การวางแผน และควบคุุมการผล...

19
Production Management 3 - 1 1 ความสําคัญของการวางแผนและควบคุมการผลิต การวางแผนและควบคุมการผลิต วัตถุประสงคเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดจากทรัพยากรที่มีอยู อยางจํากัด และใหเปนที่พอใจแกความตองการของลูกคา ความหมายของทรัพยากรในที่นี้รวมหมายถึงสิ่ง อํานวยความสะดวกในการผลิต เชน เครื่องจักรและอุปกรณ แรงงานและวัตถุดิบ การใชประโยชนสูงสุดจากทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดนั้น เปนหนาที่ของผูบริหารโรงงาน โดย ผานหนาที่ของฝายวางแผนและควบคุมการผลิต โดยมีหนาที่เกี่ยวกับการพยากรณ การวางแผน การ กําหนดงาน การวิเคราะห การควบคุมสินคาคงคลัง และการควบคุมการดําเนินงานการผลิต พื้นฐานและ เทคนิคของการควบคุมการผลิตเหลานี้สามารถนําไปใชงานดานอื่นๆ ที่เปนงานบริการไดอีกดวย เชน การ ควบคุมสินคาคงคลังของหางสรรพสินคา และเทคนิคการพยากรณการขายที่ชวยใหเกิดประโยชนอยาง มากในการวางแผนการผลิตตามชวงเวลาตางๆ การคํานวณหาจํานวนเตียงของคนไขในโรงพยาบาลให เพียงพอตอการขยายงาน การวางแผนและควบคุมการผลิตตองเปนหนวยงานหนึ่งในองคการ กอนที่จะลงมือทําการผลิตฝายวางแผนและควบคุมการผลิตจะตองมีตารางการผลิตที่มีความ คลองตัวในการทํางานสําหรับพนักงาน เพื่อใหมีเวลาพอที่จะแกไขปญหาที่อาจเกิดขึ้นได ตองมีการ สํารองสินคาคงคลังสําหรับฝายขายซึ่งตามธรรมชาติตองการที่จะสงของใหลูกคาไดมากที่สุด และพยายาม จะใหเกิดความลาชาในการสงมอบสินคานอยที่สุด ซึ่งจะทําใหฝายขายตองการใหมีของคงคลังไวมากๆ แตทางฝายการเงินก็ไมตองการตนทุนที่จมไปกับสิ่งอํานวยประโยชนในการผลิต และตองการของคงคลัง นอยที่สุดเทาที่จะนอยได ทั้งนี้จะเห็นไดวาฝายวางแผนและควบคุมการผลิตตองพยายามหาความสมดุลใน ความตองการของแตละฝายที่เปนอุปสรรคตอเปาหมายของกันและกันภายในองคการ จากหนาที่ในการจัดสมดุลความตองการของฝายตางๆ ทําใหมีคําถามตามมาวา กิจกรรมของฝาย วางแผนและควบคุมการผลิตควรจะขึ้นกับสวนใดขององคการจึงจะเหมาะสม ควรจะขึ้นอยูกับผูบริหาร โรงงาน ขึ้นอยูกับฝายผลิต ขึ้นอยูกับฝายขายหรือขึ้นอยูกับฝายประสานงาน คําถามเหลานี้อาจมีไดหลาย คําตอบขึ้นอยูกับความเหมาะสมของแตละองคการ แตดวยความสําคัญของหนาที่ในการวางแผนและ ควบคุมการผลิต บางครั้งบริษัทควรจะมีศูนยกลางการวางแผนและควบคุมการผลิตเพื่อใหเกิดความสมดุล ของความตองการที่ขัดแยงกัน โดยหนวยงานที่เปนศูนยกลางจะมีหนาที่ในการรับผิดชอบทางดานการ พยากรณความตองการและการวางแผนการผลิตใหสอดคลองตามฤดูกาล นอกจากนีอาจตองมีหนาที่ใน การติดตามผลและควบคุมเกี่ยวกับการขาย การสงของ และสั่งซื้อวัตถุดิบ รวมทั้งหนาที่ในการกําหนด ระดับของชั่วโมงการทํางานและระดับของชั่วโมงทํางานลวงเวลาดวย สําหรับหนาที่การกําหนด การ การ วางแผน และควบคุมการผลิต วางแผน และควบคุมการผลิต

Upload: others

Post on 06-Nov-2019

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 1

1 ความสําคัญของการวางแผนและควบคุมการผลิต การวางแผนและควบคุมการผลิต วัตถุประสงคเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดจากทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัด และใหเปนท่ีพอใจแกความตองการของลูกคา ความหมายของทรัพยากรในที่นี้รวมหมายถึงสิ่งอํานวยความสะดวกในการผลิต เชน เครื่องจักรและอุปกรณ แรงงานและวัตถุดิบ การใชประโยชนสูงสุดจากทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดนั้น เปนหนาท่ีของผูบริหารโรงงาน โดยผานหนาท่ีของฝายวางแผนและควบคุมการผลิต โดยมีหนาท่ีเกี่ยวกับการพยากรณ การวางแผน การกําหนดงาน การวิเคราะห การควบคุมสินคาคงคลัง และการควบคุมการดําเนินงานการผลิต พื้นฐานและเทคนิคของการควบคุมการผลิตเหลานี้สามารถนําไปใชงานดานอื่นๆ ท่ีเปนงานบริการไดอีกดวย เชน การควบคุมสินคาคงคลังของหางสรรพสินคา และเทคนิคการพยากรณการขายที่ชวยใหเกิดประโยชนอยางมากในการวางแผนการผลิตตามชวงเวลาตางๆ การคํานวณหาจํานวนเตียงของคนไขในโรงพยาบาลใหเพียงพอตอการขยายงาน การวางแผนและควบคุมการผลิตตองเปนหนวยงานหนึ่งในองคการ

กอนที่จะลงมือทําการผลิตฝายวางแผนและควบคุมการผลิตจะตองมีตารางการผลิตท่ีมีความคลองตัวในการทํางานสําหรับพนักงาน เพื่อใหมีเวลาพอที่จะแกไขปญหาที่อาจเกิดข้ึนได ตองมีการสํารองสินคาคงคลังสําหรับฝายขายซึ่งตามธรรมชาติตองการที่จะสงของใหลูกคาไดมากที่สุด และพยายามจะใหเกิดความลาชาในการสงมอบสินคานอยท่ีสุด ซึ่งจะทําใหฝายขายตองการใหมีของคงคลังไวมากๆ แตทางฝายการเงินก็ไมตองการตนทุนท่ีจมไปกับสิ่งอํานวยประโยชนในการผลิต และตองการของคงคลังนอยท่ีสุดเทาท่ีจะนอยได ท้ังนี้จะเห็นไดวาฝายวางแผนและควบคุมการผลิตตองพยายามหาความสมดุลในความตองการของแตละฝายท่ีเปนอุปสรรคตอเปาหมายของกันและกันภายในองคการ

จากหนาท่ีในการจัดสมดุลความตองการของฝายตางๆ ทําใหมีคําถามตามมาวา กิจกรรมของฝายวางแผนและควบคุมการผลิตควรจะขึ้นกับสวนใดขององคการจึงจะเหมาะสม ควรจะขึ้นอยูกับผูบริหารโรงงาน ข้ึนอยูกับฝายผลิต ข้ึนอยูกับฝายขายหรือข้ึนอยูกับฝายประสานงาน คําถามเหลานี้อาจมีไดหลายคําตอบขึ้นอยูกับความเหมาะสมของแตละองคการ แตดวยความสําคัญของหนาท่ีในการวางแผนและควบคุมการผลิต บางครั้งบริษัทควรจะมีศูนยกลางการวางแผนและควบคุมการผลิตเพื่อใหเกิดความสมดุลของความตองการที่ขัดแยงกัน โดยหนวยงานที่เปนศูนยกลางจะมีหนาท่ีในการรับผิดชอบทางดานการพยากรณความตองการและการวางแผนการผลิตใหสอดคลองตามฤดูกาล นอกจากนี้ อาจตองมีหนาท่ีในการติดตามผลและควบคุมเกี่ยวกับการขาย การสงของ และสั่งซื้อวัตถุดิบ รวมท้ังหนาท่ีในการกําหนดระดับของชั่วโมงการทํางานและระดับของชั่วโมงทํางานลวงเวลาดวย สําหรับหนาท่ีการกําหนด

