฟนท่ีมีแ พทยประจํากา รมากวาจะไปใชบริการกับส ถานจัดฟนท่ัวไ ป โดยแตละแหงพยายามสรางจุดเดนในการใหบริการเพื่อกระตุนยอดขาย โดยประชันแขงขันกัน ดวยความสามารถของแพทย และการใหบริการท่ีสรางความประทับใจแกผูใชบริการใหมากท่ีสุดโดยการใชเทคโนโลยีใหม ๆ และวิทยาการในการรักษาแนวใหมท่ีใหผลดี สิ่ง เหลานี้ลวนเปนผลแหงความสําเร็จของธุรกิจคลินิกทันตกรรมจัดฟนท้ังสิ้น

จากความสําคัญดังกลาวผูวิจัยสนใจท่ีจะศึกษา การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อตองการทราบการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชน จากคลินิกทันตกรรม ในจังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อตอบสนองใหตรงกับความตองการของประชาชนที่เขามาใชบริการใหมากท่ีสุด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 16: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

3

วัตถุประสงคการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี มีวัตถุประสงคการวิจัย ดังนี้

1. เพื่อศึกษาการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

2. เพื่อศึกษาปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

4. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาด กับการตัดสินใจ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

ความสําคัญของการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี มีความสําคัญของการวิจัย ดังนี้

1. ทราบถึงการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อท่ีคลินิกทันตกรรมจัดฟนจะนําไปใชในการวางแผนจัดการ ใหตรงกับความตองการของผูใชบริการ ในการตัดสินใจใชบริการของลูกคา

2. ทราบถึงปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี เพื่อท่ีคลินิกทันตกรรมจัดฟนนําไปใชในการวางแผนกลยุทธ ของปจจัยดานตาง ๆ เพื่อปรับปรุงการใหบริการ และเพิ่มระดับความพึงพอใจของลูกคาใหมากขึ้น

3. ทราบถึงความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

4. ทราบถึงความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

5. เปนแนวทางการวางแผนรับปรุงรูปแบบการใหบริการในคลินิคทันตกรรมเพื่อใหตรงกับความตองการของผูใชบริการเพื่อสรางความพึงพอใจสูงสุด และเปนแนวทางใหกับงานวิจัยท่ีเกี่ยวของเพื่อเปนประโยชนในการพัฒนาการวางแผนการตลาดบริการดานทันตกรรมจัดฟน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 17: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

4

ขอบเขตการศึกษา

การวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยไดกําหนดขอบเขตการศึกษา ดังนี้

ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยางประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่เขาไปใชบริการจัดฟนจากคลินิก ทันตกรรม

ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก คลินิกทันตกรรม หมอกบ คลินิกทันตแพทยสุริยา คลินิกรักฟน คลินิกทันตกรรม เด็นทอลสมาย และศูนยคลินิกทันตกรรมหมอไพรัช (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎรธานี. 2553) เนื่องจากผูวิจัยไมทราบจํานวนผูใชบริการ จึงไดกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางมีความเชื่อม่ัน รอยละ 95 และความผิดพลาดไมเกิน รอยละ 5 ของ Yamané (กัลยา วานิชยปญญา. 2549 : 26) ไดกลุมตัวอยางจํานวน 400 คน

ขอบเขตสถานที่และเวลาสถานที่ในการเก็บรวบรวมขอมูลคือคลินิกทันตกรรมจัดฟน ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด

สุราษฎรธานี ในระหวางเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 - กุมภาพันธ พ.ศ. 2553ขอบเขตดานตัวแปร แบงเปน

1. ตัวแปรอิสระ คือ ป จจัยสวนบุคคล ปร ะกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมร ส ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน และภูมิลําเนา ปจจัยสวนผสมทางการตลาด ประกอบดวย ดานผลิตภัณฑ ดานราคา ดานการจัดจําหนายหรือสถานท่ี ดานการสง เสริมการตลาด ดานบุคคลหรือพนักงาน ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ และดานกระบวนการ

2. ตัวแปรตาม คือ การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งประกอบดวย เหตุผลท่ีใชบริการ บริการท่ีใช ความถี่ ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ เวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการ ในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

กรอบแนวคิดในการวิจัย

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยศึกษา ความสัมพันธของตัวแปร สรุปเปนกรอบแนวคิด ดังภาพท่ี 1.1

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 18: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

5

ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม

ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

สมมติฐานการวิจัย

1. ปจจัยสวนบุคคลมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

2. ปจจัยสวนผสมทางการตลาดมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

ปจจัยสวนบุคคล1. เพศ2. อายุ3. สถานภาพสมรส4. ศาสนา5. การศึกษา6. อาชีพ7. รายไดตอเดือน8. ภูมิลําเนา

การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม

1. เหตุผลท่ีใชบริการ2. การใชบริการคลินิกทันตกรรม3. ความถี่ในการเขามารับบริการ4. ประสบการณการใชบริการ5. ชวงเวลาท่ีใชบริการ 6. จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน7. การรับรูจากส่ือ8. บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใช

บริการปจจัยสวนผสมทางการตลาด1. ดานผลิตภัณฑ2. ดานราคา3. ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่4. ดานการสงเสริมการตลาด5. ดานบุคคลหรือพนักงาน6. ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ7. ดานกระบวนการCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

Page 19: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

6

นิยามศัพทเฉพาะ

การศึกษา การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยระบุคํานิยามศัพทเฉพาะ ดังนี้

การตัดสินใจใชบริการ หมายถึง สิ่งที่สนับสนุนหรือสงเสริมใหเกิดความตองการเขาไปใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟนในจังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งประกอบดวย เหตุผลท่ีใชบริการ บริการ ท่ีใช ความถี่ในการเขามารับบริการประสบการณการใชบริการ เวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิก ท่ีใชบริการในปจจุบัน รายไดตอเดือนการรับรูจากส่ือ บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

คลินิกทันตกรรมจัดฟน หมายถึง สถานพยาบาลของเอกชนท่ีมีแพทยประจําการในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยแพทยนั้นจะเปนแพทยผู เชี่ยวชาญเฉพาะทางดานทันตกรรมจัดฟนเปนหลักรวมถึงการปองกันและรักษาความผิดปกติในการขึ้นของฟน โดยจบหลักสูตรวิทยาการจากแพทยสภา โดยมีคลินิกทันตกรรมจัดฟนแบบครบวงจร โดยแสดงปายประกาศการใหบริการดานทันตกรรมจัดฟนอยางชัดเจน

ผูใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน หมายถึง ประชาชนในจังหวัดสุราษฎรธานีที่เขามาใชบริการดานทันตกรรมจัดฟน

ปจจัยสวนบุคคล หมายถึง ขอมูลเฉพาะบุคคลของผูใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน อันไดแก เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน และภูมิลําเนา

ปจจัยสวนผสมทางการตลาด หมายถึง องคประกอบท่ีเกี่ยวของในการตัดสินใจเลือกใชคลินิกทันตกรรม ซึ่งไดแก ดานผลิตภัณฑ ดานราคา ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ ดานการสง เสริมการตลาด ดานบุคคลหรือพนักงาน ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ และดานกระบวนการ ดังนี้

ปจจัยดานผล ิตภัณฑ (Product) หมายถึง บริการท่ีสนองความตองการและสรางความพึงพอใจใหกับผูใชบริการท่ีมีปญหาแตกตางกันไปในแตละบุคคล ไดแก ความมีคุณภาพ ของผลิตภัณฑ ชื่อเสียงและภาพพจน ท่ีดีของแพทย การบริการท่ีมีคุณภาพ ความหลากหลาย ของสินคาและบริการ ผลิตภัณฑตองมีประโยชน มีมูลคาในสายตา ในสายตาผูใชบริการจึงจะมีผลทําใหผลิตภัณฑสามารถขายได เชน เหล็กดัดฟน

ปจจัยดานราคา (Price) หมายถึง อัตราคาบริการตรวจรักษา และบริการท่ีผูใชบริการไดรับ รวมถึงมูลคาของผลิตภัณฑดวย ไดแก อัตราคาบริการรักษาเกี่ยวกับฟนท่ีเหมาะสม มีการใหสวนลด การใหสินเชื่อลูกคา และการชําระเงินผานบัตรเครดิต

ปจจัยดาน ชองทาง การจัดจํา หนาย ( Place) หมายถึง ทําเล ท่ีตั้ง รวมถึงวิธีกา รใหบริการเพื่ออํานวยความสะดวกสบายในการใชบริการเปนสําคัญไดแก ทําเลท่ีตั้งสะดวกในการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 20: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

7

เดินทาง การเปดคลินิกใหบริการทุกวัน การจัดบูทแสดงสินคา ตามสถานท่ีตาง ๆ การมีท่ีจอดรถกวางขวางและเพียงพอ

ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด (Promotion) คือ กิจกรรมท่ีจัดข้ึนท่ีผลักดันใหธุรกิจใหเปนที่รูจักและสนใจ โดยมุงประโยชนเพื่อดึงดูดใจแกบุคคลท่ัวไปและผูใชบริการคลินิก ไดแก ลดแลกแจกแถม การแจงขาวประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ การจัดทําระบบสมาชิก และการสงเอกสารขอมูลใหสมาชิกถึงบาน

ปจจัยดานบุคคล (People) หมายถึง บุคลากร และพนักงานท่ีสงมอบบริการให เปน ท่ีพึงพอใจแกผูใชบริการ ตามความสามารถและเชี่ยวชาญในงานนั้น ๆ ไดแก ความชํานาญและประส บกา รณกา รให บริการ การยิ้ มแยมแจมใส มีมนุษยสัมพันธดี ความก ระตือรือร นและกระฉับกระเฉง การแสดงความเคารพและใหเกียรต์ิลูกคาท่ีเขามาใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟนใหเปนที่พึงพอใจแกผูเขามาใชบริการ

ปจจัยดานการนําเสนอทางกายภาพ (Physical Evidence) หมายถึง ลักษณะและรูปแบบท่ีแสดงใหเห็นถึงคุณภาพของงานบริการท่ีสามารถมองเห็นหรือสัมผัสได ไดแก ความเปนสัดสวนของคลินิก ความรวดเร็วในการใหบริการ เคร่ืองมือสะอาดทันสมัย และเคร่ืองแบบมีเอกลักษณ

ปจจัยดานกระบวนการ (Process) หมายถึง วิธีการจัดหา ดําเนิน การ เพื่อจัดสงบริการใหกับลูกคา ไดแก การโทรศัพทนัดหมายลวงหนา การชื้อสินคาไดเ ม่ือตองการ การจัดใหมีการเขาคิวรอคอยอยางเปนระบบ และการใชคอมพิวเตอรบริหารจัดการภายในคลินิก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 21: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษา การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี มีแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการศึกษา ดังนี้

1. คลินิกทันตกรรมจัดฟนและคลินิกทันตกรรมจัดฟนในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี

2. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค3. แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค4. ทฤษฎีสวนผสมทางการตลาด5. งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

คลินิกทันตกรรมจัดฟนและคลินิกทันตกรรมจัดฟนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

ความหมายของคลินิกทันตกรรมจัดฟนคลินิก มาจากคําภาษาอังกฤษ Clinic หมายถึง สถานรักษาพยาบาลของเอกชน มักไมรับ

ผูปวยใหพักรักษาตัวประจําหรือแผนกของโรงพยาบาลท่ีรักษาโรคเฉพาะทาง เชน ตา หู คอ จมูก ปาก กระดูก เปนตน ท้ังนี้ การรักษาก็จะแตกตางกันออกไปขึ้นอยูกับแตละคลินิกนั้น ๆ

สถาบันประสาทวิทยา. (2553 : 1) กลาวถึงคลินิกทันตกรรมวา เปนสถานท่ีใหบริการตรวจฟน การขูดหินปูน การอุดฟน ถอนฟน รักษารากฟน ฟนปลอม ผาฟนคุด ทันตกรรมเด็ก รากฟนเทียม และใหคําปรึกษาดานทันตกรรม โดยแพทยผูชํานาญเฉพาะทางดานทันตกรรม

สมาคมทันตแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย. (2553 : 3) กลาววาทันตกรรมจัดฟน คือ สาขาหนึ่งของทันตกรรมซึ่งจะเกี่ยวของกับการแกไขฟนและขากรรไกรท่ีอยูในตําแหนงที่ไมถูกตอง ฟนยื่นและฟนท่ีขบกันไมพอดีจะทําใหยากตอการทําความสะอาด และมีความเสี่ยงตอการสูญเสียฟนกอนวัย อันควรเนื่องมาจากฟนผุและโรคเหงือก นอกจากนี้ยังทําใหเกิดการกดทับตอกลามเนื้อท่ีใชในการบดเคี้ยวซ่ึงสามารถทําใหเกิดอาการปวดศีรษะ อาการปวดท่ีขอตอขากรรไกร คอ ไหลและหลังได

สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. (2552 : 2) ใหคําจํากัดความของการจัดฟนวา การจัดฟน หมายถึง กระบวนการแกไขความไมสมดุลท่ีเกิดขึ้นจากการเรียงตัวของฟน และการสบฟน ท่ีผิดปกติ ใหกลับไปสูสภาพท่ีปกติ ซึ่งโครงสรางที่ถูกปรับเปลี่ยนรวมท้ังฟนที่ถูกเลื่อนไปจะเกิดจากการใชแรง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 22: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

9

ท่ีละเอียดออนทั้งจากเครื่องมือภายนอกและภายในชองปากเปนตัวกระตุนให เกิดการปรับแตงใหม กระดูกท่ีลอมรากฟนจะเกิดการละลายและเสริมสรางใหมของกระดูกแบบคอยเปนคอยไปและ เกิดการเคล่ือนตัวของฟนในอัตราเฉลี่ย 1 มิลลิเมตร ตอ 1 เดือน

ไดเรกทอร่ี. (2553 : 1) กลาวถึงการจัดฟนวาเปนสาขาหนึ่งในทางทันตกรรมที่ใหการวินิจฉัย ปองกัน และรักษาความผิดปกติของการ เรียงฟนและการสบฟนรวมทั้งปญหาความผิดปกติของขนาดและความสัมพันธของขากรรไกรตอใบหนาการจัดฟน เปน การรักษาเพื่อใหมีการสบฟนท่ีดีข้ึน เพื่อการบดเคี้ยวอาหารที่มีประสิทธิภาพรวมท้ังลดอัตราเสี่ยงในการเกิดฟนผุหรือโรคเหงือกอันเนื่องมาจากความลําบากในการทําความสะอาดฟนและเหงือก ในบริเวณท่ีฟนเรียงตัวผิดปกติ หลีกเลี่ยงการเกิด การสึกของฟนที่ผิดปกติจาการเรียงฟนหรือสบฟนที่ไมเหมาะสม นอกจากนี้ ยังอาจชวยสงเสริมบุคลิกภาพจากการท่ีมีฟน เรียงกันสวยงาม

จากความหมายของทันตกรรมจัดฟนดังกลาว สรุปไดวา การจัดฟนเปนทันตกรรมสาขาหนึ่ง ซึ่งใหความสําคัญกับการเรียงตัวของฟน เนื่องจากฟนท่ีเรียงอยางไมเปนระเบียบนั้นสามารถสงผลกระทบตอรูปหนา ประสิทธิภาพและวิธีการบดเคี้ยว และความสะดวกในการดูแลรักษาความสะอาดฟน ซึ่งปญหาตาง ๆ ท่ีควรเขารับการจัดฟน

ความมุงหมายของทันตกรรมจัดฟนในปจจุบันนี้เด็กหนุมสาวจํานวนมากนิยมท่ีจะจัดฟน โดยจะเห็นวาเด็กเหลานี้ มีลวดดัดฟน

อยูในปาก พรอมยางรัดสีตาง ๆ จนเกือบจะกลายเปนแฟชั่นกันไปแลว ปจจุบันการมีรอยยิ้ม พรอมกับลวดติดฟนไมใชของแปลก หรือเปนเรื่อง ท่ีนาอับอายอีกตอไป การจัดฟนไดกลายเปนแฟชั่นสําหรับเด็กยุคใหม และเปนอีกทางเลือกสําหรับผูใหญท่ีมีปญหาเกี่ยวกับฟน ไมวาจะเปนฟนหาง ฟนเก หรือฟนยื่นเหยิน หลักการทางวิชาการทันตแพทยศาสตร ขอบงชี้ในการจัดฟนเกิดจากความผิดปกติของการสบฟน หรือการเรียงตัวของฟนตามธรรมชาติ ซึ่งถาหากปลอยไวจะเปนภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคในชองปาก หรือมีผลตอบุคลิกภาพในอนาคตได

การจัดฟนนอกจากจะเปนการแกไขการสบฟนใหเขาสูปกติแลว ในหลายกรณียัง เปนการแกไขในรายท่ีฟนซอนเก หรือรวบกันแนน สําหรับปจจัยท่ีทําให เกิดปญหาการเรียงตัวของฟน มีไดหลายสาเหตุ อาจเกิดจากขากรรไกรท่ีมีขนาดไมสัมพันธกับการขึ้นของฟน เชน ถาขากรรไกร มีขนาดเล็ก พื้นท่ีในปากก็เหลือนอยลง ไมพอใหฟนทุกซ่ีขึ้นไดอยางมีระเบียบ ผลก็คือจะ ทําใหฟนเก ฟนซอน ขณะที่บางคนมีขากรรไกรกวาง ทําใหฟนที่ข้ึนอยูหางกัน ไมสวยงาม การจัดฟนสามารถชวยใหการเรียงตัวของฟนดีขึ้น แกปญหาการสบฟนท่ีผิดปกติ และผลพลอยไดท่ีตามมาก็คือ รูปหนาและการเรียงตัวของฟนที่สวยงาม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 23: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

10

ดังนั้น ความมุงหมายของทันตกรรมจัดฟน ก็คือ การรักษา เนื่องจากการเรียงตัวของฟน ท่ีดี หมายถึง การบดเขี้ยวอาหารที่ดีขึ้น และสงผลทําใหการรักษาความสะอาดในชองปากทําไดง ายขึ้น อยางไรก็ตาม จากผลพลอยไดท่ีทําใหรูปหนา และการเรียงตัวของฟนท่ีสวยงาม เปรียบเหมือนความม่ันใจใหกับบุคลิกภาพ ซ่ึงอาจจะสงผลตอการงาน อาชีพ ความสบายใจท่ีจะอวดยิ้มสวย ๆ คืออีกหนึ่งสาเหตุท่ีนอกเหนือจากการรักษาดวยเหตุผลทางการแพทย (บุญศิวา บูรณสถิตพร. 2545 : 13)

ทันตวิภาคศาสตรของอวัยวะในชองปากชองปาก (Oral Cavity) คือ สวนที่อยูถัดไปจากริมฝปากเขาไปจนถึงลิ้นไก ภายในมีอวัยวะ

สําคัญหลายอยาง ซ่ึงจะกลาวรายละเอียดของฟน และอวัยวะปริทันต (สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 2 - 12) ดังนี้

1. ฟน (Teeth)เปนอวัยวะท่ีสําคัญ ทําหนาท่ีบดเคี้ยวอาหาร ชวยในการออกเสียงพูดใหถูกตองชัดเจน

และชวยใหใบหนามีความสวยงาม โดยธรรมชาติมนุษยมีฟน 2 ชุด ฟนชุดแรก คือ ฟนน้ํานม (PrimaryTeeth หรือ Deciduous Teeth) ขึ้นมาในวัยเด็ก มีลักษณะเปนฟนซี่เล็ก ๆ สีคอนขางขาว มีท้ังหมด 20 ซี่ ฟนชุดท่ีสอง เรียกวา ฟนถาวร หรือฟนแท (Secondary Teeth หรือ Permanent Teeth) มีขนาดใหญกวาฟนน้ํานม สีคอนขางเหลือง มีท้ังหมด 32 ซี่

โครงสรางของฟน พิจารณาไดเปน 2 ลักษณะ คือ โครงสรางภายนอกและโครงสรางภายใน โครงสรางภายนอกแบงออก 2 สวน คือ ตัวฟน (Crown) และรากฟน (Root) โดยมีแนวคอฟนเปนเกณฑในการแบงแยก โครงสรางภายในของฟน ประกอบดวย 4 สวน คือ เคลือบฟน เนื้อฟน เคลือบรากฟน และเนื้อเยื่อในโพรงประสาทฟน ดังภาพท่ี 2.1

ภาพท่ี 2.1 โครงสรางภายนอกและภายในของฟนท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 2

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 24: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

11

จากภาพที่ 2.1 โครงสรางภายนอก และภายในของฟน ซึ่งในโครงสรางของฟนจะ

ประกอบไปดวยอวัยวะ ดังนี้

1. เคลือบฟน (Enamel) เปนสวนท่ีแข็งที่สุดของฟน คลุมอยูรอบนอกสุดของตัวฟน

โดยตลอด มีความหนามากท่ีสุด ในบริเวณปุมหรือปลายขอบฟนคอย ๆ บางลงในบริเวณใกลคอฟน

ทําหนาท่ีเห มือนเกราะ หุมฟน เพื่อชวยปกปองอันตรายใ หแก ชั้นของเนื้อฟน แ ละเนื้อเยื่ อ

โพรงประสาทฟน เคลือบฟนโดยท่ัวไปมีสีขาวใส เปนมันวาว

2. เนื้อฟน (Dentine) คือ สวนที่อยูถัดจากชั้นเคลือบฟนเขาไป มีสีเหลือง มีความแข็ง

มากกวากระดูก แตออนกวาเคลือบฟน

3. เคลือบรากฟ น (Cementum) เปนสวนท่ีคลุมภาย นอกของรากฟนโดยตลอด

มีสีเหลืองออน และทึบแสง

4. เนื้อเยื่อในโพรงประสาทฟน (Dental Pulp) เปนเนื้อเยื่อออน (Soft Tissue) ประกอบดวย

หลอดเลือดและเสนประสาท ซึ่งผานเขาโพรงประสาทฟน ทางรูปเปดท่ีปลายรากฟน อวัยวะเหลานี้

อยูภายในชองวาง ใจกลางฟน ท่ีเรียกวา โพรงประสาทฟน ( Pulp Cavity) ทําหนาท่ีนําอาหาร

หลอเลี้ยงฟน และรับความรูสึกจากฟนไปสูสมอง โพรงประสาทฟนแบงออกเปน 2 สวน คือ

โพรงประสาทฟนในตัวฟน (Pulp Chamber) มีรูปรางไปตามตัวฟน และปุมฟน และโพรงประสาท

ในคลองรากฟน (Pulp Canal)

การจําแนกกลุมฟน มีการจําแนกเปนกลุมตามตําแหนงท่ีอยู ลักษณะและประเภทของฟน

ดังนี้

1. จําแนกตามลักษณะสวนโคงแนวฟน เนื่องจากฟนมีการเรียงตัวตามแนวโคง

ของกระดูกขากรรไกรลางและบน เราเรียกแนวโคงนี้วา สวนโคงแนวฟน (Dental Arch) เม่ือพิจารณา

แบงฟนตามเสนแนวนอน ทําใหฟนถูกแบงเปน ฟนบนและฟนลาง และจากเสนแบงในแนวดิ่ง

ผานกึ่งกลางของขากรรไกรบน - ลาง จะทําใหฟนถูกแบงออกเปนดานซาย และขวา ดังนั้น โดยวิธีการนี้

ฟนจะถูกแบงเปน 4 สวน (Quadrants) คือ ฟนบนดานซาย ฟนบนดานขวา ฟนลางดานซาย และ

ฟนลางดานขวา ดังภาพท่ี 2.2

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 25: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

12

ภาพท่ี 2.2 การแบงกลุมฟนตามสวนโคงแนวฟน และประเภทของฟนท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 2

2. จําแนกตามรูปรางลักษณะ และหนาท่ีของฟน โดยแบงฟนเปน 4 ประเภท คือ ฟนตัด ฟนเขี้ยว ฟนกรามนอย (ในฟนน้ํานม ไมมีฟนกรามนอย) และฟนกราม ดังตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.1 ประเภท รูปรางลักษณะและหนาที่ของฟน

ประเภทฟน รูปราง ลักษณะ หนาที่1. ฟนตัด (Incisor) แบงเปน

1.1 ฟนตัดซี่กลาง (Central Incisor) 1.2 ฟนตัดซี่ขาง (Lateral Incisor)

เหมือนจอบหรือส่ิว ตัดและฉีกอาหาร

2. ฟนเขีย้ว (Canine) มีปุมแหลมปุมเดียว ฉีกอาหาร3. ฟนกรามนอย (Premolar) มีปุมเตี้ยกวาฟนเขี้ยว 2 - 3 ปุม บดเคี้ยวอาหาร4. ฟนกราม (Molar) มีปุมเตี้ย ๆ 3 - 6 ปุม บดเคี้ยวอาหาร

ท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 3

การเรียกชื่อฟน การเรียกชื่อฟนที่นิยมใชกันทั่วไป คือ 1. การเรียกชื่อเต็มของฟน (Fully Naming Teeth) ควรพิจารณาตามลําดับ คือ ประเภท

ของฟน ชุดของฟน เปนฟนบน หรือฟนลาง เปนฟนดานซาย หรือดานขวา ในกรณีของฟนตัด ตองพิจารณาวาเปน ฟนกรามซี่ท่ีหนึ่ง หรือซ่ีท่ีสอง หรือซ่ีท่ีสาม ดังในภาพที่ 2.3

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 26: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

13

ภาพท่ี 2.3 การเรียกชื่อเต็มของฟนท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 3

จากภาพที่ 2.3 การเรียกชื่อเต็มของฟน แสดงรายละเอียดการเรียก ดังตารางที่ 2.2 ดังนี้

ตารางที่ 2.2 การเรียกช่ือเต็มของฟน

ลําดับที่ของฟน ฟนแทบนดานซาย ฟนน้ํานมบนดานขวา1 ฟนตัดแทบนดานซายซี่กลาง ฟนตัดน้ํานมบนขวาซี่กลาง2 ฟนตัดแทบนดานซายซี่ขาง ฟนตัดน้ํานมบนขวาซี่ขาง3 ฟนเขี้ยวแทบนซาย ฟนเขี้ยวน้ํานมบนขวา4 ฟนกรามนอยบนซายซี่ท่ีหนึ่ง ฟนกรามน้ํานมบนขวาซี่ท่ี 15 ฟนกรามนอยแทบนซายซี่ท่ีสอง ฟนกรามน้ํานมบนขวาซี่ท่ี 26 ฟนกรามแทบนซายซี่ท่ีหนึ่ง7 ฟนกรามแทบนซายซี่ท่ีสอง8 ฟนกรามแทบนซายซี่ท่ีสาม

หมายเหตุ 1. การเรียกช่ือฟนแตละซี่ จะเร่ิมจากซี่ท่ีชิดแนวแบงก่ึงกลางใบหนา ออกไปทางดานขาง2. ฟนกรามนอยแทซี่ท่ีหนึ่ง และสอง จะอยูในตําแหนงเดียวกับฟนกรามน้ํานมซี่ท่ี 1 และ 2

ท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 5

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 27: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

14

2. การเรียกชื่อเต็มของฟนดวยรหัส (Numbering System) มีอยูหลายระบบ สวนท่ีนิยมใชกันเปนสากล คือ ระบบท่ีสหพันธทันตแพทยนานาชาติ (Federation Dentaire or FDI) ไดเสนอแนะใหใช เพื่อเปนมาตรฐานเดียวกันทั่วโลก เรียกวา ระบบตัวเลขสองหลัก (Two-Digit System) การใชระบบนี้ สะดวกตอการเก็บขอมูลดวยคอมพิวเตอร ตัวเลขหลักแรก เริ่มตั้งแต 1 - 8 แสดงถึงตําแหนงของฟน วาอยูตําแหนงใด ถาแบงปากออกเปนสี่สวน (Quadrants) ตัวเลข 1 - 4 ใชกับฟนแท ตัวเลข 5 - 8 ใชกับฟนน้ํานม ดังนี้

รหัสตัวแรกของฟนแท รหัสตัวแรกของฟนน้ํานม1) ฟนแทบนขวา2) ฟนแทบนซาย3) ฟนแทลางขวา4) ฟนแทลางซาย

1) ฟนน้ํานมบนขวา2) ฟนน้ํานมบนซาย3) ฟนน้ํานมลางซาย4) ฟนน้ํานมลางขวา

ตัวเลขหลักท่ีสอง เริ่มตั้งแต 1 - 8 เชนเดียวกับตัวเลขหลักแรก แตตัวเลขหลักท่ีสองนี้แสดงซี่ฟนเรียงลําดับ นับจากเสนแบงครึ่งใบหนา ในแนวดิ่งไปท้ังดานซายและขวา ตัวอยาง ของการเรียกชื่อฟน ดวยระบบตัวเลขสองหลัก ดังภาพท่ี 2.4 ไดแก

ภาพท่ี 2.4 การเรียกชื่อฟนตามระบบตัวเลขสองหลักท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 6

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 28: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

15

จากภาพที่ 2.4 การเรียกชื่อฟนตามระบบตัวเลขสองหลัก มีเลขเรียกตัวเลขตาง ๆ ดังนี้11 หมายถึง ฟนตัดแทบนขวาซี่กลาง22 หมายถึง ฟนตัดแทบนซายซี่ขาง33 หมายถึง ฟนเขี้ยวแทลางซาย44 หมายถึง ฟนกรามนอยแทลางขวาซี่ท่ีหนึ่ง51 หมายถึง ฟนตัดน้ํานมบนขวาซี่กลาง62 หมายถึง ฟนตัดน้ํานมบนซายซี่ขาง73 หมายถึง ฟนเขี้ยวน้ํานมลางซาย84 หมายถึง ฟนกรามน้ํานมลางขวาซี่ท่ีหนึ่ง

ดานของฟน ฟนมีการระบุดาน ตามตําแหนงท่ีฟน ดังภาพท่ี 2.5 ดังนี้

ภาพท่ี 2.5 แสดงดานตาง ๆ ของฟนท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 7

ดานตาง ๆ ของฟน มีรายละเอียดดังนี้1. ดานประชิด (Proximal Surface) เปนดานของฟนท่ีอยูชิด กับฟนขางเคียง ในสวนโคง

ของขากรรไกรเดียวกัน ดานประชิดท่ีอยูใกลเสนแบงครึ่งใบหนาในแนวด่ิง เรียกวา ดานประชิดใกล (Mesial Surface) สวนดานประชิดอีกดานที่เหลือ เรียกวา ดานประชิดไกล (Distal Surface)

2. ดานใบหนา (Facial Surface) แบงเปนดานของฟนหนา ท่ีอยูชิดริมฝปาก (Labial Surface) เรียกดานริมฝปาก (Labial Surface) และดานของฟนหลัง ท่ีอยูชิดแกม เรียกดานติดแกม (Buccal Surface)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 29: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

16

3. ดานลิ้น (Lingual Surface) เปนดานของฟนลาง ท่ีอยูชิดลิ้น และดานของฟนบน ท่ีชิดเพดานปาก (Palatal Surface)

การขึ้นและการหลุดของฟน ฟนชุดแรกคือ ฟนน้ํานม เริ่มมีการสรางตัวในขากรรไกร ตั้งแตเปนทารกในครรภ เม่ืออายุครรภไดประมาณ 6 สัปดาห จะมีการสรางหนอฟนในกระดูกขากรรไกร แลวมีแรธาตุแคลเซียม และฟอสฟอรัสเขามาเปนสวนประกอบ ในกระบวนการสรางฟน มีการสรางสวนของตัวฟนกอน แลวจึงมีการสรางสวนของรากฟน ในขณะท่ีสรางรากฟน เปนระยะเวลา ท่ีฟนโผลขึ้นในชองปาก เรียกวา การขึ้นของฟน (Eruption of Teeth) ฟนน้ํ านมซี่แรกจะขึ้นมา ในชองปาก เม่ือเด็กอายุไดประมาณ 6 เดือน คือ ฟนตัดน้ํ านมลางซี่กลาง ท้ังดานซาย และดานขวา อยูกึ่งกลางขากรรไกรลาง ตอมาอีกประมาณ 2 - 3 เดือน ฟนตัดน้ํานมบนซี่กลางก็จะขึ้น ฟนน้ํ านมซี่อื่น ๆ จะทยอยข้ึนมาจนครบ 20 ซ่ี เม่ือเด็กอายุไดประมาณ 2 ขวบ ถึง 2 ขวบครึ่ง สวนฟนชุดท่ีสอง คือ ฟนแท ซี่แรกจะขึ้นเม่ือเด็กอายุประมาณ 6 ป เปนฟนกรามแทซ่ีท่ีหนึ่ง ซึ่งฟนลางจะขึ้นกอนฟนบน โดยข้ึนมาเรียงตัวตอจาก ฟนกรามน้ํานมซี่ท่ีสอง จึงเปนฟนแทท่ีไมไดขึ้นแทนฟนน้ํานม

การหลุดของฟนน้ํานม เริ่มตั้งแตเด็กอายุได 6 ขวบขึ้นไป เปนการเกิดขึ้นตามธรรมชาติ เม่ือถึงเวลาที่ฟนแทใกลข้ึน ฟนแทจะมีการสรางรากฟน และเกิดแรงดันจากบริเวณรากฟน มีผลใหรากฟนน้ํานมมีการละลายตัว ฟนน้ํานมก็จะโยกหลุดไปไดเอง จากนั้นฟนแทจึงคอย ๆ ขึ้นมาแทนท่ีฟนน้ํานม ฟนแทข้ึนมาแทนท่ีฟนน้ํานมซี่แรก คือ ฟนตัดลางซี่กลาง ซาย และขวา และมีฟนกรามแท ซี่ท่ีหนึ่งขึ้นถัดจาก ฟนกรามน้ํานมซี่ท่ีสอง เมื่อเด็กอายุไดประมาณ 6 ป ดังนั้น ในชวงอายุ 6 - 12 ป เด็กจึงมีท้ังฟนน้ํานม และฟนแท เรียกระยะนี้วา ฟนผสม การหลุดของฟนน้ํ านมแตละซี่ จะมีความสัมพันธไปกับ ระยะการขึ้นของฟนแท ดังนั้น ฟนน้ํ านมของเด็ก จึงมีสวนสําคัญท่ีชวยรักษาชองวางไว ใหฟนแทขึ้นมาแทนท่ี หากเด็กมีฟนน้ํานมผุ และถูกถอนไปเร็วกวาอายุ ท่ีควรจะหลุด จะทําใหฟนแทท่ีขึ้นมาลมเอียง นับเปนปจจัยหนึ่งของการเกิดฟนเก ฟนน้ํานมจะถูกแทนท่ีดวยฟนแทท้ังหมด เม่ือเด็กอายุประมาณ 12 ป ดังภาพท่ี 2.6 และ 2.7

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 30: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

17

ภาพท่ี 2.6 แสดงการขึ้นของฟน ตั้งแตอายุครรภ 5 เดือน ถึง 6 ปท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 9

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 31: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

18

ภาพท่ี 2.7 การข้ึนของฟน ตั้งแตอายุครรภ 7 ป ถึง 35 ปท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 9 - 10

2. อวัยวะปริทันต (Periodontium)อวัยวะปริทันต คือ กลุมของเนื้อเยื่อท่ีอยูลอมรอบฟน ทําหนาท่ียึดและยุงฟนให

ทําใหฟนสามารถอยูในกระดูกขากรรไกรได อวัยวะปริทันตประกอบดวย เนื้อเยื่อ 4 ชนิด คือ เหงือก เอ็นยึดปริทันต เคลือบรากฟน และกระดูกเบาฟน ดังภาพท่ี 2.8

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 32: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

19

ภาพท่ี 2.8 ลักษณะกายวิภาคศาสตรของอวัยวะปริทันต และสวนตาง ๆ ของเหงือกท่ีมา : สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 11

ลักษณะกายวิภาคศาสตรของอวัยวะปริทันต และสวนตาง ๆ ของเหงือก1. เหงือก (Gingiva) คือ สวนหนึ่งของเยื่อบุชองปาก ท่ีปกคลุมกระดูกสวนยื่นของเบาฟน

(Alveolar Process) มีขอบเขตตั้งแตขอบเหงือก (Gingival Margin) ถึงรอยตอเยื่อเ มือกบุชองปาก ทําหนาที่ตานทานแรงเสียดสีจาอาหาร ระหวางการบดเคี้ยว การกลืน ในสภาวะปกติจะมีลักษณะแนน (Firm) มีสีชมพูออน สีของเหงือกอาจเปลี่ยนแปลงได ขึ้นกับสีผิวของแตละบุคคล จํานวนเสนเลือดฝอยท่ีมาเลี้ยงเยื่อบุผิว ระหวางเหงือก และฟน มีรองตื้น ๆ ประมาณ 1 - 2 มิลลิเมตร อยูลอมรอบตัวฟน เรียกวา รองเหงือก (Gingival Sulcus) ความลึกของรองเหงือก จะมีความสัมพันธโดยตรงกับสุขภาพของเหงือก ในฟนที่ข้ึนใหม ๆ เหงือกจะคลุมสวนกระดูกย่ืนของกระดูกเบาฟนในระดับเลยคอฟนขึ้นมาบนตัวฟน และมีลักษณะเปนสามเหลี่ยม ในบริเวณดานประชิด ของฟนสองซี่ เ ม่ือมีอายุมากขึ้น กระดูกมีการละลายตัว ทําใหสวนยื่นของเบาฟนต่ําลง เหงือกก็จะรนต่ําลงดวย จึงดูคลายวา มีตัวฟนท่ียาวขึ้น

2. เอ็นยึดปริทันต (Periodontal Ligament) คือ เนื้อเยื่อท่ีอยูรอบ ๆ ฟน เปนเนื้อเยื่อยึดตอชนิดไฟบรัสท่ีหนาแนน (Dense Fibrous Connective Tissue) ปลายขางหนึ่ งของเอ็นยึดปริทันต ฝงตัวอยูในเคลือบรากฟน และปลายอีกขางหนึ่ง ฝงอยูในกระดูกเบาฟน ทําหนาท่ีชวยยึดกระดูกเคลือบรากฟน ไวกับกระดูกเบาฟน นอกจากนี้ยังทําหนาที่อื่น ๆ อีก คือ ตานทานแรงท่ีเกิดจากการบดเคี้ยว แลวถายทอดแรงบดเคี้ยว สูกระดูกเบาฟน ปองกันอันตรายแกหลอดเลือด เสนประสาท และหลอดน้ําเหลืองภายใน และชวยพยุงเหงือกใหมีความสัมพันธ ท่ีถูกตองกับฟน

3. เคลือบรากฟน (Cementum) คือ สวนของฟนท่ีอยูตอจากเคลือบฟน ปกคลุมรากฟนท้ังหมด สีเหลืองออน และไมมีความมันวาว จึงทําใหเคลือบรากฟน มีความแตกตางจากเคลือบฟนอยางชัดเจน เคลือบรากฟนทําหนาท่ีปองกันอันตราย ให เนื้อฟนท่ีอยูขางใต และเปนท่ีฝงตัว ของปลายขางหนึ่ง ของเอ็นยึดปริทันต เพื่อยึดใหอยูกับกระดูกเบาฟน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 33: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

20

4. กระดูกเบา ฟน ( Alveolar Bone) คือ สวน ของกระดูกขากร รไกร บนและลา ง ท่ีอยูลอมรอบรากฟน โครงสรางของกระดูกเบาฟน ขึ้นกับขนาด รูปราง ตําแหนงของฟน และสภาพของแรงที่มีตอกระดูกเบาฟน ทําหนาที่รองรับฟน รวมท้ังเปนที่ฝงตัวของเสนใยยึดเอ็นปริทันต เพื่อยึดใหอยูกับกระดูกเบาฟน ชวยรองรับแรงดึง แรงกด ที่มากระทําตอฟน ชวยปองกันเสนเลือด เสนน้ําเหลือง และเสนประสาทท่ีอยูในบริเวณนี้

ความผิดปกติของฟนความผิดปกติของฟน หมายถึง การท่ีฟนมีจํานวน รูปราง ลักษณะและสีผิดไปจากสภาพ

ฟนปกติ ซึ่งในที่นี้ จะกลาวถึงเฉพาะความผิดปกติของฟนที่พบบอย และเห็นไดชัดเจนในชองปาก (สํานักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. 2553 : 30 - 31) ดังนี้

1. อีนาเมลไฮโปเพลเซีย (Enamel Hypoplasia) เปนความผิดปกติของชั้นเคลือบฟน ท่ีเกิดไดท้ังฟนแท และฟนน้ํานม ลักษณะท่ีพบมีเคลือบฟนบางกวาฟนปกติ อาจมีบางสวนสึกกรอนหายไป ทําใหฟนมีสี และรูปรางผิดไป อาจเปนมากหรือนอย เปนกับฟนบางซี่หรือทุกซี่ก็ได สาเหตุความผิดปกติเกิดจากสาเหตุทางพันธุกรรม การขาดความสมดุลของสารอาหาร ระหวางการสรางฟน เชน แคลเซียม วิตามินดี และวิตามินเอ การไดรับสารฟลูออไรดมากเกินไป ในระหวางการสรางฟน ก็จะทําให เกิดฟนตกกระ ถาเปนนอยจะเห็นเปนรอยขาวขุนบนตัวฟน แตถาเปนมากอาจเกิด สีน้ําตาลและมีเคลือบฟนบางสวนหลุดหายไปก็ได การเ จ็บปวยโดยเปนไขสูง ๆ นาน 1 - 2 วัน ในเด็กอายุต่ํากวา 12 ป ก็อาจทําใหเซลลสรางฟนหยุดชะงัก ทําใหเคลือบฟนเกิดผิดปกติไดเชนกัน

2. ฟนเตตราไซคลิน (Tetracycline Teeth) เปนความผิดปกติของฟน ท่ีเกิดจากการไดรับยาเตตราไซคลิน ในระหวางการสรางฟน ทําใหยานี้เขาไปจับตัวอยูในผลึกของ เนื้อฟน เ ม่ือฟนงอกข้ึนมา จะพบวา ฟนเปนสีเทาอมน้ําตาล ความเขมของสีจะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับระยะท่ียานี้ ไปจับตัวอยูในเนื้อฟน ถาจับตัวใกลกับรอยตอระหวางเนื้อฟน และเคลือบฟน และมีเคลือบฟนบาง จะเห็นสีเขม แตถาอยูหางรอยตอของเนื้อฟน และเคลือบฟน และมีเคลือบฟนหนา สีก็จะออนลง

3. ความผิดปกติท่ีเกิดจากการติดเชื้อซิฟลิส มาแตกําเนิด พบมากในเด็กท่ีบิดามารดาเปนโรคซิฟลิส ทําใหการติดเชื้อมีผลตอบุตรตั้งแตกําเนิด เพราะเชือ้ซิฟลิสจะทําใหเซลสรางฟนอักเสบ ในระยะที่ฟนกําลังกอตัวเปนรูปราง จึงทําใหฟนท่ีกําลังกอตัวนี้ มีรูปรางผิดปกติไป เหตุการณนี้ไมไดพบในเด็กทุกคน ท่ีติดเชื้อซิฟลิส แตจะพบประมาณรอยละ 10 - 20 ของเด็กท่ีเปนซิฟลิส มาแตกําเนิด ลักษณะท่ีพบจะเกิดกับฟนแทเทานั้น สวนใหญเกิดกันฟนตัดหรือฟนหนา โดยสวนกลางของฟน จะกวางกวาสวนอื่น ๆ ปลายฟนจะสอบเขา บางครั้งจะพบวา ดานบดเคี้ยวแคบกวาปกติ และมีรอยยับยน อาจมีอีนาเมลไฮโปเพลเซียรวมดวย

4. ความผิดปกติของฟน ท่ีมีสาเหตุเนื่องจากพันธุกรรม เปนความผิดปกติท่ีเกิดขึ้น โดยไมพบสาเหตุแนชัด แตเม่ือสืบประวัติครอบครัว จะพบวา มีบุคคลในครอบครัวท่ีสืบสายโลหิต

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 34: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

21

ตอกันมา มีความผิดปกติ เหมือน ๆ กัน จึงถือวาเปนความผิดปกติท่ีเกิดขึ้น เนื่องจากพันธุกรรม ลักษณะท่ีพบมีหลายแบบ ไดแก ฟนน้ํ านม หรือฟนแทก็ได มีสีเหลืองเขมปนเทา สึกกรอนงาย รูปรางฟนสั้นเปนกระเปาะ อาจมีการผุรวมดวย ความผิดปกติอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่ง มักเปนกับชายมากกวาหญิง และมีรูปรางหนาตาผิดปกติดวย เชน ผมนอย ไมมีตอมเหงื่อ และตอมไขมัน อุณหภูมิรางกายสูงกวาปกติ ฟนอาจหายไปบางซี่ หรือไมมีเลย ถามีฟนก็จะมีรูปรางผิดปกติ เกิดขึ้นไดท้ังฟนแท และฟนน้ํานม นอกจากความผิดปกติสองแบบ ดังกลาว ก็อาจพบความผิดปกติอื่น ๆ เชน มีฟน เกินกวาคนปกติ ฟนแฝด ฟนรูปลิ่ม และอาจมีฟนขึ้นตั้งแตแรกคลอดก็ได

5. ความผิดปกติเนื่ องจากสาเหตุอื่น หมายถึง ฟ นท่ีเดิมมีรูปรา งปกติ แตตอมา มีรูปรางผิดไปจากเดิม ซึ่งสาเหตุอาจเกิดจากการใชฟนผิดหนาท่ี เชน คาบตะปู กัดคลิปหนีบผม คาบเข็มหมุด เปนตน จะทําใหฟนสึกเปนรอยตามสิ่ง ท่ีกัด หรือคาบอยูเปนประจํา เปนระยะเวลานาน ๆ การเคี้ยวของแข็ง เชน เมล็ดมะขามค่ัว กางปลา กระดูกออน จะทําให เกิดการสึกของดาน บดเคี้ยว บางรายอาจสึกแบนราบ แตบางรายอาจสึกเปนหลุมตื้น ๆ ขึ้นอยูกับลักษณะการสบฟน และอาหารแข็งที่ชอบเคี้ยว การใชแปรงสีฟนขนแข็ง และยาสีฟนท่ีมีผงขัดชนิดหยาบ ก็สามารถ ทําใหฟนสึกไดเชนกัน การสึกในกรณีนี้ มักพบแถวบริเวณคอฟน