การการวางแผน และควบคุมการผลิตวางแผน และควบคุมการผลิต

Page 2: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 2

รายละเอียดตารางการทํางานในโรงงาน เพื่อใหรูวาจะตองทํางานอะไร เมื่อไร และตองใชเครื่องจักรเครื่องมืออะไรบาง เปนหนาท่ีของผูบริหารในสายการผลิตท่ีรับขอมูลมาจากฝายวางแผนและควบคุมการผลิตอีกทีหนึ่ง 2 การวางแผนการผลิต (Production Planning) 2.1 การวิเคราะหระบบงานวางแผนการผลิต พื้นฐานของงานดานการวางแผนการผลิตนั้น มีโครงสรางที่สามารถพิจารณาไดเปนระบบ ระบบงานนี้จะมีการไหลเวียนของขอมูลดานการผลิตเกิดขึ้น โดยที่ขอมูลดังกลาวนี้จะมีความสัมพันธเชื่อมโยงกบัทุกหนวยงานในองคการและเปนกลไกสําคัญ สําหรับการควบคุมการดําเนินงานดานการผลิต ซึ่งแสดงรายละเอียดไดตามภาพที ่3.1

ระบบการวางแผนการผลิต

ฝายจัดซื้อ

ฝายจัดสงวัตถุดิบและชิ้นสวน

ฝายลูกคา ฝายวัสดุคงคลัง

คลังสินคา คลังวัตถุดิบ ฝายควบคุม คุณภาพ

กระบวนการผลิต

ฝายบุคคล

ฝายวิศวกรรม

ฝายบํารุงรักษาเครื่องจักร

ฝายบริหาร

ฝายวิจัยและพัฒนา

ฝายขายและการตลาด

การวางแผนการผลิตระยะยาว

การวางแผนการผลิตระยะกลาง

การวางแผนการผลิตระยะสั้น

ภาพที่ 3.1 แผนภูมิแสดงความสัมพันธของระบบการวางแผนการผลิตและการไหลเวียนของขอมูลในหนวยงานตางๆ

Page 3: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 3

จากภาพที่ 3.1 ลูกศรเสนเดี่ยว ( ) แสดงถึงการไหลเวียนของขอมูลท่ีจําเปนและหนาท่ีท่ีแตละหนวยงานจะตองมีสวนเกีย่วของ สวนลูกศรคู ( ) นั้นแสดงถึงการไหลเวียนของวัสดุเริ่มตั้งแตการจัดหาวัตถุดิบจนกระทั่งสงมอบใหลูกคา วัสดุในที่นี้หมายถึง วัตถุดิบและชิ้นงานระหวางกระบวนการผลิตรวมถงึสินคาท่ีเสร็จสมบูรณ ท้ังนี้เมื่อพิจารณากรอบของระบบการวางแผนการผลิตจากภาพที่ 3.1 จะพบวาการวางแผนการผลิตนั้นมีลําดับขั้นที่สามารถแยกยอยไดตามชวงเวลา คือ การวางแผนการผลิต ระยะยาว ระยะกลาง และระยะสั้น ซึ่งในแตละลําดับขั้นนั้นก็จะมีจุดประสงคและหัวขอท่ีเปนองคประกอบของการวางแผนแตกตางกัน ดังนี้

1. การวางแผนการผลิตระยะยาว (Long-term Production Planning)

การวางแผนการผลิตระยะยาว หมายถึง การวางแผนการผลิตในชวงเวลามากกวา 1 ป ข้ึนไป โดยท่ัวไปแลวจะอยูระหวาง 3-5 ป ซึ่งเปนการวางแผนระดับกลยุทธ (Strategic Level) โดยมีจุดประสงคเพื่อการตัดสินใจในการเตรียมความพรอมดานกําลังการผลิตสําหรับการดําเนินการในอนาคต เชน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรหลัก หรือสาธารณูปโภคของโรงงาน เปนตน

2. การวางแผนการผลิตระยะกลาง (Mid-term Production Planning)

การวางแผนการผลิตระยะกลาง หมายถึง การวางแผนการผลิตในชวงเวลาระหวาง 1-12 เดือน ขางหนาซึ่ง เปนการวางแผนระดับการจัดการ (Managerial Level) มีจุดประสงคเพื่อจัดสรรการใชทรัพยากรท่ีมีอยูใหสามารถเกิดผลอยางเต็มท่ีในกระบวนการผลิต คําวาทรัพยากรในที่นี้หมายถึงสิ่งท่ีเปนปจจัยสําหรับการผลิต เชนวัตถุดิบ แรงงาน เครื่องจักรและเครื่องมือ เปนตน การวางแผนการผลิตระยะกลางนี้จะมีหัวขอท่ีเปนองคประกอบสําคัญ ดังนี้

- การวางแผนการผลิตรวม (Aggregate Planning) การวางแผนการผลิตรวมเปนลําดับขั้นแรกของการวางแผนการผลิตระยะกลาง ซึ่งแผนการผลิตรวมเปนแผนที่สรางขึ้นเพื่อเชื่อมโยงความสามารถในการผลิตท้ังหมดที่มีอยู ใหสอดคลองกับความตองการในตัวสินคาท้ังหมดที่จะเกิดข้ึนในชวงเวลาตางๆ ท้ังนี้จะยังไมเจาะจงรายละเอียดวาสินคารุนใดหรือชนิดใดจะตองมีระดับของปจจัยการผลิตเทาใด แตจะเปนการกําหนดในลักษณะการพิจารณาโดยรวมทั้งหมด ตัวอยางเชนในชวงเวลาหนึ่งจะสามารถทําการผลิตเหล็กรูปพรรณไดกี่ตัน โดยไมแยกพิจารณาวาจะตองใชปจจัยการผลิตเพื่อผลิตเปน H-Beam เทาใด I-Beam เทาใด หรือ C-Beam เทาใด การวางแผนขั้นนี้จะยังเปนภาพรวมอยูจึงเปนสาเหตุท่ีใชช่ือเรียกวา Aggregate Planning ความสําคัญของการวางแผนในหัวขอนี้คือ เปนการจัดเตรียมทรัพยากรการผลิตในระยะกลางใหสอดคลองกับแผนการผลิตท่ีจะเกิดข้ึน ภายใตกําลังการผลิตท่ีไดกําหนดไว รวมท้ังมุงเนนในเรื่องตนทุนการผลิตท่ีจะเกิดข้ึนใหอยูในระดับที่ต่ําท่ีสุด

Page 4: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 4

- การจัดตารางการผลิตหลัก (Master Production Scheduling : MPS) การจัดตารางการผลิตหลัก (MPS) เปนการจัดทําแผนการผลิตท่ีระบุเจาะจงลงไปวาจะทําการผลิตช้ินงานอะไร จํานวนเทาใด และจะตองเสร็จสมบูรณเมื่อใด โดยทั่วไปมักจะจัดทําตารางการผลิตหลักเปนรายเดอืนหรอืรายสัปดาห ข้ึนอยูกับความเหมาะสมของการผลิตนั้นๆ ขอมูลในตารางการผลิตหลักจะมาจากการแปลงคาจากการพยากรณยอดขาย ซึ่งอาจจะคํานวณตามหลักทางสถิติหรือมาจากใบสั่งซื้อของลูกคา ซึ่งจะบอกชนิด ปริมาณและวันกําหนดสงมอบอยางชัดเจน ท้ังนี้การจัดทําตารางการผลิตหลกัจะตองมีความสอดคลองกับแผนการผลิตรวมที่ไดกําหนดไวแลวดวย - การวางแผนความตองการวัสดุ (Material Requirement Planning : MRP) การวางแผนความตองการวัสด ุ (MRP) เปนเทคนิคในการจัดการเกี่ยวกับความตองการวัตถุดิบ ช้ินสวนประกอบและวัสดุอื่นๆ เพื่อใหสามารถรูถงึปริมาณความตองการในแตละชวงเวลาและสามารถจัดหาไดอยางเพียงพอและทันเวลากับความตองการในทุกๆ ข้ันตอนการผลิต โดยขอมลูจากตารางการผลิตหลัก (MPS) ซึ่งจะบอกถึงสิ่งท่ีจะตองผลิตวามีจํานวนเทาใด ในเวลาใด จากนั้นจะพิจารณาถึงสวนประกอบของผลิตภัณฑท่ีจะผลิตวาประกอบดวยวัตถุดิบ ช้ินสวน ช้ินสวนประกอบและวัสดุอื่นๆ อะไรบาง เพื่อจะใชในการจัดหา โดยจะตองดขูอมูลปริมาณจากในคลังวัสดุท่ีมีชวงเวลาที่ใชในการจัดหา ผลิตภัณฑท่ีมีข้ันตอนการผลิตซับซอน มีช้ินสวนประกอบตางๆ เปนจํานวนมากจะใชคอมพิวเตอรเขามาชวยในการคํานวณ ซึ่งจะทําใหรวดเร็วและถูกตองมากขึ้น เทคนิคนี้จะประยุกตใชกับระบบการผลิตแบบไมตอเนื่อง Job Shop แตจะไมประยุกตใชกับระบบการผลิตแบบตอเนื่อง - การวางแผนความตองการกําลงัการผลิต (Capacity Requirement Planning : CRP) การวางแผนความตองการกําลงัการผลิต (CRP) เปนการจัดทําแผนที่เกี่ยวของกับการกําหนดกําลังการผลิตท่ีจําเปนสําหรับแตละสถานีงาน (Working Station) เชน แรงงาน เครื่องจักร หรือปจจยัการผลิตทางกายภาพอื่นๆ วาควรจะตองมีปริมาณเทาใด และตองการในชวงเวลาใด โดยจะรับขอมลูความตองการวัสดุจาก MRP มาทําการประเมินผลเกี่ยวกับภาระงาน (Work Load) ของสถานีงานตางๆ วามีความเหมาะสมหรือไม ท้ังนี้เพื่อใหสามารถมั่นใจไดวากําลังการผลิตท่ีมีอยู และกําลังการผลิตท่ีตองการในชวงเวลานั้นมีความสมดุลเพียงพอสําหรับแตละหนวยงาน โดยพยายามไมใหเกิดเหตุการณท่ีมีภาระงานมากเกินไป มีภาระงานนอยเกินไปหรือเกิดคอขวด (Bottle Neck)