6. ฟนกรอน เปนการสูญเสียเนื้อฟน เนื่องจากการสัมผัสกับสารเคมี ท่ีมีฤทธิ์ เปนกรดออน ๆ อยูเปนประจํา เชน การดื่มน้ําอัดลม นักกีฬาวายน้ําที่ตองสัมผัสน้ํา ในสระวายน้ําอยูเปนประจํา คร้ังละนาน ๆ คนงานในโรงงานที่ใชกรดเปนวัตถุดิบ เชน โรงงานแบตเตอรี่ เปนตน ฟนท่ีกรอนนี้ สวนใหญจะเกิดกับผิวฟน เฉพาะบริเวณท่ีสัมผัสกรดออน ซ่ึงอาจเปนทั้งปาก หรือเปนเฉพาะผิวฟนดานหนาก็ได ขึ้นอยูกับลักษณะท่ีถูกกรดออนนั้น การกรอนของฟนจะทําใหผิวฟนขรุขระ และ เสี่ยงตอการเกิดฟนผุไดงายขึ้น ถาดูแลทําความสะอาดไมดีพอ

ทันตกรรมจัดฟนการจัดฟนเปนการแกปญหาการสบฟนผิดปกติ โดยการเคลื่อนตําแหนงของฟนโดยอาศัย

แรงจากเสนลวดบังคับฟน ซ่ึงการสบฟนผิดปกติ เกิดจาก ความผิดปกติท่ีเกี่ยวของกับขนาด รูปราง จํานวน และตําแหนงของ ฟนแตละซี่ ตลอดจนความสัมพันธระหวางขากรรไกรบนลาง ท่ีผิดปกติเปน 3 ประเภทไดแก ฟนและกระดูกเบาฟนผิดปกติ โครงสรางใบหนาผิดปกติ ระบบบดเคี้ยวผิดปกติ (สมาคมทันตแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย. 2553 : 1 - 2)

การสบฟนผิดปกติสามารถแบงไดตามลักษณะ ดังนี้1. ฟนหาง เกิดจาก 2 สาเหตุ ไดแก การเจริญเติบโตตามธรรมชาติ พันธุกรรม2. ฟนซอนเก เกิดจากขนาดของฟนไมไดสัดสวนกับขากรรไกร3. การสบฟนผิดปกติในแนวด่ิง ไดแก ฟนสบลึก หรือฟนไมสบกัน มักพบรวมกับ

ความผิดปกติอื่น ๆ เชน ฟนซอนเก ฟนหาง ฟนยื่น เกิดจาก การทํางานของกลามเนื้อผิดปกติ ขนาด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 35: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

22

ของขากรรไกรบนลางไมสัมพันธกัน ตําแหนงของลิ้นผิดปกติ ฟนบางซี่ขาดหายไปทําใหขากรรไกรเจริญเติบโตไดนอยกวาปกติ การเจริญเติบโตของใบหนาและกะโหลกศีรษะในแนวด่ิงนอยกวาปกติ

4. ครอสไบส คือ การสบฟนผิดปกติท่ีเกิดขึ้นเนื่องจากฟนซี่ใดซี่หนึ่ งหรือหลายซี่ มีตําแหนงคอนไปทางริมฝปาก หรือดานใกลลิ้นของฟนคูสบท่ีอยูตรงขาม ซึ่งสาเหตุท่ีทําให เกิด ครอสไบท ไดแก การสูญเสียฟนน้ํานมไปกอนกําหนด ฟนน้ํานมหลุดชากวากําหนด ฟนหนาถาวรบางซี่ขาดหายไปแตกําเนิด มีพยาธิสภาพบริเวณขากรรไกรสวนหนา ความผิดปกติแตกําเนิด โรคบางชนิด พั นธุกรรม การ ดูดนิ้วติดตอกัน เปนเวลานาน ลิ้นมีขนาดใหญ และต่ํากวาปกติ ยอดของฟนเขี้ยวหรือฟนกรามน้ํานมบางซี่สูงกวาระดับปกติ

อาการตาง ๆ ท่ีเปนสัญญาณเตือนวาควรเขารับการรับคําปรึกษาดานการจัดฟนมี ดังนี้ การหลุดของฟนน้ํานมท่ีเร็วหรือชาผิดปกติ ความลําบากในการกัดหรือบดเคี้ยว การหายใจทางปาก กรณีมีฟนซอน เก หรืออยูบนผิดตําแหนง กรณีท่ีมีเสียงของขากรรไกรหรือมีการเลื่อนของขากรรไกร การกัดเพดานปากหรือกระพุงแกมบอย ๆ การสบฟนท่ีผิดปกติหรือไมสามารถสบฟน กรณีมีขากรรไกรและฟนที่ผิดปกติ ไมเหมาะกับรูปหนา

ความผิดปกติและโรคของฟนและเหงือก ไดแก โรคฟนผุ การสึกกรอนของฟน การสบฟนท่ีผิดปกติ หรือฟนขึ้นไมเปนระเบียบ โรคปริทันต โรคฟนผุ เกิดขึ้นเนื่องจากเคลือบฟนและเนื้อฟนถูกทําลายโดยกรด ซึ่งเปนผลจากปฏิกิริยาระหวางเชื้อจุลินทรียซ่ึงมีอยูประจําในชองปาก กับอาหารจําพวกแปงและน้ําตาล การผุของฟนจะเริ่มท่ีเคลือบฟนกอน แลวคอย ๆ ลุกลามไปยัง เนื้อฟนและ ถึงโพรงประสาทฟน เม่ือถึงระยะนี้แลว เนื้อเยื่อในโพรงประสาทฟนอาจติดเชื้อได อาการของโรคอาจลุกลามไปถึงปลายรากฟนและทําใหเกิดฝท่ีปลายรากฟน กอให เกิดอาการเ จ็บปวดและบวมได บางรายฝท่ีเกิดขึ้นจะทําใหกระดูกเบารากฟนบริเวณนั้นละลายตัวเปนทางผานของหนองฝ เปดออกขางกระดูกสันเหงือกดานกระพุงแกม หรือหนองฝอาจแตกผานทะลุออกทางกระพุงแกม มีอยูจํานวนไมนอยเชนกัน เม่ือเนื้อเยื่อโพรงประสาทฟนติดเชื้อแลวอาการไมรุนแรงโดยเกิดเปนถุงน้ํ า (Cyst) ท่ีบริเวณปลายรากฟนไดการตรวจพบฟนผุ ในระยะเริ่มแรกและขจัดเอาสวนท่ีผุออก แลวบูรณะหรืออุดดวยวัสดุอุดฟนท่ีเหมาะสมก็สามารถจะเก็บฟนซี่นั้น ๆ ไวใชงานตอไปได

ความจําเปนและประโยชนที่จะไดรับจากทันตกรรมจัดฟน1. ชวยใหทําความสะอาดฟนไดงายขึ้น

ในกรณีนี้เราจะเห็นไดชัดเจนในคนไขท่ีมีฟนเกมาก ๆ ซึ่งการทําความสะอาดใหท่ัวถึงทุกตําแหนง เปนสิ่งที่ทําไดยากมากหรือ แทบจะเปนไปไมไดเลยและสิ่งนี้ เองก็จะเปนสาเหตุของโรคฟนผุ โรคเหงือกอักเสบ และโรคปริทันตทายท่ีสุดก็จะตองสูญเสียฟนซี่นั้น ๆ ไปในกรณีนี้ถาคนไขท่ีมีฟนเกไดรับการตรวจ วินิจฉัยและแกไขไดถูกตองโดยการดัดฟน ใหอยูในตําแหนง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 36: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

23

ท่ีถูกตอง ก็จะชวยใหคนไขทําความสะอาดฟนไดง ายและท่ัวถึงขึ้น การสูญเสียฟนกอนกําหนดเนื่องจากฟนเก ก็สามารถหลีกเลี่ยงได ซึ่งในปจจุบัน ทางทันตกรรมจัดฟนก็ถือวาเปนทันตกรรม ปองกันไดอยางหนึ่ง

2. ชวยใหมีบุคลิกภาพที่ดีขึ้นในสภาวการณปจจุบัน ทุก ๆ คนคงจะปฏิเสธไมไดวามีการแขงขันในสังคมสูงมาก

นับต้ังแตเริ่มเขาโรงเรียนอนุบาล จนถึงขั้นจบการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย และก็หลีกเลี่ยงไมพนกับการหางาน ทําตามท่ีเราไดศึกษามา ซึ่งการท่ีไดรับการคัดเลือกเขา ทํางานหรือไมนั้นจะตองประกอบดวยองคประกอบหลายอยางดวยกัน เชน ระดับการศึกษา สาขาวิชา และความสามารถ เปนตน แตมีองคประกอบสิ่งหนึ่งที่ไมอาจปฏิเสธความสําคัญไดคือ บุคลิกภาพ ของตัวผูสมัครเอง กลาวคือในระดับการศึกษาและความสามารถท่ีเทา ๆ กัน บุคคลท่ีมีบุคลิกภาพท่ีดีกวายอมมีโอกาสไดรับการคัดเลือกมากกวา การมีรอยยิ้มท่ีสวยงามก็จะทําใหเจาของรอยย้ิมความม่ันใ จในตัวเอง กลาแสดงออก มีเสนหทําใหอยู ในสภาวะสังคมปจจุบันที่มีการแขงขันสูงไดอยางมีคุณภาพ ดวยเหตุผลดังกลาวนี้ ทันตกรรมจัดฟน จึง เข ามามีบทบา ทคอย เปนส วนหนึ่ ง ท่ีช วยเส ริมบุคลิกภา พและ คุณภา พ ของชีวิตนั้น ๆ ใหดีขึ้น ซึ่งถือวาเปนการ ลงทุนเพื่ออนาคตท่ีดีกวา (Investment for the Future)

3. ชวยใหมีระบบการเคี้ยวท่ีดีขึ้นสาเหตุของระบบการบดเคี้ยวท่ีมีปญหา สวนหนึ่งมีสาเหตุมาจากฟนมีการซอนเก

หรือข้ึนผิดตําแหนงซึ่งการรักษาทางทันตกรรม จัดฟนสามารถชวยให มีระบบการบดเคี้ยวท่ีดีขึ้น (เคี้ยวอาหารไดละเอียดข้ึน) และมีสวนชวยเสริมใหมีบุคลิกภาพที่ดีและแข็งแรง

4. ชวยใหมีการออกเสียงพูดไดถูกตองและชัดเจนจะพบมากท่ีคนไขมีฟนหาง นอกจากจะทําใหขาดความม่ันใจ ในตัวเองนอกจาก

รอยยิ้มท่ีไมสวยงามแลว ยังมีผลตอการออกเสียงอีกดวยโดยเฉพาะเสียง ส นอกจากนี้ยังสามารถเห็นไดชัดเจน ในคนไขท่ีมีลักษณะการคบฟนหนาแบบสบเปด (หมายถึงฟนหนาบนและลางสบกันไมสนิทกัดเสนกวยเตี๋ยวไมขาด) กลาวคือคนไขจะออกเสียง ส ไมกัดลิ้นของคนไขจะยื่นมาอยูระหวางฟนหนาลาง

5. โรคปวดบริเวณขอตอขากรรไกรลักษณะการสบฟนบางอยางเชน ฟนหนาลางครอมฟนหนาบน หรือการสบหนา

ฟนแบบเปด ในคนไขบางคนการสบฟนดังกลาว ขางตนเปนสาเหตุของอาการปวดขอตอขากรรไกร ดังนั้นลักษณะการสบฟนท่ีปกตินั้น ถาไดรับการแกไขอยางถูกวิธีก็จะสามารถ ปองกันอาการผิดปกติ ของขอตอขากรรไกรได

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 37: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

24

6. ชวยลดอัตราการเกิดฟนผุ และเหงือกอักเสบจากท่ีกลาวมาขางตนแลววา ฟนท่ีเรียงตัวกันเปนระเบียบ จะชวยใหการทําความ

สะอาดฟนอยางทั่วถึงเปนไปไดงายข้ึน ซึ่งจะชวยใหอัตราการเกิดฟนผุและเหงือกอักเสบลดลง 7. ชวยลดการมีกล่ินปาก

สาเหตุของกลิ่นปาก โดยสวนใหญเกิดจากเศษอาหารและคราบจุลินทรียท่ีหลงเหลือเนื่องจาก การแปรงฟนไมสะอาด เพียงพอโดยเฉพาะอยางยิ่งในฟนที่เรียงตัวไมเปนระเบียบ ทําใหเกิดความกังวล วาจะมีกล่ินปาก เปนที่รังเกียจ ของคนขางเคียง การไมมีกลิ่นปากก็ เปนการชวยใหมี ความม่ันใจในตัวเอง ซึ่งเปนการเสริมบุคลิกภาพ ไดอีกทางหนึ่งนอกจาก การมีรอยยิ้มท่ีสวยงาม

8. ชวยหลีกเลี่ยงการใสฟนปลอม การตรวจและวินิจฉัยความผิดปกติ โดยทันตแพทยเฉพาะทางสาขาทันตกรรมจัดฟน

ในบางกรณี จะสามารถชวยใหไมตองใสฟนปลอม หรือใสฟนจํานวนซี่นอยลงได เชนในกรณี ท่ีฟนกรามแทซ่ีแรก ตองถูกถอนออก (โดยสวนใหญมักจะฟนผุจนไมสามารถเก็บรักษาไวได) ซึ่งในกรณีนี้เราสามารถจัดฟนโดยการเคลื่อนฟนกรามแท ซี่ ท่ีสองมาแทนท่ีฟนซี่แรก ท่ีถูกถอนออกไปได โดยไมตองใสฟนปลอม หรือทํารากฟนเทียมซึ่ง มีราคาแพงกวาเปนหลายเทา เปนตน

9. ชวยการขึ้นของฟนที่ไมสามารถขึ้นไดเองตามธรรมชาติโดยการจัดฟน ในกรณีนี้ มักจะเกิดกับฟนเคี้ยว ที่มีทิศทางท่ีการขึ้นของฟนท่ีไมถูกตองท่ีทําให

ฟนเคี้ยวฝงคุด อยูในกระดูกหรือฟนแท ท่ีขึ้นตามธรรมชาติไมเกิดเนื่องเนื่องจากฟนน้ํ านม ถูกถอนออกกอนกําหนด ทําใหไมมีเนื้อที่เพียงพอ สําหรับฟนแทท่ีฝงอยูในกระดูก ใตฟนน้ํ านมซี่นั้น ๆ ไมตองถูกถอนทิ้งโดยการผาออก

ผลแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้นไดจากการจัดฟนการรักษาตาง ๆ ไมวาในทางการแพทยหรือทางทันตกรรม ยอมมีปจจัยเสี่ยงและขอจํากัด

ดวยกันทั้งสิ้น ดังนั้นกอนตัดสินใจรับการรักษา ผูปวยจึงควรรับทราบและพิจารณาผลเสียตาง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้น (สมาคมทันตแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย. 2553 : 5 - 8) ดังนี้

1. การเกิดฟนผุ โรคเหงือกและการเกิดจุดดางขาว (Decalcification) บนผิวเคลือบฟน ผลเหลานี้จะเกิดในกรณีท่ีผูปวยรับประทานอาหารท่ีมีน้ํ าตาลมากเกินไป และ/หรือไมทําความสะอาดฟนอยางถูกวิธีและอยางสมํ่าเสมอ ซึ่งปญหานี้ก็เกิดข้ึนไดตามปกติแมจะไมไดรับการจัดฟน แตการจัดฟนก็จะเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดโรคดังกลาวไดมากขึ้น

2. ในผูปวยบางราย อาจทําใหความยาวของรากฟนลดลงในขณะท่ีจัดฟน ซึ่งโอกาสท่ีจะเกิดนั้นมีไมเทากันในแตละราย สวนใหญมักเกิดอยางไมมีนัยสําคัญ และจะไมมีผลกระทบตอประสิทธิภาพการบดเคี้ยวอาหาร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 38: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

25

3. การเคล่ือนฟน อาจมีผลตอสุขภาพของกระดูกและเหงือกท่ีรองรับฟนอยู โดยเฉพาะอยางยิ่งในกรณีท่ีมีรอยโรคเดิมอยูแลว ในผูปวยท่ีมีการเรียงตัวของฟนที่ผิดปกติ การจัดฟนจะชวยลดการสูญเสียฟน หรือการเกิดเหงือกอักเสบได สวนการเกิดเหงือกอักเสบหรือการเกิดการละลายตัวของกระดูกเบาฟน จะเกิดไดในกรณีท่ีผูปวยไมสามารถทําความสะอาดฟนเพื่อกําจัดคราบจุลินทรียออกจากฟนไดหมด

4. ภายหลังการจัดฟนเสร็จแลว ฟนอาจมีการเคลื่อนไปจากตําแหนง ท่ีจัดไวไ ด ซึ่งมักจะเกิดขึ้นไดเล็กนอย และเราสามารถลดการเกิดกรณีดังกลาวได โดยการใสเครื่องมือคงสภาพฟนอยางสมํ่าเสมอและเปนเวลานานเพียงพอ โดยปกติ ฟนสามารถเปลี่ยนแปลงตําแหนงไปในลักษณะที่ไมตองการไดจากหลายสาเหตุ เชน การข้ึนของฟนคุด การเจริญเติบโต และ/หรือการเปลี่ยนแปลงไปสูการเปนผูใหญ การหายใจทางปาก การเลนเคร่ืองดนตรีบางชนิด และนิสัยผิดปกติบางอยางในชองปาก ซึ่งปจจัยท้ังหมดท่ีกลาวมานี้ เปนปจจัยท่ีทันตแพทยไมสามารถควบคุมได

5. ในบางกรณี อาจมีปญหาเกิดขึ้นท่ีขอตอขากรรไกร อันมีผลให เกิดการปวดท่ีขอตอ ดังกลาว ปวดศีรษะ หรือภายในหู ซึ่งปญหานี้อาจจะเกิดขึ้นไดแมจะไมไดรับการจัดฟน ดังนั้น ถาเกิดปญหาเหลานี้ขึ้น ผูปวยควรจะรีบแจงใหกับทันตแพทยทราบ

6. ในบางกรณี สําหรับฟนซี่ท่ีเคยไดรับอุบัติเหตุมากอนหรือเคยผุลึกมาก ๆ การเคล่ือนฟนอาจมีผลตอเสนประสาทท่ีมาหลอเลี้ยงฟน ทําใหมีอาการมากขึ้นจนตองทําการรักษาครอบรากฟน

7. ในบางกรณี เคร่ืองมือจัดฟนอาจหลุด และคนไขอาจกลืนลงไปดวยความบัง เอิญ ซึ่งจะออกจากรางกายโดยการขับถาย นอกจากนี้เคร่ืองมือจัดฟนอาจทําให เกิดการระคายเคืองหรือเกิดแผลบริเวณเหงือก แกม และริมฝปากได ปกติแลว ภายหลังจากการพบทันตแพทยเพื่อทําการปรับเคร่ืองมือในแตละคร้ัง มักจะทําให เกิดอาการตึงหรือปวดฟนบาง โดยท่ีชวงเวลาและระดับความรูสึกดังกลาวจะไมเทากันในแตละราย โดยท่ัวไป ความรูสึกปวดหรือตึงฟนมักจะคอย ๆ ลดลงไปภายใน 24 - 48 ชั่วโมงหลังจากการปรับเครื่องมือ แตถามีอาการผิดปกติ หรือมีเครื่องมือหั ก หลุดเกิดขึ้น ผูปวยควรจะ แจงใหทันตแพทยทราบโดยเร็วเพื่อแกไข หรือปองกันมิให เครื่องมือ ท่ีหลวมหลุดเขาคอ

8. ในบางกรณี (ซึ่งเกิดขึ้นนอยราย) การใชเคร่ืองมือทางทันตกรรมจัดฟน อาจทําใหเกิดแผลในชองปาก หรือเกิดการกระทบกระแทกตอฟนไดบาง สวนการสึกของฟนท่ีผิดปกติ อาจเกิดขึ้นเองไดถาผูปวยมีการบดเคี้ยวท่ีรุนแรงกวาปกติ

9. การใชเคร่ืองมือจัดฟนชนิดนอกชองปาก เชน Headgear เปนตน อาจกอให เกิดอุบัติเหตุตอใบหนา หรือตาจนถึงขั้นตาบอดไดถาใชโดยขาดความระมัดระวัง เชนการท่ีผูปวยใส

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 39: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

26

เคร่ืองมือนอกชองปากนั้นใน ขณะเลนกีฬาท่ีเปนการแขงขัน จึงหามไมใหใสในขณะเลนกีฬาดังกลาว เพราะอาจทําใหเกิดอันตรายได แมเคร่ืองมือจะมีระบบความปลอดภัยไวแลวก็ตาม

10.โดยมาก การจัดฟนเพื่อแกไขการมีฟนซอนเก มักจะตองมีการถอนฟนบางซี่ หรือในการแกไขการไมสมดุลของโครงสรางขากรรไกรบนและลาง อาจตองอาศัยการผาตัดรวมดวย ผูปวยจึงควรสอบถามถึงปจจัยตาง ๆ ท่ีอาจเกิดขึ้นจากการไดรับการบําบัดรักษาดังกลาวจากทันตแพทยผูใหการรักษากอนการตัดสินใจ

11.รูปรางของฟนท่ีผิดปกติ หรือการเจริญเติบโตท่ีผิดปกติของขากรรไกร อาจจะทําใหผลการรักษาท่ีไดรับถูกจํากัดมากข้ึน เชน ในกรณีท่ีการเจริญเติบโตของขากรรไกรมีความไมสมดุลกันในระหวางหรือหลังการรักษา หรือมีการขึ้นของฟนที่ชาผิดปกติ อาจทําใหการสบฟนเปลี่ยนไป ทําใหอาจตองไดรับการรักษาเพิ่มเติม หรือบางครั้งอาจตองจัดฟนรวมกับการผาตัด การท่ีผูปวย มีการเจริญเติบโตท่ีผิดปกติไมสมดุลกันหรือมีการสรางของฟนท่ีผิดปกติเหลานี้ เปนกระบวนการทางธรรมชาติท่ีทันตแพทยไมสามารถควบคุมได และการเปล่ียนแปลงการเจริญเติบโตภายหลังจากการจัดฟน อาจสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของผลการรักษา

12.ระยะเวลาทั้งหมดท่ีตองใชในการจัดฟนนั้น อาจไมสามารถกําหนดไดแนนอน การมีการเจริญเติบโตของกระดูกท่ีนอยหรือมากกวาปกติ การใหความรวมมือท่ีไมดีพอในการใสเคร่ืองมือในแตละวัน การไมรักษาความสะอาดภายในชองปาก การทําเคร่ืองมือหลุด และการผิดนัดกับทันตแพทย ลวนมีผลใหระยะเวลาในการรักษาเพิ่มขึ้น และจะมีผลตอผลการรักษาท่ีจะไดรับ

13. เนื่องจากขนาดและรูปรางของฟน มีความแตกตางกันอยางมาก บางครั้ง เพื่อใหไดผลในการจัดฟนที่ดี(เชน การปดชองวางระหวางฟน) ทันตแพทยจําเปนตองใชการบูรณะฟนเขาชวย ซึ่งสวนใหญมักไดแกการอุดฟน การทําครอบฟนหรือสะพานฟน และ/หรือการรับการรักษาทางศัลยปริทันต ผูปวยสามารถสอบถามรายละเอียดไดจากทันตแพทยผูใหการรักษาดังกลาว

14.การมีโรคประจําตัวบางอยางอาจมีผลตอการจัดฟน ผูปวยควรแจงแกทันตแพทยทราบในกรณีท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของสุขภาพเกิดขึ้น

ประเภทของทันตกรรมจัดฟน การจัดฟนมิใชเพียงทําหนาที่ในการบดเคี้ยวอาหารหรือชวยใหพูดชัดเจนเทานั้น ฟน

ท่ีเรียงเรียบสวยงามยังชวยเพิ่มบุคลิกภาพใหกับคุณ ทําใหใบหนาของคุณนามอง โดยเฉพาะในเวลายิ้ม เปนการสรางความประทับใจใหผูพบเห็น โดยท่ัวไปทันตกรรมจัดฟน มีดวยกัน 5 ประเภท (สมาคมทันตกรรมจัดฟนแหงประเทศไทย. 2553 : 10) ดังนี้

1. ทันตกรรมจัดฟนชนิดโลหะ (Metal Braces)การจัดฟนชนิดโลหะ เปนการจัดฟนโดยการติดเคร่ืองมือจัดฟนแบบโลหะไวท่ีผิวฟน

ดานหนา แลวใสลวดผานเคร่ืองมือเหลานี้ เพื่อทําการเคล่ือนฟนและเรียงฟนใหสวยงาม วิธีนี้ เปน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 40: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

27

ท่ีนิยมใชกันอยางแพรหลาย โดยเฉพาะกับกลุมวัยรุน วัยเริ่มทํางาน ตลอดจน คนไขท่ัวไป เนื่องจากมีสีมากมายท่ีมีใหเลือกตามความพอใจของผูติดเครื่องมือจัดฟน มีขอดีคือเปนวิธี จัดฟนท่ีใชกันมาอยางแพรหลาย เคร่ืองมือทําดวยวัสดุท่ีเปนโลหะ ผิวเรียบเปนมันวาว ทําใหคราบอาหารและจุลินทรียติดไดยากกวาวัสดุชนิดอื่น และการติดดานนอกของฟนทําใหการทําความสะอาดไดงาย สะดวกข้ึน

2. ทันตกรรมจัดฟนดวยเครื่องมือชนิดใส (Clear Braces)การจัดฟนดวยเครื่องมือชนิดใส (Clear Braces) เปนการจัดฟนโดยการติดเครื่องมือ

แบบใสไวท่ีผิวฟนดานหนา และมักใชยางสีใสรัดเขากับเครื่องมือ เพื่อทําการเคลื่อนและเรียงฟน ใหสวยงาม เคร่ืองมือนี้จะมีความใสมาก ไมเปนที่สังเกต ทําใหคุณยิ้มไดอยาง ม่ันใจระหวางจัดฟน การจัดฟนชนิดนี้เหมาะกับผูท่ีตองการจัดฟนแตไมอยากใหคนสังเกตเห็นชัดเจน นอกจากนี้การติดเคร่ืองมือดานนอกยังทําใหรักษาความสะอาดและดูแลทําไดง ายอีกดวย มีขอดีคือถูกออกแบบมาเปนพิ เศษเพื่อใหมีความสวยงามเห มือนฟนธรรมชาติมากท่ีสุด เหมาะกับผู ท่ีตองการจัดฟ น แตไมอยากใหคนสังเกตชัดเจน การติดเคร่ืองมือเปนการติดท่ีผิวฟนนอก ทําใหรักษาความสะอาดและดูแลเครื่องมือไดดี กวาการติดเคร่ืองมือแบบดานในอีกดวย

3. ทันตกรรมแบบดานในหรือดานลิ้น (Lingual Orthodontics)การจัดฟนแบบดานในหรือดานลิ้น (Lingual Orthodontics) เปนเครื่องมือจัดฟน

ท่ีติดอยูท่ีผิวฟนดานในหรือดานลิ้น ทําใหไมสามารถสังเกตเห็นไดจากดานหนาของฟนการจัดฟนดานในเปนวิธีการจัดฟนแบบพิเศษ ท่ีติดเคร่ืองมือบริเวณดานหลังของฟน มองไมเห็นเครื่องมือจากดานหนา ซึ่งแตกตางจากการจัดฟนดานนอกท่ัวไป ทําใหยิ้มไดอยางมั่นใจ และ ไมมีใครรูวาจัดฟนอยู มีความซับซอนกวาการจัดฟนแบบติดเคร่ืองมือดานหนา เนื่องจาก ลักษณะดานหลังของฟนแตละซี่มีรูปรางและขนาดท่ีแตกตางกัน ดังนั้นจึงจําเปนตองใชวัสดุจัดฟนท่ีมีลักษณะเฉพาะ เพื่อความเหมาะสมกับสภาพของฟนแตละซี่นั้น ๆ โดยวิธีการจัดฟน แบบนี้สามารถทําไดโดยทันตแพทย ผูมีความรูและความเชี่ยวชาญเฉพาะท่ีไดรับการฝกฝนมาเปนพิเศษเทานั้น มีขอดีคือ เครื่องมือจัดฟนแบบนี้ เปนการจัดฟนที่มองไมเห็นเคร่ืองมือใด ๆ เลย เนื่องจากเครื่องมือถูกติดเฉพาะท่ีดานหลังของฟนเทานั้น จึงไมทําลายผิวฟนดานหนาและทําใหคุณยิ้มไดอยาง ม่ันใจ ไมมีใครรูวาจัดฟน อยูระยะเวลาในการจัดฟน

4. ทันตกรรมจัดฟนชนิดโลหะชนิดพิเศษ Damon 3การจัดฟนชนิดโลหะชนิดพิเศษ Damon 3 เปนกรณีท่ีทานตองการเรงการจัดฟน

ใหรวดเร็วขึ้นกวาการจัดฟนทั่วไป เรามีเคร่ืองมือพิเศษ Damon 3 ซึ่ง เปนเครื่องมือรุนลาสุดสําหรับการเรงการจัดฟนโดยเฉพาะ เนื่องจากเครื่องมือถูกออกแบบพิ เศษ โดยไมมีแรงเสียดทานระหวางเคร่ืองมือจัดฟนกับลวดจัดฟน ทําใหทันตแพทยสามารถควบคุมแรงในการจัดฟนไดอยางเต็มที่

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 41: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

28

นอกจากนี้ขอดีอ่ืน ๆ ของการจัดฟนแบบนี้ไดแก การลดแรงตานทานหรือการเสียดสีไดดีดังกลาว ยังชวยลดอาการเจ็บในระหวางการจัดฟนไดดีสามารถลดจํานวนครั้ง ท่ีมาพบทันตแพทยระหวางการรักษาลง ไมจําเปนตองมาเปลี่ยนยางทุกเดือน เหมาะสําหรับคนไขจัดฟนที่ไมคอยมีเวลาทุกเดือนหรือตองเดินทางบอย ๆ มีขอดีคือเปนเคร่ืองมือจัดฟนชนิดใหมท่ีออกแบบมาเปนพิ เศษ เพื่อลดแรงฝดของเคร่ืองมือและลวดจัดฟนในระหวางทําการเคลื่อนฟน ทําใหการเคล่ือนของฟนมีประสิทธิภาพ 100% เนื่องจากไมเกิดแรงในการเคลื่อนฟนที่ไรประโยชน ทําใหการเคล่ือนฟนเปนไปอยางรวดเร็วกวาเคร่ืองมือปกติ ถึง 1.5 - 2 เทา

5. ทันตกรรม อินวิสไลน (Invisalign) จัดฟนสวยใส ไรเคร่ืองมือติดฟนอินวิสไลน ( Invisalign) จัดฟนสวยใส ไรเครื่องมือติดฟน เปนการจัดฟนดวย

เคร่ืองมือใสแบบถอดได (Invisalign) เปนการจัดฟนที่เหมาะกับผู ท่ีไมตองการใหมีเครื่องมือจัดฟนชนิดติดแนนอยูในชองปาก ท้ังยังเหมาะสําหรับคนท่ีไมพรอมท่ีจะใสเครื่องมือจัดฟนแบบปกติหรือตองการเครื่องมือท่ีพิเศษออกไป เชน เหตุผลดานบุคลิกภาพและสังคม ตองการให เห็นเครื่องมือนอยท่ีสุดหรือไมตองการใหเห็นเลย ดวยเทคโนโลยีการจัดฟนขั้นสูงนี้ เปนลิขสิทธเฉพาะจากประเ ทศสหรัฐอเมริกา ดวยเทคโนโลยี 3D Computer Graphic Design ชั้นสูงจากอเมริกา เพื่อออกแบบเคร่ืองมือจัดฟนเฉพาะบุคคล โดยเครื่องคอมพิวเตอรจะทําการกําหนดทิศทางและตําแหนงการเคล่ือนที่ของฟนตามแผนการรักษาที่ไดถูกวางแผนเอาไว โดยเครื่องจะบันทึกทุก ๆ ตําแหนง ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงของการเคลื่อนที่ของฟน จากนั้นจะทําการออกแบบเครื่องมือจัดฟนตามตําแหนงการเคลื่อนท่ี ของฟนที่ไดถูกวางแผนการรักษาเอาไว โดยเครื่องมือจัดฟนจะมีลักษณะเปนพลาสติกใส โดยมีจํานวนชิ้นของเคร่ืองมือเทากับระยะการเคล่ือนท่ีของฟนท่ีถูกออกแบบไว โดยผู ท่ีจัดฟนสามารถเปลี่ยนเคร่ืองมือดวยตัวเองทุก ๆ 2 - 3 อาทิตย เคร่ืองมือมีความใ ส จนยากท่ีใครจะสัง เกตเห็น ชวยลดความกังวลในรอยย้ิมจากการใสเหล็กจัดฟน นอกจากนี้ยังสามารถถอดเครื่องมือไดดวยตนเอง ทุกครั้งที่ตองการ เพิ่มความสะดวกสบายระหวางการรับประทานอาหารและการแปรงฟนมีขอดีคือ เปนเทคโนโลยีลาสุดสําหรับการจัดฟนจากอเมริกา โดยการใชคอมพิวเตอรในการออกแบบ ดังนั้น จึงลดความผิดพลาดในการเคล่ือนฟนไดมาก เครื่องมือทําจากวัสดุบางใส ไรสี ออกแบบมาเปนพิเศษ โดยเนนความโปรงแสง ไมใหสังเกตเห็นไดงาย และสามารถถอด ออกไดทุกครั้ง ท่ีตองการ ไมวาจะระหวางรับประทานอาหาร หรือทําความสะอาดชองปาก และยังใหความรูสึกท่ีสะดวกสบาย แกผูตองการจัดฟนมากกวาการติดเคร่ืองมือแบบท่ัว ๆ ไป และสามารถชวยใหสามารถหลีกเลี่ยงปญหาการเกิดฟนผุ อันเนื่องจากไมมีเคร่ืองมือหรือลวดท่ีทําใหไมสะดวกในการรักษาความสะอาดฟน และรับประทานอาหารไดโดยไมตองกังวลวาเครื่องมือจะหลุด หรือเศษอาหารจะติดฟนแลว ทําความสะอาดยาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 42: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

29

จากท่ีกลาวมาทั้งหมดนี้จะ เห็นไดวาการจัดฟนนอกจาก จะชวยใหมีรอยยิ้มที่สวยงาม สําหรับผูพบเห็นแลวยังชวยใหมีสุขภาพชองปากท่ีดีอีกดวย ซึ่งถาคุณมีความสงสัยก็สามารถ ขอคําอธิบายเพิ่มเติมไดกับทันตแพทยจัดฟนใกลบานทานในการทําวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยมุง เนนไปท่ีการรักษาฟนโดยการจัดฟน จึงจําเปนตองเขาใจโครงสรางและหนาท่ีของฟนรวมถึงวิธีการรักษาสุขภาพภายในชองปากและฟน

คลินิกทันตกรรมจัดฟนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานีคลินิกทันตกรรมจัดฟนเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี มีหลายแหงดวยกันเปน

สถานบริการท่ีมุงเนนความพึงพอใจของผูปวยเปนสําคัญ (Patient Satisfaction) โดยยึดหลักการบริการทันตกรร มแบบพร อมมูล (Comprehensive Dental Care) คือ กา รให กา รดูแ ลสุขภาพ ชอง ปา ก โดยเนนการปองกันและการสรางเสริมสุขภาพชองปากของผูปวยเปนหลัก รวมกับการมีสวนรวมของผูปวยและครอบครัว (Patient and Family Participation) ศูนยทันตกรรมใ นจังหวัดสุราษฎรธานี ประกอบดวย งานทันตกรรมทั่วไปเปนการใหบริการตรวจวินิจฉัยและวางแผนการรักษาโรค ในชองปากและบริเวณใบหนา รวมถึงการใหบริการทันตกรรมแบบพรอมมูล สําหรับผูปวยทุกกลุมอายุโดยแพทยท่ีมีความเชี่ยวชาญและไดรับวุฒิบัตรรับรองทางดานทันตกรรมแตละแหงนั้นเปน คลินิกท่ีมีแพทยประจําการอยูมีการใหบริการตรวจรักษาและแกปญหาความผิดปกติในชองปากทันตแพทยผูเชี่ยวชาญดานการจัดฟน จะมีความสามารถออกแบบ วางแผนในการปรับเปลี่ยนตําแหนงของฟนใหสามารถเลื่อนมายังตําแหนงท่ีถูกตองและเหมาะสมได ดังนั้นผูเขารับบริการจึงสามารถมีฟนท่ีเรียงอยางสวยงาม และประสิทธิภาพสูงสุดดานการบดเคี้ยวอีกดวย

ในอําเภอเมืองจังหวัดสุราษฎรธานี มีคลินิกทันตกรรม จํานวน 23 แหง และเปนคลินิก ทันตกรรมท่ีมีบริการจัดฟน จํานวน 5 แหง ดังแสดงในตารางที่ 2.3

ตารางที่ 2.3 คลินิกทันตกรรมจัดฟน ในอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

ช่ือคลินิกทันตกรรมจัดฟน สถานที่ตั้ง/โทรศัพท1. คลินิกทันตกรรมหมอกบ 452/11 ถนนดอนนก ตําบลตลาด 0-9469-59232. คลินิกทันตแพทยสุริยา 68/11 ถนนดอนนก ตําบลตลาด 077-2842733. คลินิกรักฟน 305/14 ถนนหนาเมือง ตําบลตลาด 077-2138334. คลินิกทันตกรรม เด็นทอลสมาย 527/38 - 39 ถนนชนเกษม ตําบลตลาด 077-2861635. ศูนยคลินิกทันตกรรมหมอไพรัช 99/30 กาญจนวิถ ี ตําบลบางกุง 077-287991

ท่ีมา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎรธานี . 2552

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 43: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

30

จากตารางที่ 2.3 คลินิกทันตกรรมจัดฟน ในอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี เปนสถานการบริกา รท่ีใ หบริการด านทันตกร รมจัดฟน และทันตกรรมอยาง ครบวงจร ให ประ ชาช น ซึ่งใหบริการดาน สําหรับการดูแลสุขภาพฟนและชองปาก เพื่อสุขภาพและอนามัยท่ีแข็งแรง และความสวยงามของฟน

แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค

ทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภค เปนทฤษฎี ท่ีอธิบายถึงขั้นตอน กระบวนการความคิดในการ ท่ีจะเลือกซ้ือหรือไมซื้อสินคาและบริการตาง ๆ ซึ่ง มีนักวิชาการหลายทานไดกลาวถึงความหมายเกี่ยวกับพฤติกรรมของผูบริโภค (Consumer Behavior) ไวหลายความหมาย ดังนี้

สมจิตร ล วนจําเริญ . (2547 : 6) กลาววา พ ฤติกรรมผู บริโภค ห มายถึง การกระทํา ของแตละบุคคลท่ีเกี่ยวของโดยตรงกับการไดรับและการใชสินคาและหรือบริการทางเศรษฐกิจ รวมถึงกระบวนการตัดสินใจท่ีเกิดข้ึนกอน และที่เปนตัวกําหนดใหเกิดการกระทําตาง ๆ ข้ึน

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2546 : 192) กลาววา พฤติกรรมผูบริโภค ( Consumer Behavior) คือ พฤติกรรมท่ีผูบริโภคทําการคนหา การคิด การซื้อ การใช การประเมินผลในสินคาและบริการ ซึ่งคาดวาจะตอบสนองความตองการของเขาหรือเปนขั้นตอนซึ่ง เกี่ยวกับความคิดประสบการณ การซื้อ การใชสินคาและบริการของผูบริโภคเพื่อตอบสนองความตองการและความพึงพอใจของเขา หรือหมายถึง การศึกษาการตัดสินใจและการกระทําของผูบริโภคท่ีเกี่ยวของ กับการซื้อและการใชสินคา

สุดาพร กุณฑลบุตร. (2550 : 72) กลาววา พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง พฤติกรรมการซื้อ (Consumer Buying Behavior) ของลูกคาที่เปนผูบริโภคข้ันสุดทาย ซึ่งไดแก ผูบริโภคท่ีไดซื้อสินคาไปเพื่อใชสวนตัว

วารุณี ตันติวงศวาณิช และคณะ. (2546 : 64) กลาววา พฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค(Consumer Buying Behavior) หมายถึง พฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคคนสุดทายไมวาจะเปนบุคคลหรือครัวเรือนที่ทําการซื้อสินคาและบริการสําหรับการบริโภคสวนตัว ผูบริโภคคนสุดทายเหลานี้รวมกันเปนตลาดผูบริโภค (Consumer Market)

จากแนวคิดและทฤษฎีดังกลาวขางตน สรุปไดวา พฤติกรรมผูบริโภค หมายถึง การศึกษาถึงพฤติกรรมการตัดสินใจและการกระทําของผูบริโภค ท่ีเกี่ยวของกับการซื้อและการใชสินคา นักการตลาดจึงจําเปนตองศึกษาและวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภคดวยเหตุหลายประการ คือพฤติกรรมของผูบริโภคมีผลตอกลยุทธการตลาดของธุรกิจและมีผลทําใหธุรกิจประสบความสําเร็จ ถากลยุทธ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 44: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

31

ทางกา รตลาดสามาร ถตอบสนองความพึง พอใจของผูบริโภคไ ด หรื อเพื่อใ หสอดคลองกับแนวความคิดทางการตลาด (Marketing Concept) คือ การทําใหลูกคาพึงพอใจ ดวยเหตุนี้ เ ราจึงจําเปนตองศึกษาพฤติกรรมผูบริโภคเพื่อจัดสิ่งกระตุนหรือกลยุทธการตลาดท่ีสามารถตอบสนองความพึงพอใจของผูบริโภคได

การวิเคราะหพฤติกรรมผูบริโภค (Analyzing Customer Behavior)เปนการคนหาหรือวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมการซื้อและการใชของผูบริโภค เพื่อใหทราบถึง

ลักษณะความตองการและพฤติกรรมการซื้อ การใช การเลือกบริการ แนวคิด หรือประสบการณ ท่ีจะทําใหผูบริโภคพึงพอใจ คําตอบท่ีไดจะชวยใหนักการตลาดสามารถกําหนดกลยุทธการตลาด (Marketing Strategies) ท่ีสามารถตอบสนองความพึงพอใจของผูบริโภคไดอยางเหมาะสม

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2546 : 193) ไดอธิบายถึงคําถามที่ใชเพื่อคนหาลักษณะพฤติกรรมผูบริโภค คือ 6Ws และ 1H ซึ่งประกอบดวย Who What Why When Where และ How เพื่อคนหาคําตอบ 7 ประการเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภคท้ังการใชกลยุทธการตลาดใหสอดคลองกับคําตอบเกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค หรือเรียกวา 7 W’s ซึ่งประกอบดวย ดังตารางที่ 2.1

ตารางที่ 2.4 คําถาม 7 คําถาม (6Ws และ 1H) เกี่ยวกับพฤติกรรมผูบริโภค 7 ประการ (7Os)

คําถาม (6W และ 1H) คําถามท่ีตองการทราบ (7Os)1. ใครอยูในตลาดเปาหมาย

(Who is in the Target Market)ลักษณะกลุมเปาหมาย (Occupants) ทางดาน1) ประชากรศาสตร 2) ภูมิศาสตร 3) จิตวิทยาหรือจิตวิเคราะห 4) พฤติกรรมศาสตร

2. ผูบริโภคซ้ืออะไร(What does the Consumer Buy)

1) สิ่งที่ผูบริโภคมีความตองการซื้อ (Objects)2) สิ่งที่ผูบริโภคตองการจากผลิตภัณฑก็คือตองการ

คุณสมบัติหรือองคประกอบของผลิตภัณฑ (Product Component) และความแตกตางท่ีเหนือกวาคูแขง (Competitive Differentiation)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 45: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

32

ตารางที่ 2.4 (ตอ)

คําถาม (6W และ 1H) คําถามท่ีตองการทราบ (7Os)3. ทําไมผูบริโภคจึงซื้อ

(Why does the Consumer Buy?)วัตถุประสงคในการซื้อ (Objects) ผูบริโภคซ้ือสินคาเพื่อสนองความตองการของเขาทางดานรางกายหรือทางดานจิตวิทยา ซึ่งตองศึกษาถึงปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรม การซื้อ คือ1) ปจจัยภายในหรือปจจัยทางจิตวิทยา2) ปจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม 3) ปจจัยเฉพาะบุคคล

4. ใครมีสวนรวมในการตัดสินใจซื้อ(Who Participate in the Buying?)

บทบาทของกลุมตาง ๆ (Organizations) มีอิทธิพลในการตัดสินใจซื้อประกอบดวย 1) ผูริเริ่ม 2) ผูมีอิทธิพล 3) ผูตัดสินใจซื้อ 4) ผูซ้ือ 5) ผูใช

5. ผูบริโภคซ้ือเม่ือใด(When does the Consumer Buy?)

โอกาสในการซื้อ (Occasions) เชน ชวงเดือนใดของป หรือ ชวงฤดูกาลใดของป ชวงวันใดของเดือน ชวงเวลาใดของวัน โอกาสพิเศษ หรือเทศกาลวันสําคัญตาง ๆ

6. ผูบริโภคซ้ือท่ีไหน(Where does the Consumer Buy?)

ชองทางหรือแหลง (Outlets) ท่ีผูบริโภคไปทําการซื้อ เชน หางสรรพสินคา ซุปเปอรมารเก็ต รานขายของชํา

7. ผูบริโภคซ้ืออยางไร( How does the Consumer Buy?)

ขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อ (Operation) ประกอบดวย 1) การรับรูปญหา 2) การคนหาขอมูล3) การประเมินผลทางเลือก 4) การตัดสินใจซื้อ5) ความรูสึกภายหลังจากการซื้อ

ท่ีมา : ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. 2546 : 193

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 46: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

33

โมเดลพฤติกรรมผูบริโภค (Customer Behavior Model)ความพยายามเขาใจถึงพฤติกรรมผูบริโภคใหถูกตองโดยสมบูรณนั้น สวนหนึ่งจะตองทํา

ความเขาใจเกี่ยวกับองคประกอบหรือตัวแปรหรือเงื่อนไขตาง ๆ ท่ีสัมพันธเกี่ยวของกันอยางเปนระบบในสวนท่ีเกี่ยวกับสวนพฤติกรรมผูบริโภค ซึ่งตัวแบบพฤติกรรมผูบริโภคจะแสดงถึงทิศทางการเคล่ือนไหวของกระบวนการตาง ๆ ของพฤติกรรม และความสัมพันธระหวางองคประกอบตาง ๆ และจะเปนตัวกําหนดกรอบความคิดพื้นฐานที่ เชื่อมโยงไปสูการกําหนดสมมติฐานการวิจัยตอไปและไดรวบรวมตัวแบบพฤติกรรมผูบริโภคบางสวนไวดังนี้

ตัวแบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Kotlerแบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของ Kotler เปนการศึกษาถึง เหตุจูงใจท่ีทําให เกิดการ

ตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑโดยเริ่มตนจากการท่ีเกิดสิ่งกระตุน (Stimulus) ท่ีทําให เกิดความตองการ สิ่งกระตุนผานมาในความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ (Buyer’s Black Box) ซึ่ง เปรียบเสมือนกลองดํา ซึ่งผูผลิตหรือผูขายไมสามารถคาดคะเนได ความรูสึกนึกคิดของผูซื้อจะไดรับอิทธิพลจากลักษณะตาง ๆ ของผูซื้อ ซึ่งจะนําไปสูการตอบสนองของผูซื้อ (Buyer’s Response) หรือการตัดสินใจซื้อของ ผู ซื้ อ ( Buyer’s Purchase Decision) จุด เ ริ่ มตน ของ โ มเ ดล นี้ อยู ท่ีสิ่ ง กร ะ ตุน ( Stimulus) ใหเกิดความตองการกอน แลวทําให เกิดการตอบสนอง (Response) ดังนั้นโมเดลนี้ จึงอาจเรียกวา S-R Theory โดยมีรายละเอียดของทฤษฎี (ดํารงศักด์ิ ชัยสนิท. 2546 : 73 - 75) ดังนี้

1. สิ่งกร ะตุน (Stimulus) สิ่งกร ะตุนอาจเ กิดขึ้น เองจากภา ยในร างกา ย ( Inside Stimulus) และสิ่งกระตุนจากภายนอก (Outside Stimulus) ซึ่งนักการตลาดจะตองสนใจและจัดสิ่งกระตุนภายนอก เพื่อใหผูบริโภคเกิดความตองการผลิตภัณฑ สิ่งกระตุนถือวาเปนสิ่ง จูงใจให เกิดการซื้อสินคา (Buying Motive) ซึ่งอาจใชเหตุผลซื้อดานเหตุผล และเหตุจูงใจผูซื้อดานจิตวิทยา ซึ่งหมายถึงเหตุจูงใจทางอารมณเปนสิ่งกระตุน

1.1 สิ่งกระตุนทางการตลาด (Marketing Stimulus) เปนสิ่งกระตุนท่ีนักการตลาดสามารถควบคุมและจะตองจัดให มีเปนสิ่งกระตุนท่ีเกี่ยวของกับสวนผสมทางการตลาด ( Market Mix)

1.2 สิ่งกระตุนอื่น ๆ (Other Stimulus) เปนสิ่งกระตุนความตองการของผูบริโภค ท่ีอยูภายนอกองคกร เปนปจจัยส่ิงแวดลอมภายนอกท่ีกิจการควบคุมไมได (Uncontrollable Factors) ไดแก เศรษฐกิจ การเมือง เทคโนโลยี ฯลฯ

2. กลองดําหรือความรู สึกนึกคิดของผูซื้อ ( Buyer’s Black Box) ความรูสึกนึกคิด ของผูซื้อนั้นเปรียบเสมือนกลองดํา (Black Box) ซึ่งผูผลิตหรือผูขายไมสามารถทราบได จึงตอง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 47: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

34

พยายามคนหาความรูสึกนึกคิดของ ผูซื้อไดรับอิทธิพลมาจากลักษณะของผูซื้อ และกระบวนการตัดสินใจของผูบริโภค

2.1 ตัวแปรหรือปจจัยภายใน ( Internal Factors) ไดแก ความตองการ แรงจูงใจ การรับรู การเรียนรู บุคลิกภาพ ทัศนคติ ฯลฯ

2.2 ตัวแ ปรห รือปจจัยภ ายน อก (External Factors) ไ ดแก วัฒนธ รร ม ช นชั้ น ทางสังคม กลุมอางอิง ครอบครัว สังคม ฯลฯ

2.3 ลักษณะของผูซื้อ (Buyer Characteristics) ลักษณะของผูซื้อมีอิทธิผลมาจากปจจัยตาง ๆ คือ ปจจัยทางดานวัฒนธรรม ปจจัยทางดานสังคม ปจจัยดานสวนบุคคล และปจจัย ดานจิตวิทยา

2.4 กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค (Buyer Decision Process) ประกอบดวย ขั้นตอนตาง ๆ คือ การรับรูปญหา การคนหาขอมูล การประเมินผลทางเลือก การตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมภายหลังจากการซื้อ

3. การตอบสนองของผูซ้ือ (Buyer’s Response) หรือการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคหรือผูซื้อ (Buyer’s Purchase Decisions) ผูบริโภคจะมีการตัดสินใจในประเด็นตาง ๆ

3.1 การเลือกผลิตภัณฑ (Product Choice) ตัวอยาง การเลือกผลิตภัณฑอาหารเชา มีทางเลือก คือ กาแฟ น้ําผลไม นมกลอง บะหม่ีกึ่งสําเร็จรูป ขนมปง โจก ขาว ฯลฯ

3.2 กา ร เ ลือก ผู ขา ย ( Dealer Choice) ตั วอย า ง ผู บริ โ ภ คจ ะ เ ลื อกซื้ อจา กหางสรรพสินคาหรือซ้ือจากรานใกลบานรานใด

3.3 การเลือกตราสินคา (Brand Choice) ตัวอยาง ถาผูบริโภคเลือกนมสดกลอง จะเลือกย่ีหอใด เชน โฟรโมสต มะลิ เปนตน

3.4 การเลือกเวลาในการซื้อ (Purchase Timing) กลาวคือ ผูบริโภคจะเลือกเวลาเชา กลางวันหรือเย็น ในการซื้อนมกลอง

3.5 การเลือกปริมาณในการซื้อ (Purchase Amount) เปนการตัดสินใจซื้อเรื่องจํานวนหรือปริมาณในการซื้อในแตละครั้ง เชน หนึ่ งกลอง หรือหนึ่ งโหล หรือหนึ่ งลัง ฯลฯ ดังภาพท่ี 2.9

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 48: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

35

รูปแบบพฤติกรรมผูบริโภคและปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภค

ภาพท่ี 2.9 รูปแบบพฤติกรรมผูซ้ือ (ผูบริโภค) และปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคท่ีมา : ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. 2546 : 184

การตอบสนองของผูซื้อ (Response = R)

ปจจัยภายนอก(External Factors)

1. ปจจัยดานวัฒนธรรม (Cultural)

1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน (Culture)

1.2 วัฒนธรรมยอย(Subculture)

1.3 ชั้นสังคม (Social Class)

2. ปจจัยดานสังคม(Social)

2.1 กลุมอางอิง(Reference Group)

2.2 ครอบครัว(Family)

2.3 บทบาทและสถานะ(Roles and Statuses)

ปจจัยสวนบุคคล(Personal Factors)

3. ปจจัยสวนบุคคล(Personal)

3.1 อายุ (Age)3.2 วงจรชีวิตครอบครัว

(Family Life Cycle)3.3 อาชีพ (Occupation)3.4 โอกาสทางเศรษฐกิจ

(Economic Circumstances) หรือ รายได (Income)

3.5 การศึกษา (Educations)3.6 คานิยมและรูปแบบการดําเนินชวีติ

(Value and Life Style)

ปจจัยภายใน(Internal Factors)

4. ปจจัยดานจิตวิทยา(Psychological)

4.1 การจูงใจ (Motivation)4.2 การรับรู (Perception)4.3 การเรียนรู (Learning)4.4 ความเชื่อถือ (Beliefs)4.5 ทัศนคติ (Attitudes)4.6 บุคลิกภาพ (Personality)4.7 แนวคิดของตนเอง

(Self Concept)

สิ่งกระตุนภายนอก (Stimulus= S)

สิ่งกระตุนอื่น ๆ(Other Stimuli)

เศรษฐกิจเทคโนโลยีการเมือง

วัฒนธรรมฯลฯ

Buyer’ Black Boxสิ่งกระตนทางการตลาด

(Marketing Stimuli)

ผลิตภัณฑราคา

การจัดจําหนายการสงเสริมการตลาด

การตัดสินใจซื้อ(Purchase)

1. การทดลอง (Trail)2. การซื้อซ้ํา (Repeat Purchase)

พฤติกรรมหลังการซื้อ(Postpurchase Behavior)

การเลือกผลิตภัณฑการเลือกตรา

การเลือกผูขายเวลาในการซื้อปริมาณการซื้อ

กลองดําหรือความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ

(Buyer’s Characteristic)

ลักษณะของผูซื้อ (Buyer’s Characteristics)

1. ปจจัยดานวัฒนธรรมและปจจัยดานสังคม (Social)2. ปจจัยสวนบุคคล (Personal)3. ปจจัยดานจิตวิทยา (Psychological)

ขนตอนการตัดสินใจของผูซื้อ (Buyer’s Decisio n Process)1. การรับรูปญหา (Problem Recognition)

2. การคนหาขอมูล (Information Search)

3. การประเมินผลทางเลือก (Evaluation of Alternatives)

4. การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision)

5. พฤติกรรมหลังการซื้อ (Postpurchase Behavior)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 49: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

36

ตัวแบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของออลพอรท (Allport)ซึ่งมุง เนนการวิเคราะห เชิง จิตวิทยาและสังคม ( Socio-Psychoanalytic) โดยอธิบายวา

กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคขึ้นอยูกับอิทธิพลของปจจัยพื้นฐาน 2 ประการ (สมจิตร ลวนจําเริญ. 2547 : 18) ไดแก

1. ปจจัยสวนบุคคล ปจจัยทางสังคม และปจจัยทางวัฒนธรรม2. ปจจัยท่ีเปนตัวกระตุน

กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคไดรับอิทธิพลจากปจจัยสวนบุคคลในสวนของประชาชนหรือการหยังรูและจูงใจ รวมท้ังบุคลิกภาพของผูบริโภค โดยท่ีปจจัยสวนบุคคลนี้ไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางสังคมในสวนของกลุมอิทธิพลหรือกลุมอางอิงตาง ๆ ปจจัยทางสังคมไดรับอิทธิพลจากปจจัยทางวัฒนธรรมสังคมใ นสวนท่ีเปนชั้นทางสังคมและวัฒนธรรมสําหรับปจจัย ท่ีเปนตัวกระตุนนั้นก็จะเปนสวนของผลิตภัณฑ หรือบริการท่ีจะดึงดูดใหผูบริโภคตัดสินใจซื้อ ดังภาพท่ี 2.10

ปจจัยวัฒนธรรมสังคม ปจจัยทางสังคม ปจจัยสวนบุคคล กระบวนการตัดสินใจ ตัวกระตุน

วัฒนธรรมช้ัน

สังคมกลุมอิทธิพล

สิ่งจูงใจและบุคลิกภาพ

ประชาชน

ภาพท่ี 2.10 ภาพจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของออลพอรท (Allport)ท่ีมา: สมจิตร ลวนจําเริญ. 2547 : 18

ตัวแบบพฤติกรรมผูบริโภคของวอลเตอรส (Walters) ตัวแบบนี้อธิบายถึงปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคซ่ึงแยกออกเปน 2 ลักษณะ จากปจจัยภายในซึ่งไดรับอิทธิพลจากควา มตองกา ร แ รงจูงใจ บุคลิกภ าพ และ การ รับรู ( Awareness) สวน ปจจัยหรื ออิทธิพลจา กสิ่งแวดลอมภายนอกประกอบดวยอิทธิพลจากรายไดครอบครัว ธุรกิจ สังคม และวัฒนธรรม ดังนี้

ซื้อตัดสินใจ

ผลิตภัณฑหรือบริการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 50: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

37

ภาพท่ี 2.11 แบบจําลองพฤติกรรมผูบริโภคของวอลเตอรส (Walters)ท่ีมา : สมจิตร ลวนเจริญ. 2547: 21

ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมผูบริโภคปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมผูบริโภค (อัจจิมา เศรษฐบุตร และสายสวรรค วัฒนาพานิช .

2541 : 30) ประกอบดวย1. ปจจัยดานเศรษฐกิจและประชากร คือ เศรษฐกิจจะเกี่ยวของกับรายได สวนอิทธิพล

ทางประชากรเกี่ยวของกับการศึกษา การเปลี่ยนแปลงขนาดครอบครัว การเปลี่ยนแปลงจํานวนประชากร เขตท่ีอยูอาศัย และระยะเวลาของผูบริโภค

2. ปจจัยดานวัฒนธรรม อิทธิพลดานนี้ศึกษาไดยาก เพราะวัฒนธรรมเปนเรื่อง ท่ีเกี่ยวโยงกับเรื่องอื่น ๆ เสมอ เชน พฤติกรรมของบุคคล สังคมวิทยา และมานุษยวิทยา ซึ่ง มีสวนเกี่ยวของกับสังคมท่ีเปนแหลงวัฒนธรรม ซึ่งวัฒนธรรมก็มีผลตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ

3. ชนชั้นทางสังคม ปจจัยนี้มีผลตอการผลิตภัณฑเขาสูกลุมชนชั้นทางสังคมตาง ๆ ไดสะดวก การแบงชั้นทางสังคมเปนกลุมตาง ๆ นั้นจะยึดเอาฐานะ บทบาท และคานิยมเปนเกณฑ

อิทธิพลสังคม

อิทธิพลครอบครัว

อิทธิพลธุรกิจอิทธิพลรายได

อิทธิพลวัฒนธรรม

ความจําเปน

แรงจูงใจ

บุคลิกภาพ

การหยั่งรู

ทัศนคติ

การเรียนรู

การตัดส ินใจซื้อของผูบริโภค

การรับรู

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 51: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

38

4. กลุมอางอิงและครอบครัว โดยเห็นวาบุคคลอ่ืน โดยเฉพาะบุคคลในครอบครัวจะมีอิทธิพลตอพ ฤติกรร มตอผูอื่ นคน หนึ่ง โ ดยเ ฉพา ะพ ฤติกรรมท่ีเ กี่ยวกับการ ซื้อสิ นคา จึง มีความสําคัญตอการกําหนดกลยุทธทางการตลาดของนักการตลาด

5. แบบการดํารงชีวิตและบุคลิกภาพของผูบริโภค คือ ผูบริโภคแตละคนไดรับอิทธิพลจากสภาพแวดลอมภายนอกแตกตางกันนั่นเอง แมวาอิทธิพลจากสภาพแวดลอมเดียวกัน แตการเรียนรูและการหยั่งรูแตกตางกัน

6. ควา มสํ าคัญ ของกา รซื้ อ คือ ผูบริ โภ คจะ มีความตองกา รสิ นคา แตกตา งกัน ไมเทากัน แลวแตความสําคัญมากนอย

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2541 : 130 - 144) กลาววาการศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมผูบริโภค เพื่อทราบถึงลักษณะความตองการของผูบริโภคทางดานตาง ๆ และเพื่อท่ีจะจัดสิ่งกระตุนทางการตลาดใหเหมาะสม เม่ือผูซื้อไดรับสิ่งกระตุนทางการตลาดหรือสิ่งกระตุนอื่น ๆ ผานเขามาในความรูสึกนึกคิดของผูซื้อ ซึ่ง เปรียบเสมือนกลองดําท่ีผูขายไมสามารถคาดคะเนได งานของผูขายและนักการตลาด ก็คือ คนหาวาลักษณะของผูซื้อและความรูสึกนึกคิดไดรับอิทธิพลจากส่ิงใดบาง การศึกษาถึงลักษณะของผูซื้อท่ีเปาหมายจะมีประโยชนสําหรับนักการตลาด คือ ทราบความตองการและลักษณะลูกคาเพื่อท่ีจะจัดสวนประสมทางการตลาดตาง ๆ ใหกระตุนและใหสามารถตอบสนองความตองการของผูซื้อท่ีเปนเปาหมายไดถูกตอง ลักษณะของผูซื้อไดรับอิทธิพลจากทางดานวัฒนธรรม ปจจัยดานสังคม ปจจัยสวนบุคคล และปจจัยทางจิตวิทยา ซึ่ง มีรายละเอียดดังนี้

1. ปจจัยดานวัฒนธรรม (Cultural Factor) เปนสัญลักษณและเปนสิ่ง ท่ีมนุษยสรางเปนที่นิยมจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง โดยเปนตัวกําหนดและควบคุมพฤติกรรมของมนุษยสังคมหนึ่ง คานิยมในวัฒนธรรมจะกําหนดลักษณะของสังคมและกําหนดความแตกตางของสังคมหนึ่ง จากสังคมอื่น วัฒนธรรมเปนสิ่งกําหนดความตองการและพฤติกรรมของบุคคล ซึ่งนักการตลาดจะตองคํานึงถึงความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม และนําลักษณะการเปลี่ยนแปลงเหลานั้นไปใชกําหนดโปรแกรมทางการตลาด ซึ่งวัฒนธรรมแบงออก ไดดังนี้

1.1 วัฒนธรรมพื้นฐาน (Culture) เปนลักษณะพื้นฐานของบุคคลในสังคม เชน ลักษณะนิสัยของคนไทย ซึ่งเกิดจากการหลอหลอมของคนในสังคม ทําใหมีพฤติกรรมท่ีคลายคลึงกัน

1.2 วัฒนธร รมกลุ มยอย (Subculture) ห มายถึ ง วัฒ นธรร มของ แตละ กลุมที่ มีลักษณะเฉพาะและแตกตางกัน ซึ่งมีอยูภายในสังคมขนาดใหญและสลับซับซอน วัฒนธรรมยอย เกิดจากพื้นฐานทางภูมิศาสตร และลักษณะพื้นฐานของมนุษย วัฒนธรรมยอยมีการจัดประเภท คือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 52: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

39

กลุมเชื้อชาติ กลุมศาสนา กลุมสีผิว พื้นท่ีทางภูมิศาสตรหรือทองถิ่น กลุมอาชีพ กลุมยอย ดานอายุและกลุมยอยดานเพศ

1.3 ชั้นทางสังคม (Social Class) หมายถึง การแบงสมาชิกของสังคมออกเปนระดับฐานะท่ีแตกตางกัน โดยมีสมาชิกท่ัวไปถือเกณฑรายได (ฐานะ) ทรัพยสินหรืออาชีพ (ตําแหนง หนาที่) ในแตละชั้นสังคมจะมีสถานะอยางเดียวกัน และสมาชิกในชั้นสังคมที่แตกตางกันจะมีลักษณะ ท่ีแตกตางกัน การแบงชั้นทางสังคมเปนอีกปจจัยหนึ่ ง ท่ีมีอิทธิพลตอการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค นักการตลาดตองศึกษาชั้นสังคม เพื่อเปนแนวทางในการแบงสวนตลาด การกําหนดตลาดเปาหมาย กําหนดตําแหนงผลิตภัณฑและศึกษาความตองการของตลาดเปาหมายรวมทั้ง จัดสวนประสมการตลาดใหสามารถตอบสนองความตองการของแตละชั้นสังคมไดถูกตอง

2. ปจจัย ดาน สังคม (Social Factors) เป นปจ จัยเกี่ ยวของใ นชีวิตประ จําวันและ มีอิทธิพลตอพฤติกรมการซื้อ กลุมอางอิงมีอิทธิพลตอบุคคลในกลุมทางดานสังคม (Social) การเลือกพฤติกรรม (Behavior) และการดํารงชีวิต (Lifestyle) รวมท้ังเจตคติ (Attitude) และแนวคิดของบุคคล เนื่องจากใหเปนที่ยอมรับ บุคคล ลักษณะทางสังคม ประกอบดวย

2.1 กลุมอางอิง (Reference Group) เปนกลุมที่บุคคลเขาไปเกี่ยวของดวยกลุมนี้ จะมีอิทธิพลตอเจตคติ ความคิดเห็นและคานิยมของบุคคลในกลุมอางอิง กลุมอางอิงแบงออกเปน 2 ระดับคือ กลุมปฐมภูมิ (Primary Groups) ไดแก ครอบครัว เพื่อนสนิทและเพื่อนบาน กลุมทุติยภู มิ (Secondary Groups) ไดแก กลุมบุคคลชั้นนําในสังคมเพื่อนรวมอาชีพ และรวมสถาบัน บุคคลกลุมตาง ๆ ในสังคม นักการตลาดใชกลุมอางอิงในการกําหนดผูแสดง (Presenter) ท้ัง เปนผูทดสอบการทํางานของสินคาโดยบุคคลท่ีใชสินคารับรอง (Testimonial) และการใชบุคคลท่ีมีชื่อเสียงรับรองสินคา (Testimonial)

2.2 ครอบครัว (Family) บุคคลในครอบครัวมีอิทธิพลมากท่ีสุดตอเจตคติ ความคิดเห็นและคานิยมของบุคคล ซึ่งเหลานี้มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อของครอบครัว

2.3 บทบาทแ ละสถาน ะ (Role and Statuses) บุคคลจะเกี่ยวของกับห ลายกลุ ม ซึ่งจะตองวิเคราะหวาใครมีบทบาทเปนผูคิดริเริ่ม ตัดสินใจซื้อ ผูมีอิทธิพล ผูซ้ือและผูใช

3. ปจจัยสวน บุคคล (Personal Factors) การตัดสิ นใจของผู ซื้อไดรับอิทธิพลจา กลักษณะสวนบุคคลของคนทางดานตาง ๆ ประกอบดวย

3.1 อายุ (Age) อายุท่ีแตกตางกันจะมีความตองการตางกัน การแบงกลุมผูบริโภค ตามอายุประกอบดวย ต่ํากวา 6 ป 6 - 11 ป 12 - 19 ป 20 - 34 ป 35 - 49 ป 50 - 64 ป 65 ปขึ้นไป เชน กลุมวัยรุนชอบทดลองสิ่งแปลกใหมและชอบสินคาประเภทแฟชั่นและรายการพักผอน หยอนใจ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 53: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

40

3.2 วงจรชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle Stage) เปนขั้นตอน การดํารงชีวิต ของบุคคลในลักษณะของการมีครอบครัว การดํารงชีวิตในแตละขั้นตอนเปนสิ่ง ท่ีมีอิทธิพลตอ ความตองการ เจตคติ และคานิยมของบุคคลทําใหเกิดความตองการและพฤติกรรมการซื้อท่ีแตกตางกัน วัฏจักรชีวิตครอบครัวประกอบดวยขั้นตอนแตละขั้นตอน จะมีลักษณะการบริโภคท่ีแตกตางกัน

3.3 อาชีพ (Occupation) อาชีพของแตละบุคคลจะนําไปสูความจําเปนและความตองการสินคาและบริการท่ีแตกตางกัน เชน ขาราชการจะซื้อชุดทํางานและสินคาจําเปน นักธุรกิจจะซื้อเสื้อผาราคาแพงหรือต๋ัวเคร่ืองบิน ซึ่งนักการตลาดจะศึกษาวาผลิตภัณฑของบริษัทมีบุคคลอาชีพไหนสนใจ เพื่อท่ีจะจัดกิจกรรมทางการตลาดใหสนองความตองการในตลาดใหเหมาะสม

3.4 โอกาสทางเศรษฐกิจ (Economic Circumstances) หรือรายได ( Income) โอกาสทางเศรษฐกิจของบุคคลกระทบตอสินคาและบริการท่ีเขาตัดสินใจซื้อ โอกาสเหลานี้ประกอบดวยรายได การออมทรัพย อํานาจการซื้อและเจตคติเกี่ยวกับการจายเงิน นักการตลาดตองสนใจแนวโนมของรายไดสวนบุคคล การออมทรัพยและอัตราดอกเ บ้ีย ถาภาวะเศรษฐกิจตกต่ําคนมีรายไดต่ํา กิจการตองปรับปรุงดานผลิตภัณฑ การจัดจําหนาย การตั้งราคา ลดการผลิต และสินคาคงคลัง และวิธีการตาง ๆ เพื่อปองกันการขาดแคลนเงินหมุนเวียน

3.5 การศึกษา (Education) ผู ท่ีมีการศึกษาสูงมีแนวโน มจะบริโภคผ ลิตภัณ ฑ มีคุณภาพดีกวาผูท่ีมีการศึกษาต่ํา

3.6 คานิยมหรือคุณภาพ (Value) และรูปแบบการดํารงชีวิต (Lifestyle) หมายถึง ความนิยมในสิ่งของหรือความคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง

4. ปจจัยทางจิตวิทยา (Psychological Factor) การเลือกซื้อของบุคคลไดรับอิทธิพลจากปจจัยดานจิตวิทยา ซึ่งถือวาเปนปจจัยภายในตัวผูบริโภคท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อและการใชสินคา ประกอบดวย ปจจัยตอไปนี้

4.1 การจูงใจ (Motivation) หมายถึง พลังสิ่งกระตุน (Drive) ท่ีอยูภายในตัวบุคคล ซึ่งกร ะตุน ใหบุคคลปฏิบัติ (Stanton and Futrell. 19 87 : 64 9) การจูงใจเกิดภายใ นตัวบุคคล แตอาจกระทบจากปจจัยภายนอก เชน วัฒนธรรมชั้นสังคม หรือส่ิงกระตุนที่นักการตลาดใ ชเครื่องมือการตลาด เพื่อกระตุนใหเกิดความตองการ พฤติกรรมของมนุษยเกิดขึ้นตองมีแรงจูงใจ ( Motive) ซึ่งหมายถึง ความตองการท่ีไดรับการกระตุนจากภายในตัวบุคคลท่ีนักการตลาดตองศึกษาถึงความตองการของมนุษยอันประกอบดวยความตองการทางดานรางกาย และครามตองการทางดานจิตวิทยา ไดเสนอทฤษฎีการจูงใจท่ีมีชื่อเสียงมากคือ ทฤษฎีการจูงใจของมาสโลว

4.2 การรับรู (Perception) เปนการกระบวนการซึ่งแตละบุคคล ไดรับการเลือกสรรจัดระเบียบ และการตีความหมายสิ่งกระตุนออกเปนภาพท่ีมีความหมายและเปนภาพรวมขึ้นมา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 54: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

41

(Schiffman and Kanuk. 1994 : 162) หรือ หมายถึง กระบวนการความเขาใจ (การเปดรับ) ของบุคคล ท่ีมีตอโลกท่ีเขาอยูจากความหมายนี้การรับรูจะแสดงถึงความรูสึก จากประสาทสัมผัสท้ัง 5 ไดแก การไดเห็น ไดยิน ไดกลิ่น และไดรูสึก การรับรูเปนกระบวนการของแตละบุคคล ซึ่งขึ้นอยูกับปจจัยภายใน เชน ความเชื่อ ประสบการณ ความตองการและอารมณ นอกจากนี้ยัง มีปจจัยภายนอก คือ สิ่งกระตุน การรับรูจะพิจารณาเปนกระบวนการกลั่นกรอง ขั้นตอนการับรูมี 4 ขั้นตอน ซึ่ง มีรายละเอียด ดังนี้

4.2.1 การเปดรับรูขอมูลท่ีไดรับเลือกสรร (Selective Exposure) เกิดขึ้นเ ม่ือผูบริโภคเปดโอกาสใหขอมูลเขามาสูตัวเอง ตัวอยางผูชมโทรทัศน อาจจะเลือกเปลี่ยนชองหรือ ออกจากหองเม่ือขาวหรือโฆษณาไมนาสนใจ หรือชมโฆษณา ถาโฆษณานั้นนาสนใจ

4.2.3 การตั้งใจรับขอมูลท่ีไดเลือกสรร (Selective Attention) เกิดขึ้นเม่ือผูบริโภคเลือกท่ีจะตั้งใจรับสิ่งกระตุนอยางใดอยางหนึ่ ง เพื่อใหกลุมเปาหมายเกิดความตั้งใจรับขอมูล นักการตลาดจะตองใชความพยายามท่ีสรางงานการตลาดให มีลักษณะเดน เพื่อทําให เกิดการตั้งใจรับขาวสารอยางตอเนื่อง

4.2.4 การ ตั้ง ใจรั บขอมูล ท่ีไ ดรับ เลือกส รร (Selective Comprehension) แ มผูบริโภคจะตั้งใจรับขาวสารการตลาด แตไมไดหมายความวาขาวสารนั้นถูกตีความไปในทางท่ีถูกตองในขั้นนี้จึงเปนการตีความหมายขอมูลท่ีรับเขามาวามีความเขาใจตาท่ีนักการตลาดกําหนดไวหรือไม ถาเขาใจก็จะนําสูขั้นตอไป การตีความขึ้นอยูกับเจตคติ ความเชื่อและประสบการณ

4.3 การเรียนรู (Learning) การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและ (หรือ) ความโนมเอียงของพฤติกรรมจากประสบการณท่ีผานมา การเรียนรูของบุคคลเกิดขึ้น เ ม่ือบุคคลไดรับสิ่งกระตุน (Stimulus) และเกิดการตอบสนอง (Response) ซึ่งก็คือทฤษฎีสิ่งกระตุนการตอบสนอง นักการตลาดไดประยุกตใชทฤษฎีนี้ดวยการโฆษณาซ้ําอีก หรือจัดการสงเสริมการขาย เพื่อทําให เกิดการตัดสินใจซื้อและใชสินคาเปนประจํา (เปนการตอบสนอง) การเรียนรูเกิดจากอิทธิพลหลายอยาง เชน เจตคติ ความเชื่อถือและประสบการณในอดีต ตัวอยาง การจัดกิจกรรมสง เสริมการขาย ในรูปการแจกของ ตัวอยางจะมีอิทธิพลทําใหเกิดการเรียนรู คือ การทดลองใชไดดีกวา การจัดกิจกรรมแถม เพราะการแถมลูกคาตองเสียเงินเพื่อซื้อสินคา ถาลูกคาไมซื้อสินคาก็จะไมเกิดการทดลองใชสินคาท่ีแถม

4.4 ความเชื่อถือ ( Beliefs) เป นความคิด ท่ีบุคคลยึดถือเ กี่ยวกับสิ่ง ใดสิ่ งหนึ่ ง ซึ่งเปนผลมาจากประสบการณในอดีต เชน เอสโซ สรางความเชื่อถือวา น้ํ ามันเอสโซมีพลังสูง โดยใชสโลแกน จับเสือใสถังพลังสูง น้ํามันไรสารตะกั่ว ใหชวยแรกท่ีผูบริโภคเกิดความเชื่อถือวาการใชน้ํามันไรสารตะกั่ว มีปญหากับเครื่องยนต ซึ่ง เปนความเชื่อในดานลบท่ีนักการตลาดตองรณรงคเพื่อแกไขความเชื่อท่ีผิดพลาด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 55: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

42

4.5 เจตคติ (Attitude) หมาย ถึง การปร ะเมิน ความพึงพอใจหรื อไมพึ งพอใ จ ของบุคคล ความรูสึกดานอารมณและแนวโนมการปฏิบัติท่ีมีผลตอความคิดหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ ง (Kotler. 2004 : 188) หรือหมายถึง ความรูสึกนึกคิดของบุคคลท่ีมีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ ง ( Stanton and Futrell. 1987 : 126) เจตคติเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอความเชื่อ ในขณะเดียวกันความเชื่อก็มีอิทธิพลตอเจตคติ จากการศึกษาพบวาเจตคติของผูบริโภคกับการตัดสินใจซื้อสินคาจะมีทางเลือก คือ การสรางเจตคติของผูบริโภคใหสอดคลองกับสินคาของธุรกิจ และพิจารณาวาเจตคติของผูบริโภคเปนอยางไรแลวจึงพัฒนาสินคาใหสอดคลองกับเจตคติของผูบริโภค โดยท่ัวไปการพัฒนาสินคาใหสอดคลองกับเจตคติทําไดงายกวาการเปลี่ยนแปลงเจตคติของผูบริโภค ใหเกิดความตองการในสินคา เพราะตองใชเวลานานและใชเคร่ืองมือในการติดตอสื่อสาร จึงจะสามารถเปลี่ยนแปลงเจตคติของบุคคลได

แนวคิดเกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค

การตัดสินใจซื้อเม่ือผูบริโภคมีความเกี่ยวพันตอผลิตภัณฑนั้นสูง และการตัดสินใจซื้อ เ ม่ือผูบริ โภคมีความเ กี่ยวพันตอผลิตภัณ ฑใน ระดับต่ํา ( Low Involvement Purchase Decision) ซึ่งสามารถอธิบายไดวา ผลิตภัณฑหรือบริการในแตละประเภทนั้น ผูบริโภคจะตองทุมเทความพยายามในการซื้อ ใชเวลาในการตัดสินใจ และมีความเสี่ยงในการตัดสินใจท่ีแตกตางกัน เชน ถาผูบริโภคมองวาการซื้อสินคาหรือบริการนั้น มีความสําคัญอยางมากตอบุคลิกภาพ สถานภาพทางเศรษฐกิจและสังคม หรือสภาพทางจิตใจแลว ก็แสดงวาผูบริโภคมีความสัมพันธขั้นสูงตอสินคานั้น ๆ ในทางตรงกันขาม ถาหากผูบริโภคมองสิ่งที่ซื้อวาไมมีความสําคัญตอเขา รวมท้ังไมมีความเสี่ยงในการเลือกผลิตภัณฑหรือตราสินคา เพราะถาเลือกผิดก็ไมทําใหเกิดความเสียหายอะไร ก็หมายถึงวาผูบริโภค มีความสัมพันธขั้นต่ําตอการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑนั้น

ฉัตราพร เสมอใจ. (2550 : 46 - 48) กลาววา การตัดสินใจ (Decision Making) หมายถึง กระบวนการในการเลือกท่ีจะกระทําสิ่งใดส่ิงหนึ่งจากทางเลือกตาง ๆ ท่ีมีอยู ซึ่งผูบริโภคมักจะตองตัดสินใจในทางเลือกตาง ๆ ของสินคาและบริการอยูเสมอในชีวิตประจําวัน โดยท่ีเขาจะเลือกสินคาหรือบริการตามขอมูลและขอจํากัดของสถานการณ การตัดสินใจจึงเปนกระบวนการท่ีสําคัญและอยูภายในจิตใจของผูบริโภค ซึ่งถานักการตลาดสามารถทําความเขาใจและเขาถึง จิตใจของผูบริโภค การวางแผนการกระจายสินคาและสรางการยอมรับของผูบริโภคก็จะมีประสิทธิภาพ

การตัดสินใจซื้อ ผูบริโภคมีรูปแบบและขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อสินคาหรือบริการแตละประเภท

ท่ีแตกตางกันสําหรับสินคาบางประเภท ผูบริโภคอาจตองใชเวลาในการตัดสินใจนานและตองการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 56: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

43

ขอมูลมาก ไดแก สินคาราคาแพง อายุการใชงานนาน ๆ ไมเปลี่ยนบอย โดยเฉพาะถาเปนสินคา หรือบริการท่ีไมเคยใชมากอน เชน สถานศึกษา โรงพยาบาล รถยนต บาน เปนตน แตสําหรับสินคาบางประเภทกลับใชเวลาสั้นไมตองการขอมูลมากนักในการตัดสินใจ หรือบางครั้งผูบริโภคอาจจะตัดสินใจในทันทีโดยไมตองพิจารณาขอมูลเพิ่มเติม อยางไรดี ไมวาจะเปนการตัดสินใจสําหรับสินคาหรือบริการประเภทใด ผูบริโภคจะมีความเสี่ยงจากการตัดสินใจ คือ นอกจากสิ่ง ท่ีเขาคาดหวังวาจะไดรับแลว ผูบริโภคตองยอมรับความเสี่ยงในสิ่งท่ีเขาไมพึงปรารถนาจากการตัดสินใจซื้อนั้น ๆ ดวยซึ่งความเสี่ยงอาจเกิดไดจากสาเหตุตาง ๆ ตอไปนี้

1. หนาที่ของผลิตภัณฑ เปนความเสี่ยงที่ผลิตภัณฑจะไมทําหนาท่ีตามที่ผูซื้อคาดหวัง เชน เครื่องซักผาไดไมสะอาด แชมพูขจัดรังแคท่ีไมชวยแกปญหา เครื่องบินไมถึง ท่ีหมายตามเวลา ท่ีกําหนด การรักษาอาการปวยท่ีไมหายหรือมีอาการขางเคียงที่ไมพึงประสงคท่ีเกิดขึ้น เปนตน

2. ลักษณ ะทา งกาย ภาพ ของผ ลิตภั ณฑ เ ปนความเ สี่ยง จากรู ปลักษณภา ยนอก ของผลิตภัณฑที่ผูบริโภคปรารถนา เชน ขนาด สีสัน รูปราง หรือความสะดวกในการใช เปนตน ซึ่งจะเปนสวนสําคัญที่ผูผลิตนํากลับมาพิจารณาและปรับใหตรงกับความตองการของผูบริโภค มากยิ่งขึ้น เชน ชวงหนึ่ ง ท่ี Ericsson เนนขนาดเล็กจนเ ปนท่ีโดดเดน หรือสี Jotun Multi Color ท่ีเนนการเสนอสีท่ีตรงกับความตองการของผูบริโภค โดยผลิตตามตัวอยางสีท่ีลูกคานํามา เปนตน

3. ราคา เป นความเ สี่ยงจากคุณภาพของสินคาและบริการ ท่ีไดรับต่ํา กวามูลค า ของจํานวนเงินท่ีจาย ซึ่งโดยปกติผูซ้ือจะคาดหวังวาตองไดรับคุณภาพของสินคาหรือบริการคุมคากับจํานวนเงินท่ีตนไดจายไป หรือความเสี่ยงที่จะจางเงินซื้อแพงกวาซื้อจากท่ีอื่น จึงมีหลายธุรกิจ ท่ีใชกลยุทธการรับประกันราคา เพื่อสรางความม่ันใจใหแกลูกคาวาไมจายแพงกวาการซื้อจากท่ีอื่น

4. การยอมรับของสังคม เปนความม่ันใจในการยอมรับจากสังคม ผูบริโภคจะมีความคาดหวังที่จะใหสินคาหรือบริการท่ีตนเลือกนั้น สะทอนความเปนตัวตนใหสังคมเห็นและเกิดการยอมรับ

5. จิตวิทยา ความรูสึกภายในจิตใจหรือความเชื่อของบุคคลท่ีมีผลตอการตัดสินใจซื้อและใชผลิตภัณฑนั้น เชน ความเชื่อวาน้ํามันคาออกเทน 95 ชวยใหรถว่ิงไดแรงกวา ท้ัง ท่ีรถสามารถใชน้ํามันคาออกเทน 91 ได เปนตน

6. เวลา ท้ัง เวลาในการคนหาขอมูลและเวลาในการรอคอย เนื่องจากผลิตภัณฑ บางชนิดเปนผลิตภัณฑที่หายาก อาจตองเสียเวลาในการคนหาผลิตภัณฑหรือผลิตภัณฑท่ีเกี่ยวของ เชน อะไหลรถยนตสําหรับรถยนตบางประเภท หรืออะไหลของผลิตภัณฑเทคโนโลยี เช น คอมพิวเตอร อุปกรณอิเล็กทรอนิคส หรือกลองถายรูปท่ีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว ทําใหอะไหล รุนเดิมหายาก เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 57: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

44

ซึ่งผูบริโภคจะพยายามหาความเสี่ยงนั้นไดโดยวิธีตาง ๆ ดังนี้1. หาขอมูลจากแหลงตาง ๆ ผูบริโภคจะหาขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑและผลิตภัณฑ

ท่ีเกี่ยวของเพื่อเปรียบเทียบขอมูล ตัวอยางเชน ผูบริโภคตองการซ้ือรถยนต ก็จะเปรียบเทียบรถยนตท่ีมีขนาดและราคาใกลเคียงกันหลายยี่หอ เปรียบเทียบราคาอะไหล เปรียบเทียบความยากงายในการหาอะไหล โดยจะหาขอมูลจากการสอบถามจากผูรูตามรายการวิทยุ อานจากนิตยสารรถยนต หรือสอบถามกับพนักงานขายของแตละยี่หอ เปนตน

2. ภักดีตอตราสินคา ผูบริโภคจะมีความม่ันใจในผลิตภัณฑเดิม เพราะเขาทราบคุณภาพและรายละเอียดของผลิตภัณฑอยูแลว จึงไมตองการเสี่ยงกับการทดลองผลิตภัณฑใหม ผูบริโภค จึงหลีกเลี่ยงความเสี่ยงโดยการภักดีตอตราผลิตภัณฑ ตัวอยางเชน ผูบริโภคท่ีใชเครื่องสําอางแลวเกิดอาการแพงาย เม่ือเจอผลิตภัณฑท่ีใชแลวไมเกิดอาการแพก็จะไมเปลี่ยนไปใชยี่หออ่ืนงาย ๆ เปนตน

3. สินคาหรือบริการท่ีมีชื่อเสียง เชื่อวาสินคาท่ีมีชื่อเสียงจะไมทําลายตัวเองดวยสินคาท่ีไมมีคุณภาพ ยิ่งมีชื่อเสียงโดงดังมายาวนานยิ่งม่ันใจได โดยเฉพาะเ ม่ือผูบริโภคตองตัดสินใจซื้อสินคาท่ีไมเคยซื้อมากอน ตัวอยางเชน นาฬิกา เคร่ืองหนังชื่อดัง หรือโรงพยาบาล เปนตน

4. บริษัทหรือรานคาที่มีชื่อเสียง ดวยความเชื่อท่ีวา บริษัทหรือรานคานั้นจะไมทําลายชื่อเสียงของตนดวยการขายผลิตภัณฑท่ีไมดี ไมมีคุณภาพ ตัวอยางเชน ผูบริโภคจะใหความไววางใจกับบริษัทพัฒนาท่ีดินและอสังหาริมทรัพยท่ีมีชื่อเสียงมากกวาบริษัทใหม ๆ ท่ียังไมมีชื่อเสียงโดยเฉพาะอยางยิ่งในชวงท่ีสภาพเศรษฐกิจถดถอย เปนตน

5. บริษัทท่ีมีสาขามาก เปนความเชื่อม่ันที่จะสามารถลดความเสี่ยงในดานการหาซื้อผลิตภัณฑหลัก ผลิตภัณฑอ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวของ และอะไหล รวมถึงความสะดวกสบายและความม่ันใจในดานบริการหลังการขาย ตัวอยางเชน บริษัทรถยนตท่ีมีศูนยบริการหลายแหง เปนปจจัยหนึ่ ง ท่ีสําคัญที่ทําใหผูบริโภคตัดสินใจซื้อไดงายข้ึน เปนตน

6. ซื้อสินคาราคาแพง จากความเชื่อท่ีวา สินคาราคาแพงเปนสินคาท่ีมีคุณภา พ ใชวัตถุดิบท่ีมีคุณภาพ ตัวอยาง เชน รานอาหารราคาแพงจะใชวัตถุดิบในการปรุงอาหารรวมถึงรสชาติท่ีดีกวารานอาหารราคาถูก หรือรถยนตราคาแพงจะมีอุปกรณมากกวาและดีกวารถยนต ราคาต่ํากวา เปนตน

7. สินค าท่ีมีการ สร างความม่ัน ใจ หากบริ ษัทมีการ ดํา เนิน การ บา งอย าง เช น การรับประกัน การทดลองใช ตัวอยาง แจกฟรี ขนาดทดลองใช ใหทดลองใชชั่วคราว รับประกัน คืนเงิน ตลอดจนไดรับรองมาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) เปนตน สิ่ง เหลานี้จะชวยใหลูกคาเกิดความเชื่อม่ันในมาตรฐานของสินคาและบริการยิ่งขึ้น

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 58: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

45

กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคปณิศา ลัญชานนท. (2548 : 106) กลาววา กระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค (Consumer

Buying Decision Process) เปนลําดับขั้นตอนในการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค จากการสํารวจรายงานของผูบริโภคจํานวนมากในกระบวนการซื้อพบวา ผูบริโภคผานกระบวนการ 5 ข้ันตอน ดังภาพท่ี 2.12

ภาพท่ี 2.12 โมเดล 5 ขั้นตอนในกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคท่ีมา : Kotler. 2004 : 198

โมเดล 5 ขั้นตอนในกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ดังนี้1. กา รรั บรู ปญ หา ( Problem Recognition) กา รรั บรูถึ งควา มต อง กา รเ ปน ลํา ดับ

ขั้นตอนแรกของกระบวนการตัดสินใจซื้อ ซึ่งเกิดขึ้นเม่ือบุคคลระลึกถึงความแตกตางระหวางสิ่ง ท่ีเขามีอยูและสิ่งที่เขาตองการ การท่ีบุคคลรับรูถึงความตองการภายในของตน ซึ่งอาจเกิดขึ้นเองหรือเกิดจากส่ิงกระตุนจากภายในและภายนอก เชน ความหิว ความกระหาย ฯลฯ ซึ่งรวมถึงความตองการทางรางกาย (Physiological Needs) และความตองการดานจิตวิทยา (Psychological Needs) สิ่ง เหลานี้เม่ือเกิดขึ้นถึงระดับหนึ่งจะกลายเปนสิ่งกระตุน ซึ่งบุคคลจะเรียนรูถึงวิธี ท่ีจะจัดการกับสิ่งกระตุน

1. การรับรูปญหา (Problem Recognition)

2. การคนหาขอมูล(Information Search)

3. การประเมินผลทางเลือก(Evaluation of Alternatives)

4. การตัดสินใจซื้อ(Purchase Decision)

5. พฤติกรรมภายหลังการซื้อ(Postpurchase Behavior)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 59: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

46

จากประสบการณในอดีต ทําใหเขารูวาจะตอบสนองตอสิ่งกระตุนที่เกิดขึ้นอยางไร โดยงานท่ีสําคัญของนักการตลาดในขั้นกระตุนความตองการของผูบริโภคมี 2 ประการ คือ

1.1 นักการตลาดตองเขาใจส่ิงกระตุนเกี่ยวกับผลิตภัณฑท่ีมีอิทธิพลตอผูบริโภค ตัวอยาง นักการตลาดตองระลึกวา รถยนตสามารถตอบสนองความตองการดานความสะดวกในการเดินทาง สามารถใหความพอใจดานสถานภาพในสังคม ทําใหเกิดความตื่นเตนจากขอบเขตท่ีรถยนตสามารถสนองสิ่งกระตุนไดหลายอยาง ซ่ึงทําใหบุคคลเกิดความตองการอยากเปนเจาของรถยนตอยางแทจริง