3. การวางแผนการผลิตระยะสั้น (Short-Term Production Planning) การวางแผนการผลิตระยะสั้น หมายถึง การวางแผนการผลิตท่ีมีชวงเวลาเปนรายสัปดาหหรือรายวันข้ึนอยูกบัปริมาณงานและความซับซอนของกระบวนการผลิต เปนการวางแผนระดับปฏิบัติการท่ีมีจุดประสงคเพื่อจัดเตรียมกําหนดเวลาในการทํางานใหกับทรัพยากรการผลิตท่ีเกี่ยวของ เชน แรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ รวมท้ังชวงเวลาในการปฏิบัติงานของแตละสถานีงานดวย การวางแผนการผลิตระยะ

Page 5: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 5

สั้นนี้จะมุงเนนเรื่องการจัดตารางการผลิต (Production Scheduling) เปนหลัก ซึ่งถือเปนลําดับขั้นสุดทายของระบบการวางแผนการผลิตโดยจะตองมีความยืดหยุนตัวไดคอนขางสูง เพื่อใหสอดคลองกับสถานภาพของกระบวนการผลิต

การจัดตารางการผลิต (Production Scheduling)

การจัดตารางการผลิต เปนการจัดสรรทรัพยากรการผลิตไมวาจะเปนแรงงาน เครื่องจักร หรือสิ่งอํานวยความสะดวก ใหดําเนินการผลิตตามที่ไดรับมอบหมายภายในชวงเวลาที่กําหนดไว ซึ่งรับชวงตอมาจากการวางแผนความตองการวัสดุ (MRP) และการวางแผนความตองการกําลังการผลิต (CRP) ท้ังการจัดตารางการผลิตจะเกี่ยวของกับเรื่องการทํางาน (Job Order) และการจัดลําดับงาน (Job Sequencing) ใหกับแตละหนวยงาน การจัดตารางการผลิตเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งของการผลิตท้ังแบบตอเนื่อง และแบบกลุม รวมถงึแบบไมตอเนื่อง เพราะตองจัดสรรทรพัยากรการผลิตท่ีมีอยูใชสําหรับผลิตผลิตภัณฑหลายชนิด ดังนั้น จึงตองใชทรัพยากรท่ีมีอยูท้ังดานแรงงานคน และเครื่องจักร อปุกรณใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด จากการวิเคราะหระบบการวางแผนการผลิตท้ังหมดจะพบวา ในการวางแผนการผลิตแตละลําดับข้ันนั้นตองมุงเนนในการใชประโยชนจากทรพัยากรการผลิตท่ีมีอยูใหเกิดผลสูงสุด ซึ่งจะตองมีการติดตามตรวจสอบผลลพัธการผลิตจรงิท่ีเกิดข้ึนวาเปนไปตามแผนการผลิตหรือไม โดยการประสานงานและสื่อสารขอมูลท่ีจําเปนระหวางหนวยงาน หากมีปญหาใดเกิดข้ึนก็อาจจะตองมีการปรับเปลี่ยนแผนการผลิตใหเหมาะสมกับสถานการณท่ีเปลี่ยนแปลงไป ท้ังนี้เพื่อใหกระบวนการผลิตสามารถดําเนินการภายใตขอกําหนดตางๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ 2.2 สภาพปญหาและแนวทางการปรับปรงุระบบการวางแผนการผลิต ในการดําเนินการผลิตจรงินั้น ผูท่ีมีหนาท่ีรับผิดชอบระบบการวางแผนการผลิตมักจะพบวา ตองมีการปรับเปลี่ยนแผนการผลิตอยูตลอดเวลา แผนงานที่เคยวางไวไมสามารถนําไปใชไดจริงเมือ่เกิดความคลาดเคลื่อนระหวางแผนการผลิตและความตองการที่เกิดข้ึนจริง ซึ่งสงผลใหกระบวนการผลิตท่ีดําเนินงานตามแผนงานดังกลาวเปนกระบวนการที่ไมมีประสิทธิภาพตามไปดวย ถึงแมวาทรัพยากรผลติทางดานตางๆ เชน แรงงาน เครื่องจักร หรอืวตัถุดิบ จะมีความพรอมเพียงใดก็ตาม ดังนั้น จงึจําเปนตองมีการพิจารณาสภาพปญหาที่เกิดข้ึนในระบบการวางแผนการผลิตเพื่อกําหนดแนวทางในการปรับปรุงตอไป

Page 6: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 6

1. สภาพปญหาของการวางแผนการผลิต สภาพปญหาที่เกิดขึ้นกับการวางแผนการผลิตระยะยาว - ความผันแปรของความตองการที่เกิดจากลูกคา - ข้ันตอนเพื่อการตัดสินใจไมมีความชัดเจนหรอืไมถูกตอง - ขาดกลยุทธในการวางแผนที่เหมาะสม สภาพปญหาที่เกิดขึ้นกับการวางแผนการผลิตระยะกลาง - ความผันแปรของตองการที่เกิดจากลูกคา หรือการเปลี่ยนแปลงรายละเอยีดในใบสั่งซื้อ - ความคลาดเคลื่อนของปริมาณที่ผลิตไดจริงกบัปริมาณที่วางแผนการผลิตไว - กลยุทธในการวางแผนไมสอดคลองกับลําดับขั้นและหัวขอของการวางแผน สภาพปญหาที่เกิดขึ้นกับการวางแผนการผลิตระยะสั้น - ความไมมีเสถียรภาพของปจจยัการผลิต เชน แรงงาน เครื่องจักร หรอืวัตถุดบิ - ผลกระทบจากการปรับแผนการผลิตในระยะกลาง - ผลกระทบจากการเปลี่ยนรุนการผลิตท่ีมีตอแตละหนวยงาน

จากสภาพปญหาของระบบการวางแผนการผลติในแตละลําดับขั้นนั้น จะเห็นไดวามีลกัษณะแตกตางกัน เนื่องจากมีองคประกอบพื้นฐานที่เปนปจจัยสําหรับการวางแผนที่แตกตางกัน ดังนั้น แนวทางในการปรับปรุงระบบการวาง

แผนการผลิตจงึตองพิจารณาแนวทางที่สอดคลองกับแตละลําดับข้ันของการวางแผนและตองสามารถสงผลเชื่อมโยงถึงกนัไดท้ังระบบ

2. แนวทางการปรับปรุงสําหรับการวางแผนการผลิต แนวทางการปรับปรุงการวางแผนการผลิตระยะยาว การใชเทคนิคในการพยากรณโดยวิธีทางคณิตศาสตร รวมกบัการใชดุลพินิจของผูมี

ประสบการณประกอบกับ เพื่อลดความคลาดเคลื่อนของอปุสงคท่ีมีความผันแปรจากลูกคา และความสามารถในการผลิตท่ีจะมีการเตรียมการไวสําหรบัอนาคต

การตัดสินใจในเรื่องของกําลงัการผลิตจะตองมีความนาเชื่อถือ และดําเนินไปอยางมีหลักการ ซึ่งมีข้ันตอนที่สามารถสรุปไดดังนี ้

1. ทําการประเมินกําลังการผลิตท่ีตองการในชวงเวลา 3-5 ป ขางหนาใหสอดคลองกับปริมาณอุปสงคจากการพยากรณ

2. กําหนดชองวาง (Define Gabs) ระหวางคาประมาณของกําลังการผลิตท่ีตองการกับกําลังการผลิต

3. กําหนดทางเลือก (Define for Alternative) เพื่อแกไขปญหาของชองวางดังกลาว 4. พิจารณาทางเลือกโดยใชเทคนิคการตัดสินใจ (Decision Technique) มาประเมิน

เพื่อหาทางเลือกท่ีดีท่ีสุด กลยุทธท่ีใชสําหรับการวางแผนกําลังการผลิตระยะยาวสามารถพิจารณาได ดังนี้

Page 7: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 7

1. การใชเทคนิคสํารองขนาดกําลังการผลิต (Sizing Capacity Sparing Technique) 2. การใชทฤษฎีของขอจํากัด (Theory of Constraint) 3. กลยุทธเรื่องเวลาและการขยายตัว (Timing and Expansion Strategy)

แนวทางการปรับปรุงการผลิตระยะกลาง การใชเทคนิคการพยากรณโดยใชวิธีวิเคราะหอนุกรมเวลา (Time Series Analysis) เพื่อลด

ความคลาดเคลื่อนของอุปสงคท่ีมีความผันแปรจากลูกคา ซึ่งสามารถวิเคราะหเปนแบบรายเดือนหรอืรายไตรมาสได

กําหนดวิธีการเพื่อปรับแผนการผลิต เพื่อใหสามารถคงสถานภาพทางการผลิตภายใตขอกําหนดที่มีอยูได ซึ่งโดยทั่วไปมีวิธีท่ีนํามาปฏิบัติอยู 2 วิธี ดังนี้

วิธีท่ี 1 คือ การปรับเปลี่ยนแผนการผลติโดยวิธีเฉลีย่น้ําหนัก (Weighted Average Method) วิธีท่ี 2 คือ การปรับระดับสม่ําเสมอ (Leveling Method)

กลยุทธท่ีใชสําหรับการวางแผนกําลังการผลิตระยะกลาง สามารถพิจารณาไดดังนี้

1. กลยุทธการไลตาม (Chase Strategy) และกลยุทธการักษาระดับ (Level Strategy) สําหรับการวางแผนการผลิตรวม

2. การใชเทคนิคในการใชของหมด (Run-Out Time Technique) และการใชเทคนิคในการผลิตจํานวนมากไวกอน เพื่อใหตนทุนตอหนวยต่ําสําหรับการจัดตาราง การผลิตหลัก

3. การใชเทคนิคการกําหนดขนาดของการผลิตแตละคราว (Lot Sizing Technique) สําหรับการจัดตารางการผลิต

แนวทางการปรับปรุงการวางแผนการผลิตระยะสั้น การใชเทคนิคจัดสมดุลในสายการผลิต เพื่อรองรับผลกระทบจากปญหาดานปจจัยการผลติท่ีไมมีเสถียรภาพ

การใชหลักเกณฑในการกําหนดงานสําหรับการจัดตารางการผลิต เพื่อลดผลกระทบจากการเปลี่ยนรุนการผลิตในแตละสถานีงานหรือหนวยผลิต

การใชหลักเกณฑของการจัดลําดับงานอยางมีเหตุผล (Heuristic Approach) ประกอบกับการพิจารณาสภาวะของกระบวนการผลิตบนพื้นฐานของความเปนจริง เพื่อลดผลกระทบจากการปรับแผนการผลิตในระยะกลาง โดยมีหลกัเกณฑท่ีนิยมใชดังนี้

1. เขากอนทํากอน (First Come – First Serve :FCFS) 2. ทํางานที่ใชเวลานอยท่ีสุดกอน (Shortest Processing Time :SPT) 3. ทํางานที่ใชเวลามากทีสุดกอน (Longest Processing Time : LPT) 4. ทํางานที่มีกําหนดสงเร็วท่ีสุดกอน (Earliest Processing Time : EPT)

Page 8: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 8

5. ทํางานที่เวลาเหลือนอยท่ีสุดกอน (Minimum Slack Time : MST) 6. เขาทีหลังทํากอน (Last Come – First Served : LCFS)

แนวทางการปรับปรุงระบบการวางแผนการผลิตในแตละลําดับขั้นมีความเชื่อมโยงกันไดท้ังระบบ ซึ่งสามารถสรุปเปนภาพรวมไดดังภาพที่ 3.2 2.3 ผลจากการปรับปรงุระบบการวางแผนการผลิต

1. เพื่อศักยภาพในการใชทรัพยากรการผลิตใหเกดิประโยชนสูงสุดในกระบวนการผลิต 2. ลดความไมสอดคลองกัน (Non-Conformable) ของการจัดเตรียมทรัพยากรการผลิตกับความ

ตองการที่เกิดข้ึนจริงในกระบวนการผลิต 3. ลดการรอคอยงานหรือเวลาสญูเปลา (Idle Time) ในกระบวนการผลิต 4. ลดปริมาณชิ้นงานในระหวางกระบวนการผลติ (WIP) 5. ลดเวลานําในการผลิต (Lead Time) และเพิ่มปริมาณ งานที่สงมอบตรงเวลา

โดยสรุป จากที่ไดนําเสนอเนื้อหาไปในสวนของการปรับปรุงระบบการวางแผนการผลิตดังรายละเอียดขางตน มีขอพิจารณาที่ควรตระหนักถึงประการหนึ่ง คือ ระบบการวางแผนการผลิตเปนเพียง สวนงานหนึ่งของการจัดการกระบวนการผลติ ซึ่งการจัดการกระบวนการผลิตท่ีดีนั้นตองมีระบบการวางแผนการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ รวมท้ังจะตองมีระบบการควบคุมการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพดวย

ไมใช

ไมใช การพยากรณ

การวางแผนกําลังการผลิตระยะยาว

การวางแผนการผลิตรวม

การจัดตารางการผลิต

การวางแผน ความตองการวัสดุ

การวางแผน ความตองการกําลังการ

การจัดตารางการผลิต

การติดตามผล การดําเนินงานการผลิต

ดําเนินการผลิต

มีกําลังการผลิตเพียงพอ

?

มีกําลังการผลิตเพียงพอ

?

ใช

ใช

ภาพที่ 3.2 แสดงความเชื่อมโยงของการปรับปรุงระบบการวางแผนการผลิต

Page 9: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 9

3 การควบคุมตารางการผลิต (Production Control) การควบคุมการผลิตในที่นี้ก็คือ การติดตามผลและรายงานความกาวหนาของงาน เพื่อใหเจาของ วิศวกร หรอืผูควบคุม สามารถมองเห็นไดอยางแจมแจงถึงผลงานที่ทําได จะไดทราบถึงอัตราความกาวหนาของงานที่ทําไดเมื่อเทียบกับงานที่ไดวางไว การควบคุมการผลิตเปนกิจกรรมที่เกิดข้ึนภายหลังจากที่ไดมีการวางแผนการผลิตเรียบรอยแลว และอยูในชวงท่ีการผลิตกําลังดําเนินงานอยู

จนกระทั่งเสร็จเรียบรอยตามแผน ซึ่งในขั้นตอนของการวางแผนเปนเพียงการจัดระบบงานเพื่อใชระบบงานที่มีอยู ยังไมไดลงมือทําตามแผน ซึ่งในชวงของการดําเนินงานตางๆ ปญหาและอุปสรรคตางๆ อาจเกิดข้ึนในกระบวนการผลติ ปญหาและอุปสรรคดังกลาวนี้อาจจะเกิดจากวัสดุอุปกรณหรือกําลงัคนมีไมพอตามแผนที่

กําหนดไว วัตถุดิบหรือช้ินสวนมาสงชากวากําหนด หรืออาจเกิดจากเครื่องมือเครื่องจักรขัดของใชงานไมได เปนตน นอกจากนั้นยังมีเรือ่งของความตองการที่เพิ่มข้ึนของลูกคา เชน การขอเปลี่ยนกําหนดวันสงมอบงาน หรือขอเปลี่ยนในรายละเอียดของการผลิตสินคา เปนตน ซึ่งในกรณีดังกลาวนี้ อาจทําใหเราตองมีการแกไขปรับปรุงตารางการผลิตเสียใหม เพื่อใหสอดคลองกับสภาพการณท่ีเปลี่ยนแปลงไป ดังนั้น พอจะกลาวไดวา การควบคุมการผลิตก็คือ เพื่อทําใหการผลิตและการบริหารสามารถเสร็จทันตามเวลาในปริมาณที่กําหนดตามแผนการผลิตดังนั้น การที่จะทําใหกิจกรรมดานการควบคุมการผลิตไดผลสําเร็จตามเปาหมาย จะตองประกอบดวยข้ันตอนสําคัญๆ ดังนี้

1. การบันทึกและรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับความกาวหนาของงาน 2. วิเคราะหความกาวหนาของงาน โดยเปรียบเทียบกับแผนการผลิตท่ีไดวางไว 3. ดําเนินการเปลี่ยนแปลงการผลิต หรือปรับปรุงตารางการผลติตามความจําเปน ซึ่งจะนําไปสู

เปาหมายที่ตองการ 4. วิเคราะหขอมูลตางๆ หลังจากเสร็จสิ้นงานการผลิตแตละครั้ง เพื่อใชในการพัฒนาและ

ปรับปรุงการวางแผนและควบคุมการผลิตใหมีประสิทธิภาพสูงยิ่งข้ึน

เทคนิคท่ีใชจะแสดงความกาวหนาของงานแตละชนิดเทียบกับเวลาที่ใชทํา สําหรับในที่นี้จะนําเสนอถึงเทคนิคท่ีใชในการควบคุมบางชนิดท่ีเปนที่รูจักและนิยมใชกันคือ แผนภูมิแกนต (Gantt Chart) และการจัดสมดุลสายการผลิต

1. การควบคุมดวยแผนภูมิแกนต แบบของแผนภมูิท่ีใชแสดงความกาวหนาของานแบบหนึ่งท่ีนิยมใชกันทั่วไปก็คือ แบบแผนภูมิ

ของแกนต ซึ่งนอกจากจะใชแผนภูมินี้ในการกําหนดรายละเอียดตารางการทํางานดังท่ีไดกลาวมาแลว ยงัใชเปนเครื่องมือ่ในการติดตามความกาวหนาของแผนการที่วางไวไดดอีีกดวยประโยชนของแผนภูมิแกนต

Page 10: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 10

นั้นก็คือ สะดวกและงายและเปนที่เขาใจโดยทั่วไปของผูท่ีเกี่ยวของ แผนภูมิของแกนตท่ีใชในการกําหนดรายละเอียดตารางการทํางานจะใชในการติดตามผลและรายงานความกาวหนาของงานไปดวย

2. การควบคุมโดยการจัดสมดุลสายการผลิต ลักษณะของงานสายผลิตบางชนิด จะสามารถมองเห็นไดชัดวามีข้ันตอนการผลิตท่ีตองกระทํา

ซ้ําๆกันและเหมือนกันเชน ลกัษณะของการประกอบตางๆ ซึ่งประกอบดวยช้ินสวนหลายๆ ช้ิน แตละช้ินมันจะแยกกันไปตามแผนกตางๆ ตามกรรมวธิีท่ีมีอยู และสุดทายก็จะนํามารวมกันที่สายงานประกอบเพื่อประกอบเปนรูปผลิตภัณฑสําเร็จรูป ในการควบคุมและติดตามผลงานวาในขณะหนึ่งงานงานตางๆ ไดดําเนินไปตามกําหนดการที่วางไวไดหรอืไม มีงานใดที่ลาชาตองเรงใหเร็วข้ึน วิธีท่ีมีประโยชนสําหรับการตรวจสอบเพื่อควบคุมการผลิตในลักษณะนี้ก็คือ การจัดสมดุลสายการผลิต เพื่อใหสถานีงานที่ทํางานเร็วหันมาชวยสถานีท่ีทํางานชา โดยเปาหมายอยูท่ีการประกอบไมใชอยูท่ีความเร็วของแตละช้ินสวน

เมื่อผลจากการรายงานและตรวจสอบความกาวหนาของงาน ไดตรวจพบวาผลผลิตท่ีเกิดข้ึนจริงผิดพลาดไปจากแผนงานที่กําหนดไว ผูควบคุมการผลิตจะตองหาสาเหตุของขอผิดพลาดที่เกิดข้ึน และทําการแกไขและปรับปรุงตารางการทํางานใหม เพื่อใหทันความตองการที่ไดกําหนดไว ซึ่งในการแกไขอาจทําไดดังนี้

1. จัดตารางการทํางานลวงเวลาเพิ่มข้ึน 2. เพิ่มกะในการทํางานเปนพิเศษ 3. โอนงานบางสวนใหแกผูรับเหมารายอื่นรับไปทํา 4. ในกรณีท่ีวัสดุขาดแคลน อาจทําการเรงกําหนดการสงของเขามาใหเร็วข้ึน 5. จัดหาคนงานเพิ่มข้ึน 6. จัดหาเครื่องมอืเครื่องจักรเพิ่มข้ึน หรือหาเครือ่งจักรที่มีประสิทธิภาพสูงกวา

กิจกรรมของการควบคุมการผลิตและติดตามความกาวหนา เปนกิจกรรมที่ตองทําอยางตอเนื่องและตลอดไปตราบเทาท่ีการผลิตยังคงดําเนินอยู และเปนสวนสําคัญที่จะทําใหการผลิตสามารถดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนมีผลทําใหไดรับความเชื่อถือจากลูกคามากยิ่งข้ึน

นอกจากเทคนิคท่ีใชในการควบคุมการผลิตตามที่ไดกลาวมาแลว การควบคุมเกี่ยวกับขอมูลการผลิตก็เปนสวนสําคัญ ซึ่งการสงผานขอมูลจากหนวยงานหนึง่ไปยังอีกหนวยงานหนึ่งจะตองถูกตอง และ ทันตอความตองการที่จะใชจริง นอกจากนั้นผูท่ีควบคุมการผลิตจะตองมีมาตรการในการปองกันความลาชาในการสงมอบ กลาวคือจะตองพยายามทําการผลิตตามแผนงานที่ไดกําหนดไวอยางเครงครัด โดยมีมาตรการที่ควรพิจารณา 5 ประการคือ

Page 11: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 11

1. ปรับปรุงวิธีการมอบหมายงาน ประการแรกในการมอบหมายงานใหกับผูอยูใตบังคับบัญชานั้น เมื่อมอบงานปจจุบันใหไปแลวจะตองมอบหมายงานถดัไปและงานที่ถัดไปอีก 1 งานดวย ในการสงงานนั้น ปกติจะทําโดยใชใบสั่งงาน ในกรณีนี้จะทําปายรับใบสั่งงานขึ้น ใบสั่งงานของปจจุบันจะเสียบไวท่ีชองสวนหนึ่ง สวนงานถัดไปและงานถัดไปอีกจะถูกมอบหมายโดยเสียบแยกชองกัน

จากนั้น ผูปฏิบัติงานหรือผูควบคุมงานจะตองตรวจสอบวา งานถัดไปและงานถัดไปอีกนั้น มีวัสดุอุปกรณและเครื่องไมเครื่องมืออยูพรอมหรือไม ถาเรามอบหนวยงานใหผูใตบังคับบัญชาเฉพาะงานปจจุบันเทานั้น เมื่องานนั้นเสร็จสิน้ลงและจะมอบงานถัดไปให แตปรากฏวาอุปกรณท่ีจําเปน เชน สวาน ไมมีหรือวัสดุมีไมเพียงพอ ก็จะทําใหผูปฏิบัติงานตองเสียเวลารอ เพื่อไมใหเรื่องทํานองนี้เกดิข้ึน จะตองมีการสงมอบงานลางหนา และมีการตรวจสอบและจัดหาของที่จําเปนตองใชไวใหพรอมเพรยีง

2. ตรวจสอบความกาวหนาหรือความลาชาของงานโดยดูจากวนัเริ่มงาน การพิจารณาสภาพ

ความกาวหนาหรือความลาชาของงานใหตัดสินจากวันเริ่มงาน เพื่อท่ีจะใหงานเสร็จสิ้นลงตามแผนนั้น จะตองตรวจสอบใหแนชัดวางานนั้นจะตองเริ่มทําตั้งแตเมื่อไหรถาไปตรวจสอบวางานนั้นจะเสร็จตามแผนหรือไมในตอนที่ใกลจะจบแผน ก็อาจจะชาเกินไป ดังนั้น จะตองมีการกําหนดวันเริ่มงานและเวลาเริ่มงานไว แลวควบคุมดูแลใหมีการเริ่มงานตามแผนที่ไดวางไว ถารูตัววาเริ่มงานชาไปเมื่อใกลกําหนดสงมอบก็อาจจะสายเกินไปที่จะแกไขอะไรไดทัน โดยเฉพาะอยางยิ่งช้ินสวนที่สัง่ใหกิจการภายนอกจัดให จะตองตรวจสอบใหมีการรักษาเวลาสงมอบใหตรงเวลา โดยทําการตรวจสอบวันเริ่มงานใหดี เพราะโดยทั่วไปแลวกิจการผูรับเหมางานมักจะไมแจงความลาชาของงาน จนกวาจะใกลกําหนดเวลาที่จะตองสงมอบงาน