1.2 แนวความคิดกระตุนความตองการจะชวยใหนักการตลาดระลึกไดเสมอวาระดับความตองการสําหรับผลิตภัณฑจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา นักการตลาดตองสามารถจัดเหตุการณตาง ๆ ดานจังหวะเวลาเพื่อกระตุนความตองการในการโฆษณาหรือการใชพนักงานขายจะ ชวยทําใหผูบริโภคเกิดการรับรูถึงความตองการผลิตภัณฑ ตัวอยาง เชน การโฆษณา Digital Video Disc (DVD)ตองกระตุนการรับรูปญหาโดยการมุง ท่ีคุณภาพของภาพที่เหนือกวา VCR ท่ีมีอยู

2. การคนหาขอมูล ( Information Search) เ ม่ือบุคคลไดรับรูถึ งปญห าหรือควา มตองการแลว เขาจะคนหาวิธีการท่ีจะทําใหความตองการดังกลาวไดรับความพอใจ การคนหาอาจกระทําขึ้นโดยสัญชาตญาณอยางรวดเร็วหรืออาจตองมีการใชความพยายามและการวิเคราะหขอมูล ซึ่งบุคคลจะสามารถคนหาขอมูลไดมากนอยเพียงใดนั้นขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ ไดแก จํานวนของขอมูลท่ีจะหาได ความพอใจท่ีไดรับจากการคนหาขอมูล ผลท่ีเกิดขึ้นในภายหลัง ซึ่งผูบริโภคสามารถคนหาขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือบริการท่ีสามารถตอบสนองความตองการได 2 ทาง คือ

2.1 การคนหาขอมูลภายใน ( Internal Search) โดยทบทวนความทรงจําในอดีตเกี่ยวกับผลิตภัณฑหรือตราสินคาท่ีตนเองเคยซื้อ

2.2 การคนหาขอมูลจากภา ยนอก (External Search) ซึ่งสามารถคนหาไดจา ก 5 แหลง ดังนี้

2.2.1 แหลงบุคคล (Personal Sources) ไดแก ครอบครัว เ พื่อน เ พื่อนบา น คนรูจัก เปนตน

2.2.2 แหลงการคา (Commercial Sources) หรือแหลงขอมูลท่ีจัดโดยนักการตลาด (Marketer Dominated Sources) ไดแก เว็บไซตของบริษัท สื่อการโฆษณา พนักงานขาย ตัวแทนการคา รานคาท่ีจัดแสดงสินคา เปนตน

2.2.3 แห ลง ชุ มช น ( Public Sources) ไดแ ก สื่อมวลชน อง คกร คุมคร องผูบริโภค เปนตน

2.2.4 แ ห ล ง ป ร ะ ส บ กา ร ณ ( Experiential Sources) ไ ด แ ก ก า ร คว บคุ ม การตรวจสอบการใชสินคา เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 60: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

47

2.2.5 แหลงทดลอง (Experimental Sources) ไดแก หนวยงานท่ีสํารวจคุณภาพผลิตภัณฑหรือหนวยวิจัยภาวะตลาดของผลิตภัณฑ ประสบการณตรงของผูบริโภคในการทดลองใชผลิตภัณฑ เปนตน

อิทธิพลของแหลงขอมูลจะแตกตางกันตามชนิดของผลิตภัณฑ และลักษณะ สวนบุคคลของผูบริ โภคโ ดยท่ัวไปผูบริโภคจะไดรั บขอมูลตาง ๆ จากแห ลงกา รคา ซึ่ง เป นแหลงขอมูลท่ีนักการตลาดสามารถควบคุมการใหขอมูลได แหลงขอมูลแตละแหลงจะมีอิทธิพลตอพฤติกรรมการซื้อท่ีแตกตางกัน แหลงขอมูลท่ีสัมฤทธิ์ผลมากท่ีสุดจะมาจากแหลงบุคคล โดยปกติขอมูลจากแหลงการคาจะใหขอมูลท่ัว ๆ ไปแกผูซื้อ แตขอมูลจากแหลงบุคคลจะชวยประเมินผลผลิตภัณฑใหแกผูซื้อ นักการตลาดสามารถพิจารณาความสําคัญของแหลงขอมูลโดยสัมภาษณผูบริโภควาผูบริโภครูจักผลิตภัณฑไดอยางไร และแหลงขอมูลอะไรท่ีมีอิทธิพลมากตอผูบริโภค ในการคนหาขอมูลผูบริโภคจะทราบถึงตราสินคาและคุณลักษณะของสินคาท้ังหมดท่ีมีอยูในตลาด ซึ่งพบวาผูบริโภคจะใหความสนใจเฉพาะสินคาท่ีมีลักษณะตรงตามความตองการของตน โดยจะทําการเปรียบเทียบระหวางตราสินคาตาง ๆ ท่ีเปนทางเลือก (Choice Set) และตัดสินใจซื้อเพียงตราเดียว

3. การประเมินผลทางเลือก (Evaluation of Alternatives) การประเมินคาของแตละทางเลือก หลังจากท่ีไดคนหาขอมูลแลว ผูบริโภคตองทําการประเมินผลทางเลือกตาง ๆ ท่ีเปนไปไดกอนทําการตัดสินใจ ในขั้นนี้ผูบริโภคตองกําหนดเกณฑการพิจารณาที่จะใชสําหรับการประเมินผล ซึ่งเกณฑการพิจารณาเปนเรื่องของเหตุผลท่ีมองเห็น เชน ราคา ความคงทน หรือคุณสมบัติของสินคา เปนตน หรือเปนเรื่องของความพอใจสวนบุคคล เชน ชื่อเสียงของตราสินคา แบบ หรือสี เปนตน จากเกณฑท่ีกําหนดจะทําใหผูบริโภคทราบถึงทางเลือกท่ีเปนไปได ถาทางเลือกท่ีเปนไปไดมีเพียงทางเลือกเดียว การประเมินผลก็ทําไดงาย แตบางครั้งทางเลือกท่ีเปนไปไดมีหลายทางเลือก ฉะนั้นผูบริโภคจึงตองพิจารณาทางเลือกท่ีกอให เกิดความพึงพอใจมากท่ีสุด ดังนั้นนักการตลาดสวนใหญจึงสนใจท่ีจะศึกษาถึงเกณฑท่ีผูบริโภคใชสําหรับการประเมินผลทางเลือกตาง ๆ

4. การตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision) หรือการซื้อคุณคา (Buying Value) จากการประเมินผลพฤติกรรมในขั้นที่ 3 จะชวยใหผูบริโภคกําหนดความพอใจระหวางผลิตภัณฑตาง ๆ ท่ีเปนทางเลือกผูบริโภคจะตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑท่ีเขาชอบมากท่ีสุด ความตั้งใจซื้อ ( Purchase Intention) และการตัดสินใจซื้อ (Purchase Decision) นั้นแตกตางกัน ความตั้งใจซื้อมักจะนําไปสูการตัดสินใจซื้อ แตก็ไมเสมอไป เพราะมีปจจัยแทรกระหวางความตั้งใจซื้อกับการซื้อจริง ปจจัยแทรกนั้นมี 3 ปจจัย ดังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 61: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

48

ภาพท่ี 2.13 ขั้นตอนระหวางการประเมินผลทางเลือกและการตัดสินใจซื้อท่ีมา : Kotler. 2004 : 207

4.1 ทัศนคติของบุคคลอื่น (Attitudes of Others) ทัศนคติของบุคคลท่ีเกี่ยวของ มี 2 ดาน คือ ทัศนคติดานบวก และทัศนคติดานลบ ซึ่งทัศนคติท้ัง 2 ดาน จะมีผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาของผูบริโภค

4.2 ปจจัยสถานการณท่ีคาดคะเนไว (Anticipated Situational Factors) ผูบริโภค จะคาดคะเนปจจัยตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เชน การคาดคะเนรายไดของครอบครัว การคาดคะเนตนทุนของผลิตภัณฑและการคาดคะเนผลประโยชนของผลิตภัณฑ เปนตน

4.3 ปจจัยสถานการณ ท่ีไม ไดคาดคะเน ไว (Unanticipated Situational Factors) ขณะท่ีผูบริโ ภคกําลังตัดสินใจซื้อนั้น ปจจัยสถานการณท่ีไ มไดคาดคะ เนจะเขามาเกี่ยวของ ซึ่งมีผลกระทบตอความตั้งใจซื้อ เชน ผูบริโภคไมชอบลักษณะของพนักงานขาย หรือผูบริโภค เกิดอารมณเสียหรือวิตกกังวลจากรายได นักการตลาดเชื่อวาปจจัยท่ีไมไดคาดคะเนไวจะมีอิทธิพลอยางมากตอการตัดสินใจซื้อ

การตัดสินใจของผูบริโภคอาจไดรับอิทธิพลจากความเสี่ยง ท่ีรับรู (Perceived Risk) ซึ่งปริมาณความเสี่ยงจะขึ้นอยูกับสิ่งตอไปนี้ 1) จํานวนเงินท่ีเกี่ยวของ 2) ปริมาณของคุณลักษณะของผลิตภัณฑที่ไมแนนอน 3) ระดับความเชื่อม่ันของผูบริโภค ซึ่งผูบริโภคจะลดภาวะความเสี่ยงโดยการ (1) หลีกเลี่ยงการตัดสินใจ (2) พยายามรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากผูใกลชิด เพื่อน หรือแหลงขอมูลตาง ๆ (3) เลือกซื้อสินคาท่ีมีชื่อเสียงและมีการรับประกันสินคา นักการตลาด

ทัศนคติของบุคคลอ่ืน(Attitudes of Others)

ปจจัยสถานการณท่ีคาดคะเนไว

(Anticipated Situational Factors)

ปจจัยสถานการณท่ีไมไดคาดคะเนไว

(Unanticipated Situational Factors)

การประเมินผลทางเลือก

(Evaluation of Alternatives)

การตัดสินใจซื้อ(Purchase Decision)

ความต้ังใจซื้อ(Purchase Intention)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 62: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

49

จะตองเขาใจปจจัยเหลานี้ และตองพยายามจัดหาขอมูลและเหตุผลสนับสนุนตาง ๆ เพื่อลดความเสี่ยงใหผูบริโภค

ผูบริโภคจะทําการตัดสินใจซื้อโดยผานกระบวนการตัดสินใจยอย 5 ประการ คือ 1) การตัดสินใจในตร าสินคา (Brand Decision) 2) การตัดสินใจเลือกผูขาย (Vendor Decision) 3) การตัดสินใจดานปริมาณ (Quantity Decision) 4) การตัดสินใจดานเ วลา (Timing Decision) 5) การตัดสินใจดานวิธีการชําระเงิน (Payment-Method Decision) การตัดสินใจของแตละบุคคลจะตองมีการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงได นักการตลาดตองใชความพยายามใ นการทําความเขาใจตอพฤติกรรมการซื้อ เพื่อลดภาวะความเสี่ยง โดยท่ัวไปผูบริโภคจะพยายามรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑจากผูใกลชิดและแหลงขอมูลตาง ๆ ซึ่งนักการตลาดตองพยายามจัดหาขอมูลและเหตุผลสนับสนุนตาง ๆ เพื่อลดความเสี่ยงใหผูบริโภค

5. พฤติกรรมภายหลังการซื้อ (Post-Purchase Behavior) หรือคุณคาจากการบริโภคหรือการใช (Value in Consumption or Use) ในขั้นนี้ผูบริโภคจะเปรียบเทียบคุณคาท่ีไดรับจริง(Perceived Value) จา กการบริโภคห รือใชผ ลิตภัณฑ กับควา มคาดห วัง ( Expectation) ถาคุณค า ท่ีไดรับจริงสูงกวาความคาดหวังผูบริโภคก็จะเกิดความพึงพอใจ (Satisfied) แตถาคุณคาท่ีไดรับจริงต่ํากวาความคาดหวังแสดงวาผูบริโภคไมพึงพอใจในผลิตภัณฑ (Dissatisfied) พฤติกรรมภายหลังการซื้อ (Post-Purchase Behavior) ท่ีนักการตลาดจะตองติดตามและใหความสนใจ สามารถแบงออกไดเปน 3 กรณี ดังนี้

5.1 ควา มพึ ง พ อใ จภ าย ห ลั งกา ร ซื้อ ( Post-Purchase Satisfaction) เ ป นร ะ ดับ ความพึงพอใจของผูบริโภคภายหลังจากท่ีไดซื้อสินคาไปแลว ซึ่งอาจแบงไดเปนหลายระดับ เชน พึงพอใจอยางมาก รูสึกเฉย ๆ หรือรูสึกไมพอใจ ความพึงพอใจของผูบริโภคจะมีความสัมพันธกับความคาดห วังของผูบริโภ ค (Expectation) และ คุณคา ท่ีไดรับจริ ง ( Perceived Value) กล าวคือ ถาคุณคาที่ไดรับจริง (Perceived Value) ต่ํากวาท่ีผูบริโภคไดคาดหวังไวผูบริโภคจะรูสึกไมพึงพอใจ (Dissatisfied) แตถาคุณคาท่ีไดรับจริง (Perceived Value) เทากับท่ีคาดหวังไวผูบริโภคจะรูสึกพึงพอใจ (Satisfied) และถาคุณ คาท่ีไดรับจริง (Perceived Value) สูง กวาความค าดหวัง ผูบริโภคจะรูสึ กประทับใจเปนอยางยิ่ง (Delighted) ซึ่งมีผลทําใหผูบริโภคกลับมาซื้อผลิตภัณฑนั้นอีกครั้งหรือบอกตอผูอ่ืนเกี่ยวกับความพึงพอใจและไมพึงพอใจของตนท่ีมีตอผลิตภัณฑนั้น

ลูกคาจะกําหนดความคาดหวังโดยมีพื้นฐานจาก ขอมูลท่ีไดรับจากผูขายสินคา เพื่อนหรือคนใกลชิด และแหลงขอมูลอ่ืน ๆ ยิ่งมีความแตกตางระหวางสิ่งที่คาดหวังและประสิทธิภาพมากเทาใดก็จะทําใหผูบริโภครูสึกไมพึงพอใจมากข้ึนเทานั้น จะเห็นไดวาการท่ีจะทําใหลูกคาเกิดความพอใจภายหลังการซื้อสินคาไดนั้น ผูขายควรจะกลาวอางถึงประสิทธิภาพที่แทจริงของสินคานั้น โดยไมควรกลาวอางเกินความเปนจริง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 63: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

50

5.2 การกระทําภายหลังการซื้อ (Post-Purchase Actions) ความพึงพอใจหรือไมพึงพอใจในผลิตภัณฑจะมีผลตอพฤติกรรมตอเนื่องของผูบริโภค ถาผูบริโภครูสึกพึงพอใจก็มีแนวโนมวาผูบริโภคจะกลับมาซื้อผลิตภัณฑนั้นอีกครั้ง ในทางตรงกันขามถาผูบริโภครูสึกไมพึงพอใจ ผูบริโภคอาจเลิกใชหรือคืนผลิตภัณฑ อาจบอกตอ หรือมีการรองเรียนผานทางสื่อมวลชนหรืออาจถึงขั้นฟองรองเรียกคาเสียหายจากบริษัทก็เปนได

5.3 พฤติกรรมการใชและการกําจัดภายหลังการซื้อ (Post-Purchase Use and Disposal) เปนหนาที่ของนักการตลาดท่ีจะตองคอยติดตามวาผูบริโภคใชและกําจัดสินคานั้นอยางไร ถาผูบริโภคเก็บผลิตภัณฑไวโดยไมใช ก็อาจเปนไปไดวาผลิตภัณฑนั้นไมเปนท่ีพึงพอใจ ทําใหการบอกตอ ไมเปนผล แตถาผูบริโภคขายหรือแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑระหวางกันจะมีผลทําใหยอดขายผลิตภัณฑใหมลดลงและถาผูบริโภคท้ิงผลิตภัณฑนักการตลาดจําเปนท่ีจะตองรูวาผูบริโภคทําลายผลิตภัณฑนั้นอยางไร เนื่องจากผลิตภัณฑบางชนิดอาจเปนอันตรายตอสภาพแวดลอม

เสรี วงษมณฑา. (2548 : 182) ยังไดนําเสนอกระบวนการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค ไว 6 ขั้นตอน ดังภาพท่ี 2.14

1. การมองเห็นปญหา (Perceived Problem

2. การแสวงหาภายใน (Internal Search)2.1 การตัดสินใจซื้อ (Decision) 2.2 หยุดการตัดสินใจซื้อ (Abortion)

3. การแสวงหาภายนอก (External Search)3.1 การหาขอมูลจากการโฆษณา 3.2 การไปขาย ณ จุดขาย3.3 การโทรศัพท 3.4 การขอพบพนักงานขาย3.5 การไตถามจากผูเคยใชสินคา 3.6 การหาขอมูลโดยวิธีอ่ืน ๆ

4. การประเมินทางเลือก (Evaluation) การจับคูระหวางมาตรการในการเลือกซื้อ (Criteria) กับจุดเดนของสินคา (Feature)

5. การตัดสินใจซื้อ (Decision Making)5.1 การสรางความแตกตาง (Differentiation)5.2 ลดอัตราการเสี่ยงในความรูสึกของผูบริโภค (Reduced Perceived Risk)5.3 การสรางสิ่งลอใจ (Incentives

6. ทัศนคติหลังซ้ือ (Post – Attitudes)

ภาพท่ี 2.14 กระบวนการตัดสินใจของผูบริโภคท่ีมา : เสรี วงษมณฑา. 2548 : 182

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 64: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

51

ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอผูซื้อการศึกษาปจจัยตาง ๆ ท่ีมีอิทธิพลตอผูซ้ือและทําความเขาใจวาผูบริโภคทําการตัดสินใจ

ซื้อจริง ๆ อยางไร โดยเฉพาะอยางยิ่งตองแยกแยะใหไดวาใครเปนผูทําการตัดสินใจซื้อ รูปแบบและกระบวนการซื้อเปนอยางไร ซึ่งมีความจําเปนอยางยิ่ง (Kotler. 2004 : 200 - 208)

บทบาทการซื้อ (Buying Roles) ผลิตภัณฑหลาย ๆ ชนิดสามารระบุผูซื้อไดโดยงาย โดยเราสามารถจําแนกบทบาทท่ีคนเรา

อาจตัดสินใจซื้อออกเปน 5 บทบาท ดังนี้1. ผูริเริ่ม (Initiator) คือ บุคคลแรกท่ีเสนอความคิดเกี่ยวกับการซื้อผลิตภัณฑและบริการ2. ผูมีอิทธิพล (Influencer) คือ บุคคลท่ีเปนเจาของความคิด หรือขอแนะนําท่ีมีผลตอ

การตัดสินใจซื้อ3. ผูตัดสินใจ (Decider) คือ บุคคลท่ีทําการตัดสินใจในการซื้อ เชน ควรซื้อหรือ

ไมควรซื้ออะไร ซื้ออยางไร และซื้อท่ีไหน เปนตน4. ผูซ้ือ (Buyer) คือ บุคคลท่ีกระทําการซื้อหรือลงมือซ้ือ5. ผูใช (User) คือ บุคคลท่ีเปนผูใชหรือบริโภคผลิตภัณฑ

พฤติกรรมการซื้อ (Buying behavior) การตัดสินใจของผูบริโภคจะแตกตางกันไปตามประเภทของการตัดสินใจซื้อ ซึ่งสามารถ

จําแนกพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคออกเปน 4 ประเภท ตามระดับความผูกพันและระดับความแตกตางระหวางตราสินคาตาง ๆ ดังภาพท่ี 2.15

ความแตกตางของตราสินคา

ความผูกพันสูง ต่ํา

มาก พฤติกรรมการซื้อท่ีซับซอนพฤติกรรมการซื้อท่ีแสวงหา

ความหลากหลาย

นอยพฤติกรรมผูซ้ือท่ีลดการ

ไมลงรอยกันพฤติกรรมการซื้อท่ีเปนนิสัย

ภาพท่ี 2.15 จําแนกพฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผูบริโภคท่ีมา : Kotler. 2004 : 201

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 65: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

52

พฤติกรรมการตัดสินใจซื้อของผูบริโภค จําแนกได ดังนี้1. พฤติกรรมการซื้อท่ีซับซอน (Complex buying behavior)

ผูบริโภคมีความยึดม่ันกับพฤติกรรมการซื้อท่ีซับซอน เ ม่ือเขาไปมีความเกี่ยวพันอยางมากกับการซื้อและตระหนังถึงความแตกตางของตรายี่หออยางชัดเจน มักเกิดเ ม่ือผลิตภัณฑราคาแพง ซื้อไมบอยนัก มีความเสี่ยงสูง ทําให เขาเปนบุคคลท่ีมีรสนิยมใ ชสินคาราคาแพง (Self-Expensive) ตามปกติ ผูบริโภคจะไมรู จักเกี่ยวกับประเภทผลิตภัณฑมากนักในกรณีท่ีนาน ๆ ซื้อ เปนของราคาสูง จึงมีความเสี่ยงสูง เชน การซื้อรถยนตเปนตน

2. พฤติกรรมการซื้อท่ีลดการไมลงรอยกัน (Dissonance-Reducing Buyer Behavior) บางครั้งผูบริโภคมีความชอบพอผูกพันอยางมากในสินคาที่จะซื้อ จึงทําให เขาเห็น

ถึงความแตกตางเล็ก ๆ นอย ๆ ในตราสินคา ความชอบพอผูกพันอยางมากนี้ขึ้นอยูกับความจริง ท่ีวาสินคานั้น มีราคาแพง มีการซื้อไมบอยนัก และมีความเสี่ยงใ นการซื้อ ในกรณีนี้ผูซื้อจะเดินดูสินคาดังกลาวหลาย ๆ แหง แลวพบวาสินคาแตละตรามีความแตกตางกันนอยเต็มที เขาก็จะตัดสินใจซื้อโดยอาศัยความสะดวกหรือตราท่ีราคาต่ํากวา แตหากผูบริโภคพบวาสินคามีความแตกตางกัน อยางชัดเจน เขาอาจตัดสินใจซื้อสินคาท่ีราคาสูงกวาก็ได ภายหลังการซื้อผูบริโภคอาจมีประสบการณความไมลงรอยกันหรือผิดหวังในการซื้ออันมีตนเหตุมาจากคุณสมบัติท่ีไมพอใจหรือไดยินสิ่ง ท่ีพอใจของยี่หออื่น ผูบริโภคจะตื่นตัวตอขอมูลท่ีมาสนับสนุนการตัดสินใจของเขา เชน เม่ือผูบริโภคซื้อแลวยอมเกิดความเชื่อส่ิงใหมและ จบลงดวยการเกิดทัศนคติใหม การสื่อสารทางการตลาดควรสนับสนุน ทําใหเกิดความเชื่อและการประเมินคาท่ีชวยใหผูบริโภคเกิดความรูสึกท่ีดีตอตราสินคาท่ีเขาเลือก โดยการตอกย้ําวาเขาเลือกถูกตองแลวนั่นเอง

3. พฤติกรรมการซื้อท่ีเปนนิสัย (Habitual Buying Behavior) ผลิตภัณฑหลายอยางขายภายใตเงื่อนไขความชอบพอและความผูกพันต่ํา และ

ไมเห็นความแตกตางลักษณะเดนของตราสินคา เชน การซื้อเกลือ มีความผูกพันนอยมาก ผูบริโภคเพียงไมกี่รานและมองหาตราสินคาท่ีตองการหากเขาไดเห็นตรายี่หอท่ีตองการถือเปนการซื้อ โดยนิสัย ไมไดมีความภัคดีตอตราสินคา สิ่งบงชี้วาผูบริโภคมีความผูกพันต่ํา คือราคาต่ํา ซื้อบอยมาก ผลิตภัณฑเหลานี้ผูบริโภคไมไดผานกระบวนการตัดสินใจซื้อตามข้ันตอนปกติ เพราะผูบริโภคไมไดแสวงหาขอมูลเพิ่มเติมและไมไดตัดสินใจวาจะซื้อตรงไหน ทางตรงกันขามเขาไดรับขอมูลจากโทรทัศนหรือสิ่งพิมพ โฆษณานี้สรางความคุนเคยตอตรามากกวาความชอบพอตอตรา ก็คือจะพอใจในตราท่ีคุนเคยมากกวาตราท่ีไมเคยรูจักมากอน หลังการซื้อพวกเขาไมไดประเ มินทางเลือก ท่ีเขาเลือก เขามีความผูกพันกับตราสินคาท่ีซื้อต่ํา กระบวนการซื้อเริ่มจากความเชื่อตอตรา ทําให เกิดการเรียนรูทางออมและตามมาดวยพฤติกรรมการซื้อท่ีอาจจะติดตามดวยการประเมินผล

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 66: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

53

4. พฤติกรรมการซื้อท่ีแสวงหาความหลากหลาย (Variety-seeking buying behavior) บางครั้งการซ้ือผลิตภัณฑที่มีความแตกตางกันหรือมีความหลากหลายสูงแตระดับ

ความผูกพันตอตรายี่หอตํ่า จะเปนสาเหตุทําใหผูบริโภคเปลี่ยนตรายี่หอไดบอย ๆ ขึ้นอยูกับวาใครจะอํานวยความสะดวกใหมากกวากัน หรือนําเสนอไดดีกวากัน หรือใครมีการสง เสริมการขาย ใครไมมีเปนตน ถึงมาวาผูบริโภคจะรับทราบวาเปนผลิตภัณฑท่ีแตกตางกันแตจะใชกระบวนการการประเมินนอยมากและมักเปนผลิตภัณฑท่ีมีมากมายหลายตรายี่หอ มีการแขงขันสูง ราคาสินคาต่ํา ผลิตภัณฑท่ีอยูในระดับตน ๆ หรือเปนผูนําตองใชความพยายามใ นการหาขอไดเปรียบ เชน วางในชั้นวางสินคาที่เห็นชัดเจนโดดเดนหยิบฉวยไดง าย จัดกองโชว หรือจัดรายการสง เสริม การขาย ลด แลก แจก แถม เปนตน

แนวคิดสวนผสมทางการตลาด

ไดมีผูใหคําจํากัดความของการตลาดไว ดังนี้พิบูล ทีปะปาล. (2549 : 10) กลาวไววา การตลาด หมายถึงการดําเนินงานท่ีเกี่ยวของกับ

ตลาดโดย ตรง กระ ทําขึ้นเพื่อ ให เกิดกา รแลกเปลี่ ยน และส รางความสัมพันธกับลูกคาโดย มีจุดมุงหมายเพื่อสรางสรรคคุณคาและตอบสนองความจําเปน และความตองการของลูกคาใหไดรับความพอใจ ดังนั้นจึงสอดคลองกับท่ีกลาววา การตลาด เปนกระบวนการในอันท่ีจะทําใหปจเจกชน และกลุมบุคคลไดรับในสิ่งท่ีเขามีความจําเปนและมีความตองการ โดยอาศัยการสรางสรรคและการแลกเปลี่ยนผลิตภัณฑและสิ่งของมีคุณคากับผูอื่น

ปราณี เอี่ยมลออภักดี. (2549 : 7) กลาวไววา นิยามความหมาย ตลาด เปนสถานท่ีท่ีผูขายและผูซื้อมาพบกันเพื่อการซื้อและการขายผลิตภัณฑ นักการตลาดอธิบายวา ผูซื้อเปนผูกอให เกิดตลาดและผูขายเปนผูกอใหเกิดอุตสาหกรรม

ฉัตราพร เสมอใจ. (2550 : 52 - 53) กลาววา กลยุทธการบริหารการตลาดท่ีไดรับความนิยมมาหลายทศวรรษ เปนแนวคิดหลักท่ีใชในการพิจารณาองคประกอบท่ีสําคัญในการตอบสนองตอตลาดไดอยางเหมาะสม โดยเริ่มตนท่ีธุรกิจตองมีส่ิงที่จะนําเสนอตอลูกคาหรือผลิตภัณฑ ทําการตั้งราคาใหเหมาะสม หาวิธีการนําสงถึงลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพดวยการบริหารชองทางการจําหนาย และหาวิธีการสื่อสารเพื่อจะสรางขาวสารและกระตุนใหเกิดการซื้อดวยการทําการสง เสริมการตลาด ซึ่งกลยุทธเหลานี้ถือวาเปนเคร่ืองมือทางการตลาดสําคัญที่เปนท่ีรูจักกันดีซึ่งรวมเรียกวา สวนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หรือ 7Ps ไดแก

1. ผลิตภัณฑ (Product) ในการกําหนดกลยุทธการบริหารการตลาดไมวาจะเปน ในธุรกิจท่ีผลิตสินคาหรือบริการก็ตามตางตองพิจารณาถึงลูกคา กลาวคือ ในการวางแผนเกี่ยวกับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 67: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

54

ผลิตภัณฑตองพิจารณาถึงความจําเปนและตองการของลูกคาท่ีมีผลตอผลิตภัณฑนั้น ๆ เปนหลัก เพื่อธุรกิจสามารถนําเสนอผลิตภัณฑท่ีตรงกับความตองการของลูกคาใหมากท่ีสุด โดยเฉพาะ ในตลาดท่ีมีการแขงขันสูง ท่ีทําใหตองมุง เนนตลาดเฉพาะสวน การเขาใจถึงความตองการและสามารถตอบสนองความตองการเหลานั้นได จะสามารถสรางความพึงพอใจและความภักดีของลูกคาไดซึ่งผลิตภัณฑในธุรกิจบริการมีความแตกตางจากสินคาท้ังดานรูปแบบและการดําเนินงาน

2. ราคา (Price) หมายถึง คุณคาของผลิตภัณฑในรูปตัวเงิน ราคาเปนตนทุนของลูกคา ผูบริโภคจะเปรียบเทียบระหวางคุณคาของผลิตภัณฑกับราคา ถาคุณคาสูงกวาราคา ลูกคาจะตัดสินใจซื้อ ดังนั้นผูกําหนดกลยุทธดานราคาตองคํานึงถึง คุณคาที่รับรูในสายตาผูบริโภค ตนทุนสินคาและคาใชจายท่ีเกี่ยวของ ภาวการณแขงขัน และปจจัยอ่ืน ๆ เชน ภาวะเศรษฐกิจ นโยบายภาครัฐบาล

3. ชองทางการจัดจําหนาย (Place) เปนวิธีการหรือกิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับการนําผลิตภัณฑออกสูตลาด หรือหมายถึง การกําหนดชองทางในการจัดจําหนาย การจัดจําหนายประกอบดวย 2 สวน ดังนี้

3.1 ชองทางการจัดจําหนาย (Channel of Distribution) เปนเสนทางท่ีผลิตภัณฑ ถูกเปลี่ยนมือไปยังตลาด ในระบบชองทางการจัดจําหนาย จะประกอบดวยผูผลิต คนกลาง ผูบริโภคชองทางการจัดจําหนายอาจผานคนกลางหรือไมผานคนกลางก็ได

3.2 การกระจายตัวสินคา (Physical Distribution) ห มายถึง กิจกรรมที่เกี่ยวของ ในการเคลื่อนยายตัวสินคาจากผูผลิตไปยังผูบริโภค การกระจายสินคาจึงประกอบดวยงานท่ีสําคัญ คือ การขนสง การเก็บรักษา การคลังสินคา และการบริหารสินคาคงเหลือ

4. การสง เสริมการตลาด (Promotion) หมายถึ ง การติดตอสื่อสารเกี่ยวกับขอมูลระหวางผูซ้ือกับผูขายเพื่อสรางทัศนคติและพฤติกรรมการซื้อ การติดตอสื่อสารอาจใชพนักงานขายทําการขายและติดตอสื่อสารโดยไมใชคน เครื่องมือในการติดตอสื่อสารมีหลายประการ ซึ่งอาจเลือกใชหนึ่งหรือหลายเครื่องมือ ตองใชหลักเลือกเครื่องมือสื่อสารแบบบูรณาการ ( Integrated Marketing Communication : IMC) โดยพิจารณาถึงความเหมาะสมกับลูกคา ผลิตภัณฑ คูแขงขัน โดยบรรลุจุดมุงหมายรวมกันได เคร่ืองมือสงเสริมการตลาดท่ีสําคัญ มีดังนี้

4.1 การโฆษณา (Advertising) เปนกิจกรรมในการเสนอขาวสารเกี่ยวกับองคการและผลิตภัณฑ บริการหรือความคิดท่ีตองการจายเงิน โดยผูอุปถัมภรายการคือ ผูผลิตหรือผูจําหนายสินคากับกลุมผูรับขาวสารจํานวนมาก ซึ่งอาจอยูในรูปแบบของการแจงขาวสาร การจูงใจให เกิดความตองการหรือการเตือนความทรงจํา

4.2 การสงเสริมการขาย (Sale Promotion) เคร่ืองมือการสงเสริมการขาย เชน คูปอง การประกวด ของแถม และอื่น ๆ มีประโยชนแตกตางกัน 3 ประการ ไดแก การสื่อสาร สามารถดึง

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 68: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

55

ความสนใจของผูบริโภคเขาสูตัวสินคา และการจูงใจ มอบสิทธิพิเศษ สิ่งจูงใจซึ่ง มีคุณคาตอผูบริโภคเชิญชวน เปนการเชิญชวนใหผูบริโภคตัดสินใจซื้อสินคาทันที การสง เสริมการขายเปนเครื่องมือระยะสั้น เพื่อกระตุนการตอบสนองใหเร็วขึ้นเปนงานเกี่ยวของกับการสราง การนําไปใช และการเผยแพรวัสดุและเทคนิคตาง ๆ โดยใชการเสริมการโฆษณา และชวยเสริมการขาย การสง เสริมการขายอาจจะทําโดยวิธีทางไปรษณีย แคตตาล็อก สิ่งพิมพจากบริษัทผูผลิต การจัดแสดงสินคา การแขงขันการขายและเคร่ืองมืออ่ืน ๆ โดยมีจุดมุงหมาย คือ เพิ่มความพยายามใ นการขายของพนักงานขาย ผูจําหนายและผูขาย ใหขายผลิตภัณฑ และใหลูกคาตองการซื้อผลิตภัณฑยี่หองนั้น ทําใหการขายโดยใชพนักงานขายและการโฆษณาไปไดอยางดี เพราะการสงเสริมการขายเปนการใหสิ่งจูงใจพิเศษ

4.3 การขายโดยใชพนักงานขาย (Personal Selling) การใชพนักงานขายเปนเคร่ืองมือจะไดผลดีเม่ือผูบริโภคอยูในขั้นสุดทายของกระบวนการตัดสินใจซื้อโดยเฉพาะอยางยิ่ง เพื่อสรางความชอบ การโนมนาว และการตัดสินใจซื้อ การใชพนักงานขายมีคุณสมบัติดังนี้ ไดแก เปนการเผชิญหนาการปฏิสัมพันธอยางฉับพลันระหวางบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป เปนการหวานพืชเพื่อหวังผล การใชพนักงานขายกอใหเกิดความสัมพันธในหลายระดับตั้งแตการนําเสนอขอมูลเพื่อการขายไปจนถึงมิตรภาพสวนบุคคลอันลึกซึ้ง การตอบสนอง การใชพนักงานขายทําใหผูซื้อมีความรูสึก มีความรับผิดชอบท่ีจะตองรับฟงการนําเสนอการขายการใชพนักงานขายเปนรูปแบบการติดตอสื่อสารจากผูสงขาวสารไปยังผูรับขาวสารโดยตรง อาจเรียกวาเปนการติดตอสื่อสารระหวางบุคคลผูสงขาวสารจะสามารถรับรูและประเมินผลจากผูรับขาวสารไดทันที พนักงานขายสามารถแนะนํา ชักชวนใหผูบริโภคซ้ือสินคาและบริการ รวมไปถึงกระตุนใหเพิ่มการใชบริการสําหรับผู ท่ีเปนลูกคาเดิมและยังสามารถใหความชวยเหลือดูแลลูกคา และเรียนรูลวงหนาวาลูกคาตองการอะไร เพื่อทําให เกิดความตองการในการขายและบริการอ่ืนใหกับลูกคาเพิ่มเติมตอไปในอนาคต

4.4 การใหขาวสารและการประชาสัมพันธ (Publicity and Public Relations) จุดเดนของการประชาสัมพันธและการใหขาวสารท่ีแตกตางจากเครื่องมือการสง เสริมการตลาดอื่น ๆ คือ มีความนาเชื่อถือ สามารถเจาะเขาถึงกลุมลูกคา สรางเปนเรื่องราวเกี่ยวกับบริษัทหรือสินคาได การใหขาวเปนการเสนอความคิดเกี่ยวกับสินคา บริการ หรือนโยบายของบริษัท โดยผานสื่อซึ่งอาจไมจําเปนตองมีการจายเงิน หรือจายเงินก็ได การใหขาวสารเปนสวนหนึ่งของการประชาสัมพันธ

สวนการประชาสัมพันธ หมายถึง ความพยายามใ นการสื่อสารเพื่อสรางทัศนคติท่ีดีตอองคการหรือผลิตภัณฑ เพื่อสรางความสัมพันธท่ีดีกับชุมชนตาง ๆ หรือการเผยแพรขาวสารท่ีดี การสรางภาพพจนท่ีดี โดยการสรางเหตุการณหรือเรื่องราวท่ีดี ซึ่ง เครื่องมือในการประชาสัมพันธ เชน การประกาศในท่ีชุมชน การแจกสิ่งพิมพ เผยแพร การทํารายงานประจําป การเปนสปอนเซอรในงานตาง ๆ การใหขาวสารนวัตกรรมใหม ๆ เปนตน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 69: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

56

4.5 การบอกกลาวแบบปากตอปาก (Word of Mouth) มีบทบาทสําคัญอยางยิ่ งสําหรับธุรกิจบริการ เพราะผูท่ีเคยใชบริการจะทราบวาการบริการของธุรกิจนั้นเปนอยางไรจากประสบการณของตน แลวถายทอดสิ่งนั้นตอไปยังผูอื่นซึ่งอาจจะเปนผูใชบริการในอนาคต หาก ผูท่ีเคยใชบริการมีความรูสึกท่ีดี ประทับใจในบริการ ก็จะบอกตอ ๆ ไปยังญาติพี่นองและคนรูจัก และแนะนําใหใชบริการดวยซึ่งสามารถชวยลดคาใชจายในการสง เสริมการตลาดและการติดตอ สื่อสารไดมาก แตในทางตรงกันขาม หากไมประทับใจในบริการก็จะบอกตอไปในทางที่ไมดี

5. พนักงานขายหรือบุคลากร (People) พนักงานหรือบุคลากรจะประกอบไปดวยบุคคลท้ังหมดในองคกรท่ีใหบริการนั้น ซึ่งจะรวมตั้งแตเจาของกิจการ ผูบริหาร พนักงานใ นทุกระดับ ซึ่งบุคคลดังกลาวท้ังหมดมีผลตอคุณภาพตอการใหบริการ

6. กระบวนการใหบริการ (Process) หมายถึง ขั้นตอนในการใหบริการเพื่อสงมอบคุณภาพในการใหบริการลูกคาไดรวดเร็ว และประทับใจ ลูกคาจะพิจารณาใน 2 ดาน คือ ความซับซอน (Complexity) และความหลากหลาย (Divergence) ในดานของความซับซอนจะตองพิจารณาถึงขั้นตอนและความตอเนื่องของงานในกระบวนการ เชนความสะดวกรวดเร็วในการใหบริการ

7. การสรางและการนําเสนอลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence & Presentation)ไดแก สภาพแวดลอมของสถานที่ใหบริการ การออกแบบตกแตงและแบงสวนหรือแผนกของพื้นท่ีในอาคาร และลักษณะทางภายภาพอื่น ๆ ท่ีสามารถดึงดูดความสนใจจากลูกคาและทําใหมองเห็นภาพลักษณของการบริการไดอยางชัดเจน รวมไปถึงอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชตาง ๆ ท่ีมีไวในการใหบริการดวย

ตารางที่ 2.5 การเปรียบเทียบสวนประสมทางการตลาดในมุมมองของธุรกิจและมุมมองของล ูกคา

สวนประสมทางการตลาดในมุมมองของธุรกิจ (7Ps) สวนประสมทางการตลาดในมุมมองของล ูกคา (7Cs)

1. ผลิตภัณฑ2. ราคา 3. ชองทางการจัดจําหนาย 4. การสงเสริมการตลาด

1. คุณคาที่จะไดรับ 2. ตนทุน3. ความสะดวก 4. การติดตอสื่อสาร

5. พนักงาน/บุคลากร 6. กระบวนการใหบริการ 7. ส่ิงแวดลอมทางกายภาพ

5. การดูแลเอาใจใส 6. ความสําเร็จในการตอบสนองความตองการ 7. ความสบาย

ท่ีมา : ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. 2549 : 82

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 70: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

57

พอสรุปไดวา ปจจัยทางการตลาดหรือสวนประสมทางการตลาด ประกอบดวย 7Ps ไดแก ผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย การสงเสริมการตลาด พนักงานหรือบุคลากร กระบวนการใหบริการ และสิ่งแวดลอมทางกายภาพ เปนกลยุทธทางการตลาดท่ีมีบทบาทตอการดําเนินธุรกิจการคาไดอยางลงตัว ซึ่งไมเพียงแตจะจําหนายสินคาใหกับผูบริโภคเพียงอยางเดียว แตจะเนนถึงการใหบริการผูบริโภค เพื่อใหเกิดความพึงพอใจและสามารถตอบสนองความตองการของผูบริโภคได นอกจากนี้ ธุรกิจจะตองสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาดวย จึงจะถือไดวาสามารถบริหารการตลาดของธุรกิจใหประสบผลสําเร็จได

งานวิจัยที่เกี่ยวของ

การศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยท่ีมีผลตอการใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน ในเขตจังหวัด สุราษฎรธานีผูวิจัยไดสนใจงานวิจัยท่ีเกี่ยวของในประเทศและตางประเทศ ไวดังนี้

งานวิจัยภายในประเทศสมโภช แซลี้. (2551) ศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของผูปวยตอคลินิกทางเดินอาหาร

โรงพยาบาลเชียงใหม ราม มีวัตถุประสงคเพื่ อศึกษาเรื่อง ความพึง พอใจของผูปวยตอคลินิ ก ทางเดินอาหาร โรงพยาบาลเชียงใหมราม ผลการศึกษาพบวาผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปน เพศหญิง มีอายุ 21 - 30 ป มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพ พนักงานบริษัท/รานคา/ลูกจาง มีรายไดเฉลี่ยตอเดือน 10,000 - 20,000 บาท การรูจักหรือทราบขอมูลเกี่ยวกับคลินิกทางเดินอาหารของโรงพยาบาลเชียงใหมราม คือ ญาติพี่นอง/เพื่อน โดยการชําระเงินและสิทธิ ท่ีใชในการรักษา คือ ชําระเงินเอง และการตรวจ/รักษา คือ กระเพาะผลการศึกษาปจจัยสวนประสมการตลาดบริการ พบวา ความพึงพอใจโดยรวมมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากลําดับแรกคือ ปจจัยดานบุคลากร ปจจัยดานผลิตภัณฑหรือบริการ ปจจัยดานกระบวนการใหบริการ ปจจัยดานการสรางและนําเสนอลักษณะทางกายภาพ ปจจัยดานสถานท่ี ปจจัยดานราคา สําหรับปจจัยดานการสง เสริมการตลาด มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง

วิเชียร ลิมปชยาพร และคณะ. (2548) ศึกษาเรื่องปจจัยท่ีมีผลตอความพึงพอใจ และ การเลือกใชบริการจากสถานบริการทันตกรรม ของนักศึกษาปริญญาโทหลักสูตรบริหารธุรกิจ (MBA)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในการศึกษามีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาปจจัยท่ีสรางความพอใจหรือความไมพอใจ แกผูมารับบริการทางทันตกรรม และปจจัยสําคัญในการตัดสินใจเลือกใช สถานบริการ จากสถานบริการทันตกรรมใ นท่ีตาง ๆ รวมไปถึงการศึกษาถึงปจจัยท่ีจะมีผลตอการตัดสินใจกลับมาใชบริการซ้ําในสถานบริการทันตกรรมที่เคยไปใชบริการในครั้งลาสุด ท้ังนี้ เพื่อท่ีจะนํา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 71: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

58

ขอมูลเหลานี้มาใชเปนแนวทางสําหรับการปรับปรุงพัฒนา บริการทางทันตกรรมตอไปจากงานวิจัยนี้ ทําใหทราบถึง ปจจัยท่ีสรางความพอใจหรือความไมพอใจแกผูมารับบริการทางทันตกรรมนั้น มีอะไรบาง และปจจัยใดท่ีเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจเลือกใช สถานบริการ จากสถานบริการทันตกรรมในที่ตาง ๆ รวมไปถึงการศึกษาถึงปจจัยท่ีจะมี ผลตอการตัดสินใจกลับมาใชบริการซ้ํา

สิรวิชญ บริพันธกุล. (2548) ศึกษาเรื่อง ปจจัยสวนผสมทางการตลาดบริการท่ีมีผลตอชาวตางชาติในการเลือกใชบริการทางทันตกรรมในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยสวนผสมทางการตลาดบริการท่ีมีผลตอชาวตางชาติในการเลือกใชบริการทางทันตกรรมในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษาพบวาการบริการทันตกรรมที่เขารับมากท่ีสุด คือ การขูดหินน้ําลาย ขัดฟน เวลาท่ีไปพบทันตแพทย คือ วันจันทร - ศุกร รับขอมูลเกี่ยวกับคลินิก ทันตกรรม จากเ พื่อน/ ครอบครัว รับผิดชอบค าใชจ ายทา งทันตกรรมดวยตัวเอง /ครอบครั ว ไมเคยเปลี่ยนคลินิกทันตกรรม และพอใจมากในการรับบริการทางทันตกรรม ปจจัยสวนผสม ทางการตลาดท่ีมีผลตอการเลือกใชบริการทางทันตกรรมใ นระดับมากท่ีสุด ไดแก ดานบุคลากร อันดับตอมา คือ ดานผลิตภัณฑ ดานกระบวนการ ดานราคา และดานสถานที่ มีระดับความสําคัญมาก สวนปจจัยสวนผสมทางการตลาดท่ีมีผลตอการเลือกใชบริการทางทันตกรรมใ นระดับปานกลาง คือ ดานลักษณะทางกายภาพ และดานการสงเสริมการตลาด