ดังนั้นในการควบคุมวันเริ่มงานของกิจการผูรบัเหมานั้นเราจะใชระบบมาทัน ( Come Up ) ซึ่งเปนแผนบัตร ( Come Up Card ) ท่ีไดกําหนดวันที่ท่ีจะตองเริ่มงานนั้นสามารถสงมอบไดทันเวลาโดยจะเรียงบัตรนั้นตามวันที่ ยกตัวอยางเชน เมื่อดึงบัตรของวันที่ 15 เมษายน ออกมา ในบัตรนั้นก็จะมีการเขียนงานซึ่งจะตองเริ่มทําในวันนี้ไว หรอืบัตรวันที่ 16 เมษายน ก็จะมีการเขียนงานที่จะตองเริ่มทําในวันที่ 16 ไว โดยเราเรียกบัตรนี้วา บัตรมาทัน ( Cone Up Card )

3. การดําเนินการตรวจรับของที่เขามาโดยเร็ว ผูควบคุมการผลิตจะตองตรวจรับช้ินสวนหรือ

วัตถุดิบที่เขามาในหนวยงานของตนโดยเร็ว ถาเปนไปไดก็ควรตรวจสอบเสียทันทีท่ีของเขามา มักจะพบวาช้ินสวนหรอืวัตถุดิบที่ไดรับเขามามันจะมีความบกพรอง หรือตองแกไขขอบกพรองท่ีคนพบกันในเวลาปฏิบัติงานจนเริ่มรูสึกวานาตรวจสอบกันตั้งแตเวลาที่รับของเขามา สําหรับกรณีท่ีมีหนวยตรวจสอบชิ้นงานที่วาจางจาก

ภายนอกหรือช้ินงานที่เขามาจากขั้นตอนการผลิตลวงหนานั้นมันจะไมคอยพบปญหาเชนนี้

Page 12: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 12

ช้ินสวนหรอืวัตถุดิบที่เขามาในวันนั้นควรจะไดรับการตรวจ โดยผูควบคุมงานหรือพนักงานอื่นๆ ในวันนั้นหรือวนัถัดไปโดยเรว็

4. การประสานงานกับขั้นตอนการผลิตกอนและหลัง ผูควบคุมงานจะตองรูวาข้ันตอนการผลติ

กอนหนาและหลังความรับผิดชอบของตนมีความราบรื่นหรอืไม ถาข้ันตอนกอนหนาลาชาและจะมีผลกระทบตอหนวยผลิตของตนหรือไม ท้ังนีเ้พื่อจะไดวางมาตรการรับมือไวตั้งแตเนิ่นๆ นอกจากนั้นแลว ในบางครั้งข้ันตอนที่อยูถัดไป อาจมีความตองการที่จะใหเรงงานเร็วข้ึนจากแผนงานเดิมท่ีเคยวางเอาไว ท้ังนี้อาจเนื่องมาจากมีการปรับปรุงการผลิต ในกรณีเชนนี้เราอาจจําเปนที่จะตองตอบสนองความตองการของขั้นตอนที่อยูถัดไป คําพูดท่ีวา “ตองนึกอยูเสมอวาข้ันตอนถัดนั้นเปนลกูคา” เปนคําเตือนใจที่เนนในดานการควบคุมคุณภาพแตก็สามารถจะนําใชกับการควบคุมคุณภาพ แตก็สามารถจะนํามาใชกับการควบคุมเวลาสงมอบงานได

5. การรายงานความลาชา ถึงแมวาเราจะใชวิธีการหรอืมาตรการตางๆ ในการควบคุมเวลาสงมอบแลวก็ตาม บางครั้งก็ไมอาจหลีกเลีย่งความลาชาได ดังนั้น การรายงานความลาชาจึงควรไดมีการดําเนินการโดยเร็ว เพื่อจะไดวางมาตรการการแกไปไดทันเวลา

โดยทั่วไปแลวเรามักไมอยากใหคนอื่นรูถึงความลาชาหรืออปุสรร8ของเรา และไมอยากที่จะใหผูบังคับบัญชารู โดยมักจะวางมาตรการแกไขกันเองอยางเงียบๆ ในขณะที่ไมมีใครรูเหมือนกับไมมีอะไรเกิดข้ึน แตสิ่งนี้ไมเปนผลดีตอการควบคุมความกาวหนาในการผลิต การแกไขปญหาดวยตนเองนั้นถาเปนไปอยางเรียบรอยก็ไมเปนไร แตมีตัวอยางใหเห็นอยูบอยๆ ท่ีกลับกลายเปนการสรางปญหาเพิ่มข้ึน เชน การพยายามที่ซอมเครื่องจักรท่ีชํารุดใหสามารถทํางานไดช่ัวคราวดวยตนเอง ผลปรากฏวาเครื่องจักรกลับยิ่งชํารุดมากขึ้นทําใหตองเสียเวลาในการซอมนานขึ้น และเกิดความลาชามากยิ่งข้ึน ผูควบคุมงานจะตองรายงานใหผูบังคับบัญชา หรือผูรับผิดชอบในขั้นตอนการผลิตถัดไปทราบโดยทันทีท่ีคิดวาจะเกิดความลาชาข้ึน ไมใชไปรายงานตอนที่ไดเกิดความลาชาในการสงมอบของขึ้นแลวดังนั้น ถาวันเริ่มงานมีความลาชาเกิดข้ึนใหรายงานใหผูท่ีเกี่ยวของทราบทันทีในเวลานั้น

Page 13: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 13

4. การบริหารพัสดุคงคลัง ในกระบวนการผลิตปจจัยการผลิตท่ีมีความสําคัญอยางยิ่งตัวหนึ่งก็คือวัตถุดิบ ช้ินสวนและวัสดุตางๆ หรือท่ีเรียกวา พัสดุคงคลัง ซึ่งตองเตรียมพรอมท้ังดานคุณภาพและปริมาณเพื่อรองรับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑท่ีลูกคาตองการ พัสดุคงคลัง (Inventory) จัดเปนสินทรัพยหมุนเวียนชนิดหนึ่ง ซึ่งองคการตองมีตองมีไวเพือ่ขายหรือผลิต ประกอบดวย

1. วัตถุดิบ (Raw Material) คือสิ่งของหรอืช้ินสวน ท่ีซื้อมาเพื่อใชในการผลิต 2. งานระหวางทํา (Work-in-Process) คือช้ินงานที่อยูในขั้นตอนการผลิตหรอืรอคอยท่ีจะผลติ

ในขั้นตอนตอไปโดยที่ยังผานกระบวนการผลิตไมครบทุกขั้นตอน 3. วัสดุซอมบํารุง (Maintenance / Repair / Operating Supplies) คือ ช้ินสวนหรอือะไหล

เครื่องจักรท่ีสํารองไวเผือ่เปลี่ยนเมื่อช้ินสวนเดิมเสียหรอืหมดอายุใชงาน 4. สินคาสําเร็จรูป (Finished Goods) คือ ปจจัยการผลิตท่ีผานทุกกระบวนการผลิตครบถวน

พรอมท่ีจะนําไปขายใหลูกคาได 4.1 วัตถุประสงคของการบริหารพัสดุคงคลัง การบริหารพัสดุคงคลังมีจุดมุงหมายหลักอยู 2 ประการใหญ คือ

1. การลงทุนในพัสดุคงคลังต่ําท่ีสุดเทาท่ีจะทําได เพื่อทําใหตนทุนการผลิตต่ําลงดวย 2. การบริการลูกคาในปริมาณที่เพียงพอและทันตอความตองการของลูกคาเสมอ เพื่อสรางและ

รักษาระดับของสวนแบงตลาดไว แตวัตถุประสงคสองขอนี้จะกอใหเกิดความขัดแยงกันในการบริหารพัสดุคงคลัง เพราะการ

ลงทุนในของคงคลังต่ําท่ีสุด มักจะตองใชวิธีลดระดับพัสดุคงคลังใหเหลือนอยมากแคเพียงพอใชปอนกระบวนการผลิตใหสามารถดําเนินไดโดยไมหยุดชุงัก แตระดับพัสดุคงคลังท่ีต่ําเกินไปก็เปนเหตุใหบริการลูกคาไมเพียงพอหรอืไมทันใจลูกคา ในทางตรงขามการถือของคงคลังไวมากเพือ่ผลิตหรือสงใหลูกคาไดเพียงพอและทันเวลาเสมอก็ทําใหตนทุนพัสดุคงคลังสูงข้ึน ดังนั้นการบริหารพัสดุคงคลังโดยรักษาความสมดุลของวัตถุประสงคท้ังสองขอนี้จึงไมใชเรื่องงาย 4.2 หนาที่ของพัสดุคงคลัง พัสดุคงคลังมีหนาท่ีตางๆ ในองคการธุรกิจดังตอไปนี้

1. ตอบสนองความตองการของลกูคาท่ีประมาณการไวในแตละชวงเวลา ท้ังในและนอกฤดูกาล โดยการเก็บของคงคลังไวในคลังช้ินสวน อุปกรณ หรือสินคา

Page 14: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 14

2. รักษาการผลิตใหมีอัตราคงที่สม่ําเสมอ เพื่อรักษาระดับการวาจางแรงงาน การเดินเครื่องจักร ฯลฯ ใหสม่ําเสมอได ของที่ขายไมหมดในชวงขายไมดี จะเก็บไวขายตอนชวงขายดีซึ่งอาจจะผลิตไมทันขาย

3. ทําใหธุรกิจไดสวนลดปริมาณจากการจัดซื้อครั้งละมากๆ เกินกวาท่ีจะใชหมดภายในคราวเดียว 4. ปองกันการเปลี่ยนแปลงราคาและผลกระทบจากเงินเฟอ เมื่อสินคาในทองตลาดมีราคาสูงข้ึน 5. ปองกันของขาดมือดวย ของเพื่อการผลิตในชวงฉุกเฉิน (Safety Stock) เมื่อของที่สั่งเกิดสงมา

ลาชาหรือบังเอญิไดคําสั่งเพิ่มข้ึนกะทันหัน 6. ทําใหกระบวนการผลิตสามารถดําเนินการตอเนื่องอยางราบรืน่ ไมมีการหยุดชะงักเพราะของ

ขาดมือจนเกิดความเสียหายแกกระบวนการผลิต เชน คนงานวางงาน เครื่องจักรถูกปด ผลิตไมทันคําสั่งซื้อของลูกคา

4.3 ตนทุนของพัสดุคงคลัง ตนทุนหรือคาใชจายทีเกี่ยวของกับพัสดุคงคลังมีดังตอไปนี้ 1. คาใชจายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost)

เปนคาใชจายท่ีตองจายเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุคงคลังท่ีตองการ ซึ่งจะแปรตามจํานวนครั้งการสั่งซือ้ แตไมแปรตามปริมาณพัสดุคงคลัง เพราะสั่งซื้อของมากเทาใดก็ตามในแตละครั้ง คาใชจายในการสั่งซื้อก็ยังคงที่ แตถายิ่งสั่งซื้อบอยครั้ง คาใชจายในการสั่งซื้อจะยิ่งสูงข้ึนคาใชจายในการสั่งซื้อไดแก คาเอกสารใบสั่งซื้อ คาจางพนักงานจัดซื้อ คาโทรศัพท คาขนสงสินคา คาใชจายในการชําระเงิน ฯลฯ

2. คาใชจายในการเก็บรักษา (Carrying Cost)

เปนคาใชจายท่ีเกิดข้ึนจากการมีพัสดุคงคลังและการรักษาสถานภาพใหของคงคลังนั้นอยูในสภาพที่ใชงานได ซึ่งจะแปรตามปริมาณของคงคลังท่ีถือไว และระยะเวลาที่เก็บพัสดุคงคลังนั้นไว คาใชจายในการเก็บรักษา ไดแก ตนทุนเงินทุนที่จมอยูกับสินคาคงคลังซึ่ง คือ คาดอกเบี้ยจายถาเงินทุนนั้นมาจากการกูยืม หรือเปนคาเสียโอกาสถาเงินทนุนั้นเปนสวนของเจาของ คาคลังสินคา คาไฟฟาเพื่อรักษาอุณหภูมิ คาใชจายของสินคาท่ีชํารุดเสียหายหรอืหมดอายุเสื่อมสภาพจากการเก็บนานเกินไป คาภาษีและการประกันภัย คาจางยามและพนักงานประจําคลังสินคา ฯลฯ

3. คาใชจายเนือ่งจากสินคาขาดแคลน (Shortage Cost หรือ Stockout Cost)

เปนคาใชจายท่ีเกิดข้ึนจาก การมีพัสดุคงคลังไมพียงพอตอการผลิตหรอืการขาย ทําใหลูกคายกเลิกคําสั่งซื้อขาดรายไดท่ีควรได กิจการเสียช่ือเสียง กระบวนการผลติหยุดชะงักเกิดจากการวางงานของเครื่องจักรและคนงาน ฯลฯ คาใชจายนี้จะแปรผกผันกับปริมาณสินคาคงคลังท่ีถือไว นั่นคือ ถาถือพัสดุคงคลังไวมากจะไมเกิดการขาดแคลน แตถาถือสินคาคงคลังไวนอยก็อาจเกิดโอกาสที่จะเกิดการขาด

Page 15: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 15

แคลนไดมากกวา และคาใชจายเนื่องจากสินคาขาดแคลนนี้ข้ึนอยูกับปริมาณการขาดแคลนรวมทั้งระยะเวลาที่เกิดการขาดแคลนนี้ดวย

คาใชจายเนื่องจากสินคาขาดแคลน ไดแก คําสั่งซื้อ Lot พิเศษทางอากาศเพื่อนํามาใชแบบฉุกเฉิน คาปรับเนื่องจากสงสนิคาใหลูกคาลาชา คาเสียโอกาสในการขาย คาใชจายท่ีเกิดข้ึนจากการเสียคาความนิยม (Goodwill) ฯลฯ

4. คาใชจายในการตั้งเครื่องจักรใหม (Setup Cost) เปนคาใชจายท่ีเกิดข้ึนจากการที่เครื่องจักรจะตองเปลี่ยนการทํางานหนึ่งไปยังอีกการทํางานหนึ่ง

ซึ่งจะเกิดการวางงานชั่วคราว ของคงคลังจะถูกทิ้งใหรอกระบวนการผลิตท่ีจะตั้งใหม คาใชจายในการติดตั้งใหมนี้จะมีลักษณะเปนตนทุนที่ซึ่งจะไมข้ึนกับปริมาณการผลิต

แตข้ึนกับขนาดของ Lot การผลิต ถาผลิตเปน Lot ใหญ มีการติดตั้งเครื่องใหมนานทีครั้ง คาใชจายในการตั้งเครื่องใหมก็ต่ํา ถาผลิตเปน Lot เล็ก มีการติดตั้งเครื่องใหมบอยครั้ง คาใชจายในการติดตั้งเครื่องใหมก็จะสูง

ในบรรดาคาใชจายเกี่ยวกับของคงคลังตาง ๆ เหลานี้ คาใชจายในการเก็บรักษาจะสูงข้ึนถามีระดับของคงคลังสูง และจะต่ําลงถามีระดับของคงคลังต่ํา แตสําหรับคาใชจายในการสั่งซื้อ คาใชจายเนื่องจากสินคาขาดแคลน และคาใชจายในการติดตั้งเครื่องจักรใหม จะมีลักษณะตรงกันขามคือ จะสูงข้ึนถามีระดับของคงคลังต่ําและจะต่ําลงถามีระดับของคงคลังสูง ดังนั้นคาใชจายเกี่ยวกับของคงคลังท่ีต่ําสุดจะอยูในระดับที่คาใชจายทุกตัวรวมกันแลวต่ําสุด หรอืท่ีเรียกวา ปรมิาณการสั่งซื้อท่ีประหยัดท่ีสุด หรือ EOQ (Economic Order Quantity)

4.4 ระบบควบคุมของคงคลัง ภาระงานอันหนักประการหนึ่งของการบริหารของคงคลัง คือ การลงบัญชีและตรวจนับของคงคลัง เพราะแตละธุรกิจจะมีของคงคลังหลายชนิด แตละชนิดอาจมีความหลากหลาย เชน ตะปูขนาดตาง ๆ ผาสีตาง ๆ ซึ่งทําใหการตรวจนับของคงคลังตองใชพนักงานจํานวนมากเพื่อใหไดจํานวนที่ถูกตองภายใตระยะเวลาที่กําหนด เพื่อท่ีจะไดทราบวาของคงคลังตัวใดเริ่มขาดมือตองซื้อมาเพิ่ม และควรซื้อเปนจํานวนเทาใดจึงพอใชและไมมากไมนอยเกินควร

Page 16: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 16

ระบบการควบคุมของคงคลังที่มีอยู 3 วิธี คือ 1. ระบบของคงคลังอยางตอเนือ่ง (Continuous Inventory System และ Perpetual System)