อรรัฐา พรธนาชัย. (2548) ศึกษาเรื่องปจจัยสําคัญในการตัดสินใจใชบริการคลินิกแพทยปริญญาของผูบริโภคในเขตจังหวัดชลบุรี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ปจจัยสําคัญในการตัดสินใจใชบริการคลินิกแพทยปริญญาของผูบริโภค ในเขตจังหวัดชลบุรี และเพื่อศึกษาปญหาในการใชบริการคลินิกแพทยปริญญาของผูบริโภค ในเขตจังหวัดชลบุรี ผลการศึกษา พบวาผูมาใชบริการคลินิกแพทยปริญญา สวนใหญเปนหญิงอายุระหวาง 21 - 25 ป อาชีพพนักงานเอกชน อาศัยอยูในเขตอําเภอเมืองชลบุรีเปนสวนมาก สวนใหญเขามาใชบริการลดน้ํ าหนักจากคลินิกแพทยปริญญา โดยผลการรักษาสวนมากไดผลดีมูลเหตุจูงใจท่ีสวนใหญมาใชบริการคือ มีคนแนะนําหรือบอกตอปจจัยในการตัดสินใจใชบริการคลินิกแพทยปริญญาของผูบริโภคในเขตจังหวัดชลบุรี ท้ังปจจัยดานคุณลักษณะของแพทย ปจจัยดานคุณลักษณะของพนักงาน ปจจัยดานบรรยากาศในคลินิก ปจจัยดานอัตราคารักษา และปจจัยดานการสงเสริมการตลาด เปนปจจัยท่ีมีความสําคัญตอการตัดสินใจ ใชบริการคลินิกแพทยปริญญา ในระดับมากผูใชบริการสวนใหญ ประสบปญหาในการใหบริการคลินิกแพทยปริญญา ในระดับนอย แตเม่ือพิจารณาลําดับความสําคัญของ ปจจัยท่ีผูใชบริการประสบจากการมาใชบริการคลินิกแพทยปริญญาพบวาผูใชบริการประสบปญหา ในดานอัตราคารักษา ของคลินิกแพทยปริญญา มากเปนอันดับแรก ร องลงมาเปนปญหาจากการสง เสริมการตลา ด ของคลินิกแพทยปริญญา และปญหาจากแพทยประจําคลินิกแพทยปริญญา ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 72: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

59

ดนุภาส สลางสิงห. (2548) ศึกษาเรื่อง ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอผลการปฏิบัติงานในคลินิก ทันตกรรม เพื่อการศึกษาของนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรทันตสาธารณสุขศาสตร รุน ท่ี 25 วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแกน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอผลการปฏิบัติ งานในคลินิก ทันตกรรม เ พื่อการศึกษาของนักเรีย นหลักสูตรปร ะกาศนียบัตร ทันตสาธารณสุขศาสตร วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแกน ผลการศึกษาพบวา ปจจัยดานความรูสึกนึกคิดเกี่ยวกับตัวเอง ดานความคิดเห็นเกี่ยวกับตัวเอง ดานความเขาใจตนเอง ดานพฤติกรรมการฝกปฏิบัติงาน และความคิดเห็นการปฏิบัติงาน ไมมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

เจษฎา จินตนาวัน. (2547) ศึกษาเรื่อง ความพรอมของคลินิกทันตกรรมเพื่อรองรับ การเปนศูนยกลางบริการ สุขภาพแหงเอเชีย: ศึกษากรณีเมืองพัทยา มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระดับความพรอมของคลินิก ทันตกรรมและเปรียบเทียบปจจัยท่ีมีผลตอระดับความพรอมของคลินิก ทันตกรรมในดาน ประสิทธิภาพการวางแผนและควบคุม ระดับความพรอมของคลินิกทันตกรรม ในดานสมรรถนะของคลินิกทันตกรรม และระดับความพรอมของคลินิกทันตกรรมทางดาน ภาวะผูนําและความรวมมือของผูปฏิบัติงาน ระดับความพรอมของ คลินิกทันตกรรมโดยรวมทุกดานตามความเห็นของผูบริหารอยูในระดับปานกลาง ตามความเห็นของพนักงานอยูในระดับสูง เม่ือพิจารณา ในรายดาน พบวา ระดับความพรอมของคลินิกทันตกรรมดานการวางแผนและควบคุม ตามความเห็นของทั้งผูบริหารและพนักงานอยูในระดับปานกลาง สวนดานสมรรถนะของคลินิก ทันตกรรมและดานภาวะผูนําและความรวมมือของผูปฏิบัติงานตามความเห็นของท้ังผูบริหารและพนักงานอยูในระดับสูง สําหรับปจจัยท่ีมีผลตอระดับความพรอมของคลินิกทันตกรรมโดยรวม ทุกดานคือ เพศของผูบริหาร การลงทุนของผูบริหาร และตําแหนงงานของพนักงาน

จักรพรรณ คําใจ. (2547) ศึกษาเรื่อง ปจจัยท่ีมีผลตอการเลือกใชบริการหองปฏิบัติการ ทันตกรรมของคลินิกทันตกรรม ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ ศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการเลือกใชบริการหองปฏิบัติการทันตกรรมของคลินิกทันตกรรม ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ผลการศึกษา พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปน เพศชาย มีอายุระหวาง 31 - 40 ป อยูในสาขาทันตกรรมท่ัวไป มีประสบการณในการทํางานมากกวา 10 ป เปนเจาของคลินิก ทันตกรรมและเปนทันตแพทยเต็มเวลา รักษาผูปวยเฉลี่ย 50 - 100 คนตอเดือน ใชบริการหองปฏิบัติทันตกรรม 2 - 3 แหง สงงานใหหองปฏิบัติการทันตกรรม 10 - 20 ครั้งตอเดือน สวนใหญทันตแพทยตัดสินใจเลือกใชหองปฏิบัติการทันตกรรมดวยตัวเอง และใหความสําคัญตอปจจัยดานผลิตภัณฑมากท่ีสุด ปจจัยสวนประสมการตลาดบริการท่ีมีผลตอการตัดสินใจเลือกใชบริการหองปฏิบัติการทันตกรรมมีความสําคัญ โดยภาพรวมอยูในระดับมาก ซึ่งปจจัยท่ีมีคาเฉลี่ยอยูในระดับมากท่ีสุด คือ ปจจัยดานกระบวนการ รองลงมาที่มีคาเฉลี่ยอยูในระดับมาก คือ ปจจัยดานชองทางการจัดจําหนาย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 73: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

60

ปจจัยดานบุคคล ปจจัยดานผลิตภัณฑและปจจัยดานราคา สวนปจจัยดานการสง เสริมการตลาดและปจจัยดานหลักฐานทางกายภาพ มีคาเฉลี่ยอยูในระดับปานกลาง

งานวิจัยตางประเทศKay Lawrimore Belanger. (2005) เรื่อง พฤติกรรมการซื้อของผูบริโภคและการตัดสินใจ

สรุปวา พฤติกรรมผูบริโภคประกอบดวยกิจกรรมการเลือก การซื้อ และการใชผลิตภัณฑ และ การบริการก็เชนเดียวกัน ตองการความพอใจและทําให เกิดความปรารถนา กิจกรรมนั้นรวมถึงกระบวนการท่ีเกี่ยวกับจิตใจและอารมณ และการกระทําทางกายภาพ โดยทฤษฎีพฤติกรรมผูบริโภคเปนการเคลื่อนยายสินคาหรือบริการผานขั้นตอนการซื้อสูกระบวนการตัดสินใจ อาศัยทฤษฎีดังนี้ การจําปญหาคนหา (ภายในและภายนอก) ประเมินคาทางเลือกรวมถึงการประเมินคาผลิตภัณฑและบริการ การตัดสินใจ พฤติกรรมการซื้อ การตัดสินใจของผูบริโภค การเขาใจพฤติกรรมผูบริโภคชวยใหนักการตลาดตัดสินใจไ ดดี และระบุแนวโนมของผูบริ โภคได รวมถึงตลาดเปาหมา ย ซึ่งแนวโนมเหลานี้คือสิ่ง จําเปนสําหรับการตอบสนองปญหาและโอกาส กับกลยุทธการตลาด นักการตลาดจะเขาใจผูบริโภคตองรูจักออกแบบ และระบุสวนตลาดเปาหมาย และโอกาสในการแขงขันรวมถึงผลประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

Sektionen. (2005) ไดศึกษาถึงเรื่องการวิเคราะหความพึงพอใจของลูกคาในการบริการ พบวา วัตถุประสงคของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาเลือกวาปจจัยใดท่ีมีอิทธิพลตอความพึงพอใจ ของลูกคาในการบริการ โดยมีการนําเอจากทฤษฎีและประสบการณตาง ๆ ของผูสัมภาษณ มาใช ในการวิเคราะหพิจารณา ทฤษฎี ท่ีนํามาใชในการวิเคราะหพิจารณา มีมิติ 3 ดาน มิติท่ี 1 สนใจเกี่ยวกับการบริการภายในของบริษัทวา การบริการอันไหนท่ีมีอิทธิพลทางออมตอความพึงพอใจของลูกคารวม โดยมุงเนนการบริการภายในเกี่ยวกับการวิเคราะห การคํานวณ กระบวนการและกิจกรรมท่ีมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของลูกคาในการบริการ มิติท่ี 2 เปนการจัดการเกี่ยวกับคุณภาพภายนอกและสิ่งที่มีความสัมพันธระหวางผูใหบริการและลูกคา โดยมุง เนนกลยุทธทางการตลาดบริการท่ีมีความสัมพันธกับความพึงพอใจของลูกคา เชน การตลาดบริการแบบผสม การสง เสริมการบริการ และการบริการแบบเผชิญหนา มิติท่ี 3 เปนการใชแนวคิดคุณภาพการบริการภายใต การบัญชีท่ีถูกตองตรงกับระดับความพึงพอใจของลูกคา

Ronis et al. (1996 : 512 - 514) ศึกษาเรื่ององคประกอบสําหรับการทํานายถึงพฤติกรรมการปองกันสุขภาพชองปาก ซึ่งพบวา ตามการวิเคราะหความสัมพันธของการตรวจสุขภาพชองปาก การใชไหมขัดฟนและการแปรงฟน สามารถทํานายพฤติกรรมทันตสุขภาพไดจากแตละองคประกอบ ซึ่งจากการสํารวจการแปรงฟน การใชไหมขัดฟนและการตรวจฟนจากการสุมตัวอยางจากกลุมวัยรุนในเขตเมืองดิทรอยด (Detroit) พบวา ตัวแปรพฤติกรรมท่ีตองการยอมรับถึงประโยชนและคุณคาคือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 74: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

61

การใชไหมขัดฟน สําหรับตัวอยางการทํานายที่ดีท่ีสุดคือ ความไววางใจในความสามารถของการใชไหมขัดฟน และความเชื่อเกี่ยวกับประโยชนของไหมขัดฟน และอุปสรรคของการใชไหมขัดฟน

จากผลงานวิจัยท่ีนํามากลาวขางตนมีประโยชนและเกี่ยวของกับผลงานวิจัยในคร้ังนี ้กลาวคือ ไดนําแนวคิด วิธีการ และผลการศึกษาดังกลาวมาเปนแนวทางในการกําหนดวิธีวิจัย การพิจารณาถึงปจจัยสวนผสมทางการตลาดและพิจารณาถึง การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม โดยพบวา งานวิจัยสวนใหญไดมีการศึกษาถึงปจจัยสวนบุคคลท่ีมีผลตอการเลือกใชบริการคลินิกทันตกรรมของผูบริโภค ซึ่งประกอบไปดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน และภูมิลําเนา แลวยังไดรับการกระตุนดวยปจจัยหลาย ๆ ดานนั่นก็คือ ปจจัยสวนผสมทางการตลาด ประกอบดวย ดานผลิตภัณฑ ดานราคา ดานการจัดจําหนายหรือสถานท่ี ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคคลหรือพนักงาน ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ และดานกระบวนการ ซึ่งปจจัยเหลานี้จะมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ซึ่งประกอบดวย เหตุผลท่ีใชบริการ บริการท่ีใช ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ เวลาที่ใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการผูวิจัยไดนํามากําหนดเปนตัวแปรในการศึกษาคร้ังนี้

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 75: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งผูวิจัยใชระเบียบวิธีวิจัย (Methodology) โดยใชการวิจัยเชิงสํารวจ (Survey Research) โ ดยกา ร เ ก็บขอ มูลจากแ บบส อบถา ม (Questionnaire) มีขั้น ตอน ใ น กา รดําเนินการวิจัย ดังนี้

1. ประชากรและกลุมตัวอยาง2. เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล3. การเก็บรวบรวมขอมูล4. การวิเคราะหขอมูล5. สถิติท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากรประชากรในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนที่เขาไปใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม

ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี จํานวน 5 แหง ไดแก คลินิกทันตกรรมหมอกบ คลินิกทันตแพทยสุริยา คลินิกรักฟน คลินิกทันตกรรม เด็นทอลสมาย และศูนยคลินิกทันตกรรมหมอไพรัช (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎรธานี . 2553)

กลุมตัวอยางกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือ ประชาชนที่เขามาใชบริการคลินิกทันตกรรม

จัดฟน ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ในการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางนั้น ผูวิจัย ไมสามารถทราบจํานวนที่แนนอนของประชากรตามที่กําหนดได ดังนั้นผูวิจัยจึงไดกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางมีความเชื่อม่ัน รอยละ 95 และความผิดพลาดไมเกิน รอยละ 5 โดยใชสูตรของ William G.Cochran (อางถึงใน ยุทธ ไกยวรรณ. 2550 : 154 - 155)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 76: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

63

n = 2

2

E

ZP1P

เม่ือ n = ขนาดตัวอยางP = สัดสวนของประชากรZ = ระดับความเชื่อม่ันที่ผูวิจัยกําหนดไว Z มีคาเทากับ 1.96

ท่ีระดับความม่ันใจรอยละ 95 (ระดับ 0.05)E = คาความผิดพลาดสูงสุดท่ีจะเกิดข้ึน

ดังนั้น เม่ือนํามาแทนคาสูตรจะไดดังนี้

n = 2

2

05.0

96.105.0105.0

= 384.16

ดังนั้น ในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดทําการคํานวณขนาดของกลุมตัวอยางไดจํานวนท้ังสิ้น 384.16 คน เพื่อความคลาดเคล่ือนและความเหมาะสมผูวิจัยใชกลุมตัวอยาง จํานวน 400 คน โดยใชวิธีการสุมตัวอยางแบบโควตา (Quota Sampling) โดยใหสัดสวนของจํานวนขนาดกลุมตัวอยาง ท่ีเทากันในแตละคลินิก โดยกําหนดจํานวนคลินิก จํานวน 5 แหง ๆ ละ 80 ชุด รวม 400 ชุด ดังตารางที่ 3.1 วิธีการสุมตัวอยางจะสุมตัวอยางโดยอาศัยความสะดวก ( Convenience Sampling) โดยใชแบบสอบถามกับกลุมตัวอยางที่ใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟนในขณะนั้นมีเวลาเต็มใ จ จะตอบแบบสอบถามและกลุมตัวอยางเปนผูกรอกคําตอบใ นแบบสอบถามดวยตนเอง ( Self-Administered Questionnaires) ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2552 - กุมภาพันธ พ.ศ.2553

ตารางที่ 3.1 คลินิกทันตกรรมจัดฟนและกลุมตัวอยาง

คลินิกทันตกรรมจัดฟน กลุมตัวอยาง1. คลินิกทันตกรรมหมอกบ 0802. คลินิกทันตแพทยสุริยา 0803. คลินิกรักฟน 0804. คลินิกทันตกรรม เด็นทอลสมาย 0805. ศูนยคลินิกทันตกรรมหมอไพรัช 080

รวม 400ท่ีมา : สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎรธานี . 2552

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 77: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

64

เครื่องมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล

เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม (Questionnaire) โดยผูวิจัยไดคนควาดัดแปลงจากหนั งสือและเอกสารตาง ๆ และบูรณาการจากแ นวคิดทฤษฎี ท่ีเกี่ยวของ โดยแบงออกเปน 4 สวน ดังตอไปนี้

สวนท่ี 1 คําถามเกี่ยวกับปจจัยบุคคลสวนบุคคล เปนขอมูลท่ัวไปของผูตอบแบบสอบถาม โดยมีลักษณะเปนคําถามปลายปด ประกอบดวย เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน และภูมิลําเนา

สวนท่ี 2 คําถามเกี่ยวกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม โดยมีลักษณะเปนคําถามปลายปด จํานวน 8 ขอ ซึ่งประกอบดวย เหตุผลท่ีใชบริการ บริการท่ีใช ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ เวลาที่ใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

สวนที่ 3 คําถามเกี่ยวกับปจจัยสวนผสมทางการตลาด โดยมีลักษณะเปนคําถามปลายปด จํานวน 7 ดาน ประกอบดวย ดานผลิตภัณฑ ดานราคา ดานการจัดจําหนายหรือสถานท่ี ดานการสงเสริมการตลาด ดานบุคคลหรือพนักงาน ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ และดานกระบวนการ

โดยแบบสอบถามสวนนี้ มีหลักเกณฑการใหคะแนนซึ่งคําถามใ นแบบสอบถาม เปนแบบมาตราสวนประเมินคา (Rating Scale) ของลิเคิรท (นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. 2547 : 124) เปนการตัดสินใจของแตละปจจัยโดยการกําหนดคาคะแนนเพื่อวัดระดับการตัดสินใจของปจจัยสวนผสมทางการตลาด โดยผูวิจัยไดกําหนดระดับคะแนนไว 5 ระดับ ดังนี้

คะแนนระดับ 5 หมายถึง มากท่ีสุดคะแนนระดับ 4 หมายถึง มากคะแนนระดับ 3 หมายถึง ปานกลางคะแนนระดับ 2 หมายถึง นอยคะแนนระดับ 1 หมายถึง นอยท่ีสุด

การแปลความหมายใชหลักเกณฑการแบงเปน 5 ระดับ (เพ็ญแข แสงแกว. 2543 : 78)คะแนนเฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถึง การตัดสินใจมากท่ีสุดคะแนนเฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถึง การตัดสินใจมากคะแนนเฉลี่ย 2.51 - 3.50 หมายถึง การตัดสินใจปานกลางคะแนนเฉลี่ย 1.51 - 2.50 หมายถึง การตัดสินใจนอยคะแนนเฉลี่ย 1.00 - 1.50 หมายถึง การตัดสินใจนอยท่ีสุด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 78: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

65

สวนที่ 4 แบบสอบถามปลายเปด จํานวน 1 ขอ เกี่ยวกับปญหาและขอเสนอแนะ ในการเขาใชบริการรักษาในคลินิกทันตกรรม

การเก็บรวบรวมขอมูล

การศึกษาครั้งนี้เก็บรวบรวมขอมูล โดยจําแนกแหลงท่ีมา 2 แหลง ดังนี้1. การเก็บขอมูลปฐมภูมิ (Primary data)

โดยใชแบบสอบถามประชาชนท่ีเขาไปใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร ธานี จากการสําร วจกลุมตัวอยางแบบอาศัยความสะดวก (Convenience Sampling) จนครบจํานวน 400 ชุด

2. การเก็บขอมูลทุติยภู มิ (Secondary data) เปนขอมูลเพิ่มเติมเพื่อใชสนับสนุนการวิจัยใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น โดยศึกษาคนควา

และรวบรวมขอมูลจากเอกสารตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของ เชน เอกสารทางวิชาการ รายงานการวิจัย บทความ วารสาร ขอมูลทางสถิติ เอกสารจากผูวิจัยทานอื่นที่ไดศึกษาไวกอนแลว รวมทั้งแนวคิดทฤษฎีตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของจากตําราทางวิชาการนิตยสาร สื่อพิมพตาง ๆ ขอมูลทางอินเตอรเน็ต คนควาจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ เปนตน และทําการเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอน ดังนี้

2.1 ผูวิจัยไดทําเรื่องตอบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี เพื่อขอหนังสือแนะนําตัวจากทางมหาวิทยาลัย เพื่อขอขอมูลและขออนุญาตจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ในการวิจัยครั้งนี้

2.2 ผูวิจัยทําการเตรียมแบบสอบถามใหเพียงพอกับจํานวนของกลุมตัวอยางหรือผูตอบแบบสอบถาม

2.3 เก็บรวบรวมขอมูลจากกลุมตัวอยางที่ไดกําหนดไว ซึ่งผูวิจัยจะทําการชี้แจงตอกลุมตัวอยางใหเขาใจถึงวัตถุประสงคและวิธีการตอบแบบสอบถาม

2.4 เก็บรวบรวมแบบสอบถามคืนจากกลุมตัวอยาง2.5 ลงรหัส (Coding) ในแบบสอบถามทุกชุดท่ีไดทําการเก็บรวบรวมขอมูลแลว2.6 ประมวลผล

ขั้นตอนในการสรางแบบสอบถามการวิจัยครั้งนี้ไดกําหนดข้ันตอนในการสรางแบบสอบถามที่ใชในการเก็บรวมขอมูล ดังนี้

1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของเพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการสรางแบบสอบถาม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 79: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

66

2. นําแบบสอบถามท่ีสรางขึ้นเสนอตอผูทรงคุณวุฒิเพื่อตรวจสอบความถูกตองและเสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อปรับปรุงแกไขใหถูกตองกอนนําไปใช

3. แบบสอบถา มที่ ไดรั บการปรับปรุง แก ไขถูกตอง แลว เ สนอตอผูเชี่ ยวชา ญ เพื่อตรวจสอบและเสนอแนะเพิ่มเติมใหเหมาะสมยิ่งขึ้นไป

4. แบบสอบถามท่ีไดรับการปรับปรุงแกไขถูกตองแลว ไปทดลองเก็บขอมูล ผูใชบริการท่ีไมใชกลุมตัวอยาง (Try Out) จํานวน 40 ชุด เพื่อหาคาความเชื่อม่ัน โดยนําไปทดลองใชกับผูมาใชบริการจากคลินิกทันตกรรมที่ไมใชกลุมตัวอยาง โดยใชวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟา (-Coeffcient) ของครอนบัค (Cronbach) (นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. 2547 : 124) ไดคาความเชื่อม่ันของแบบสอบถามเทากับ 0.9664

5. นําแบบสอบถามท่ีไดหาคาความเ ท่ียงตรงและหาความเชื่อม่ันมาปรับปรุงแกไข เพื่อใหแบบสอบถามสมบูรณและครอบคลุมเนื้อหามากข้ึน และนํามาใชในการเก็บรวบรวมขอมูลประชากรและกลุมตัวอยางที่ไปศึกษาตอไป

การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาครั้งนี้ผูวิจัยใชการวิเคราะหดวยเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS/PC+ เพื่อหาคาสถิติ ดังนี้

1. วิเคราะห ขอมูลเกี่ย วกับปจจัยสวนบุคคล โดยใ ชสถิติคาความถี่ ( Frequency) รอยละ (Percentage)

2. วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติคาความถี่ และรอยละ

3. วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยสวนผสมทางการตลาดจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติคาเฉลี่ย ( Mean) และคาสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

4. วิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรมในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติคาไค-สแควร (Chi - Square Test)

5. วิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาด กับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี โดยใชสถิติคาไค-สแควร (Chi - Square Test)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 80: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถามเกี่ยวกับ การตัดสินใจ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ใชการวิเคราะหขอมูลโดยเครื่องคอมพิวเตอรโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS โดยแบงการวิเคราะหออกเปน 6 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ศึกษา ขอมูลปจ จัย ส วน บุคคลของผู ตอบแบบสอบถา ม โ ดย ใ ชส ถิติ คาความถี่ และคารอยละ

ตอนที่ 2 ศึกษาขอมูลการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติ คาความถี่ และคารอยละ

ตอนที่ 3 ศึกษาปจจัย สวนผสมทา งการตลา ดในการใช บริการจัดฟ นจากคลินิ ก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตอนที่ 4 วิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติการทดสอบไค-สแควร

ตอนที่ 5 วิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาด กับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี โดยใชสถิติการทดสอบไค-สแควร

ตอนที่ 6 ปญหาและขอเสนอแนะในการเขาใชบริการรักษาในคลินิกทันตกรรม

สัญลักษณและอักษรยอท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล

เพื่อใหเขาใจตรงกันในการแปรความหมายผลการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดกําหนดสัญลักษณและอักษรยอท่ีใชในการวิเคราะหขอมูล ดังนี้

X แทน คาเฉลี่ย (Mean)S.D. แทน คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)n แทน กลุมตัวอยางdf แทน ชั้นของความอิสระ (Degree of Freedom)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 81: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

68

2 แทน คาความสัมพันธ t แทน คาสถิติที (t - test)F แทน คาสถิติเอฟ (F - test)SS แทน ผลรวมกําลังสอง (Sum of Square)MS แทน คาเฉลี่ยกําลังสอง (Mean of Square)Sig. แทน นัยสําคัญทางสถิติ (Significant)* แทน ความเชื่อม่ันที่มีนัยสําคัญทางสถิติท่ีรอยละ 0.05

ผลการวิเคราะหขอมูล

เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยไดนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลตามลําดับ ดังนี้

ตอนที่ 1 วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยสวนบุคคล โดยใชสถิติคาความถี่และรอยละ ดังตารางที่ 4.1

ตารางที่ 4.1 คาความถี่และรอยละขอมูลสวนบุคคลของผูตอบแบบสอบถาม

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (n = 400) รอยละ1. เพศ

ชาย 155 38.80หญิง 245 61.30

2. อายุต่ํากวา 12 ป 54 13.50

12 - 24 ป 174 43.5025 - 45 ป 153 38.3045 ปขึ้นไป 19 4.80

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 82: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

69

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (n = 400) รอยละ3. สถานภาพสมรส

โสด 322 80.50สมรส 46 11.50หยาราง 17 4.30แยกกันอยู 9 2.30หมาย 6 1.50

4. ศาสนาพุทธ 364 91.00คริสต 14 3.50อิสลาม 22 5.50

5. การศึกษาประถมศึกษา 62 15.50มัธยมศึกษาตอนตน 65 16.30มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 105 26.30ปวส.หรืออนุปริญญา 64 16.00ปริญญาตรี 93 23.30สูงกวาปริญญาตรี 11 2.80

6. อาชีพ นักเรียน/นักศึกษา 208 52.00

รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 36 9.00เจาของกิจการ/คาขาย 20 5.00

พนักงานเอกชน 73 18.30ประกอบธุรกิจสวนตัว 33 8.30รับจาง 18 4.50เกษตรกร 11 2.80อื่น ๆ 1 0.30

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 83: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

70

ตารางที่ 4.1 (ตอ)

ปจจัยสวนบุคคล จํานวน (n = 400) รอยละ7. รายไดตอเดือน

ต่ํากวา 5,000 บาท 30 7.505,000 - 15,000 บาท 145 36.3015,0001 - 30,000 บาท 51 12.8030,0001 บาทข้ึนไป 14 3.50อื่น ๆ 160 40.00

8. ภูมิลําเนาเขตอําเภอเมืองสุราษฎรธานี 256 64.00ตางอําเภอในจังหวัดสุราษฎรธานี 136 34.00ตางจังหวัด 8 2.00

จากตารางท่ี 4.1 พ บวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศห ญิง อายุ 12 - 24 ป สถานภาพโสด นับถือศาสนาพุทธ การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. เปนนักเรียน/นักศึกษา ไมมีรายได เนื่องจากไดรับเงินจากผูปกครอง และมีภูมิลําเนาอยูในเขตอําเภอเมืองสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 84: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

71

ตอนที่ 2 วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติคาความถี่และรอยละ แสดงดังตารางที่ 4.2

ตารางที่ 4.2 คาความถี่และรอยละเกี่ยวกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดสินใจใชบริการจัดฟน จํานวน (n = 400) รอยละ1. เหตุผลท่ีใชบริการ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)

ฟนผุ 52 13.00ฟนเก 289 72.30ฟนคุด 44 11.00อื่น ๆ 29 7.30

2. การใชบริการคลินิกทันตกรรมไปตามแพทยนัด 286 71.40ไปบางไมไปบางแตมาชื้อยากินหรือยาทาประจํา 15 3.80ไปคลินิกเม่ือสะดวก 48 12.00ไปเม่ือมีปญหาฟน 48 12.00อื่น ๆ 3 0.80

3. ความถีใ่นการเขามารับบริการทุกสัปดาห 56 14.00ทุกสองสัปดาห 27 6.80ทุกเดือน 279 69.80ทุกสองเดือนหรือมากกวา 38 9.50

4. ประสบการณการท่ีใชบริการนอยกวา 1 ป 212 53.001 - 3 ป 136 34.00มากกวา 3 ป 52 13.00

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 85: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

72

ตารางที่ 4.2 (ตอ)

การตัดสินใจใชบริการจัดฟน จํานวน (n = 400) รอยละ5. ชวงเวลาท่ีใชบริการ

เชา 74 18.50เท่ียง 26 6.50เย็น 32 8.00วันหยุด 220 55.00เม่ือสะดวก 48 12.00

6. จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน1 แหง 304 76.002 แหง 74 18.50มากกวา 2 แหง 22 5.50

7. การรับรูจากส่ือ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)เดินทางผาน 87 21.80ใบปลิว โบชัว 38 9.50วิทยุโทรทัศน 7 1.80เพื่อน 293 73.30คนในครอบครัว 302 75.50ญาติ 79 19.80

8. บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการคนในครอบครัว 92 23.00เพื่อน 256 64.00ญาติ 38 9.50คนรัก 10 2.50ดารานักรองหรือศิลปน 4 1.00

จากตารางที่ 4 .2 พบวา เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม เพราะไปตามแพทยนัด ความถี่ในการเขามารับบริการ ทุกเดือน ประสบการณการท่ีใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน นอยกวา 1 ป ชวงเวลาท่ีใชบริการจะเปนวันหยุด จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง รูจักคลินิกทันตกรรมจัดฟนจากคนในครอบครัว บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คือ เพื่อน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 86: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

73

ตอนที่ 3 วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

วิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชคาเฉลี่ยและสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐาน ดังตารางที่ 4.3 - 4.10

ตารางที่ 4.3 คาเฉล ี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม

ปจจัยสวนผสมทางการตลาด X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. ดานบุคคลหรือพนักงาน 4.66 0.56 มากท่ีสุด2. ดานผลิตภณัฑ 4.65 0.54 มากท่ีสุด3. ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ 4.64 0.54 มากท่ีสุด4. ดานกระบวนการ 4.60 0.58 มากท่ีสุด5. ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ 4.59 0.55 มากท่ีสุด6. ดานราคา 4.27 0.61 มาก7. ดานการสงเสริมการตลาด 4.27 0.61 มาก

รวม 4.52 0.48 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.3 คาเฉลี่ยและสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาด ในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด 5 ดาน เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ดานบุคคลหรือพนักงาน ดานผลิตภัณฑ ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ ดานกระบวนการ ดานการจัดจําหนายหรือสถานท่ี ตามลําดับ สวน ดานราคา และดานการสงเสริมการตลาด อยูในระดับการตัดสินใจมาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 87: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

74

ตารางที่ 4.4 คาเฉล ี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานผล ิตภัณฑ

ดานผล ิตภัณฑ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1.ผลิตภัณฑมีคุณภาพ 4.77 0.57 มากท่ีสุด2. มีการเก็บรักษาสินคาอยูในสภาพดี 4.66 0.67 มากท่ีสุด

3. การบริการท่ีมีคุณภาพ 4.63 0.77 มากท่ีสุด4. ชื่อเสียง ภาพพจนที่ดีของแพทย 4.61 0.66 มากท่ีสุด5. ความหลากหลายของสินคาบริการ 4.60 0.72 มากท่ีสุด

รวม 4.65 0.54 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.4 คาเฉลี่ยและสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาด ในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานผลิตภัณฑ ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ผลิตภัณฑมีคุณภาพ มีการเก็บรักษาสินคาอยูในสภาพดี การบริการท่ีมีคุณภาพ ชื่อเสียง ภาพพจนที่ดีของแพทย และความหลากหลายของสินคาบริการ ตามลําดับ

ตารางที่ 4.5 คาเฉล ี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานราคา

ดานราคา X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. มีการกําหนดอัตราคาบริการในการตรวจรักษา 4.35 0.65 มาก2. มีการแสดงราคาในการจัดฟนที่ชัดเจน 4.27 0.72 มาก3. มีราคาที่สามารถตอรองกันได 4.26 0.74 มาก4. มีการใหสวนลด 4.24 0.80 มาก5. มีการผอนชําระการใสเหล็กดัดฟนเปนงวด ๆ 4.24 0.79 มาก

รวม 4.27 0.61 มาก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 88: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

75

จากตารางที่ 4.5 คาเฉลี่ยและสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาด ในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานราคา ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากทุกขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ มีการกําหนดอัตราคาบริการในการตรวจรักษา มีการแสดงราคาในการจัดฟนที่ชัดเจน มีราคาที่สามารถตอรองกันได มีการผอนชําระการใสเหล็กดัดฟนเปนงวด ๆ และมีการใหสวนลด ตามลําดับ

ตารางที่ 4.6 คาเฉล ี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่

ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. ทําเลท่ีตั้งสะดวกในการไปรักษา 4.68 0.63 มากท่ีสุด2. ปายชื่อคลินิกเปนจุดเดนสังเกตไดงาย 4.59 0.69 มากท่ีสุด3. เปดใหบริการทุกวัน 4.58 0.66 มากท่ีสุด4. การมีท่ีจอดรถกวางขวางและเพียงพอ 4.56 0.68 มากท่ีสุด5. การจัดแสดงสินคาตามสถานที่ตางๆ 4.53 0.76 มากท่ีสุด

รวม 4.59 0.55 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.6 คาเฉลี่ยและสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาด ในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เ ม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ทําเลท่ีตั้งสะดวกในการไปรักษา ปายชื่อคลินิกเปนจุดเดนสังเกตไดง าย เปดใหบริการทุกวัน การมี ท่ีจอดรถกวางขวางและเพียงพอ และการจัดแสดงสินคาตามสถานที่ตาง ๆ ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 89: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

76

ตารางที่ 4.7 คาเฉล ี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสงเสริมการตลาด

ดานการสงเสริมการตลาด X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. การสงเอกสารขอมูลใหสมาชิกถึงบาน 4.29 0.76 มาก2. การแจงขาวประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ 4.27 0.76 มาก3. มีกิจกรรมสงเสริมการขายตามโอกาสตาง ๆ 4.27 0.75 มาก4. มีการแถมคอรสพิเศษให 4.25 0.76 มาก5. มีการจัดทําระบบสมาชิก 4.24 0.70 มาก

รวม 4.27 0.61 มาก

จากตารางที่ 4.7 คาเฉลี่ยและสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาด ในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการสง เสริมการตลาด ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมาก เ ม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากทุกขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ การสงเอกสารขอมูลใหสมาชิกถึงบาน มีกิจกรรมสงเสริมการขายตามโอกาสตาง ๆ การแจงขาวประช าสัมพันธผานสื่อตาง ๆ มีการแถมคอรสพิเศษให และมีการจัดทําระบบสมาชิก ตามลําดับ

ตารางที่ 4.8 คาเฉล ี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานบุคคลหรือพนักงาน

ดานบุคคลหรือพนักงาน X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. ความชํานาญและประสบการณการบริหาร 4.72 0.67 มากท่ีสุด2. การยิ้มแยมแจมใสและมีมนุษยสัมพันธ 4.65 0.63 มากท่ีสุด3. ความกระตือรือรนและกระฉับกระเฉง 4.64 0.68 มากท่ีสุด4. พนักงานมีเพียงพอตอการใหบริการ 4.64 0.70 มากท่ีสุด5. การแสดงความเคารพและใหเกียรติลูกคา 4.62 0.72 มากท่ีสุด

รวม 4.66 0.56 มากท่ีสุด

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 90: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

77

จากตารางที่ 4.8 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานของปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานบุคคลหรือพนักงาน ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ความชํานาญและประสบการณการบริหาร การยิ้มแยมแจมใสและมีมนุษยสัมพันธ ความกระตือรือรนและกระฉับกระเฉง พนักงานมีเพียงพอตอการใหบริการ และการแสดงความเคารพและใหเกียรติลูกคา ตามลําดับ

ตารางที่ 4.9 คาเฉล ี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการนําเสนอล ักษณะกายภาพ

ดานการนําเสนอล ักษณะกายภาพ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. ความเปนสัดสวนของคลินิก 4.69 0.62 มากท่ีสุด2. ความรวดเร็วในการใหบริการ 4.65 0.62 มากท่ีสุด3. ความมีชื่อเสียงของคลินิก 4.65 0.62 มากท่ีสุด4. เคร่ืองมือสะอาด ทันสมัย 4.62 0.70 มากท่ีสุด5. การตกแตงคลินิกนาใชบริการ 4.57 0.78 มากท่ีสุด

รวม 4.64 0.54 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.9 คาเฉลี่ยและสวนเ บ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาด ในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ความเปนสัดสวนของคลินิก ความรวดเร็วในการใหบริการ ความมีชื่อเสียงของคลินิก เครื่องมือสะอาด ทันสมัย และการตกแตงคลินิกนาใชบริการ ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 91: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

78

ตารางที่ 4.10 คาเฉล ี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานกระบวนการ

ดานกระบวนการ X S.D. ระดับการตัดสินใจ1. มีการโทรศัพทนัดหมายลวงหนา 4.67 0.66 มากท่ีสุด2. สามารถชื้อสินคาเม่ือตองการ 4.60 0.67 มากท่ีสุด3. การเขาคิวรอคอยอยางเปนระบบ 4.60 0.75 มากท่ีสุด4. มีบริการหลังการขาย 4.58 0.77 มากท่ีสุด5. การใชคอมพิวเตอรบริหารจัดการ 4.54 0.75 มากท่ีสุด

รวม 4.60 0.58 มากท่ีสุด

จากตารางที่ 4.10 คาเฉลี่ยและสวนเบ่ียงเบนมาตรฐานดานปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ เรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ มีการโทรศัพท นัดหมายลวงหนา สามารถชื้อสินคาเม่ือตองการ การเขาคิวรอคอยอยางเปนระบบ มีบริการหลังการขาย และการใชคอมพิวเตอรบริหารจัดการ ตามลําดับ

ตอนที่ 4 วิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

วิเครา ะหขอ มูลเพื่ อศึกษาควา มสัมพั นธระห วางป จจัยส วนบุคคลกับการตัดสินใ จ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติการทดสอบไค-สแควรและทดสอบสมมติฐาน แสดงดังตารางที่ 4.11 - 4.103

โดยมีสมมติฐานทางสถิติเพื่อการทดสอบ ดังนี้ สมมติฐาน H0 : ปจจัยสวนบุคคลไมมีความสัมพันธกับปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจ

ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

H1 : ปจจัยสวนบุคคลมีความสัมพันธกับปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 92: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

79

ตารางที่ 4.11 ความสัมพันธระหวางเพศกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนเพศ

รวม 2 Sig.ชาย หญิง

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 122 226 348

(30.50) (56.50) (87.00) เลือก 33 19 52

(8.30) (4.80) (13.00)

รวม155 245 400 15.37 0.00*

(38.80) (61.30) (100.00) ฟนเก ไมเลือก 54 57 111

(13.50) (14.30) (27.80) เลือก 101 188 289

(25.30) (47.00) (72.30)

รวม155 245 400 6.34 0.01*

(38.80) (61.30) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก 138 218 356

(34.50) (54.50) (89.00) เลือก 17 27 44

(4.30) (6.80) (11.00)

รวม155 245 400 0.00 0.98

(38.80) (61.30) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 145 226 371

(36.30) (56.50) (92.80) เลือก 10 19 29

(2.50) (4.80) (7.30)

รวม155 245 400 0.24 0.62

(38.80) (61.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 93: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

80

ตารางที่ 4.11 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนเพศ

รวม 2 Sig.ชาย หญิง

การใชบริการคลินิกทันตกรรมไปตามแพทยนัด 107 179 286

(26.80) (44.80) (71.50)ไปบางไมไปบางแตมาช้ือยากินหรือ ยาทาประจํา

6 9 15(1.50) (2.30) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก 23 25 48(5.80) (6.30) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน 16 32 48(4.00) (8.00) (12.00)

อ่ืน ๆ 3-

3(0.80) (0.80)

รวม155 245 400 7.26 0.12

(38.80) (61.30) (100.00)ความถ่ีในการเขามารับบริการ

ทุกสัปดาห 28 28 56(7.00) (7.00) (14.00)

ทุกสองสัปดาห 10 17 27(2.50) (4.30) (6.80)

ทุกเดือน 96 183 279(24.00) (45.80) (69.80)

ทุกสองเดือนหรือมากกวา 21 17 38(5.30) (4.30) (9.50)

รวม 155 245 400 9.60 0.02*(38.80) (61.30) (100.00)

ประสบการณการใชบริการนอยกวา 1 ป 86 126 212

(21.50) (31.50) (53.00)ปขึ้นไปแตไมเกิน 3 ป 47 89 136

(11.80) (22.30) (34.00)มากกวา 3 ป 22 30 52

(5.50) (7.50) (13.00)

รวม155 245 400 1.57 0.45

(38.80) (61.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 94: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

81

ตารางที่ 4.11 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนเพศ

รวม 2 Sig.ชาย หญิง

ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา 36 38 74

(9.00) (9.50) (18.50) เท่ียง 12 14 26

(3.00) (3.50) (6.50) เย็น 8 24 32

(2.00) (6.00) (8.00) วันหยุด 78 142 220

(19.50) (35.50) (55.00) เมื่อสะดวก 21 27 48

(5.30) (6.80) (12.00)

รวม155 245 400 7.71 0.10

(38.80) (61.30) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 114 190 304

(28.50) (47.50) (76.00) 2 แหง 31 43 74

(7.80) (10.80) (18.50) มากกวา 2 แหง 10 12 22

(2.50) (3.00) (5.50)

รวม155 245 400 0.92 0.63

(38.80) (61.30) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก 114 199 313

(28.50) (49.80) (78.30) เลือก 41 46 87

(10.30) (11.50) (21.80)

รวม155 245 400 3.28 0.07

(38.80) (61.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 95: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

82

ตารางที่ 4.11 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนเพศ

รวม 2 Sig.ชาย หญิง

ใบปลิว โบชัวร ไมเลือก 144 218 362

(36.00) (54.50) (90.50) เลือก 11 27 38

(2.80) (6.80) (9.50)

รวม155 245 400 1.70 0.19

(38.80) (61.30) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 154 239 393

(38.50) (59.80) (98.30) เลือก 1 6 7

(0.30) (1.50) (1.80)

รวม155 245 400 1.79 0.18

(38.80) (61.30) (100.00) เพื่อน ไมเลือก 52 55 107

(13.00) (13.80) (26.80) เลือก 103 190 293

(25.80) (47.50) (73.30)

รวม155 245 400 5.96 0.02*

(38.80) (61.30) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก 48 50 98

(12.00) (12.50) (24.50) เลือก 107 195 302

(26.80) (48.80) (75.50)

รวม155 245 400 5.72 0.01*

(38.80) (61.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 96: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

83

ตารางที่ 4.11 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนเพศ

รวม 2 Sig.ชาย หญิง

ญาติ ไมเลือก 126 195 321

(31.50) (48.80) (80.30) เลือก 29 50 79

(7.30) (12.50) (19.80)

รวม155 245 400 0.17 0.67

(38.80) (61.30) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 155 244 399

(38.80) (61.00) (99.80) เลือก

-1 1

(0.30) (0.30)

รวม155 245 400 0.63 0.42

(38.80) (61.30) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 38 54 92

(9.50) (13.50) (23.00) เพื่อน 102 154 256

(25.50) (38.50) (64.00) ญาติ 10 28 38

(2.50) (7.00) (9.50) คนรัก 4 6 10

(1.00) (1.50) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน 1 3 4

(0.30) (0.80) (1.00)

รวม155 245 400 3.18 0.52

(38.80) (61.30) (100.00)* Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 97: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

84

จากตารางที่ 4.11 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางเพศกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา เพศ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ความถี่ในการเขามารับบริการ การรับรู จากส่ือ คือ เพื่อน คนในครอบครัว อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางที่ 4.12 ความสัมพันธระหวางอายุกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนอายุ

รวม 2 Sig.ต่ํากวา 12 ป 12 - 24 ป 25 - 45 ป 45 ปขึ้นไป

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 45 157 130 16 348

(11.30) (39.30) (32.50) (4.00) (87.00) เลือก 9 17 23 3 52

(2.30) (4.30) (5.80) (0.80) (13.00)

รวม54 174 153 19 400 2.93 0.40

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00) ฟนเก ไมเลือก 18 28 53 12 111

(4.50) (7.00) (13.30) (3.00) (27.80) เลือก 36 146 100 7 289

(9.00) (36.50) (25.00) (1.80) (72.30)

รวม54 174 153 19 400 28.13 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก 51 167 124 14 356

(12.80) (41.80) (31.00) (3.50) (89.00) เลือก 3 7 29 5 44

(0.80) (1.80) (7.30) (1.30) (11.00)

รวม54 174 153 19 400 24.72 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 98: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

85

ตารางที่ 4.12 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน อายุ รวม 2 Sig.ต่ํากวา 12 ป 12 - 24 ป 25 - 45 ป 45 ปขึ้นไป

อ่ืน ๆ ไมเลือก 47 161 148 15 371

(11.80) (40.30) (37.00) (3.80) (92.80) เลือก 7 13 5 4 29

(1.80) (3.30) (1.30) (1.00) (7.30)

รวม54 174 153 19 400 11.62 0.01*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด 44 136 102 4 286

(11.00) (34.00) (25.50) (1.00) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาช้ือยากิน หรือยาทาประจํา

1 4 6 4 15(0.30) (1.00) (1.50) (1.00) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก 5 12 29 2 48(1.30) (3.00) (7.30) (0.50) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน 4 21 16 7 48(1.00) (5.30) (4.00) (1.80) (12.00)

อ่ืน ๆ-

1-

2 3(0.30) (0.50) (0.80)

รวม54 174 153 19 400 72.94 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห 11 10 31 4 56

(2.80) (2.50) (7.80) (1.00) (14.00) ทุกสองสัปดาห 5 8 7 7 27

(1.30) (2.00) (1.80) (1.80) (6.80) ทุกเดือน 35 143 99 2 279

ทุกสองเดือนหรือมากกวา(8.80) (35.80) (24.80) (0.50) (69.80)

3 13 16 6 38(0.80) (3.30) (4.00) (1.50) (9.40)