เปนระบบของคงคลังท่ีมีวิธีการลงบัญชีทุกครั้งท่ีมีการรับและจายของ ทําใหบัญชีแสดงยอดคงเหลอืท่ีแทจริงของสินคาอยูเสมอ ซึ่งจําเปนอยางยิ่งในการควบคุมของคงคลังรายการที่สําคัญ แตระบบนี้เปนวิธีท่ีมีคาใชจายสูงมากในดานงานเอกสาร และตองใชพนักงานจํานวนมากจึงดูแลการรับจายไดท่ัวถึง ในปจจุบันการนําเอาคอมพิวเตอรเขามาประยุกตใชกับงานสํานักงานและบัญชี สามารถชวยแกไขปญหาในหัวขอนี้ไดดวยการใช Bar Code หรือ Universal Product Code (UPC) ปดบนสินคาหรือวัสดุแลวใช Laser Scan อาน ซึ่ง วิธีนี้นอกจากจะมีความถูกตองแมนยําเที่ยงตรง แลว ยังสามารถ

ใชเปนฐานขอมูลบริหารสินคาคงคลังในกรณีอื่น เชน การบริหารสายการขนสงสินคา (Supply Chain Management) ไดอีกดวย

2. ระบบของคงคลังเมื่อสิ้นงวด (Periodic Inventory System) เปนระบบของคงคลังท่ีมีวิธีการลงบัญชีเฉพาะในชวงเวลาที่กําหนดไวเทานั้น เชน ตรวจนับและลงบัญชีทุกปลายสัปดาหหรือปลายเดือน เมื่อของถูกเบิกไปก็จะมีการสั่งซื้อเขามาเติมใหเต็มในระดับที่ตั้งไว ระบบนี้จะเหมาะกับสินคาท่ีมีการสั่งซื้อ และเบิกใชเปนชวงเวลาแนนอน เชน รานขายหนังสือของมหาวิทยาลัย จะมีการเช็คยอดหนังสอืเมือ่เปดเทอมแลวประมาณ 3 สัปดาหเพื่อดูวาหนังสือในรานและโกดังเหลอืเทาใด ยอดหนังสือท่ีตองเตรียมสําหรับเทอมหนา จะเทากับยอดคงเหลือบวกกับจาํนวนนักศึกษาที่ตองลงทะเบียนเรียน โดยประมาณ เปนตน

โดยทั่วไปแลว ระบบของคงคลัง เมื่อสิ้นงวดมักจะมีระดับสินคาคงคลังคงเหลือสงูกวาระบบของคงคลังอยางตอเนื่อง เพราะจะมีการเผื่อสํารองการขาดมือโดยไมคาดคิดไวกอนลวงหนาบาง และระบบนี้จะทําใหตองมีการปรบัปริมาณการสั่งซื้อใหม เมื่อความตองการเปลี่ยนแปลงไปดวย

3. ระบบการจําแนกของคงคลังเปน ABC ระบบ ABC เปนวิธีการจําแนกของคงคลังออกเปนแตละประเภท โดยพิจารณาปริมาณและมูลคาของของคงคลังแตละรายการเปนเกณฑ ในบรรดาของคงคลังท้ังหลายของแตละธุรกิจมักจะเปนไปตามเกณฑดังตอไปนี้ (ตามภาพที่ 3.2)

A : ของคงคลังท่ีมีปริมาณนอย (5-15% ของของคงคลังท้ังหมด) จะมีมูลคารวมคอนขางสูง (70-80 % ของมูลคาท้ังหมด)

B : ของคงคลังท่ีมีปริมาณปานกลาง (30% ของของคงคลังท้ังหมด) จะมีมูลคารวมปาน กลาง (15 % ของมูลคาท้ังหมด)

C : ของคงคลังท่ีมีปริมาณสูง (50-60% ของของคงคลังท้ังหมด) จะมีมูลคารวมคอยขางต่ํา (5-10% ของมูลคาท้ังหมด)

Page 17: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 17

การจําแนกของคงคลังเปน ABC จะทําใหความเขมงวดของการควบคุมของคงคลังแตกตางกันดังตอไปนี้

A : ควบคุมอยางเขมงวดมาก ดวยการลงบญัชีทุกครั้งท่ีมีการรับจาย และมีการตรวจนับจํานวนจริงเพือ่เปรียบเทียบกับจํานวนในบัญชีอยูบอยๆ ( เชนทุกสัปดาห ) การควบคุม A จึงควรใชระบบของคงคลังอยางตอเนื่อง เกบ็ของไวในที่ปลอดภยั ในดานการจัดซื้อกค็วรหาผูขายไวหลายรายเพือ่ลดความเสี่ยงจากการขาดแคลนสินคาและการเจรจาตอรองราคาได

B : ควบคุมอยางเขมงวดปานกลาง ดวยการมีบัญชีคุมยอดบันทึกเสมอเชนเดียวกับ A ควรมีการเบิกจายอยางเปนระบบเพื่อปองกันการสูญหาย การตรวยนับจํานวนจรงิก็ทําเชนเดียวกัน A แตความถี่นอยกวา ( เชน ทุกสิ้นเดือน ) การควบคุม B จึงควรใชระบบของคงคลังอยางตอเนื่องเชนเดียวกบั A

C : ไมมกีารจดบันทึกหรือมีก็เพียงเล็กนอย ของคงคลังประเภทนี้จะวางใหหยิบใชไดตามสะดวก เนื่องจากเปนของราคาถูกและมีปริมาณมาก ถาทําการควบคุมอยางเขมงวด จะทําใหมีคาใชจายมาก ไมคุมคากับประโยชนท่ีไดปองกันไมใหของสูญหาย การตรวจนับ C จะใชระบบของคงคลังแบบสิ้นงวดคือเวนสักระยะจะมาตรวจนับดูวาพรองไปเทาใดแลวก็ซื้อมาเติม หรืออาจใชระบบสองถัง(Two – Bin System) ซึ่งมีกลองวัสดุอยู 2 กลองเปนการเผื่อสํารองไว พอใชของในกลองแรกหมดก็นาํเอากลองสํารองมาใชแลวรีบซื้อของเติมใสกลองแรกที่หมดไวเปนกลองสํารองแทนซึ่งจะทําใหไมมีการขาดมือเกิดข้ึน

80 70 60 50 40 30 20 10

ประเภท

รายการที่จัดเก็บ (% ของทั้งหมด)

มูลคาการจัด

เก็บ (%

ของทั้งหมด

)

10 20 30 40 50 60 70 80 90

ประเภท ประเภท

ภาพที่ 3.2 การจําแนกของคงคลังตามระบบ ABC

Page 18: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

การวางแผนและควบคุมการผลิตการวางแผนและควบคุมการผลิต

3 - 18

การตรวจนับของคงคลังจริง สามารถทําได 2 วิธีคือ 1. ปดบัญชีตรวจนับ คือเลือกวันใดวันหนึ่งท่ีจะทําการปดบัญชีแลวหามมิใหมีการเบิกจาย

เพิ่มเติม หรือเคลื่อนยายของคงคลังทุกรายการ หยุดการซื้อ – ขายตามปกติ แลวการตรวจนับของทั้งหมด วิธีนี้จะแสดงมูลคาของของคงคลัง ณ วันที่ตรวจนับไดอยางเที่ยงตรง

2. เวียนกันตรวจนับ ( Cycle Counting ) จะปดการเคลื่อนยายของคงคลังเปนสวนๆ เพื่อตรวจนับ เมื่อสวนใดตรวจนับเสร็จก็เปดขายหรือเบิกจายไดตามปกติ และปดแผนกอื่นตรวจนับตอไปจนครบทุกแผนก

Page 19: การวางแผน และควบคุุมการผล ิิตlibrary.dip.go.th/multim5/ebook/I กสอ15 T20P3.pdf · ของความต องการท

PPrroodduuccttiioonn MMaannaaggeemmeenntt

3 - 19

คําถามทายบทที่คําถามทายบทที่ 33

1. ทานคิดวาในกระบวนการวางแผนและควบคุมการผลิต ขั้นตอนใดสาํคัญที่สุด เพราะเหตใุด 2. ในความเปนจริงของการผลิตแบบ SMEs ที่มักจะใหลูกคา Walk-in เขามาทําใหตารางการผลิตที่วางไวลวงหนาไมมีเวลาทํา ทานมีความเหน็อยางไรกับการแกปญหานี ้ 3. ใหทานยกตวัอยางจริงที่ทานประสบ จากสถานประกอบการตางๆ ที่มีความเสียหายมาจากตนทนุของคงคลังประเภทตางๆ ตอไปนี ้ 3.1 ความเสียหายจากวัตถุดบิคงคลัง 3.2 ความเสียหายจาก Work - in - process 3.3 ความเสียหายจากสินคาคงคลัง 4. ทานคิดวาการควบคุมของคงคลังโดยการแบงหมวดหมูเปน ABC มีขอเสียหรือไม อธิบายพรอมยกตวัอยาง และทานมวีิธีการแกปญหานี้อยางไร