รวม54 174 153 19 400 68.94 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 99: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

86

ตารางที่ 4.12 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน อายุ รวม 2 Sig.ต่ํากวา 12 ป 12 - 24 ป 25 - 45 ป 45 ปขึ้นไป

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป 39 98 71 4 212

(9.80) (24.50) (17.80) (1.00) (53.00) ปขึ้นไปแตไมเกิน 3 ป 10 67 50 9 136

(2.50) (16.80) (12.50) (2.30) (34.00) มากกวา 3 ป 5 9 32 6 52

(1.30) (2.30) (8.00) (1.50) (13.00)

รวม54 174 153 19 400 36.16 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา 20 20 31 3 74

(5.00) (5.00) (7.80) (0.80) (18.50) เท่ียง 3 7 10 6 26

(0.80) (1.80) (2.50) (1.50) (6.50) เย็น 6 21 5

-32

(1.50) (5.30) (1.30) (8.00) วันหยุด 24 113 80 3 220

(6.00) (28.30) (20.00) (0.80) (55.00) เมื่อสะดวก 1 13 27 7 48

(0.30) (3.30) (6.80) (1.80) (12.00)

รวม54 174 153 19 400 76.31 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 42 154 105 3 304

(10.50) (38.50) (26.30) (0.80) (76.00) 2 แหง 10 15 36 13 74

(2.50) (3.80) (9.00) (3.30) (18.50) มากกวา 2 แหง 2 5 12 3 22

(0.50) (1.30) (3.00) (0.80) (5.50)

รวม54 174 153 19 400 58.31 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 100: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

87

ตารางที่ 4.12 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน อายุ รวม 2 Sig.ต่ํากวา 12 ป 12 - 24 ป 25 - 45 ป 45 ปขึ้นไป

การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก 36 151 112 14 313

(9.00) (37.80) (28.00) (3.50) (78.30) เลือก 18 23 41 5 87

(4.50) (5.80) (10.30) (1.30) (21.80)

รวม54 174 153 19 400 14.22 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00) ใบปลิว โบชัว ไมเลือก 52 168 133 9 362

(13.00) (42.00) (33.30) (2.30) (90.50) เลือก 2 6 20 10 38

(0.50) (1.50) (5.00) (2.50) (9.50)

รวม54 174 153 19 400 52.90 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.8) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 54 171 149 19 393

(13.50) (42.80) (37.30) (4.80) (98.30) เลือก

-3 4

-7

(0.80) (1.00) (1.80)

รวม54 174 153 19 400 1.96 0.58

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)การรับรูจากสื่อ เพื่อน ไมเลือก 19 27 45 16 107

(4.80) (6.80) (11.30) (4.00) (26.80) เลือก 35 147 108 3 293

(8.80) (36.80) (27.00) (0.80) (73.30)

รวม54 174 153 19 400 45.73 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 101: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

88

ตารางที่ 4.12 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน อายุ รวม 2 Sig.ต่ํากวา 12 ป 12 - 24 ป 25 - 45 ป 45 ปขึ้นไป

คนในครอบครัว ไมเลือก 16 22 45 15 98

(4.00) (5.50) (11.30) (3.80) (24.50) เลือก 38 152 108 4 302

(9.50) (38.00) (27.00) (1.00) (75.50)

รวม54 174 153 19 400 46.43 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00) ญาติ ไมเลือก 47 134 123 17 321

(11.80) (33.50) (30.80) (4.30) (80.30) เลือก 7 40 30 2 79

(1.80) (10.00) (7.50) (0.50) (19.80)

รวม54 174 153 19 400 3.74 0.29

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 54 174 152 19 399

(13.50) (43.50) (38.00) (4.80) (99.80) เลือก

- -1

-1

(0.30) (0.30)

รวม54 174 153 19 400 1.61 0.65

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 21 33 36 2 92

(5.30) (8.30) (9.00) (0.50) (23.00) เพื่อน 28 128 95 5 256

(7.00) (32.00) (23.80) (1.30) (64.00) ญาติ 3 7 19 9 38

(0.80) (1.80) (4.80) (2.30) (9.50) คนรัก 2 4 2 2 10

(0.50) (1.00) (0.50) (0.50) (2.50)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 102: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

89

ตารางที่ 4.12 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน อายุ รวม 2 Sig.ต่ํากวา 12 ป 12 - 24 ป 25 - 45 ป 45 ปขึ้นไป

ดารานักรองหรือศิลปน-

2 1 1 4(0.50) (0.30) (0.30) (1.00)

รวม54 174 153 19 400 63.25 0.00*

(13.50) (43.50) (38.30) (4.80) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.12 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางอายุกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของ ปร ะชา ชน จากคลินิกทันตกรร ม ในเ ขตอําเ ภอ เมือง จังห วัดสุรา ษฎ รธา นี พบว า อา ยุ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประช าชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิก ทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกที่ใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 103: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

90

ตารางที่ 4.13 ความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรสกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน สถานภาพสมรส รวม 2 Sig.โสด สมรส หยาราง แยกกันอยู หมาย

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 291 34 12 7 4 348

(72.80) (8.50) (3.00) (1.80) (1.00) (87.00) เลือก 31 12 5 2 2 52

(7.80) (3.00) (1.30) (0.50) (0.50) (13.00)

รวม322 46 17 9 6 400 17.12 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00) ฟนเก ไมเลือก 64 24 13 5 5 111

(16.00) (6.00) (3.30) (1.30) (1.30) (27.80) เลือก 258 22 4 4 1 289

(64.50) (5.50) (1.00) (1.00) (0.30) (72.30)

รวม322 46 17 9 6 400 56.48 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก 298 38 10 7 3 356

(74.50) (9.50) (2.50) (1.80) (0.80) (89.00) เลือก 24 8 7 2 3 44

(6.00) (2.00) (1.80) (0.50) (0.80) (11.00)

รวม322 46 17 9 6 400 32.34 0.00*

(80.50) (64.30) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 300 42 16 8 5 371

(75.00) (10.50) (4.00) (2.00) (1.30) (92.80) เลือก 22 4 1 1 1 29

(5.50) (1.00) (0.30) (0.30) (0.30) (7.30)

รวม322 46 17 9 6 400 1.26 0.86

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 104: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

91

ตารางที่ 4.13 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน สถานภาพสมรส รวม 2 Sig.โสด สมรส หยาราง แยกกันอยู หมาย

การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด 254 23 6 2 1 286

(63.50) (5.80) (1.50) (0.50) (0.30) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ยา กินหรือยาทาประจํา

6 3 2 3 1 15(1.50) (0.80) (0.50) (0.80) (0.30) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก 29 10 6 1 2 48(7.30) (2.50) (1.50) (0.30) (0.50) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน 32 8 3 3 2 48(8.00) (2.00) (0.80) (0.80) (0.50) (12.00)

อ่ืน ๆ 1 2- - -

3(0.30) (0.50) (0.80)

รวม 322 46 17 9 6 400 78.12 0.00*(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห 40 7 6 2 1 56

(10.00) (1.80) (1.50) (0.50) (0.30) (14.00) ทุกสองสัปดาห 12 8 2 5

-27

(3.00) (2.00) (0.50) (1.30) (6.80) ทุกเดือน 254 18 3 2 2 279

(63.50) (4.50) (0.80) (0.50) (0.50) (69.80) ทุกสองเดือนหรือมากกวา 16 13 6

-3 38

(4.00) (3.30) (1.50) (0.80) (9.50)

รวม 322 46 17 9 6 400 119.29 0.00*(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป 191 13 3 2 3 212

(47.80) (3.30) (0.80) (0.50) (0.80) (53.00) 1 - 3 ป 99 20 9 7 1 136

(24.80) (5.00) (2.30) (1.80) (0.30) (34.00) มากกวา 3 ป 32 13 5

-2 52

(8.00) (3.30) (1.30) (0.50) (13.00)

รวม322 46 17 9 6 400 40.14 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 105: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

92

ตารางที่ 4.13 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน สถานภาพสมรส รวม 2 Sig.โสด สมรส หยาราง แยกกันอยู หมาย

ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา 58 8 7

-1 74

(14.50) (2.00) (1.80) (0.30) (18.50) เท่ียง 14 5 1 5 1 26

(3.50) (1.30) (0.30) (1.30) (0.30) (6.50) เย็น 30 2

- - -32

(7.50) (0.50) (8.00) วันหยุด 197 17 4 2

-220

(49.30) (4.30) (1.00) (0.50) (55.00) เมื่อสะดวก 23 14 5 2 4 48

(5.80) (3.50) (1.30) (0.50) (1.00) (12.00)

รวม322 46 17 9 6 400 100.88 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 283 16 2 2 1 304

(70.80) (4.00) (0.50) (0.50) (0.30) (76.00) 2 แหง 30 24 12 7 1 74

(7.50) (6.00) (3.00) (1.80) (0.30) (18.50) มากกวา 2 แหง 9 6 3

-4 22

(2.30) (1.50) (0.80) (1.00) (5.50)

รวม322 46 17 9 6 400 171.52 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน 269 26 9 6 3 313

(67.30) (6.50) (2.30) (1.50) (0.80) (78.30) ไมเลือก 53 20 8 3 3 87

(13.30) (5.00) (2.00) (0.80) (0.80) (21.80) เลือก 322 46 17 9 6 400

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)

รวม269 26 9 6 3 313 27.97 0.00*

(67.30) (6.50) (2.30) (1.50) (0.80) (78.30)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 106: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

93

ตารางที่ 4.13 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน สถานภาพสมรส รวม 2 Sig.โสด สมรส หยาราง แยกกันอยู หมาย

ใบปลิว โบชัว ไมเลือก 306 38 10 3 5 362

(76.50) (9.50) (2.50) (0.80) (1.30) (90.50) เลือก 16 8 7 6 1 38

(4.00) (2.00) (1.80) (1.50) (0.30) (9.50)

รวม322 46 17 9 6 400 65.43 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 319 44 15 9 6 393

(79.80) (11.00) (3.80) (2.30) (1.50) (98.30) เลือก 3 2 2

- -7

(0.80) (0.50) (0.50) (1.80)

รวม322 46 17 9 6 400 13.24 0.01*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00) เพื่อน ไมเลือก 57 27 12 6 5 107

(14.30) (6.80) (3.00) (1.50) (1.30) (26.80) เลือก 265 19 5 3 1 293

(66.30) (4.80) (1.30) (0.80) (0.30) (73.30)

รวม322 46 17 9 6 400 71.20 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก 53 28 8 6 3 98

(13.30) (7.00) (2.00) (1.50) (0.80) (24.50) เลือก 269 18 9 3 3 302

(67.30) (4.50) (2.30) (0.80) (0.80) (75.50)

รวม322 46 17 9 6 400 59.58 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 107: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

94

ตารางที่ 4.13 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน สถานภาพสมรส รวม 2 Sig.โสด สมรส หยาราง แยกกันอยู หมาย

ญาติ ไมเลือก 259 38 12 8 4 321

(64.80) (9.50) (3.00) (2.00) (1.00) (80.30) เลือก 63 8 5 1 2 79

(15.80) (2.00) (1.30) (0.30) (0.50) (19.80)

รวม322 46 17 9 6 400 2.29 0.68

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 321 46 17 9 6 399

(80.30) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (99.80) เลือก 1

- - - -1

(0.30) (0.30)

รวม322 46 17 9 6 400 0.24 0.99

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 69 13 5 2 3 92

(17.30) (3.30) (1.30) (0.50) (0.80) (23.00) เพื่อน 228 18 9 1

-256

(57.00) (4.50) (2.30) (0.30) (64.00) ญาติ 16 11 3 5 3 38

(4.00) (2.80) (0.80) (1.30) (0.80) (9.50) คนรัก 5 4

-1

-10

(1.30) (1.00) (0.30) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน 4

- - - -4

(1.00) (1.00)

รวม322 46 17 9 6 400 79.07 0.00*

(80.50) (11.50) (4.30) (2.30) (1.50) (100.00)* Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 108: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

95

จากตารางที่ 4.13 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางสถานภาพสมรสกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา สถานภาพสมรสมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางที่ 4.14 ความสัมพันธระหวางศาสนากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนศาสนา

รวม 2 Sig.พุทธ คริสต อิสลาม

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 318 13 17 348

(79.50) (3.30) (4.30) (87.00) เลือก 46 1 5 52

(11.50) (0.30) (1.30) (13.00)

รวม364 14 22 400 2.30 0.31

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) ฟนเก ไมเลือก 89 10 12 111

(22.30) (2.50) (3.00) (27.80) เลือก 275 4 10 289

(68.80) (1.00) (2.50) (72.30)

รวม364 14 22 400 23.17 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 109: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

96

ตารางที่ 4.14 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนศาสนา

รวม 2 Sig.พุทธ คริสต อิสลาม

ฟนคุด ไมเลือก 333 7 16 356

(83.30) (1.80) (4.00) (89.00) เลือก 31 7 6 44

(7.80) (1.80) (1.50) (11.00)

รวม364 14 22 400 29.99 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 339 12 20 371

(84.80) (3.00) (5.00) (92.80) เลือก 25 2 2 29

(6.30) (0.50) (0.50) (7.30)

รวม364 14 22 400 1.22 0.54

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด 274 2 10 286

(68.50) (0.50) (2.50) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ยากินหรือ ยาทาประจํา

10 4 1 15(2.50) (1.00) (0.30) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก 36 5 7 48(9.00) (1.30) (1.80) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน 42 2 4 48(10.50) (0.50) (1.00) (12.00)

อ่ืน ๆ 2 1-

3(0.50) (0.30) (0.80)

รวม364 14 22 400 57.16 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 110: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

97

ตารางที่ 4.14 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนศาสนา

รวม 2 Sig.พุทธ คริสต อิสลาม

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห 47 5 4 56

(11.80) (1.30) (1.00) (14.00) ทุกสองสัปดาห 22 2 3 27

(5.50) (0.50) (0.80) (6.80) ทุกเดือน 265 4 10 279

ทุกสองเดือนหรือมากกวา(66.30) (1.00) (2.50) (69.80)

30 3 5 38(7.40) (0.80) (1.30) (9.50)

รวม364 14 22 400 20.79 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป 201 4 7 212

(50.30) (1.00) (1.80) (53.00) 1 - 3 ป 119 7 10 136

(29.80) (1.80) (2.50) (34.00) มากกวา 3 ป 44 3 5 52

(11.00) (0.80) (1.30) (13.00)

รวม364 14 22 400 8.46 0.07

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา 63 3 8 74

(15.80) (0.80) (2.00) (18.50) เท่ียง 17 7 2 26

(4.30) (1.80) (0.50) (6.50) เย็น 31

-1 32

(7.80) (0.30) (8.00) วันหยุด 215

-5 220

(53.80) (1.30) (55.00) เมื่อสะดวก 38 4 6 48

(9.50) (1.00) (1.50) (12.00)

รวม364 14 22 400 69.74 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 111: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

98

ตารางที่ 4.14 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนศาสนา

รวม 2 Sig.พุทธ คริสต อิสลาม

จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 289 2 13 304

(72.30) (0.50) (3.30) (76.00) 2 แหง 57 9 8 74

(14.30) (2.30) (2.00) (18.50) มากกวา 2 แหง 18 3 1 22

(4.50) (0.80) (0.30) (5.50)

รวม364 14 22 400 36.34 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) เดินทางผาน ไมเลือก 290 9 14 313

(72.50) (2.30) (3.50) (78.30) เลือก 74 5 8 87

(18.50) (1.30) (2.00) (21.80)

รวม364 14 22 400 4.79 0.09

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) ใบปลิว โบชัวร ไมเลือก 339 6 17 362

(84.80) (1.50) (4.30) (90.50) เลือก 25 8 5 38

(6.30) (2.00) (1.30) (9.50)

รวม364 14 22 400 44.37 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 358 14 21 393

(89.50) (3.50) (5.30) (98.30) เลือก 6 0 1 7

(1.50) (0.00) (0.30) (1.80)

รวม364 14 22 400 1.27 0.53

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 112: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

99

ตารางที่ 4.14 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนศาสนา

รวม 2 Sig.พุทธ คริสต อิสลาม

เพื่อน ไมเลือก 87 11 9 107

(21.80) (2.80) (2.30) (26.80) เลือก 277 3 13 293

(69.30) (0.80) (3.30) (73.30)

รวม364 14 22 400 22.94 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก 75 11 12 98

(18.80) (2.80) (3.00) (24.50) เลือก 289 3 10 302

(72.30) (0.80) (2.50) (75.50)

รวม364 14 22 400 35.85 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) ญาติ ไมเลือก 291 13 17 321

(72.80) (3.30) (4.30) (80.30) เลือก 73 1 5 79

(18.30) (0.30) (1.30) (19.80)

รวม364 14 22 400 1.54 0.46

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 363 14 22 399

(90.80) (3.50) (5.50) (99.80) เลือก 1

- -1

(0.30) (0.30)

รวม364 14 22 400 0.09 0.95

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 113: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

100

ตารางที่ 4.14 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนศาสนา

รวม 2 Sig.พุทธ คริสต อิสลาม

บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 88 1 3 92

(22.00) (0.30) (0.80) (23.00) เพื่อน 237 7 12 256

(59.30) (1.80) (3.00) (64.00) ญาติ 27 6 5 38

(6.80) (1.50) (1.30) (9.50) คนรัก 9

-1 10

(2.30) (0.30) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน 3

-1 4

(0.80) (0.30) (1.00)

รวม364 14 22 400 29.24 0.00*

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.14 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางศาสนากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ศาสนา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประช าชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 114: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

101

ตารางที่ 4.15 ความสัมพันธระหวางการศึกษากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

การศึกษา

รวม 2 Sig.ประถมศึกษา

มัธยมฯตอนตน

มัธยมฯตอนปลาย

/ปวช.

ปวส./อนุปริญญา

ป.ตรีสูงกวาป.ตรี

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 44 61 98 55 82 8 348

(11.00) (15.30) (24.50) (13.80) (20.50) (2.00) (87.00) เลือก 18 4 7 9 11 3 52

(4.50) (1.00) (1.80) (2.30) (2.80) (0.80) (13.00)

รวม62 65 105 64 93 11 400 22.66 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00) ฟนเก ไมเลือก 27 20 15 24 18 7 111

(6.80) (5.00) (3.80) (6.00) (4.50) (1.80) (27.80) เลือก 35 45 90 40 75 4 289

(8.80) (11.30) (22.50) (10.00) (18.80) (1.00) (72.30)

รวม62 65 105 64 93 11 400 30.87 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก 60 51 98 51 87 9 356

(15.00) (12.80) (24.50) (12.80) (21.80) (2.30) (89.00) เลือก 2 14 7 13 6 2 44

(0.50) (3.50) (1.80) (3.30) (1.50) (0.50) (11.00)

รวม62 65 105 64 93 11 400 21.42 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 54 61 99 59 89 9 371

(13.50) (15.30) (24.80) (14.80) (22.30) (2.30) (92.80) เลือก 8 4 6 5 4 2 29

(2.00) (1.00) (1.50) (1.30) (1.00) (0.50) (7.30)

รวม62 65 105 64 93 11 400 6.61 0.25

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 115: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

102

ตารางที่ 4.15 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

การศึกษา

รวม 2 Sig.ประถมศึกษา

มัธยมฯตอนตน

มัธยมฯตอนปลาย

/ปวช.

ปวส./อนุปริญญา

ป.ตรีสูงกวาป.ตรี

การใชบริการคลินิกทันตกรรม

ไปตามแพทยนัด 51 37 83 44 69 2 286(12.80) (9.30) (20.80) (11.00) (17.30) (0.50) (71.50)

ไปบางไมไปบางแตมาช้ือยากินหรือยาทาประจํา

1 2 4 3 1 4 15(0.30) (0.50) (1.00) (0.80) (0.30) (1.00) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก 2 14 9 9 12 2 48(0.50) (3.50) (2.30) (2.30) (3.00) (0.50) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน 8 10 9 8 10 3 48(2.00) (2.50) (2.30) (2.00) (2.50) (0.80) (12.00)

อ่ืน ๆ-

2- -

1-

3(0.50) (0.30) (0.80)

รวม62 65 105 64 93 11 400 63.44 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)ความถ่ีในการเขามารับบริการ

ทุกสัปดาห 13 7 11 10 12 3 56(3.30) (1.80) (2.80) (2.50) (3.00) (0.80) (14.00)

ทุกสองสัปดาห 5 4 4 7 5 2 27(1.30) (1.00) (1.00) (1.80) (1.30) (0.50) (6.80)

ทุกเดือน 36 45 82 42 72 2 279(9.00) (11.30) (20.50) (10.50) (18.00) (0.50) (69.80)

ทุกสองเดือนหรือมากกวา

8 9 8 5 4 4 38(2.00) (2.30) (2.00) (1.30) (1.00) (1.00) (9.50)

รวม62 65 105 64 93 11 400 31.77 0.01*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 116: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

103

ตารางที่ 4.15 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

การศึกษา

รวม 2 Sig.ประถมศึกษา

มัธยมฯตอนตน

มัธยมฯตอนปลาย

/ปวช.

ปวส./อนุปริญญา

ป.ตรีสูงกวาป.ตรี

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป 40 36 59 33 41 3 212

(10.00) (9.00) (14.80) (8.30) (10.30) (0.80) (53.00) 1 - 3 ป 12 24 41 24 31 4 136

(3.00) (6.00) (10.30) (6.00) (7.80) (1.00) (34.00) มากกวา 3 ป 10 5 5 7 21 4 52

(2.50) (1.30) 1.30) 1.80) (5.30) (1.00) (13.00)

รวม62 65 105 64 93 11 400 28.49 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา 21 8 15 14 13 3 74

(5.30) (2.00) (3.80) (3.50) (3.30) (0.80) (18.50) เท่ียง 6 4 2 4 7 3 26

(1.50) (1.00) (0.50) (1.00) (1.80) (0.80) (6.50) เย็น 7 6 14 2 3

-32

(1.80) (1.50) (3.50) (0.50) (0.80) (8.00) วันหยุด 23 35 65 37 58 2 220

(5.80) (8.80) (16.30) (9.30) (14.50) (0.50) (55.00) เมื่อสะดวก 5 12 9 7 12 3 48

(1.30) (3.00) (2.30) (1.80) (3.00) (0.80) (12.00)

รวม62 65 105 64 93 11 400 48.73 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 117: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

104

ตารางที่ 4.15 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

การศึกษา

รวม 2 Sig.ประถมศึกษา

มัธยมฯตอนตน

มัธยมฯตอนปลาย

/ปวช.

ปวส./อนุปริญญา

ป.ตรีสูงกวาป.ตรี

จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 46 47 92 45 72 2 304

(11.50) (11.80) (23.00) (11.30) (18.00) (0.50) (76.00) 2 แหง 13 12 11 14 18 6 74

(3.30) (3.00) (2.80) (3.50) (4.50) (1.50) (18.50) มากกวา 2 แหง 3 6 2 5 3 3 22

(0.80) (1.50) (0.50) (1.30) (0.80) (0.80) (5.50)

รวม62 65 105 64 93 11 400 34.29 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก 46 52 90 45 71 9 313

(11.50) (13.00) (22.50) (11.30) (17.80) (2.30) (78.30) เลือก 16 13 15 19 22 2 87

(4.00) (3.30) (3.80) (4.80) (5.50) (0.50) (21.80)

รวม62 65 105 64 93 11 400 6.80 0.23

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00) ใบปลิว โบชัวร ไมเลือก 56 57 103 60 81 5 362

(14.00) (14.30) (25.80) (15.00) (20.30) (1.30) (90.50) เลือก 6 8 2 4 12 6 38

(1.50) (2.00) (0.50) (1.00) (3.00) (1.50) (9.50)

รวม62 65 105 64 93 11 400 35.64 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 118: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

105

ตารางที่ 4.15 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

การศึกษา

รวม 2 Sig.ประถมศึกษา

มัธยมฯตอนตน

มัธยมฯตอนปลาย

/ปวช.

ปวส./อนุปริญญา

ป.ตรีสูงกวาป.ตรี

วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 61 65 104 63 89 11 393

(15.30) (16.30) (26.00) (15.80) (22.30) (2.80) (98.30) เลือก 1

-1 1 4

-7

(0.30) (0.30) (0.30) (1.00) (1.80)

รวม62 65 105 64 93 11 400 5.28 0.38

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00) เพื่อน ไมเลือก 28 18 13 16 24 8 107

(7.00) (4.50) (3.30) (4.00) (6.00) (2.00) (26.80) เลือก 34 47 92 48 69 3 293

(8.50) (11.80) (23.00) (12.00) (17.30) (0.80) (73.30)

รวม62 65 105 64 93 11 400 33.82 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก 23 17 16 14 20 8 98

(5.80) (4.30) (4.00) (3.50) (5.00) (2.00) (24.50) เลือก 39 48 89 50 73 3 302

(9.80) (12.00) (22.30) (12.50) (18.30) (0.80) (75.50)

รวม62 65 105 64 93 11 400 24.80 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00) ญาติ ไมเลือก 55 48 78 47 82 11 321

(13.80) (12.00) (19.50) (11.80) (20.50) (2.80) (80.30) เลือก 7 17 27 17 11

-79

(1.80) (4.30) (6.80) (4.30) (2.80) (19.80)

รวม62 65 105 64 93 11 400 15.10 0.01*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 119: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

106

ตารางที่ 4.15 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

การศึกษา

รวม 2 Sig.ประถมศึกษา

มัธยมฯตอนตน

มัธยมฯตอนปลาย

/ปวช.

ปวส./อนุปริญญา

ป.ตรีสูงกวาป.ตรี

อ่ืน ๆ ไมเลือก 62 65 105 64 92 11 399

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.00) (2.80) (99.80) เลือก

- - - -1

-1

(0.30) (0.30)

รวม62 65 105 64 93 11 400 3.30 0.65

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 25 13 15 12 24 3 92

(6.30) (3.30) (3.80) (3.00) (6.00) (0.80) (23.00) เพื่อน 28 42 83 42 58 3 256

(7.00) (10.50) (20.80) (10.50) (14.50) (0.80) (64.00) ญาติ 7 9 4 8 5 5 38

(1.80) (2.30) (1.00) (2.00) (1.30) (1.30) (9.50) คนรัก 2 1 2 1 4

-10

(0.50) (0.30) (0.50) (0.30) (1.00) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

- -1 1 2

-4

(0.30) (0.30) (0.50) (1.00)

รวม62 65 105 64 93 11 400 49.62 0.00*

(15.50) (16.30) (26.30) (16.00) (23.30) (2.80) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.15 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางการศึกษากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา การศึกษามีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประช าชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 120: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

107

ทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกที่ใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว ญาติ และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางที่ 4.16 ความสัมพันธระหวางการศึกษากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

อาชีพ

รวม 2 Sig.นักเรียน/ นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

เจาของกิจการ/ คาขาย

พนักงานเอกชน

ประกอบธุรกิจ

สวนตัวรับจาง เกษตรกร อื่น ๆ

เหตุผลที่ใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 184 33 14 67 32 12 6 0 348

(46.00) (8.30) (3.50) (16.80) (8.00) (3.00) (1.50) (0.00) (87.00) เลือก 24 3 6 6 1 6 5 1 52

(6.00) (0.80) (1.50) (1.50) (0.30) (1.50) (1.30) (0.30) (13.00)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 34.08 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00) ฟนเก ไมเลือก 36 10 10 24 8 14 8 1 111

(9.00) (2.50) (2.50) (6.00) (2.00) (3.50) (2.00) (0.30) (27.80) เลือก 172 26 10 49 25 4 3

-289

(43.00) (6.50) (2.50) (12.30) (6.30) (1.00) (0.80) (72.30)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 53.58 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00) ฟนคุด ไมเลือก 204 32 18 56 27 9 9 1 356

(51.00) (8.00) (4.50) (14.00) (6.80) (2.30) (2.30) (0.30) (89.00) เลือก 4 4 2 17 6 9 2

-44

(1.00) (1.00) (0.50) (4.30) (1.50) (2.30) (0.50) (11.00)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 59.19 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 121: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

108

ตารางที่ 4.16 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

อาชีพ

รวม 2 Sig.นักเรียน/ นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

เจาของกิจการ/ คาขาย

พนักงานเอกชน

ประกอบธุรกิจ

สวนตัวรับจาง เกษตรกร อื่น ๆ

อื่น ๆ ไมเลือก 192 33 17 71 30 18 9 1 371

(48.00) (8.30) (4.30) (17.80) (7.50) (4.50) (2.30) (0.30) (92.80) เลือก 16 3 3 2 3

-2

-29

(4.00) (0.80) (0.80) (0.50) (0.80) (0.50) (7.30)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 7.72 0.35

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)การใชบริการคลินิกทันตกรรม

ไปตามแพทยนัด 178 21 8 50 20 4 4 1 286(44.50) (5.30) (2.00) (12.50) (5.00) (1.00) (1.00) (0.30) (71.50)

ไปบางไมไปบางแตมาซ้ือยากินหรือยาทาประจํา

3 4-

2 2 4- -

15(0.80) (1.00) (0.50) (0.50) (1.00) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก 9 3 6 14 9 7- -

48(2.30) (0.80) (1.50) (3.50) (2.30) (1.80) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน 17 6 6 7 2 3 7-

48(4.30) (1.50) (1.50) (1.80) (0.50) (0.80) (1.80) (12.00)

อื่น ๆ 1 2- - - - - -

3(0.30) (0.50) (0.80)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 129.68 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)ความถี่ในการเขามารับบริการ

ทุกสัปดาห 21 5 1 14 11 2 1 1 56(5.30) (1.30) (0.30) (3.50) (2.80) (0.50) (0.30) (0.30) (14.00)

ทุกสองสัปดาห 6 4 5 4 5 2 1-

27(1.50) (1.00) (1.30) (1.00) (1.30) (0.50) (0.30) (6.80)

ทุกเดือน 174 24 7 51 15 6 2-

279(43.50) (6.00) (1.80) (12.80) (3.80) (1.50) (0.50) (69.80)

ทุกสองเดือนหรือมากกวา

7 3 7 4 2 8 7-

38(1.80) (0.80) (1.80) (1.00) (0.50) (2.00) (1.80) (9.50)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 140.17 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 122: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

109

ตารางที่ 4.16 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

อาชีพ

รวม 2 Sig.นักเรียน/ นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

เจาของกิจการ/ คาขาย

พนักงานเอกชน

ประกอบธุรกิจ

สวนตัวรับจาง เกษตรกร อื่น ๆ

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป 135 17 8 42 6 3

-1 135

(33.80) (4.30) (2.00) (10.50) (1.50) (0.80) (0.30) (33.80) ปขึ้นไปแตไมเกิน 3 ป 63 14 7 21 13 12 6

-63

(15.80) (3.50) (1.80) (5.30) (3.30) (3.00) (1.50) (15.80) มากกวา 3 ป 10 5 5 10 14 3 5

-10

(2.50) (1.30) (1.30) (2.50) (3.50) (0.80) (1.30) (2.50)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 208 78.52 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30) (52.00)ชวงเวลาที่ใชบริการ เชา 38 1 4 18 9 2 1 1 74

(9.50) (0.30) (1.00) (4.50) (2.30) (0.50) (0.30) (0.30) (18.50) เที่ยง 4 7 4 3 3 4 1

-26

(1.00) (1.80) (1.00) (0.80) (0.80) (1.00) (0.30) (6.50) เย็น 25 1 2 1 1 1 1

-32

(6.30) (0.30) (0.50) (0.30) (0.30) (0.30) (0.30) (8.00) วันหยุด 130 18 6 44 16 4 2

-220

(32.50) (4.50) (1.50) (11.00) (4.00) (1.00) (0.50) (55.00) เมื่อสะดวก 11 9 4 7 4 7 6

-48

(2.80) (2.30) (1.00) (1.80) (1.00) (1.80) (1.50) (12.00)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 106.56 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)จํานวนคลินิกที่ใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 189 23 9 60 12 6 4 1 304

(47.30) (5.80) (2.30) (15.00) (3.00) (1.50) (1.00) (0.30) (76.00) 2 แหง 18 11 7 10 17 7 4

-74

(4.50) (2.80) (1.80) (2.50) (4.30) (1.80) (1.00) (18.50) มากกวา 2 แหง 1 2 4 3 4 5 3

-22

(0.30) (0.50) (1.00) (0.80) (1.00) (1.30) (0.80) (5.50)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 112.11 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 123: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

110

ตารางที่ 4.16 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

อาชีพ

รวม 2 Sig.นักเรียน/ นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

เจาของกิจการ/ คาขาย

พนักงานเอกชน

ประกอบธุรกิจ

สวนตัวรับจาง เกษตรกร อื่น ๆ

การรับรูจากส่ือ เดินทางผาน ไมเลือก 181 31 13 57 17 7 7

-313

(45.30) (7.80) (3.30) (14.30) (4.30) (1.80) (1.80) (78.30) เลือก 27 5 7 16 16 11 4 1 87

(6.80) (1.30) (1.80) (4.00) (4.00) (2.80) (1.00) (0.30) (21.80)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 47.99 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00) ใบปลิว โบชัว ไมเลือก 203 28 17 70 21 12 10 1 362

(50.80) (7.00) (4.30) (17.50) (5.30) (3.00) (2.50) (0.30) (90.50) เลือก 5 8 3 3 12 6 1

-38

(1.30) (2.00) (0.80) (0.80) (3.00) (1.50) (0.30) (9.50)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 61.830 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 207 35 20 73 29 18 10 1 393

(51.80) (8.80) (5.00) (18.30) (7.30) (4.50) (2.50) (0.30) (98.30) เลือก 1 1

- -4

-1

-7

(0.30) (0.30) (1.00) (0.30) (1.80)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 28.25 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00) เพื่อน ไมเลือก 37 10 13 11 15 12 8 1 107

(9.30) (2.50) 3.30) (2.80) (3.80) (3.00) (2.00) (0.30) (26.80) เลือก 171 26 7 62 18 6 3

-293

(42.80) (6.50) (1.80) (15.50) (4.50) (1.50) (0.80) (73.30)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 63.69 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 124: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

111

ตารางที่ 4.16 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

อาชีพ

รวม 2 Sig.นักเรียน/ นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

เจาของกิจการ/ คาขาย

พนักงานเอกชน

ประกอบธุรกิจ

สวนตัวรับจาง เกษตรกร อื่น ๆ

คนในครอบครัว ไมเลือก 27 9 10 13 19 13 6 1 98

(6.80) (2.30) (2.50) (3.30) (4.80) (3.30) (1.50) (0.30) (24.50) เลือก 181 27 10 60 14 5 5

-302

(45.30) (6.80) (2.50) (15.00) (3.50) (1.30) (1.30) (75.50)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 73.85 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00) ญาติ ไมเลือก 167 30 16 55 31 13 8 1 321

(91.00) (3.50) (5.50) (100.00) (7.80) (3.30) (2.00) (0.30) (80.30) เลือก 41 6 4 18 2 5 3

-79

(10.30) (1.50) (1.00) (4.50) (0.50) (1.30) (0.80) (19.80)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 6.599 0.47

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00) อื่น ๆ ไมเลือก 208 35 20 73 33 18 11 1 399

(52.00) (8.80) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30) (99.80) เลือก

-1

- - - - - -1

(0.30) (0.30)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 10.13 0.18

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 125: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

112

ตารางที่ 4.16 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน

อาชีพ

รวม 2 Sig.นักเรียน/ นักศึกษา

รับราชการ/พนักงาน

รัฐวิสาหกิจ

เจาของกิจการ/ คาขาย

พนักงานเอกชน

ประกอบธุรกิจ

สวนตัวรับจาง เกษตรกร อื่น ๆ

บุคคลที่มีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 45 7 8 11 10 4 6 1 92

(11.30) (1.80) (2.00) (2.80) (2.50) (1.00) (1.50) (0.30) (23.00) เพื่อน 152 22 5 50 15 9 3

-256

(38.00) (5.50) (1.30) (12.50) (3.80) (2.30) (0.80) (64.00) ญาติ 7 7 5 10 4 3 2

-38

(1.80) (1.80) (1.30) (2.50) (1.00) (0.80) (0.50) (9.50) คนรัก 1

-2 2 3 2

- -10

(0.30) (0.50) (0.50) (0.80) (0.50) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน 3

- - -1

- - -4

(0.80) (0.30) (1.00)

รวม208 36 20 73 33 18 11 1 400 70.09 0.00*

(52.00) (9.00) (5.00) (18.30) (8.30) (4.50) (2.80) (0.30)(100.00)

* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.16 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางอาชีพกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา อาชีพ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประช าชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิก ท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 126: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

113

ตารางที่ 4.17 ความสัมพันธระหวางรายไดตอเดือนกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนรายไดตอเดือน

รวม 2 Sig.ต่ํากวา5,000 บาท

5,000 -15,000 บาท

15,0001 -30,000 บาท

30,0001 บาทขึ้นไป

อื่น ๆ

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 15 125 42 7 159 348

(3.80) (31.30) (10.50) (1.80) (39.80) (87.00) เลือก 15 20 9 7 1 52

(3.80) (5.00) (2.30) (1.80) (0.30) (13.00)

รวม30 145 51 14 160 400 75.97 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) ฟนเก ไมเลือก 23 38 33 11 6 111

(5.80) (9.50) (8.30) (2.80) (1.50) (27.80) เลือก 7 107 18 3 154 289

(1.80) (26.80) (4.50) (0.80) (38.50) (72.30)

รวม30 145 51 14 160 400 134.71 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก 25 133 29 11 158 356

(6.30) (33.30) (7.30) (2.80) (39.50) (89.00) เลือก 5 12 22 3 2 44

(1.30) (3.00) (5.50) (0.80) (0.50) (11.00)

รวม30 145 51 14 160 400 72.97 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 27 134 48 13 149 371

(6.80) (33.50) (12.00) (3.30) (37.30) (92.80) เลือก 3 11 3 1 11 29

(0.80) (2.80) (0.80) (0.30) (2.80) (7.30)

รวม30 145 51 14 160 400 0.53 0.97

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 127: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

114

ตารางที่ 4.17 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนรายไดตอเดือน

รวม 2 Sig.ต่ํากวา5,000 บาท

5,000 -15,000 บาท

15,0001 -30,000 บาท

30,0001 บาทขึ้นไป

อื่น ๆ

การใชบริการคลินิกทันตกรรมไปตามแพทยนัด 23 97 21 6 139 286

(5.80) (24.30) (5.30) (1.50) (34.80) (71.50)ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ยากินหรือยาทาประจํา

-10 1 2 2 15

(2.50) (0.30) (0.50) (0.50) (3.80)ไปคลินิกเมื่อสะดวก 5 13 23 1 6 48

(1.30) (3.30) (5.80) (0.30) (1.50) (12.00)ไปเมื่อมีปญหาฟน 2 24 6 4 12 48

(0.50) (6.00) (1.50) (1.00) (3.00) (12.00)อ่ืน ๆ

-1

-1 1 3

(0.30) (0.30) (0.30) (0.80)

รวม30 145 51 14 160 400 101.15 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)ความถ่ีในการเขามารับบริการ

ทุกสัปดาห 16 9 21 4 6 56(4.00) (2.30) (5.30) (1.00) (1.50) (14.00)

ทุกสองสัปดาห 5 9 10 1 2 27(1.30) (2.30) (2.50) (0.30) (0.50) (6.80)

ทุกเดือน 5 103 14 6 151 279(1.30) (25.80) (3.50) (1.50) (37.80) (69.80)

ทุกสองเดือนหรือมากกวา 4 24 6 3 1 38(1.00) (6.00) (1.50) (0.80) (0.30) (9.50)

รวม30 145 51 14 160 400 168.86 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 128: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

115

ตารางที่ 4.17 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนรายไดตอเดือน

รวม 2 Sig.ต่ํากวา5,000 บาท

5,000 -15,000 บาท

15,0001 -30,000 บาท

30,0001 บาทขึ้นไป

อื่น ๆ

ประสบการณการใชบริการนอยกวา 1 ป 21 66 16 4 105 212

(5.30) (16.50) (4.00) (1.00) (26.30) (53.00)1 - 3 ป 6 62 15 5 48 136

(1.50) (15.50) (3.80) (1.30) (12.00) (34.00)มากกวา 3 ป 3 17 20 5 7 52

(0.80) (4.30) (5.00) (1.30) (1.80) (13.00)

รวม30 145 51 14 160 400 62.20 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา 20 18 21 2 13 74

(5.00) (4.50) (5.30) (0.50) (3.30) (18.50) เท่ียง 4 9 8 4 1 26

(1.00) (2.30) (2.00) (1.00) (0.30) (6.50) เย็น 2 11 1

-18 32

(0.50) (2.80) (0.30) (4.50) (8.00) วันหยุด 2 83 12 1 122 220

(0.50) (20.80) (3.00) (0.30) (30.50) (55.00) เมื่อสะดวก 2 24 9 7 6 48

(0.50) (6.00) (2.30) (1.80) (1.50) (12.00)

รวม30 145 51 14 160 400 169.10 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 18 107 17 5 157 304

(4.50) (26.80) (4.30) (1.30) (39.30) (76.00) 2 แหง 8 30 28 6 2 74

(2.00) (7.50) (7.00) (1.50) (0.50) (18.50) มากกวา 2 แหง 4 8 6 3 1 22

(1.00) (2.00) (1.50) (0.80) (0.30) (5.50)

รวม30 145 51 14 160 400 115.18 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 129: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

116

ตารางที่ 4.17 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนรายไดตอเดือน

รวม 2 Sig.ต่ํากวา5,000 บาท

5,000 -15,000 บาท

15,0001 -30,000 บาท

30,0001 บาทขึ้นไป

อื่น ๆ

การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก 13 114 21 13 152 313

(3.30) (28.50) (5.30) (3.30) (38.00) (78.30) เลือก 17 31 30 1 8 87

(4.30) (7.80) (7.50) (0.30) (2.00) (21.80)

รวม30 145 51 14 160 400 90.81 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) ใบปลิว โบชัวร ไมเลือก 27 130 37 9 159 362

(6.80) (32.50) (9.30) (2.30) (39.80) (90.50) เลือก 3 15 14 5 1 38

(0.80) (3.80) (3.50) (1.30) (0.30) (9.50)

รวม30 145 51 14 160 400 45.09 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 30 142 47 14 160 393

(7.50) (35.50) (11.80) (3.50) (40.00) (98.30) เลือก

-3 4

- -7

(0.80) (1.00) (1.80)

รวม30 145 51 14 160 400 14.73 0.01*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) เพื่อน ไมเลือก 24 38 27 14 4 107

(6.00) (9.50) (6.80) (3.50) (1.00) (26.80) เลือก 6 107 24

-156 293

(1.50) (26.80) (6.00) (39.00) (73.30)

รวม30 145 51 14 160 400 147.64 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 130: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

117

ตารางที่ 4.17 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนรายไดตอเดือน

รวม 2 Sig.ต่ํากวา5,000 บาท

5,000 -15,000 บาท

15,0001 -30,000 บาท

30,0001 บาทขึ้นไป

อื่น ๆ

คนในครอบครัว ไมเลือก 17 (35 32 5 9 98

(4.30) (8.80) (8.00) (1.30) (2.30) (24.50) เลือก 13 110 19 9 151 302

(3.30) (27.50) (4.80) (2.30) (37.80) (75.50)

รวม30 145 51 14 160 400 88.88 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) ญาติ ไมเลือก 27 113 39 14 128 321

(6.80) (28.30) (9.80) (3.50) (32.00) (80.30) เลือก 3 32 12

-32 79

(0.80) (8.00) (3.00) (8.00) (19.80)

รวม30 145 51 14 160 400 6.20 0.18

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 30 144 51 14 160 30

(7.50) (36.00) (12.80) (3.50) (40.00) (7.50) เลือก

-1

- - - -(0.30)

รวม30 145 51 14 160 30 1.76 0.77

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (7.50)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 131: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

118

ตารางที่ 4.17 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนรายไดตอเดือน

รวม 2 Sig.ต่ํากวา5,000 บาท

5,000 -15,000 บาท

15,0001 -30,000 บาท

30,0001 บาทขึ้นไป

อื่น ๆ

บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 15 30 13 7 27 92

(3.80) (7.50) (3.30) (1.80) (6.80) (23.00) เพื่อน 10 94 21 1 130 256

(2.50) (23.50) (5.30) (0.30) (32.50) (64.00) ญาติ 4 15 13 5 1 38

(1.00) (3.80) (3.30) (1.30) (0.30) (9.50) คนรัก 1 4 4 1

-10

(0.30) (1.00) (1.00) (0.30) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

-2

- -2 4

(0.50) (0.50) (1.00)

รวม30 145 51 14 160 400 90.21 0.00*

(7.50) (36.30) (12.80) (3.50) (40.00) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.17 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางรายไดตอเดือนกับการตัดสินใจ ใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา รายไดตอเดือน มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 132: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

119

ตารางที่ 4.18 ความสัมพันธระหวางภูมิลําเนากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนภูมิลําเนา

รวม 2 Sig.เขตอําเภอเมืองฯ

ตางอําเภอ ตางจังหวัด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก 217 125 6 348

(54.30) (31.30) (1.50) (87.00) เลือก 39 11 2 52

(9.80) (2.80) (0.50) (13.00)

รวม256 136 8 400 5.05 0.08

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) ฟนเก ไมเลือก 81 25 5 111

(20.30) (6.30) (1.30) (27.80) เลือก 175 111 3 289

(43.80) (27.80) (0.80) (72.30)

รวม256 136 8 400 12.70 0.00*

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก 223 125 8 356

(55.80) (31.30) (2.00) (89.00) เลือก 33 11

-44

(8.30) (2.80) (11.00)

รวม256 136 8 400 3.10 0.21

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 237 129 5 371

(59.30) (32.30) (1.30) (92.80) เลือก 19 7 3 29

(4.80) (1.80) (0.80) (7.30)

รวม256 136 8 400 11.79 0.00*

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 133: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

120

ตารางที่ 4.18 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนภูมิลําเนา

รวม 2 Sig.เขตอําเภอเมืองฯ

ตางอําเภอ ตางจังหวัด

การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด 190 93 3 286

(47.50) (23.30) (0.80) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ยากินหรือ ยาทาประจํา

9 4 2 15(2.30) (1.00) (0.50) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก 29 17 2 48(7.30) (4.30) (0.50) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน 27 20 1 48(6.80) (5.00) (0.30) (12.00)

อ่ืน ๆ 1 2-

3(0.30) (0.50) (0.80)

รวม256 136 8 400 15.62 0.05

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห 48 7 1 56

(12.00) (1.80) (0.30) (14.00) ทุกสองสัปดาห 16 9 2 27

(4.00) (2.30) (0.50) (6.80) ทุกเดือน 169 107 3 279

(42.30) (26.80) (0.80) (69.80) ทุกสองเดือนหรือมากกวา 23 13 2 38

(5.80) (3.30) (0.50) (9.50)

รวม256 136 8 400 21.15 0.00*

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 134: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

121

ตารางที่ 4.18 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนภูมิลําเนา

รวม 2 Sig.เขตอําเภอเมืองฯ

ตางอําเภอ ตางจังหวัด

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป 140 70 2 212

(35.00) (17.50) (0.50) (53.00) 1 - 3 ป 76 57 3 136

(19.00) (14.30) (0.80) (34.00) มากกวา 3 ป 40 9 3 52

(10.00) (2.30) (0.80) (13.00)

รวม256 136 8 400 14.62 0.01*

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา 63 9 2 74

(15.80) (2.30) (0.50) (18.50) เท่ียง 15 9 2 26

(3.80) (2.30) (0.50) (6.50) เย็น 22 10 0 32

(5.50) (2.50) (0.00) (8.00) วันหยุด 134 85 1 220

(33.50) (21.30) (0.30) (55.00) เมื่อสะดวก 22 23 3 48

(5.50) (5.80) (0.80) (12.00)

รวม256 136 8 400 34.81 0.00*

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง 192 107 5 304

(48.00) (26.80) (1.30) (76.00) 2 แหง 51 21 2 74

(12.80) (5.30) (0.50) (18.50) มากกวา 2 แหง 13 8 1 22

(3.30) (2.00) (0.30) (5.50)

รวม256 136 8 400 2.33 0.67

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 135: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

122

ตารางที่ 4.18 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนภูมิลําเนา

รวม 2 Sig.เขตอําเภอเมืองฯ

ตางอําเภอ ตางจังหวัด

การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก 191 116 6 313

(47.80) (29.00) (1.50) (78.30) เลือก 65 20 2 87

(16.30) (5.00) (0.50) (21.80)

รวม256 136 8 400 6.00 0.05

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) ใบปลิว โบชัว ไมเลือก 234 122 6 362

(58.50) (30.50) (1.50) (90.50) เลือก 22 14 2 38

(5.50) (3.50) (0.50) (9.50)

รวม256 136 8 400 2.58 0.27

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก 250 135 8 393

(62.50) (33.80) (2.00) (98.30) เลือก 6 1 0 7

(1.50) (0.30) (0.00) (1.80)

รวม256 136 8 400 1.48 0.47

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) เพื่อน ไมเลือก 73 29 5 107

(18.30) (7.30) (1.30) (26.80) เลือก 183 107 3 293

(45.80) (26.80) (0.80) (73.30)

รวม256 136 8 400 7.66 0.02*

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 136: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

123

ตารางที่ 4.18 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนภูมิลําเนา

รวม 2 Sig.เขตอําเภอเมืองฯ

ตางอําเภอ ตางจังหวัด

คนในครอบครัว ไมเลือก 69 26 3 98

(17.30) (6.50) (0.80) (24.50) เลือก 187 110 5 302

(46.80) (27.50) (1.30) (75.50)

รวม256 136 8 400 3.69 0.15

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) ญาติ ไมเลือก 208 106 7 321

(52.00) (26.50) (1.80) (80.30) เลือก 48 30 1 79

(12.00) (7.50) (0.30) (19.80)

รวม256 136 8 400 0.88 0.64

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก 255 136 8 399

(63.80) (34.00) (2.00) (99.80) เลือก 1

- -1

(0.30) (0.30)

รวม256 136 8 400 0.56 0.75

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 137: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

124

ตารางที่ 4.18 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนภูมิลําเนา

รวม 2 Sig.เขตอําเภอเมืองฯ

ตางอําเภอ ตางจังหวัด

บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว 64 26 2 92

(16.00) (6.50) (0.50) (23.00) เพื่อน 161 92 3 256

(40.30) (23.00) (0.80) (64.00) ญาติ 24 13 1 38

(6.00) (3.30) (0.30) (9.50) คนรัก 5 3 2 10

(1.30) (0.80) (0.50) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน 2 2

-4

(0.50) (0.50) (1.00)

รวม256 136 8 400 19.69 0.01*

(64.00) (34.00) (2.00) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.18 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางภูมิลําเนากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ภู มิลําเนามีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประช าชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก อื่น ๆ ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ การรับรูจากสื่อ คือ เพื่อน และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 138: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

125

ตารางที่ 4.19 สรุปความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม

ปจจัยสวนบุคคลเพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน ภูมิลําเนา

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ * - * - * - * - ฟนเก * * * * * * * * ฟนคุด - * * * * * * - อ่ืน ๆ - * - - - - - *การใชบริการคลินิกทันตกรรม - * * * * * * -ความถ่ีในการเขามารับบริการ * * * * * * * *ประสบการณการใชบริการ - * * - * * * *ชวงเวลาท่ีใชบริการ - * * * * * * *จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน - * * * * * * -การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน - * * - - * * - ใบปลิว โบชัว - * * * * * * - วิทยุโทรทัศน - - * - - * * - เพื่อน * * * * * * * * คนในครอบครัว * * * * * * * - ญาติ - - - - * - - - อ่ืน ๆ - - - - - - - -บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ - * * * * * - ** Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.19 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา

เพศ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ความถี่ในการ เขามารับบริการ การรับรูจากส่ือ คือ เพื่อน คนในครอบครัว อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

อายุ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 139: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

126

คลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

สถานภาพสมรส มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เ หตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ศาสนา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

การศึกษา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํา นวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว ญาติ และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

อาชีพ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

รายไดตอเดือน มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว

ภูมิลําเนามีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก อื่น ๆ ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ การรับรูจากสื่อ คือ เพื่อน และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 140: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

127

ตอนที่ 5 วิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตล าด กับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี

วิเคราะหขอมูลเพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยใชสถิติการทดสอบไค-สแควรและทดสอบสมมติฐาน แสดงดังตารางที่ 4.20 - 4.27

โดยมีสมมติฐานทางสถิติเพื่อการทดสอบ ดังนี้ สมมติฐาน H0 : ปจจัยสวนผสมทางการตลาด ไมมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการ

จัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี

H1 : ปจจัยสวนผสมทางการตลาด มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี

ตารางที่ 4.20 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานผลิตภัณฑกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ

ไมเลือก-

1 8 57 282 348(0.30) (2.00) (14.30) (70.50) (87.00)

เลือก-

1(0.30)

7 34 10 52(1.80) (8.50) (2.50) (13.00)

รวม -2

(0.50)15 91 292 400 88.88 0.00*

(3.80) (22.80) (73.00) (100.00) ฟนเก

ไมเลือก - 2(0.50)

10 60 39(9.80)

111(2.50) (15.00) (27.80)

เลือก - - 5 31 253 289(1.30) (7.80) (63.30) (72.30)

รวม -2 15 91 292 400 112.88 0.00*

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 141: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

128

ตารางที่ 4.20 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ฟนคุดไมเลือก

-2

(0.50)15 73 266 356

(3.80) (18.30) (66.50) (89.00)เลือก - - - 18 26 44

(4.50) (6.50) (11.00)

รวม- 2 15 91 292 400 10.57 0.01*

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00) อ่ืน ๆ

ไมเลือก - 1 12 79 279 371(0.30) (3.00) (19.80) (69.80) (92.80)

เลือก-

1(0.30)

3 12 13 29(0.80) (3.00) (3.30) (7.30)

รวม -2

(0.50)15 91 292 400 17.23 0.00*

(3.80) (22.80) (73.00) (100.00)การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด

-1

(0.30)10 43 232

(58.00)286

(2.50) (10.80) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาซื้อ ยากินหรือยาทาประจํา

- - -9 6 15

(2.30) (1.50) (3.80) ไปคลินิกเมื่อสะดวก

- -1 16 31 48

(0.30) (4.00) (7.80) (12.00) ไปเมื่อมีปญหาฟน

-1

(0.30)3 22 22 48

(0.80) (5.50) (5.50) (12.00) อ่ืน ๆ

- -1 1 1 3

(0.30) (0.30) (0.30) (0.80)

รวม -2 15 91 292 400 52.80 0.00*

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 142: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

129

ตารางที่ 4.20 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห

- -2 21 33 56

(0.50) (5.30) (8.30) (14.00) ทุกสองสัปดาห

- -3 19 5 27

(0.80) (4.80) (1.30) (6.80) ทุกเดือน

- 10.30)

5 28 245(61.30)

279(1.30) (7.00) (69.80)

ทุกสองเดือนหรือมากกวา- 1

(0.30)5 23 9 38

(1.30) (5.80) (2.30) (9.50)

รวม -2 15 91 292 400 129.18 0.00*

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป

- 2(0.50)

8 30 172 212(2.00) (7.50) (43.00) (53.00)

1 - 3 ป- - 5

(1.30)39 92 136

(9.80) (23.00) (34.00) มากกวา 3 ป

- -2 22 28 52

(0.50) (5.50) (7.00) (13.00)

รวม -2 15 91 292 400 24.57 0.00*

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา

- -6 30 38 74

(1.50) (7.50) (9.50) (18.50) เท่ียง - - 3 12 11 26

(0.80) (3.00) (2.80) (6.50) เย็น - - - 6 26

(6.50)32

(1.50) (8.00) วันหยุด - 1

(0.30)3 16 200 220

(0.80) (4.00) (50.00) (55.00) เมื่อสะดวก - 1 3 27 17 48

(0.30) (0.80) (6.80) (4.30) (12.00)

รวม - 2(0.50)

15 91 292 400 107.35 0.00*(3.80) (22.80) (73.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 143: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

130

ตารางที่ 4.20 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง

-1

(0.30)3

(0.80)36 264 304

(9.00) (66.00) (76.00) 2 แหง

- -10 40 24 74

(2.50) (10.00) (6.00) (18.50) มากกวา 2 แหง

-1 2 15 4 22

(0.30) (0.50) (3.80) (1.00) (5.50)

รวม -2 15 91 292 400 135.87 0.00*

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก

-2

(0.50)14 47 250 313

(3.50) (11.80) (62.50) (78.30) เลือก

- -1 44 42 87

(0.30) (11.00) (10.50) (21.80)

รวม -2

(0.50)15

(3.80)91 292

(73.00)400 49.70 0.00*

(22.80) (100.00) ใบปลิว โบชัวร ไมเลือก

-2

(0.50)12 68 280 362

(3.00) (17.00) (70.00) (90.50) เลือก

- -3 23 12 38

(0.80) (5.80) (3.00) (9.50)

รวม -2

(0.50)15 91 292 400 38.34 0.00*

(3.80) (22.80) (73.00) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก

-2

(0.50)15

(3.80)88 288 393

(22.00) (72.00) (98.30) เลือก

- - -3 4 7

(0.80) (1.00) (1.80)

รวม -2 15 91 292 400 1.81 0.61

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 144: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

131

ตารางที่ 4.20 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

เพื่อน ไมเลือก

-2

(0.50)10 67 28 107

(2.50) (16.80) (7.00) (26.80) เลือก

- -5 24 264 293

(1.30) (6.00) (66.00) (73.30)รวม

-2

(0.50)15

(3.80)91 292

(73.00)400 163.61 0.00*

(22.80) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก

- -6 53 39 98

(1.50) (13.30) (9.80) (24.50) เลือก

-2

(0.50)9 38 253 302

(2.30) (9.50) (63.30) (75.50)รวม

-2

(0.50)15 91 292 400 78.21 0.00*

(3.80) (22.80) (73.00) (100.00) ญาติ ไมเลือก

-2

(0.50)15

(3.80)74 230 321

(18.50) (57.50) (80.30) เลือก

- - -17 62 79

(4.30) (15.50) (19.80)

รวม -2 15 91 292 400 4.65 0.19

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)การรับรูจากสื่อ อ่ืน ๆ ไมเลือก

-2

(0.50)15 91 291 399

(3.80) (22.80) (72.80) (99.80) เลือก

- - - -1 1

(0.30) (0.30)

รวม -2

(0.50)15

(3.80)91 292

(73.00)400 0.37 0.94

(22.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 145: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

132

ตารางที่ 4.20 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

บุคคลท่ีมีอิทธพิลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว

-2

(0.50)7 33 50 92

(1.80) (8.30) (12.50) (23.00) เพื่อน

- -4

(1.00)28

(7.00)224 256

(56.00) (64.00) ญาติ

- -4 24 10 38

(1.00) (6.00) (2.50) (9.50) คนรัก

- - -5 5 10

(1.30) (1.30) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

- - -1 3 4

(0.30) (0.80) (1.00)

รวม -2 15 91 292 400 95.83 0.00*

(0.50) (3.80) (22.80) (73.00) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.20 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยดานผลิตภัณฑกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ปจจัยดานผลิตภัณฑ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 146: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

133

ตารางที่ 4.21 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานราคากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก

-2 15 188 143 348

(0.50) (3.80) (47.00) (35.80) (87.00) เลือก

-5 8 33 6 52

(1.30) (2.00) (8.30) (1.50) (13.00)

รวม -7 23 221 149 400 42.11 0.00*

(1.80) (5.80) (55.30) (37.30) (100.00) ฟนเก ไมเลือก

-6 13 63 29 111

(1.50) (3.30) (15.80) (7.30) (27.80) เลือก

-1 10 158 120 289

(0.30) (2.50) (39.50) (30.00) (72.30)

รวม -7 23 221 149 400 26.39 0.00*

(1.80) (5.80) (55.30) (37.30) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก - 7 20 199 130 356

(1.80) (5.00) (49.80) (32.50) (89.00) เลือก - - 3 22 19 44

(0.80) (5.50) (4.80) (11.00)

รวม -7

(1.80)23 221 149 400 1.67 0.64

(5.80) (55.30) (37.30) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-6

(1.50)20 209 136

(34.00)371

(5.00) (52.30) (92.80) เลือก

-1

(0.30)3 12 13 29

(0.80) (3.00) (3.30) (7.30)

รวม -7 23 221 149 400 3.23 0.35

(1.80) (5.80) (55.30) (37.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 147: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

134

ตารางที่ 4.21 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด

- 2(0.50)

13 162 109 286(3.30) (40.50) (27.30) (71.50)

ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ยากิน หรือยาทาประจํา -

2(0.50) -

7 6 15(1.80) (1.50) (3.80)

ไปคลินิกเมื่อสะดวก-

1 2 27 18 48(0.30) (0.50) (6.80) (4.50) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน-

2 8 23 15 48(0.50) (2.00) (5.80) (3.80) (12.00)

อ่ืน ๆ- - -

2 1 3(0.50) (0.30) (0.80)

รวม - 7(1.80)

23 221 149 400 28.31 0.01*(5.80) (55.30) (37.30) (100.00)

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห

- 1(0.30)

4 29 22(5.50)

56(1.00) (7.30) (14.00)

ทุกสองสัปดาห- 1

(0.30)3 19 4 27

(0.80) (4.80) (1.00) (6.80) ทุกเดือน

-1 7 155 116 279

(0.30) (1.80) (38.80) (29.00) (69.80) ทุกสองเดือนหรือมากกวา

- 4(1.00)

9 18 7 38(2.30) (4.50) (1.80) (9.50)

รวม - 7(1.80)

23(5.80)

221 149 400 58.69 0.22(55.30) (37.30) (100.00)

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป - 2 15 117 78 212

(0.50) (3.80) (29.30) (19.50) (53.00) 1 - 3 ป - 3 4 77 52 136

(0.80) (1.00) (19.30) (13.00) (34.00) มากกวา 3 ป - 2

(0.50)4

(1.00)27 19 52

(6.80) (4.80) (13.00)

รวม - 7(1.80)

23 221 149 400 5.31 0.50(5.80) (55.30) (37.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 148: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

135

ตารางที่ 4.21 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา

-2

(0.50)6 47 19

(4.80)74

(1.50) (11.80) (18.50) เท่ียง

-1

(0.30)2 15 8 26

(0.50) (3.80) (2.00) (6.50) เย็น

- -3 18 11 32

(0.80) (4.50) (2.80) (8.00) วันหยุด

-1

(0.30)6 113 100 220

(1.50) (28.30) (25.00) (55.00) เมื่อสะดวก

-3

(0.80)6

(1.50)28 11 48

(7.00) (2.80) (12.00)

รวม -7 23 221 149 400 29.45 0.00*

(1.80) (5.80) (55.30) (37.30) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง

-2 9 167 126 304

(0.50) (2.30) (41.80) (31.50) (76.00) 2 แหง

-3

(0.80)8

(2.00)43 20 74

(10.80) (5.00) (18.50) มากกวา 2 แหง

-2

(0.50)6 11 3 22

(1.50) (2.80) (0.80) (5.50)

รวม -7

(1.80)23 221 149

(37.30)400 43.25 0.00*

(5.80) (55.30) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก

-6

(1.50)16 167 124 313

(4.00) (41.80) (31.00) (78.30) เลือก

-1

(0.30)7 54 25 87

(1.80) (13.50) (6.30) (21.80)

รวม -7

(1.80)23 221 149 400 4.34 0.22

(5.80) (55.30) (37.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 149: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

136

ตารางที่ 4.21 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ใบปลิว โบชัว ไมเลือก

-6

(1.50)20

(5.00)197 139 362

(49.30) (34.80) (90.50) เลือก

-1 3 24 10 38

(0.30) (0.80) (6.00) (2.50) (9.50)

รวม -7 23 221 149 400 2.34 0.50

(1.80) (5.80) (55.30) (37.30) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก

-7

(1.80)22

(5.50)217 147 393

(54.30) (36.80) (98.30) เลือก

- -1 4 2 7

(0.30) (1.00) (0.50) (1.80)

รวม -7

(1.80)23 221 149

(37.30)400 1.17 0.75

(5.80) (55.30) (100.00) เพื่อน ไมเลือก

-6

(1.50)13 63 25 107

(3.30) (15.80) (6.30) (26.80) เลือก

-1

(0.30)10 158 124 293

(2.50) (39.50) (31.00) (73.30)

รวม -7

(1.80)23 221 149 400 30.73 0.00*

(5.80) (55.30) (37.30) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก

-4

(1.00)12

(3.00)56 26 98

(14.00) (6.50) (24.50) เลือก

-3 11 165 123 302

(0.80) (2.80) (41.30) (30.80) (75.50)

รวม -7 23 221 149 400 17.64 0.00*

(1.8) (5.8) (55.3) (37.3) (100.0)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 150: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

137

ตารางที่ 4.21 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ญาติ ไมเลือก

-6

(1.50)21

(5.30)176 118 321

(44.00) (29.50) (80.30) เลือก

-1

(0.30)2 45 31 79

(0.50) (11.30) (7.80) (19.80)

รวม -7

(1.80)23 221 149

(37.30)400 2.06 0.56

(5.80) (55.30) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-7

(1.80)23 220 149 399

(5.80) (55.00) (37.30) (99.80) เลือก

- - -1

-1

(0.30) (0.30)

รวม -7

(1.80)23 221 149 400 0.81 0.84

(5.80) (55.30) (37.30) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว

-3

(0.80)10

(2.50)51 28 92

(12.80) (7.00) (23.00) เพื่อน - 1 8 140 107 256

(0.30) (2.00) (35.00) (26.80) (64.00) ญาติ

-2 4 21 11 38

(0.50) (1.00) (5.30) (2.80) (9.50) คนรัก

- 1(0.30)

1(0.30)

5 3 10(1.30) (0.80) (2.50)

ดารานักรองหรือศิลปน- - -

4 - 4(1.00) (1.00)

รวม -7

(1.80)23 221 149

(37.30)400 26.27 0.01*

(5.80) (55.30) (100.00)* Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 151: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

138

จากตารางที่ 4.21 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางดานราคากับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ดานราคา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประช าชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางที่ 4.22 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการจัดจําหนายหรือสถานที่กับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยทีสุ่ด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก

--

9 84 255 348(2.30) (21.00) (63.80) (87.00)

เลือก-

-9 33 10 52

(2.30) (8.30) (2.50) (13.00)

รวม --

18 117 265 400 65.65 0.00*(4.50) (29.30) (66.30) (100.00)

ฟนเก ไมเลือก

- -10 60 41 111

(2.50) (15.00) (10.30) (27.80) เลือก

- -8 57 224 289

(2.00) (14.30) (56.00) (72.30)

รวม - -18 117 265 400 59.18 0.00*

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก

- -18 101 237 356

(4.50) (25.30) (59.30) (89.00) เลือก

- - -16 28 44

(11.00)(4.00) (7.00)

รวม - -18 117 265 400 3.13 0.20

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 152: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

139

ตารางที่ 4.22 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

อ่ืน ๆ ไมเลือก

- -16 103 252 371

(4.00) (25.80) (63.00) (92.80) เลือก

- -2 14 13 29

(0.50) (3.50) (3.30) (7.30)

รวม - -18 117 265 400 6.43 0.04*

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00)การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด

- -10 73 203 286

(2.50) (18.30) (50.80) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ ยากินหรือยาทาประจํา

- - -8 7 15

(2.00) (1.80) (3.80) ไปคลินิกเมื่อสะดวก

- -1 16 31 48

(0.30) (4.00) (7.80) (12.00) ไปเมื่อมีปญหาฟน

- -7 18 23 48

(1.80) (4.50) (5.80) (12.00) อ่ืน ๆ

- - -2 1 3

(0.50) (0.30) (0.80)

รวม - -18

(4.50)117 265 400

(100.00)24.85 0.00*

(29.30) (66.30)ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห

- -1 23 32 56

(0.30) (5.80) (8.00) (14.00) ทุกสองสัปดาห

- -2 19 6 27

(0.50) (4.80) (1.50) (6.80) ทุกเดือน

--

8 54 217 279(2.00) (13.50) (54.30) (69.80)

ทุกสองเดือนหรือมากกวา- -

7 21 10 38(1.80) (5.30) (2.50) (9.50)

รวม --

18 117 265 400 79.20 0.00*(4.50) (29.30) (66.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 153: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

140

ตารางที่ 4.22 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป

- -8

(2.00)52 152 212

(13.00) (38.00) (53.00) 1 - 3 ป

- -8 46 82 136

(2.00) (11.50) (20.50) (34.00) มากกวา 3 ป

- -2 19 31 52

(0.50) (4.80) (7.80) (13.00)

รวม - -18

(4.50)117 265 400 6.43 0.16

(29.30) (66.30) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา

- -5

(1.30)31 38 74

(18.50)(7.80) (9.50) เท่ียง

- -2 14 10 26

(0.50) (3.50) (2.50) (6.50) เย็น

- -1 8 23 32

(0.30) (2.00) (5.80) (8.00) วันหยุด

- -4 40 176 220 55.73 0.00*

(1.00) (10.00) (44.00) (55.00) เมื่อสะดวก

--

9 64 231 304(2.30) (16.00) (57.80) (76.00)

รวม - -6 41 27 74 55.10 0.00*

(1.50) (10.30) (6.80) (18.50)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง

- -9 64 231 304

(2.30) (16.00) (57.80) (76.00) 2 แหง

- -6

(1.50)41 27 74

(10.30) (6.80) (18.50) มากกวา 2 แหง

- -3 12 7 22

(0.80) (3.00) (1.80) (5.50)

รวม - -18 117 265 400 55.10 0.00*

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 154: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

141

ตารางที่ 4.22 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก

- -12

(3.00)72 229 313

(18.00) (57.30) (78.30) เลือก

- -6

(1.50)45 36 87

(21.80)(11.30) (9.00)

รวม - -18 117 265 400 30.99 0.00*

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00) ใบปลิว โบชัวร ไมเลือก

- -15 98 249 362

(3.80) (24.50) (62.30) (90.50) เลือก

- -3 19 16 38

(0.80) (4.80) (4.00) (9.50)

รวม - -18 117 265 400 10.95 0.01*

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก

- -18 115 260 393

(4.50) (28.80) (65.00) (98.30) เลือก

- - -2 5 7

(0.50) (1.30) (1.80)

รวม - -18

(4.50)117 265 400 0.35 0.83

(29.30) (66.30) (100.00) เพื่อน ไมเลือก

- -12 62 33 107

(3.00) (15.50) (8.30) (26.80) เลือก

- -6 55 232 293

(1.50) (13.80) (58.00) (73.30)

รวม - -18

(4.50)117 265 400 83.40 0.00*

(29.30) (66.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 155: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

142

ตารางที่ 4.22 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

คนในครอบครัว ไมเลือก

- -6

(1.50)51 41 98

(24.50)(12.80) (10.30) เลือก

- -12 66 224 302

(3.00) (16.50) (56.00) (75.50)

รวม - -18 117 265 400 35.48 0.00*

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00) ญาติ ไมเลือก

- -17 98 206 321

(4.30) (24.50) (51.50) (80.30) เลือก

- -1

(0.30)19 59 79

(4.80) (14.80) (19.80)

รวม - -18

(4.50)117 265 400 4.25 0.11

(29.30) (66.30) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

- -18 117 264 399

(4.50) (29.30) (66.00) (99.80) เลือก

- - - -1 1

(0.30) (0.30)

รวม - -18

(4.50)117 265 400 0.51 0.77

(29.30) (66.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 156: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

143

ตารางที่ 4.22 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว

- -9

(2.30)38 45 92

(23.00)(9.50) (11.30) เพื่อน

- -5 52 199 256

(1.30) (13.00) (49.80) (64.00) ญาติ

- -3 19 16 38

(0.80) (4.80) (4.00) (9.50) คนรัก

- -1 6 3 10

(0.30) (1.50) (0.80) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

- - -2 2 4

(0.50) (0.50) (1.00)

รวม - -18 117 265 400 46.95 0.00*

(4.50) (29.30) (66.30) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.22 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางดานการจัดจําหนายหรือสถานท่ีกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี พบวา ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ชวงเวลา ท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 157: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

144

ตารางที่ 4.23 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการสงเสริมการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก

-1 14 197 136 348

(0.30) (3.50) (49.30) (34.00) (87.00) เลือก

-5

(1.30)14 28 5 52

(3.50) (7.00) (1.30) (13.00)

รวม -6

(1.50)28 225 141 400 71.33 0.00*

(7.00) (56.30) (35.30) (100.00) ฟนเก ไมเลือก

-6

(1.50)20 68 17

(4.30)111

(5.00) (17.00) (27.80) เลือก

- -8 157 124 289

(2.00) (39.30) (31.00) (72.30)

รวม -6 28 225 141 400 60.27 0.00*

(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก

-5

(1.30)26 192 133 356

(6.50) (48.00) (33.30) (89.00) เลือก

-1

(0.30)2

(0.50)33 8 44

(8.30) (2.00) (11.00)

รวม -6 28 225 141 400 7.79 0.05

(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-5 23 214 129 371

(1.30) (5.80) (53.50) (32.30) (92.80) เลือก

-1

(0.30)5 11 12 29

(1.30) (2.80) (3.00) (7.30)

รวม -6

(1.50)28 225 141 400 7.67 0.05

(7.00) (56.30) (35.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 158: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

145

ตารางที่ 4.23 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดสินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด

- 1(0.30)

14 160 111(27.80)

286(3.50) (40.00) (71.50)

ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ ยากินหรือยาทาประจํา - - 2

(0.50)9 4 15

(2.30) (1.00) (3.80) ไปคลินิกเมื่อสะดวก

- 1(0.30)

4 31 12 48(1.00) (7.80) (3.00) (12.00)

ไปเมื่อมีปญหาฟน- 4

(1.00)8 23 13 48

(2.00) (5.80) (3.30) (12.00) อ่ืน ๆ

- - -2 1 3

(0.50) (0.30) (0.80)

รวม - 6 28 225 141 400 32.22 0.00*(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00)

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห

- -4 41 11 56

(1.00) (10.30) (2.80) (14.00) ทุกสองสัปดาห

- 1(0.30)

3 18 5 27(0.80) (4.50) (1.30) (6.80)

ทุกเดือน- 1

(0.30)8 152 118

(29.50)279

(2.00) (38.00) (69.80) ทุกสองเดือนหรือมากกวา

- 4(1.00)

13 14 7 38(3.30) (3.50) (1.80) (9.50)

รวม -6 28 225 141 400 91.51 0.00*

(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00)ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป - 2

(0.50)12 120 78 212

(3.00) (30.00) (19.50) (53.00) 1 - 3 ป - - 12

(3.00)75 49 136

(18.80) (12.30) (34.00) มากกวา 3 ป - 4

(1.00)4 30 14 52

(1.00) (7.50) (3.50) (13.00)

รวม - 6 28 225 141 400 18.23 0.00*(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 159: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

146

ตารางที่ 4.23 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา

- 1(0.30)

8 51 14 74(2.00) (12.80) (3.50) (18.50)

เท่ียง-

1(0.30)

2 19 4 26(0.50) (4.80) (1.00) (6.50)

เย็น- - 3

(0.80)23 6

(1.50)32

(5.80) (8.00) วันหยุด

-2

(0.50)6 108 104 220

(1.50) (27.00) (26.00) (55.00) เมื่อสะดวก

-2 9 24 13 48

(0.50) (2.30) (6.00) (3.30) (12.00)

รวม -6

(1.50)28 225 141 400 49.30 0.00*

(7.00) (56.30) (35.30) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง

- 1(0.30)

6(1.50)

176 121 304(44.00) (30.30) (76.00)

2 แหง-

3(0.80)

12 42 17 74(3.00) (10.50) (4.30) (18.50)

มากกวา 2 แหง-

2 10 7 3 22(0.50) (2.50) (1.80) (0.80) (5.50)

รวม -6 28 225 141 400 91.226 0.00*

(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก

- 4(1.00)

19 167 123 313(4.80) (41.80) (30.80) (78.30)

เลือก-

2(0.50)

9 58 18 87(2.30) (14.50) (4.50) (21.80)

รวม - 6(1.50)

28(7.00)

225 141(35.30)

400 11.08 0.01*(56.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 160: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

147

ตารางที่ 4.23 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ใบปลิว โบชัว ไมเลือก

-6

(1.50)24 201 131 362

(6.00) (50.30) (32.80) (90.50) เลือก

- -4 24 10 38

(1.00) (6.00) (2.50) (9.50)

รวม -6

(1.50)28 225 141 400 2.68 0.44

(7.00) (56.30) (35.30) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก

-6

(1.50)27

(6.80)223 137 393

(55.80) (34.30) (98.30) เลือก

- -1

(0.30)2 4 7

(0.50) (1.00) (1.80)

รวม -6 28 225 141 400 2.58 0.46

(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00)การรับรูจากสื่อ เพื่อน ไมเลือก

-6

(1.50)20 60 21 107

(5.00) (15.00) (5.30) (26.80) เลือก

- -8 165 120 293

(2.00) (41.30) (30.00) (73.30)

รวม -6

(1.50)28

(7.00)225 141

(35.30)400 55.07 0.00*

(56.30) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก

-3

(0.80)16 62 17 98

(4.00) (15.50) (4.30) (24.50) เลือก

-3

(0.80)12 163 124 302

(3.00) (40.80) (31.00) (75.50)

รวม -6

(1.50)28 225 141 400 31.17 0.00*

(7.00) (56.30) (35.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 161: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

148

ตารางที่ 4.23 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ญาติ ไมเลือก

-4

(1.00)27

(6.80)181 109 321

(45.30) (27.30) (80.30) เลือก

-2

(0.50)1

(0.30)44 32 79

(11.00) (8.00) (19.80)

รวม -6 28 225 141 400 6.10 0.10

(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-6

(1.50)28 224 141 399

(7.00) (56.00) (35.30) (99.80) เลือก

- - -1

(0.30)-

1(0.30)

รวม -6

(1.50)28

(7.00)225 141

(35.30)400 0.78 0.85

(56.30) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว

-5

(1.30)13 47 27 92

(3.30) (11.80) (6.80) (23.00) เพื่อน

- -7

(1.80)143

(35.80)106 256

(26.50) (64.00) ญาติ

-1

(0.30)4 28 5 38

(1.00) (7.00) (1.30) (9.50) คนรัก

- -4

(1.00)4 2 10

(1.00) (0.50) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

- - -3 1 4

(0.80) (0.30) (1.00)

รวม -6 28 225 141 400 56.63 0.00*

(1.50) (7.00) (56.30) (35.30) (100.00)* Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 162: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

149

จากตารางที่ 4.23 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยดานการสง เสริมการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี พบวา ปจจัยดานการสงเสริมการตลาดมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณ การใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการอยางมีนัยสําคัญ ทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางที่ 4.24 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานบุคคลหรือพนักงานกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนระดับการตัดส ินใจ

รวม 2 Sig.นอยที่ส ุด นอย ปานกลาง มาก มากที่ส ุด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก

- -10 51 287 348

(2.50) (12.80) (71.80) (87.00) เลือก

-1 13 30 8 52

(0.30) (3.30) (7.50) (2.00) (13.00)

รวม -1 23 81 295 400 114.19 0.00*

(0.30) (5.80) (20.30) (73.80) (100.00) ฟนเก ไมเลือก

-1 17 54 39 111

(0.30) (4.30) (13.50) (9.80) (27.80) เลือก

- -6 27 256 289

(1.50) (6.80) (64.00) (72.30)

รวม -1 23 81 295 400 119.29 0.00*

(0.30) (5.80) (20.30) (73.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 163: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

150

ตารางที่ 4.24 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ฟนคุด ไมเลือก

-1 22 63 270 356

(0.30) (5.50) (15.80) (67.50) (89.00) เลือก

- -1 18 25 44

(0.30) (4.50) (6.30) (11.00)

รวม -1

(0.30)23 81 295 400 13.50 0.00*

(5.80) (20.30) (73.80) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-1

(0.30)20 72 278

(69.50)371

(5.00) (18.00) (92.80) เลือก

- -3 9 17 29

(0.80) (2.30) (4.30) (7.30)

รวม -1 23 81 295 400 3.99 0.26

(0.30) (5.80) (20.30) (73.80) (100.00)การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด

- -12 42 232 286

(3.00) (10.50) (58.00) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ ยากินหรือยาทาประจํา

-1

(0.30)1

(0.30)6 7 15

(1.50) (1.80) (3.80) ไปคลินิกเมื่อสะดวก

- -2 18 28 48

(0.50) (4.50) (7.00) (12.00) ไปเมื่อมีปญหา ฟน - - 8 14 26 48

(2.00) (3.50) (6.50) (12.00) อ่ืนๆ - - - 1 2 3

(0.30) (0.50) (0.80)

รวม -1

(0.30)23 81 295 400 61.33 0.00*

(5.80) (20.30) (73.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 164: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

151

ตารางที่ 4.24 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห

- -3 23 30

(7.50)56

(0.80) (5.80) (14.00) ทุกสองสัปดาห - - 4 17 6 27

(1.00) (4.30) (1.50) (6.80) ทุกเดือน - - 5 29 245 279

(1.30) (7.30) (61.30) (69.80) ทุกสองเดือนหรือมากกวา

- 1(0.30)

11 12 14 38(2.80) (3.00) (3.50) (9.50)

รวม - 1(0.30)

23(5.80)

81 295 400 135.98 0.00*(20.30) (73.80) (100.00)

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป - - 11 29 172 212

(2.80) (7.30) (43.00) (53.00) 1 - 3 ป - 1 7 36 92 136

(0.30) (1.80) (9.00) (23.00) (34.00) มากกวา 3 ป - - 5

(1.30)16 31 52

(4.00) (7.80) (13.00)

รวม - 1(0.30)

23 81 295 400 17.11 0.00*(5.80) (20.30) (73.80) (100.00)

ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา

- -8 30 36

(9.00)74

(2.00) (7.50) (18.50) เท่ียง

- -2 12 12 26

(0.50) (3.00) (3.00) (6.50) เย็น

- - -6 26 32

(1.50) (6.50) (8.00) วันหยุด

- -8 14 198 220

(2.00) (3.50) (49.50) (55.00) เมื่อสะดวก

- 1(0.30)

5(1.30)

19 23 48(4.80) (5.80) (12.00)

รวม -1 23 81 295 400 91.14 0.00*

(0.30) (5.80) (20.30) (73.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 165: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

152

ตารางที่ 4.24 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง

-1 6 37 260 304

(0.30) (1.50) (9.30) (65.00) (76.00) 2 แหง

- -8

(2.00)37 29 74

(9.30) (7.30) (18.50) มากกวา 2 แหง

- -9 7 6 22

(2.30) (1.80) (1.50) (5.50)

รวม -1

(0.30)23 81 295

(73.80)400 126.18 0.00*

(5.80) (20.30) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก

-1

(0.30)17 38 257 313

(4.30) (9.50) (64.30) (78.30) เลือก

- -6 43 38 87

(1.50) (10.80) (9.50) (21.80)

รวม -1

(0.30)23 81 295 400 60.90 0.00*

(5.80) (20.30) (73.80) (100.00) ใบปลิว โบชัว ไมเลือก

-1

(0.30)20

(5.00)61 280 362

(15.30) (70.00) (90.50) เลือก

- -3 20 15 38

(0.80) (5.00) (3.80) (9.50)

รวม -1 23 81 295 400 28.87 0.00*

(0.30) (5.80) (20.30) (73.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 166: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

153

ตารางที่ 4.24 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

วิทยุโทรทัศน ไมเลือก

-1

(0.30)22

(5.50)80 290 393

(20.00) (72.50) (98.30) เลือก

- -1 1 5 7

(0.30) (0.30) (1.30) (1.80)

รวม -1

(0.30)23 81 295

(73.80)400 1.05 0.78

(5.80) (20.30) (100.00) เพื่อน ไมเลือก

- -19 51 37 107

(4.80) (12.80) (9.30) (26.80) เลือก

-1

(0.30)4 30 258 293

(1.00) (7.50) (64.50) (73.30)

รวม -1

(0.30)23 81 295 400 121.59 0.00*

(5.80) (20.30) (73.80) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก

-1

(0.30)11

(2.80)42 44 98

(10.50) (11.00) (24.50) เลือก

- -12 39 251 302

(3.00) (9.80) (62.80) (75.50)

รวม -1 23 81 295 400 57.25 0.00*

(0.30) (5.80) (20.30) (73.80) (100.00) ญาติ ไมเลือก

-1

(0.30)21

(5.30)68 231 321

(17.00) (57.80) (80.30) เลือก

- -2 13 64 79

(0.50) (3.30) (16.00) (19.80)

รวม -1

(0.30)23 81 295

(73.80)400 3.42 0.33

(5.80) (20.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 167: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

154

ตารางที่ 4.24 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

อ่ืน ๆ ไมเลือก

-1

(0.30)23 81 294 399

(5.80) (20.30) (73.50) (99.80) เลือก

- - - -1

(0.30)1

(0.30)

รวม -1

(0.30)23 81 295 400 0.35 0.94

(5.80) (20.30) (73.80) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว

- -13

(3.30)28 51 92

(7.00) (12.80) (23.00) เพื่อน

-1 4 29 222 256

(0.30) (1.00) (7.30) (55.50) (64.00) ญาติ

- -5 19 14 38

(1.30) (4.80) (3.50) (9.50) คนรัก

- -1

(0.30)4 5 10

(1.00) (1.30) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

- - -1 3

(0.80)4

(0.30) (1.00)

รวม -1

(0.30)23 81 295

(73.80)400 74.93 0.00*

(5.80) (20.30) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.24 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยดานบุคคลหรือพนักงาน กับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี พบวา ปจจัยดานบุคคลหรือพนักงานมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 168: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

155

เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางที่ 4.25 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานการนําเสนอลกัษณะกายภาพกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก

-2

(0.50)5 79 262 348

(1.30) (19.80) (65.50) (87.00) เลือก

- -13 29 10 52

(3.30) (7.30) (2.50) (13.00)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 95.34 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00) ฟนเก ไมเลือก

-2

(0.50)14 70 25 111

(3.50) (17.50) (6.30) (27.80) เลือก

- -4 38 247 289

(1.00) (9.50) (61.80) (72.30)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 148.40 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก

-2

(0.50)16 75 263 356

(4.00) (18.80) (65.80) (89.00) เลือก

- -2

(0.50)33 9 44

(11.00)(8.30) (2.30)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 58.87 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 169: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

156

ตารางที่ 4.25 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยทีสุ่ด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

อ่ืน ๆ ไมเลือก

- -16 100 255 371

(4.00) (25.00) (63.80) (92.80) เลือก

- 2(0.50)

2 8 17 29(0.50) (2.00) (4.30) (7.30)

รวม - 2(0.50)

18 108 272 400 26.39 0.00*(4.50) (27.00) (68.00) (100.00)

การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด

- -9 60 217 286

(2.30) (15.00) (54.30) (71.50) ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ ยากินหรือยาทาประจํา -

1(0.30)

-8 6 15

(2.00) (1.50) (3.80) ไปคลินิกเมื่อสะดวก

- -3 22 23 48

(0.80) (5.50) (5.80) (12.00) ไปเมื่อมีปญหาฟน

- 1(0.30)

6 17 24 48(1.50) (4.30) (6.00) (12.00)

อ่ืน ๆ- - -

1 2 3(0.30) (0.50) (0.80)

รวม - 2(0.50)

18(4.50)

108 272 400(100.00)

49.40 0.00*(27.00) (68.00)

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห - - 2 33 21 56

(0.50) (8.30) (5.30) (14.00) ทุกสองสัปดาห

- -3 17 7 27

(0.80) (4.30) (1.80) (6.80) ทุกเดือน

- -5 41 233 279

(1.30) (10.30) (58.30) (69.80) ทุกสองเดือนหรือมากกวา

- 2(0.50)

8 17 11 38(2.00) (4.30) (2.80) (9.50)

รวม - 2(0.50)

18 108 272 400 136.70 0.00*(4.50) (27.00) (68.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 170: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

157

ตารางที่ 4.25 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป

-2

(0.50)8

(2.00)40 162 212

(10.00) (40.50) (53.00) 1 - 3 ป

- -6 43 87 136

(1.50) (10.80) (21.80) (34.00) มากกวา 3 ป

- -4 25 23 52

(1.00) (6.30) (5.80) (13.00)

รวม -2

(0.50)18

(4.50)108 272 400 24.87 0.00*

(27.00) (68.00) (100.00)ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา

- -7

(1.80)37 30 74

(18.50)(9.30) (7.50) เท่ียง

- -2 16 8 26

(0.50) (4.00) (2.00) (6.50) เย็น

- - -7 25 32

(1.80) (6.30) (8.00) วันหยุด

-1

(0.30)5 24 190 220

(1.30) (6.00) (47.50) (55.00) เมื่อสะดวก

-1

(0.30)4 24 19 48

(1.00) (6.00) (4.80) (12.00)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 100.53 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจบัุน 1 แหง

- -7 50 247 304

(1.80) (12.50) (61.80) (76.00) 2 แหง

- -6

(1.50)47 21 74

(11.80) (5.30) (18.50) มากกวา 2 แหง

-2

(0.50)5 11 4 22

(1.30) (2.80) (1.00) (5.50)

รวม - 2(0.50)

18 108 272 400 142.36 0.00*(4.50) (27.00) (68.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 171: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

158

ตารางที่ 4.25 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก

-2

(0.50)10

(2.50)58 243 313

(14.50) (60.80) (78.30) เลือก

- -8

(2.00)50 29 87

(21.80)(12.50) (7.30)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 63.88 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00) ใบปลิว โบชัวร ไมเลือก

-1

(0.30)18 84 259 362

(4.50) (21.00) (64.80) (90.50) เลือก

-1

(0.30)0 24 13 38

(0.00) (6.00) (3.30) (9.50)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 33.08 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก

-2

(0.50)18 105 268 393

(4.50) (26.30) (67.00) (98.30) เลือก

- - -3 4 7

(0.80) (1.00) (1.80)

รวม -2

(0.50)18

(4.50)108 272 400 1.14 0.76

(27.00) (68.00) (100.00) เพื่อน ไมเลือก

-2

(0.50)14 64 27 107

(3.50) (16.00) (6.80) (26.80) เลือก

- -4 44 245 293

(1.00) (11.00) (61.30) (73.30)

รวม -2

(0.50)18

(4.50)108 272 400 126.93 0.00*

(27.00) (68.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 172: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

159

ตารางที่ 4.25 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

คนในครอบครัว ไมเลือก

-1

(0.30)9

(2.30)55 33 98

(24.50)(13.80) (8.30) เลือก

-1

(0.30)9 53 239 302

(2.30) (13.30) (59.80) (75.50)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 70.29 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00) ญาติ ไมเลือก

-2

(0.50)17 84 218 321

(4.30) (21.00) (54.50) (80.30) เลือก

- -1

(0.30)24 54 79

(6.00) (13.50) (19.80)

รวม -2

(0.50)18

(4.50)108 272 400 3.19 0.36

(27.00) (68.00) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-2

(0.50)18 108 271 399

(4.50) (27.00) (67.80) (99.80) เลือก

- - - -1 1

(0.30) (0.30)

รวม -2

(0.50)18

(4.50)108 272 400 0.47 0.92

(27.00) (68.00) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 173: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

160

ตารางที่ 4.25 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว

-1

(0.30)9

(2.30)33 49 92

(23.00)(8.30) (12.30) เพื่อน

- -2 46 208 256

(0.50) (11.50) (52.00) (64.00) ญาติ

-1

(0.30)4 24 9 38

(1.00) (6.00) (2.30) (9.50) คนรัก

- -3 4 3 10

(0.80) (1.00) (0.80) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

- - -1 3 4

(0.30) (0.80) (1.00)

รวม -2

(0.50)18 108 272 400 88.82 0.00*

(4.50) (27.00) (68.00) (100.00)* Sig. < 0.05

จากตารางที่ 4.25 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยดานการนําเสนอลักษณะกายภาพกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ปจจัยดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพล ในการเขาใชบริการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 174: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

161

ตารางที่ 4.26 ความสัมพันธระหวางปจจัยดานกระบวนการกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟน ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

เหตุผลท่ีใชบริการ ฟนผุ ไมเลือก

- -12 76 260 348

(3.00) (19.00) (65.00) (87.00) เลือก

-1

(0.30)11 33 7 52

(2.80) (8.30) (1.80) (13.00)รวม

-1

(0.30)23 109 267 400 85.54 0.00*

(5.80) (27.30) (66.80) (100.00) ฟนเก ไมเลือก

-1

(0.30)18 58 34

(8.50)111

(4.50) (14.50) (27.80) เลือก

- -5 51 233 289

(1.30) (12.80) (58.30) (72.30)

รวม -1 23 109 267 400 97.142 0.00*

(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00) ฟนคุด ไมเลือก

-1

(0.30)21 89 245 356

(5.30) (22.30) (61.30) (89.00) เลือก

- -2

(0.50)20 22 44

(5.00) (5.50) (11.00)

รวม -1 23 109 267 400 8.33 0.04*

(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-1 18 100 252 371

(0.30) (4.50) (25.00) (63.00) (92.80) เลือก

- -5 9 15 29

(1.30) (2.30) (3.80) (7.30)

รวม -1

(0.30)23 109 267 400 8.48 0.03*

(5.80) (27.30) (66.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 175: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

162

ตารางที่ 4.26 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

การใชบริการคลินิกทันตกรรม ไปตามแพทยนัด

- 1(0.30)

9 61 215(53.80)

286(2.30) (15.30) (71.50)

ไปบางไมไปบางแตมาซือ้ ยากินหรือยาทาประจํา - - 3

(0.80)8 4 15

(2.00) (1.00) (3.80) ไปคลินิกเมื่อสะดวก

- -4 18 26 48

(1.00) (4.50) (6.50) (12.00) ไปเมื่อมีปญหาฟน

- -5 22 21 48

(1.30) (5.50) (5.30) (12.00) อ่ืนๆ

- - 2(0.50)

-1 3

(0.30) (0.80)

รวม - 1 23 109 267 400 59.07 0.00*(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00)

ความถ่ีในการเขามารับบริการ ทุกสัปดาห

- -4 27 25 56

(1.00) (6.80) (6.30) (14.00) ทุกสองสัปดาห

-1

(0.30)4 16 6 27

(1.00) (4.00) (1.50) (6.80) ทุกเดือน

- -6 43 230

(57.50)279

(1.50) (10.80) (69.80) ทุกสองเดือนหรือมากกวา

- -9 23 6 38

(2.30) (5.80) (1.50) (9.50)

รวม -1 23 109 267 400 131.56 0.00*

(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00)ประสบการณการใชบริการ นอยกวา 1 ป - 1

(0.30)7 39 165 212

(1.80) (9.80) (41.30) (53.00) 1 - 3 ป - - 10

(2.50)45 81 136

(11.30) (20.30) (34.00) มากกวา 3 ป - - 6 25 21 52

(1.50) (6.30) (5.30) (13.00)

รวม - 1 23 109 267 400 33.17 0.00*(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 176: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

163

ตารางที่ 4.26 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ชวงเวลาท่ีใชบริการ เชา

- 1(0.30)

4 33 36 74(1.00) (8.30) (9.00) (18.50)

เท่ียง- -

6 11 9 26(1.50) (2.80) (2.30) (6.50)

เย็น- - -

8 24(6.00)

32(2.00) (8.00)

วันหยุด- -

5 34 181 220(1.30) (8.50) (45.30) (55.00)

เมื่อสะดวก- -

8 23 17 48(2.00) (5.80) (4.30) (12.00)

รวม -1

(0.30)23 109 267 400 86.54 0.00*

(5.80) (27.30) (66.80) (100.00)จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง

- - 5(1.30)

49 250 304(12.30) (62.50) (76.00)

2 แหง-

1(0.30)

12 46 15 74(3.00) (11.50) (3.80) (18.50)

มากกวา 2 แหง- -

6 14 2 22(1.50) (3.50) (0.50) (5.50)

รวม -1 23 109 267 400 148.57 0.00*

(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00)การรับรูจากสื่อ เดินทางผาน ไมเลือก

- 1(0.30)

19 53 240 313(4.80) (13.30) (60.00) (78.30)

เลือก- -

4 56 27 87(1.00) (14.00) (6.80) (21.80)

รวม - 1(0.30)

23(5.80)

109 267(66.80)

400 77.99 0.00*(27.30) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 177: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

164

ตารางที่ 4.26 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ใบปลิว โบชัว ไมเลือก

-1

(0.30)18 86 257 362

(4.50) (21.50) (64.30) (90.50) เลือก

- -5 23 10 38

(1.30) (5.80) (2.50) (9.50)

รวม -1

(0.30)23 109 267 400 31.45 0.00*

(5.80) (27.30) (66.80) (100.00) วิทยุโทรทัศน ไมเลือก

-1

(0.30)23

(5.80)105 264 393

(26.30) (66.00) (98.30) เลือก

- - -4 3 7

(1.00) (0.80) (1.80)

รวม -1 23 109 267 400 3.37 0.33

(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00) เพื่อน ไมเลือก

-1

(0.30)20 63 23 107

(5.00) (15.80) (5.80) (26.80) เลือก

- -3 46 244 293

(0.80) (11.50) (61.00) (73.30)

รวม -1

(0.30)23

(5.80)109 267

(66.80)400 143.73 0.00*

(27.30) (100.00) คนในครอบครัว ไมเลือก

- -11 53 34 98

(2.80) (13.30) (8.50) (24.50) เลือก

-1

(0.30)12 56 233 302

(3.00) (14.00) (58.30) (75.50)

รวม -1

(0.30)23 109 267 400 61.36 0.00*

(5.80) (27.30) (66.80) (100.00)

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 178: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

165

ตารางที่ 4.26 (ตอ)

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟน ระดับการตัดส ินใจ รวม 2 Sig.นอยที่สุด นอย ปานกลาง มาก มากที่สุด

ญาติ ไมเลือก

-1

(0.30)22

(5.50)91 207 321

(22.80) (51.80) (80.30) เลือก

- -1

(0.30)18 60 79

(4.50) (15.00) (19.80)

รวม- 1 23 109 267 400 5.65 0.13

(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00) อ่ืน ๆ ไมเลือก

-1

(0.30)23 109 266 399

(5.80) (27.30) (66.50) (99.80) เลือก

- - - -1

(0.30)1

(0.30)

รวม -1

(0.30)23

(5.80)109 267

(66.80)400 0.49 0.91

(27.30) (100.00)บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คนในครอบครัว

-1

(0.30)13 35 43 92

(3.30) (8.80) (10.80) (23.00) เพื่อน

- -2

(0.50)45

(11.30)209 256

(52.30) (64.00) ญาติ

- -6 22 10 38

(1.50) (5.50) (2.50) (9.50) คนรัก

- -1

(0.30)7 2 10

(1.80) (0.50) (2.50) ดารานักรองหรือศิลปน

- -1

(0.30)-

3 4(0.80) (1.00)

รวม -1 23 109 267 400 95.38 0.00*

(0.30) (5.80) (27.30) (66.80) (100.00)* Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 179: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

166

จากตารางท่ี 4.26 ผลกา รทดสอบความสัมพันธระหว างปจจัยดานกระบวนการกับ การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี พบวา ปจจัยดานกระบวนการ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟ น ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ ในการเขามารับบริกา ร ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

ตารางที่ 4.27 ความสัมพันธระหวางปจจัยสวยผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

การตัดส ินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม

ปจจัยสวนผสมทางการตลาด

ผลิตภัณฑ ราคาการจัดหนายหรือสถานที่

การสงเสริมการตลาด

บุคคล/พนักงาน

การนําเสนอลักษณะกายภาพ

กระบวนการ

เหตุผลท่ีใชบริการฟนผุ * * * * * * *ฟนเก * * * * * * *ฟนคุด * - - - * * *อ่ืน ๆ * - * - - * *

การใชบริการคลินิกทันตกรรม * * * * * * *ความถ่ีในการเขามารับบริการ * - * * * * *ประสบการณการใชบริการ * - - * * * *ชวงเวลาท่ีใชบริการ * * * * * * *จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน * * * * * * *การรับรูจากสื่อ

เดินทางผาน * - * * * * *ใบปลิว โบชัวร * - * - * * *วิทยุโทรทัศน - - - - - - -เพื่อน * * * * * * *คนในครอบครัว * * * * * * *ญาติ - - - - - - -อ่ืน ๆ - - - - - - -

บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ * * * * * * **Sig. < 0.05

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 180: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

167

จากตารางที่ 4.27 ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัด สุราษฎรธานี พบวา

ปจจัยดานผลิตภัณฑ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เ หตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ปจจัยดานราคา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ปจจัยดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ปจจัยด านการ สง เส ริมการ ตลาด มีควา มสัมพัน ธกับการตัดสิ นใจใ ชบริกา รจัดฟ น ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณ การใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ปจ จัย ดา นบุคคลห รือพนั กง าน มีควา มสั มพั นธ กับกา รตัดสิ นใ จใ ชบริการ จัดฟ น ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ปจจัยดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ ในการเขามารับบริกา ร

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 181: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

168

ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ปจจัยดานกระบวนการมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณ การใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

ตอนที่ 6 ปญหาและขอเสนอแนะ ในการเขาใชบริการรักษาในคลินิกทันตกรรม จากการสอบถามปญหาในการใชบริการคลินิกทันตกรรม และความตองการใหคลินิก

ทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติมในจํานวน 400 คน มีผูตอบแบบสอบถามทั้งสิ้น จํานวน 182 คน ดังตารางที่ 4.28 - 4.29

ตารางที่ 4.28 ผลการศึกษาปญหาในการใชบริการคลินิกทันตกรรม

ปญหาในการใชบริการคลินิกทันตกรรม จํานวน รอยละ1. รอคิวนาน 43 23.622. พนักงานไมคอยดูแลลูกคา 38 20.873. ทันตแพทยเรียกพบชา 38 20.874. การจัดระบบลูกคายังไมดี 35 19.235. สถานที่จอดรถไมเพียงพอ 28 15.38

รวม 182 100.00

จากตารางที่ 4.28 ปญหาในการใชบริการคลินิกทันตกรรม พบวา ยสวนใหญมีปญหา ในการใชบริการคลินิกทันตกรรม คือ รอคิวนาน รองลงมาคือ พนักงานไมคอยดูแลลูกคา ทันตแพทยเรียกพบชา การจัดระบบลูกคายังไมดี สถานที่จอดรถไมเพียงพอ ตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 182: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

169

ตารางที่ 4.29 ผลการศึกษาความตองการใหคลินิกทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติม

ความตองการใหคลินิกทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติม จํานวน รอยละ1. ติดปายราคาของการรักษาใหชัดเจน 492. ความรวดเร็วในการเขาพบทันตแพทย 443. การดูแลเอาใจใสลูกคาใหมากข้ึน 314. โทรแจงสําหรับลูกคาที่คลินิกนัด 285. ตองการใหมีสถานที่จอดรถใหเพียงพอกับลูกคา 236. พนักงานควรกระตือรือรนในการปฏิบัติงาน 19

รวม 194 100.00

จากตารางที่ 4.29 ความตองการใหคลินิกทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติม พบวา ประชาชน มีความตองการใหคลินิกทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติม คือ ติดปายราคาของการรักษาใหชัดเจน รองลงมาคือ ความรวดเร็วในการเขาพบทันตแพทย การดูแลเอาใจใสลูกคาใหมากข้ึนการดูแลเอาใจใสลูกคาใหมากขึ้น โทรแจงสําหรับลูกคาที่คลินิกนัด ตองการใหมีสถานท่ีจอดรถให เพียงพอกับลูกคา และ พนักงานควรกระตือรือรนในการปฏิบัติงานตามลําดับ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 183: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

บทที่ 5

สรุปผล อภิปรายผลและขอเสนอแนะ

ในบทนี้จะกลาวโดยสรุปถึงการวิจัย เรื่อง การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ศึกษาปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการ ใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเ ขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี และ ศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยสวนผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ประชากรท่ีใชในการศึกษา คือ ประชาชนท่ีเขาไปใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยมีกลุมตัวอยางท่ีใชในการศึกษา จํานวน 400 ราย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยเปนแบบสอบถาม สถิติท่ีใช ไดแก คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไค-สแควร

สรุปผล

ผลการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี สามารถสรุปผลการวิจัยได ดังนี้

1. ผลการศึกษาปจจัยสวนบุคคลจากการศึกษา พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง อายุ 12 - 24 ป

สถานภาพโสด นับถือศาสนาพุทธ การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. เปนนักเรียน/นักศึกษา ไมมีรายไดตอเดือนเนื่องจากไดรับเงินจากผูปกครอง และมีภูมิลําเนาอยูในเขตอําเภอเมืองสุราษฎรธานี

2. ผลการศึกษาการตัดสินใ จใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

จากการศึกษา พบวา เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม เพราะไปตามแพทยนัด ความถี่ในการเขามารับบริการ ทุกเดือน ประสบการณการท่ีใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน นอยกวา 1 ป ชวงเวลาท่ีใชบริการจะเปนวันหยุด จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง รูจักคลินิกทันตกรรมจัดฟนจากคนในครอบครัว บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ คือเพื่อน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 184: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

171

3. ผลการศึกษาปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิ ก ทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

จากการศึกษา พบวา ปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา ระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด คือ ดานบุคคลหรือพนักงาน รองลงมาคือ ดานผลิตภัณฑ ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ ดานกระบวนการ ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด ดานราคา และดานการสง เสริมการตลาด ตามลําดับ สามารถสรุปเปนรายดาน ดังนี้

3.1 ดานผลิตภัณฑ ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด ทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ผลิตภัณฑมีคุณภาพ รองลงมาคือ มีการเก็บรักษาสินคาอยูในสภาพดี การบริการท่ีมีคุณภาพ ชื่อเสียง ภาพพจนที่ดีของแพทย และความหลากหลายของสินคาบริการ ตามลําดับ

3.2 ดานราคา ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมาก ทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ มีการกําหนดอัตราคาบริการในการตรวจรักษา รองลงมาคือ มีการแสดงราคาในการจัดฟนท่ีชัดเจน มีราคาที่สามารถตอรองกันได มีการผอนชําระการใส เหล็กดัดฟนเปนงวด ๆ และมีการใหสวนลด ตามลําดับ

3.3 ดานการจัดจําหนายหรือสถานท่ี ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับ การตัดสินใจมากท่ีสุด เ ม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ทําเลท่ีตั้งสะดวกในการไปรักษารองลงมาคือ ปายชื่อคลินิกเปนจุดเดนสังเกตไดงาย เปดใหบริการทุกวัน การมีท่ีจอดรถกวางขวางและเพียงพอ และการจัดแสดงสินคาตามสถานที่ตาง ๆ ตามลําดับ

3.4 ดานการสงเสริมการตลาด ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมาก ทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมาก ไปหานอย คือ การสง เอกสารขอมูลใหสมาชิกถึงบาน รองลงมาคือ มีกิจกรรมสง เสริมการขาย ตามโอกาส ตาง ๆ การแจงขา วประชาสั มพันธผาน สื่อตาง ๆ มีการแถมคอรสพิ เ ศษให และ มีการจัดทําระบบสมาชิก ตามลําดับ

3.5 ดานบุคคลหรือพนักงาน ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด ทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ความชํานาญและประสบการณการบริหาร รองลงมาคือ การยิ้มแยมแจมใ ส

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 185: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

172

และมีมนุษยสัมพันธ ความกระตือรือรนและกระฉับกระเฉง พนักงานมีเพียงพอตอการใหบริการ และการแสดงความเคารพและใหเกียรติลูกคาตามลําดับ

3.6 ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับ การตัดสินใจมากท่ีสุด เ ม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ ความเปนสัดสวนของคลินิก รองลงมาคือ ความรวดเร็ว ในการใหบริการ ความมีชื่อเสียงของคลินิก เครื่องมือสะอาด ทันสมัย และการตกแตงคลินิก นาใชบริการ ตามลําดับ

3.7 ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ ผลการประเมินในภาพรวมอยูในระดับ การตัดสินใจมากท่ีสุด เ ม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุดทุกขอ โดยเรียงลําดับจากมากไปหานอย คือ มีการโทรศัพทนัดหมายลวงหนา รองลงมาคือ สามารถชื้อสินคาเม่ือตองการ การเขาคิวรอคอยอยางเปนระบบ มีบริการหลังการขาย และการใชคอมพิวเตอรบริหารจัดการ ตามลําดับ

4. ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี อยางนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 พบวา

4.1 เพศ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ความถี่ในการเขามารับบริการ การรับรูจากสื่อ คือ เพื่อน คนในครอบครัว

4.2 อายุ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

4.3 สถานภาพสมรส มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิก ท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

4.4 ศาสนา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 186: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

173

ในการเขามารับบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

4.5 การศึกษา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิก ท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว ญาติ และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

4.6 อาชีพ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

4.7 รายไดตอเดือน มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิก ท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร วิทยุโทรทัศน เพื่อน คนในครอบครัว

4.8 ภูมิลําเนา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก อื่น ๆ ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณ การใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ การรับรูจากส่ือ คือ เพื่อน และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

5. ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยสวยผสมทางการตลาดกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี อยางนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 พบวา

5.1 ปจจัยด าน ผลิตภัณ ฑ มีควา มสัมพัน ธกับการตัดสิ นใ จใ ชบริ กา รจัดฟ น ของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณ การใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

5.2 ปจจัยดานราคา มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 187: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

174

ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากส่ือ เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

5.3 ปจจัยดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผล ท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

5.4 ปจจัยดานการสงเสริมการตลาด มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณ การใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

5.5 ปจจัยดานบุคคลหรือพนักงานมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลที่ใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัวร เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

5.6 ปจจัยดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ มีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผล ท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัว เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

5.7 ปจจัยดานกระบวนการมีความสัมพันธกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนผุ ฟนเก ฟนคุด อื่น ๆ การใชบริการคลินิกทันตกรรม ความถี่ในการเขามารับบริการ ประสบการณการใชบริการ ชวงเวลาท่ีใชบริการ จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน การรับรูจากสื่อ คือ เดินทางผาน ใบปลิว โบชัว เพื่อน คนในครอบครัว และบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการ

6. ผลการศึกษาปญหาและขอเสนอแนะในการเขาใชบริการรักษาในคลินิกทันตกรรม จากการศึกษาพบวา โดยสวนใหญมีปญหาในการใชบริการคลินิกทันตกรรม คือ

รอคิวนาน รองลงมาคือ พนักงานไมคอยดูแลลูกคา ทันตแพทยเรียกพบชา การจัดระบบลูกคายังไมดี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 188: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

175

สถานที่จอดรถไมเพียงพอ ตามลําดับ ความตองการของประชาชนท่ีใหคลินิกทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติม คือ ติดปายราคาของการรักษาใหชัดเจน รองลงมาคือ ความรวดเร็วในการเขาพบทันตแพทย การดูแลเอาใจใสลูกคาใหมากขึ้นการดูแลเอาใจใสลูกคาใหมากขึ้น โทรแจงสําหรับลูกคาท่ีคลินิกนัด ตองการใหมีสถานที่จอดรถใหเพียงพอกับลูกคา และ พนักงานควรกระตือรือรนในการปฏิบัติงานตามลําดับ

อภิปรายผล

จากการศึกษา การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งผลสรุปขางตน สามารถนําไปใชอภิปรายผล ดังนี้

1. ผลการศึกษาปจจัยสวนบุคคล พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สมโภช แซล้ี (2551) ศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของผูปวยตอคลินิกทางเดินอาหาร โรงพยาบาลเชียงใหมราม ท่ีพบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง สอดคลองกับงานวิจัยของ และคลองกับงานวิจัยของ อรรัฐา พรธนาชัย (2548) ศึกษาเรื่องปจจัยความสําคัญในการตัดสินใจใชบริการคลินิกแพทยปริญญาของผูบริโภคในเขตจังหวัดชลบุรี พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง อายุ 12 - 24 ป สถานภาพโสด นับถือศาสนาพุทธ การศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. เปนนักเรียน/นักศึกษา ไมมีรายไดตอเดือนเนื่องจากไดรับเงินจากผูปกครอง มีภูมิลําเนาอยูในเขตอําเภอเมืองสุราษฎรธานี

2. ผลการศึกษาการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม เพราะไปตามแพทยนัด ความถี่ในการเขามารับบริการ ทุกเดือน ประสบการณการท่ีใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน นอยกวา 1 ป ชวงเวลาท่ีใชบริการจะเปนวันหยุด จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง รูจักคลินิกทันตกรรมจัดฟนจากคนในครอบครัว ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สิรวิชญ บริพันธกุล (2548) ศึกษาเรื่อง ปจจัยสวนผสมทางการตลาดบริการท่ีมีผลตอชาวตางชาติในการเลือกใชบริการทางทันตกรรมในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ท่ีพบวา รับขอมูลเกี่ยวกับคลินิกทันตกรรม จากเพื่อน /ครอบครัวบุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการคือเพื่อน

3. ผลการศึกษาปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี พบวา ปจจัยสวนผสมทางการตลาดในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี โดยรวม ผลการประเมินในภาพรวม อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเปนรายดาน พบวา ระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด คือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 189: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

176

ดานบุคคลหรือพนักงาน รองลงมาคือ ดานผลิตภัณฑ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สมโภช แซลี้ (2551) ศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของผูปวยตอคลินิกทางเดินอาหาร โรงพยาบาลเชียงใหมราม ท่ีพบวา ปจจัยสวนประสมการตลาดบริการมีความพึงพอใจลําดับแรกคือ ปจจัยดานบุคลากร ปจจัยดานผลิตภัณฑหรือบริการ และสอดคลองกับงานวิจัยของ สิรวิชญ บริพันธกุล (2548) ศึกษาเรื่อง ปจจัยสวนผสมทางการตลาดบริการท่ีมีผลตอชาวตางชาติในการเลือกใชบริการทางทันตกรรม ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ท่ีพบวา ปจจัยสวนผสมทางการตลาดท่ีมีผลตอการเลือกใชบริการทางทันตกรรมในระดับมากท่ีสุด ไดแก ดานบุคลากร อันดับตอมา คือ ดานผลิตภัณฑ ดานการนําเสนอลักษณะกายภาพ ดานกระบวนการ ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่ อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด ดานราคา และดานการสงเสริมการตลาด รวมอยูในระดับการตัดสินใจมาก

4. ผลการทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยสวนบุคคลกับการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี อยางนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 พบวา เพศ อายุ สถานภาพสมรส ศาสนา การศึกษา อาชีพ รายไดตอเดือน และภูมิลําเนา ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ เจษฎา จินตนาวัน (2547) ศึกษาเรื่อง ความพรอม ของคลินิกทันตกรรมเพื่อรองรับการเปนศูนยกลางบริการ สุขภาพแหงเอเชีย: ศึกษากรณีเ มืองพัทยา ท่ีพบวา ปจจัยท่ีมีผลตอระดับความพรอมของคลินิกทันตกรรมโดยรวม ทุกดานคือ เพศของผูบริหาร การลงทุนของผูบริหาร และตําแหนงงานของพนักงาน

ขอเสนอแนะ

จากการศึกษา การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ผูวิจัยมีขอเสนอแนะ ดังนี้

ขอเสนอแนะจากการวิจัย1. จากผลการศึกษาปจจัยสวนบุคคลของประชาชนท่ีเขาไปใชบริการจัดฟนจาก

คลินิกทันตกรรม ดังนั้นคลินิกทันตกรรมควรมีการขยายกลุมผูใชบริการใหกวางขึ้น และหลากหลายมากข้ึน โดยมีการรักษากลุมลูกคาเดิมไว และหากลุมลูกคาท่ีไมไดเขามาใชบริการเพิ่มเติม เ พื่อการเพิ่มสวนครองตลาด และการใชบริการท่ีมากข้ึน ซึ่งทําไดโดยการปรับรูปแบบการใหบริการและการรักษาทางทันตกรรมใหมีความสอดคลองกับ กลุมเพศ กลุมอายุ กลุมสถานภาพสมรส กลุมศาสนา กลุมการศึกษา กลุมอาชีพ กลุมรายไดตอเดือน กลุมภูมิลําเนา ท่ีแตกตางกันไป รวมทั้งลักษณะการเขา มาใชบริการ เ นื่องจากกลุมตัวอยางมีความตองการท่ีแตกตางกันไป ดังนั้นจึงควรปรับรูปแบบ การใหบริการ และสามารถชี้ความแตกตางไดอยางชัดเจน

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 190: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

177

2. จากผลการศึกษาการตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม ท่ีพบวา เหตุผลท่ีใชบริการ คือ ฟนเก การใชบริการคลินิกทันตกรรม เพราะไปตามแพทยนัด ความถี่ในการเขามารับบริการ ทุกเดือน ประสบการณการท่ีใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน นอยกวา 1 ป ชวงเวลาท่ีใชบริการจะเปนวันหยุด จํานวนคลินิกท่ีใชบริการในปจจุบัน 1 แหง รูจักคลินิกทันตกรรมจัดฟนจากคนในครอบครัว บุคคลท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการคือเพื่อน ดังนั้น ทางคลินิกทันตกรรม ควรลดเวลาในการใหบริการใหสั้นลง รวมทั้งควรทําใหลูกคารูสึกวาคุมคามากท่ีสุดท่ีไดเขามา ใชบริการจากทางคลินิก นอกจากนี้อาจมีการพัฒนาระบบขอมูลทางอินเตอรเน็ต เพื่อรองรับตองานบริการท่ีหลากหลาย ซึ่งสามารถทําไดโดยการเชื่อมตอขอมูลอยางทั่วถึงในทุก ๆ สาขา หรืออาจจะมีการทําฐานขอมูลลูกคาที่เขามาใชบริการในทุก ๆ สาขาอยาง ท่ัวถึง เพื่อการอํานวยความสะดวกใหกับผูใชบริการ ตลอดจนยังเปนการสรางความประทับใจใหกับผูใชบริการไดอีกดวย

3. จากการศึกษาปจจัยสวนผสมทางการตลาด พบวา ปจจัยสวนผสมทางการตลาด ในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี อยูในระดับการตัดสินใจมากท่ีสุด โดยตัดสินใจเขาใชบริการมากท่ีสุดคือ ดานบุคคลหรือพนักงาน ดังนั้น ผูใช บริการไดเล็งเห็นถึง ความสําคัญของความชํานาญและประสบการณการบริหารของทันตแพทยและการใหบริการของพนักงาน เพื่อเพิ่มฐานลูกคาในการเขาใชบริการใหมากขึ้นทางคลินิกทันตกรรมอาจมีการจัดประชาสัมพันธตาง ๆ เพื่อดึงดูดหรือแนะนํา การใหบริการของคลินิก ใหกับลูกคาไดรับทราบ ตลอดจนมีการปรับปรุงกระบวนการใหการบริการเรื่องของความรวดเร็วในการใหบริการ เพื่อใหสามารถตอบสนองความตองการของผูใชบริการไดมากข้ึน ขณะเดียวกับปจจัยดานสวนผสมทางการตลาดในดานอื่น ๆ จะมีการเพิ่มความหลากหลาย ความนาสนใจใหมากข้ึนอีกดวย

4. คลินิกทันตกรรมควรใหความสําคัญเรื่อง บุคลากร ตั้งแตการสรรหาพนักงานท่ีมีบุคลิกภาพเหมาะสม มีความสุภาพอัธยาศัยดี มีความกระตือรือรน และเอาใจใสในการใหบริการ รวมถึงจัดใหมีการฝกอบรมเพื่อประสบการณและความชํานาญของพนักงาน ควรมีมาตรฐานในการจัดการรักษาดูแลทางทันตกรรมจัดฟนท่ีถูกตองตามที่สมาคมทันตแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย ไดกําหนดไวควรใหความสะดวกของสถานท่ีและอุปกรณเครื่องใช พนักงานตอนรับควรให ความเปนกันเอง และบริการดวยใจ หม่ันตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑและบริการของพนักงานตอนรับอยูเสมอ

5. จากผลการศึกษาปญหาและขอเสนอแนะ ในการเขาใชบริการรักษาในคลินิก ทันตกรรมจัดฟน ดังนั้นทางคลินิกทันตกรรม ควรเพิ่มความรวดเร็วในการรักษาไมปลอยใหลูกคารอนาน วางแผนการจัดระบบใหกับลูกคาเพื่อสรางความประทับใจใหกับลูกคา จัดสถานท่ีจอดรถใหกับลูกคาท่ีมาใชบริการอยางเพียงพอ ในการรักษาทางทันตกรรมแตละอยางควรติดปายราคา

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 191: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

178

ของการรักษาใหชัดเจน พนักงานที่ใหบริการตองยิ้มแยมแจมใ จ และยินดีในการใหบริการลูกคาอยางเสมอภาค

ขอเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งตอไปผูศึกษาควรนํากรอบแนวคิดที่ไดศึกษาในคร้ังนี้ไปทําการศึกษาตอในเรื่อง

1. ปจจัยท่ีสงผลตอความพึงพอใจของประชาชนในการใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

2. กลยุทธเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ กลยุทธการตั้งราคา กลยุทธการสง เสริมการตลาด ในการเลือกกลุมลูกคา คลินิกทันตกรรม ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 192: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

บรรณานุกรม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 193: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

180

บรรณานุกรม

กองทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. (2550). รายงานผลการสํารวจสภาวะทันตสุขภาพแหงชาติ ครั้งท่ี 5. กรุงเทพฯ : ผูแตง.

กัลยา วานิชยปญญา. (2549). การใช SPSS for Windows ในการวิเคราะหขอมูล. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.

จักรพรรณ คําใจ. (2547). ปจจัยท่ีมีผลตอการเล ือกใชบริการหองปฏิบัติการทันตกรรมของคลินิกทันตกรรม ในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม. การคนควาอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

เจษฎา จินตนาวัน. (2548). ความพรอมของคลินิกทันตกรรมเพื่อรองรับการเปนศูนยกลางบริการสุขภาพแหงเอเชีย : ศึกษากรณีเมืองพัทยา. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฉัตราพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. (2549). การตลาดบริการ (พิมพครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : ส.เอเซียเพรส (1989).ดนุภาส สลางสิงห. (2548). ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอผลการปฏิบัติงานในคลนิิกทันตกรรม เพื่อการศึกษา

ของนักเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรทันตสาธารณสุขศาสตร รุนที่ 25 วิทยาล ัย การสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแกน. วิทยานิพนธสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาทันตสาธารณสุข บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธรขอนแกน.

ดํารงศักด์ิ ชัยสนิท. (2546). การวิจัยตลาด : ระเบียบวิธีการวิจัยตลาดเบื้องตน. กรุงเทพฯ : วังอักษร. ไดเรกทอร่ี. (2553). ทันตกรรมท่ัวไป [ Online]. เขาถึงไดจาก

http://www.dentalthailandbangkok.com [2552, พฤศจิกายน 15]ทันตแพทยจัดฟนแหงประเทศไทย, สมาคม. (2553). ความรูเกี่ยวกับทันตกรรมจัดฟน [Online].

เขาถึงไดจาก http://www.orthothailand.org/ [2553, เมษายน 20]ทันตสาธารณสุข กรมอนามัย, สํานัก. (2553). เอกสารเนื้อหาวิชา ทันตสาธารณสุขสําหรับนักศึกษา

สถาบันราชภัฏ [Online]. เขาถึงไดจาก http://dental.anamai.moph.go.th/oralhealth/PR/E-book/dh/dh01.html [2553, เมษายน 20]

นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. (2547). ระเบียบวิธีวิจัยธุรกิจ (พิมพครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

ประทีป พันธุมวนิช. (2549). ผลของยาสีฟนท่ีผสมโปตัสเซียมไนเตรตและโซเดียวไบคารบอเนตตอการลดอาการเสียวฟน. วิทยาสารทันตแพทยศาสตร, 3 (56) 157 - 168.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 194: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

181

ประสาทวิทยา, สถาบัน. (2553). คลินิกทันตกรรม [Online]. เขาถึงไดจาก http://pni.go.th/ pnigoth/?page_id=341 [2553, เมษายน 20]

ปราณี เอี่ยมลออภักดี. (2549). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส พิศุทธิ์ พุทธา.พิบูล ทีปะปาล. (2549). การบริหารการตลาดยุคใหม ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : รุงเรืองสาสน

การพิมพ. เพ็ญแข แสงแกว. (2543). การวิจัยทางสังคมศาสตร. กรุงเทพฯ : ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.ยุทธ ไกยวรรณ. (2550). การวิจัยเพื่อการบริหารงานอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : ศูนยสื่อเสริมกรุงเทพ.วิเชียร ลิมปชยาพร และคณะ. (2548). รายงานวิจัย เรื่อง ปจจัยท่ีมีผลตอความพึงพอใจ และการ

เล ือกใชบริการจากสถานบริการทันตกรรมของนักศึกษาปริญญาโทบริหารธุรกิจ (MBA) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : สาขาวิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตรและ การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

ศิริวรรณ เสรีรัตน และคณะ. (2541). การบริหารตลาดยุคใหม (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพฯ : พัฒนาศึกษา.

. (2543). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ : ธีระฟลมและไซเท็กซ. . (2546). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : ธรรมสาร.ศูนยรากฟนเทียม. (2552). คลินิกทันตกรรมทําฟน จัดฟน ทันตกรรม [Online]. เขาถึงไดจาก

www.bangkokdentalcenter.com/.../TH_services_preventive.htm. [2552, พฤศจิกายน 28]สมจิตร ลวนจําเริญ. (2547). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.สมโภช แซล้ี. (2551). ความพึงพอใจของผูปวยตอคลินิกทางเดินอาหาร โรงพยาบาลเชียงใหมราม.

วิทยานิพนธบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม

สาธารณสุขจังหวัดสุราษฎรธานี , สํานักงาน. (2552). สถิติคลินิกทันตกรรมจัดฟนในอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี. สุราษฎรธานี : ผูแตง.

สิรวิชญ บริพันธกุล. (2548). ปจจัยสวนผสมทางการตลาดบริการที่มีผลตอชาวตางชาติในการเล ือกใชบริการทางทันตกรรมในอําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม. การคนควาแบบอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สุดาพร กุณฑลบุตร. (2550). หลักการตลาดสมัยใหม (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 195: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

182

เสรี วงษมณฑา. (2548). พฤติกรรมผูบริโภค. กรุงเทพฯ : เอ เอ็น. อรรัฐา พรธนาชัย. (2548). ปจจัยสําคัญในการตัดสินใจใชบริการคลินิกแพทยปริญญาของผูบริโภค

ในเขตจังหวัดชลบุรี. ปญหาพิเศษรัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารท่ัวไปวิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Kay Lawrimore Belanger. (2005). Consumer Buying Behavior and Decision Making. [Online]. Available : http://www.drkayfmu.com.topics/consumer behavior.htm [2009, August 12].

Kotler, P. (2004). Marketing Management (11th ed.). Upper Saddle River, New Jersey : Pearson Education.

Ronis, D.L. et al. (1996). Usefulness of Multiple Equation for Predicting Preventive Oral Health Behavior. Health Education Quarterly, 23, 512 - 527.

Schiffman, L.G. and Kanuk,L.L. (1994). Consumer Behavior. New Jersey : Prentice Hall.Sektionen. (2005). A Context Analysis of Customer Satisfaction in Services [Online].

Available:http://www.bth.se/fou/cuppsats.nsf/04c233cb0bad Oc1256 cec00325988 /9b6ee6c68007b805c12570cd002fe576.

Stanto, W.J. and Futrell, C. (1987). Fundamentals of Marketing. New York : McGraw - Hill.

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 196: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

183

ภาคผนวก

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 197: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

184

ภาคผนวก กแบบสอบถามเพื่อการวิจัย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 198: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

185

แบบสอบถาม การตัดสินใจใชบริการจัดฟนของประชาชนจากคลินิกทันตกรรม

ในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี

คําชี้แจงในการตอบแบบสอบถามแบบสอบถามนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาปจจัยท่ีมีผลตอการใชบริการคลินิกทันตกรรมจัด

ฟนในเขตอําเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งผลจากการวิจัยครั้งนี้จะ เปนประโยชนตอการศึกษาตอเนื่องในอนาคต รวมท้ังธุรกิจการบริการเกี่ยวกับคลินิกทันตกรรมจัดฟน ในการท่ีจะทราบถึงความตองการท่ีแทจริงของผูบริโภคและพัฒนาปรับปรุงใหตรงกับความตองการของผูบริโภคนั้นๆกอใหเกิดการพัฒนา ปรับปรุงธุรกิจใหประสบความสําเร็จ และครองใจผูบริโภคมากท่ีสุด ผูวิจัยจึงขอความรวมเมือจากทานกรุณาตอบแบบสอบถาม ดังนี้

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลสวนที่ 2 การตัดสินใจใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรมสวนที่ 3 ปจจัยท่ีมีผลตอการใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟนสวนที่ 4 ขอเสนอแนะ

การตอบแบบสอบถามนี้ใชเพื่อศึกษาและจะไมมีผลกระทบจากการตอบแบบสอบถาม แตประการใด และการใหขอมูลของทานจะเปนประโยชนทางการศึกษา

นางสาวนันทิดา มัชฌิมผูวิจัยCop

yrigh

t : S

urat

than

i Raja

bhat

Univ

ersit

y

Page 199: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

186

สวนที่ 1 ปจจัยสวนบุคคลคําชี้แจง กรุณาทําเคร่ืองหมาย ใน ท่ีตรงกับความเปนจริง1. เพศ

1) ชาย 2) หญิง2. อายุ

1) ต่ํากวา 12 ป 2) 12 - 24 ป 3) 25 - 45 ป 4) 45 ปขึ้นไป

3. สถานภาพสมรส 1) โสด 2) สมรส 3) หยาราง 4) แยกกันอยู 5) หมาย

4. ศาสนา 1) พุทธ 2) คริสต 3) อิสลาม

5. การศึกษา 1) ประถมศึกษา 2) มัธยมศึกษาตอนตน 3) มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. 4) ปวส.หรืออนุปริญญา 5) ปริญญาตรี 6) สูงกวาปริญญาตรี

6. อาชีพ 1) นักเรียน/นักศึกษา 2) รับราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจ 3) เจาของกิจการ/คาขาย 4) พนักงานเอกชน 5) ประกอบธุรกิจสวนตัว 6) รับจาง 7) เกษตรกร 8) อื่น ๆ (โปรดระบุ)…………

7. รายไดตอเดือน 1) ต่ํากวา 5,000 บาท 2) 5,000 - 15,000 บาท 3) 15,0001 - 30,000 บาท 4) 30, 0001 บาทข้ึนไป 5) อื่น ๆ (โปรดระบุ)……………………………………..

8. ภูมิลําเนา 1) เขตอําเภอเมืองสุราษฎรธานี 2) ตางอําเภอในจังหวัดสุราษฎรธานี 3) ตางจังหวัดโปรดระบุ...............................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 200: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

187

สวนที่ 2 การตัดสินใจใชบริการจัดฟนจากคลินิกทันตกรรมคําชี้แจง กรุณาทําเคร่ืองหมาย ใน ท่ีตรงกับความเปนจริง1. เหตุผลท่ีทานที่ตองการรักษาฟน (เลือกตอบไดมากกวา 1ขอ)

1) ฟนผุ 2) ฟนเก 3) ฟนคุด 4) อื่น ๆ (โปรดระบุ)…………

2. การใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน 1) ไปตามแพทยนัด 2) ไปบางไมไปบางแตมาชื้อยากินหรือยาทาประจํา 3) ไปคลินิกเม่ือสะดวก 4) ไปเม่ือมีปญหาฟน 5) อื่น ๆ (โปรดระบุ)……………………………….……

3. ความถี่ในการเขามารับบริการ ณ คลินิกทันตกรรมจัดฟน 1) ทุกสัปดาห 2) ทุกสองสัปดาห 3) ทุกเดือน 4) ทุกสองเดือนหรือมากกวา

4. ประสบการณการท่ีใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน 1) นอยกวา 1 ป 2) 1 - 3 ป 3) มากกวา 3 ป

5. ชวงเวลาท่ีทานเขาไปใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟน 1) เชา 2) เท่ียง 3) เย็น 4) วันหยุด 5) เม่ือสะดวก

7. ปจจุบันทานใชบริการคลินิกทันตกรรมกี่แหง 1) 1 แหง 2) 2 แหง 3) มากกวา 2 แหง

8. ทานรูจักคลินิกทันตกรรมจัดฟนจาก (เลือกตอบไดมากกวา 1ขอ) 1) เดินทางผาน 2) ใบปลิว โบชัวร 3) วิทยุโทรทัศน 4) เพื่อน 5) คนในครอบครัว 6) ญาติ 7) อื่น ๆ (โปรดระบุ)…………………………….

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 201: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

188

9. บุคคลใดท่ีมีอิทธิพลในการเขาใชบริการคลินิกทันตกรรม 1) คนในครอบครัว 2) เพื่อน 3) ญาติ 4) คนรัก 5) ดารานักรองหรือศิลปน

สวนที่ 3 ปจจัยที่มีผลตอการใชบริการคลินิกทันตกรรมจัดฟนคําชี้แจง กรุณาทําเคร่ืองหมาย ในชอง โดยกําหนดให

มากท่ีสุด = 5 มาก = 4 ปานกลาง = 3 นอย = 2 นอยท่ีสุดหรือไมมีผล = 1

ปจจัยท่ีมีผลตอการใชบริการระดับการตัดสินใจ

มากที่สุด

(5 )มาก

(4 )ปานกลาง

(3 )นอย

(2 )นอยที่สุด

(1 )

ดานผล ิตภัณฑ1. ผลิตภัณฑมีคุณภาพ2. ชื่อเสียง ภาพพจนที่ดีของแพทย3. การบริการท่ีมีคุณภาพ4. ความหลากหลายของสินคาบริการ5. มีการเก็บรักษาสินคาอยูในสภาพดีดานราคา6. มีการกําหนดอัตราคาบริการในการตรวจรักษา7. มีการแสดงราคาในการจัดฟนที่ชัดเจน8. มีการผอนชําระการใสเหล็กดัดฟนเปนงวด ๆ9. มีราคาที่สามารถตอรองกันได10. มีการใหสวนลด

ดานการจัดจําหนายหรือสถานที่11. ทําเลท่ีตั้งสะดวกในการไปรักษา12. เปดใหบริการทุกวัน13. การจัดแสดงสินคาตามสถานที่ตาง ๆ14. การมีท่ีจอดรถกวางขวางและเพียงพอ15. ปายชื่อคลินิกเปนจุดเดนสังเกตไดงาย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 202: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

189

ปจจัยท่ีมีผลตอการใชบริการระดับการตัดสินใจ

มากที่สุด

(5 )มาก

(4 )ปานกลาง

(3 )นอย

(2 )นอยที่สุด

(1 )ดานการสงเสริมการตลาด16. มีการแถมคอรสพิเศษให17. การแจงขาวประชาสัมพันธผานสื่อตาง ๆ18. มีการจัดทําระบบสมาชิก19. การสงเอกสารขอมูลใหสมาชิกถึงบาน20. มีกิจกรรมสงเสริมการขายตามโอกาสตาง ๆ

ดานบุคคลหรือพนักงาน21. ความชํานาญและประสบการณการบริหาร22. การยิ้มแยมแจมใสและมีมนุษยสัมพันธ23. ความกระตือรือรนและกระฉับกระเฉง24. การแสดงความเคารพและใหเกียรติลูกคา25. พนักงานมีเพียงพอตอการใหบริการ

ดานการสรางและนําเสนอล ักษณะกายภาพ26. ความเปนสัดสวนของคลินิก27. ความรวดเร็วในการใหบริการ28. เคร่ืองมือสะอาด ทันสมัย29. ความมีชื่อเสียงของคลินิก30. การตกแตงคลินิกนาใชบรกิารดานกระบวนการ31. มีการโทรศัพทนัดหมายลวงหนา32. สามารถชื้อสินคาเม่ือตองการ33. การเขาคิวรอคอยอยางเปนระบบ34. การใชคอมพิวเตอรบริหารจัดการ35. มีบริการหลังการขาย

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 203: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

190

สวนที่ 4 ปญหาและขอเสนอแนะ ในการเขาใชบริการรักษาในคลินิกทันตกรรม คําชี้แจง ขอใหตอบตามความเปนจริงในความเห็นของทาน1. ปญหาท่ีทานพบในการใชบริการคลินิกทันตกรรมมีอะไรบาง....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................2. ทานตองการใหคลินิกทันตกรรมจัดฟนบริการเพิ่มเติมในเรื่องใดบาง....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 204: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

191

ภาคผนวก ขคาอํานาจจําแนกของแบบสอบถาม

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 205: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

192

Analysis of Variance

Source of Variation Sum of Sq. DF Mean Square F Prob.

Between People 397.6793 39 10.1969Within People 523.9429 1360 0.3853Between Measures 69.1971 34 2.0352 5.9345 0.0000Residual 454.7457 1326 0.3429Nonadditivity 17.0694 1 17.0694 51.6749 0.0000Balance 437.6764 1325 0.3303Total 921.6221 1399 0.6588Grand Mean 4.5164

Tukey estimate of power to which observationsmust be raised to achieve additivity = 5.2088

Reliability Coefficients 35 items

Alpha = 0.9664 Standardized item alpha = 0.9653

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 206: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

193

ภาคผนวก ครายชื่อผูเชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 207: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

194

รายชื่อผูเชี่ยวชาญในการตรวจสอบเครื่องมือ

1. รองศาสตราจารย สุณีย ลองประเสริฐ รองอธิการบดีฝายบริหารทรัพยากรมนุษย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี2. ผูชวยศาสตราจารยสาโรช เนติธรรมกุล ผูชวยศาสตราจารย

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี3. ผูชวยศาสตราจารย ดร.นิตย หทัยวสีวงศ สุขศรี ผูชวยศาสตราจารย

มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity

Page 208: การตัดสินใจใช บริการจัดฟ นของ ...e-research.sru.ac.th/?q=system/files/nunthida.pdfก ตต กรรมประกาศ ภาคน

195

ประวัติผูทําภาคนิพนธ

ช่ือ - นามสกุล นางสาวนันทิดา มัชฌิม

วัน เดือน ปเกิด 7 มกราคม 2527

สถานที่อยูปจจุบัน 54/3 หมูท่ี4 ตําบลบานทําเนียน อําเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎรธานี

ประวัติการศึกษา ระดับปริญญาตรีครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎรธานี

Copyr

ight :

Sur

atth

ani R

ajabh

at U

niver

sity