คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/report-obecqa... · 2018-04-12 · 2.4...

127

Upload: others

Post on 10-Feb-2020

0 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ
Page 2: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

คํานํา

โรงเรียนสตรีสิริเกศ เขารวมโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล รุนท่ี 1 ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในป พ.ศ.2553 โรงเรียนไดเริ่มทบทวนระบบการจัดการศึกษาตามแนวทางท่ีโครงการกําหนด เริ่มจากการปรับโครงสรางหลักสูตรและเปาหมายคุณภาพทางการศึกษาท่ีจะเกิดกับผูเรียน ในสวนของระบบบริหารจัดการ โรงเรียนไดรับคัดเลือกใหเปนโรงเรียน นํารองแบบเขมการบริหารจัดการตามขอกําหนดของเกณฑรางวัลคุณภาพสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหรือ OBECQA ในป พ.ศ.2556 โรงเรียนไดปรับระบบการบริหารจัดการในระยะเริ่มแรก SCQA และกาวสูการปรับท้ังองคกรในป พ.ศ.2557 เพ่ือเขาสูการประเมิน OBECQA บัดนี้การปรับระบบการบริหารจัดการโรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดดําเนินการมาครบท้ังระบบก็ดวยความมุงม่ันของคณะผูบริหาร โดยการนําของผูอํานวยการโรงเรียนและความพรอมใจกันของครูและบุคลากรทางการศึกษา รายงานฉบับนี้เปรียบเสมือนจุดเริ่มตนของการบริหารจัดการเชิงคุณภาพตามเกณฑรางวัลคุณภาพสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และจะพัฒนาตอไปสูเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติหรือ TQA การกาวสูจุดเริ่มตนของระบบการบริหารจัดการตามเกณฑรางวัลคุณภาพสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานนี้ โรงเรียนยังพบจุดท่ีสมควรไดรับการพัฒนา (Opportunity For Improvement หรือ OFI) อีกหลายประการ ซ่ึงถือเปนความทาทายท่ีโรงเรียนตองการดําเนินการตอไป ผลของการประเมิน OBECQA จะชวยทําใหโรงเรียนเผชิญความทาทายไดอยางม่ันใจ โรงเรียนสตรีสิริเกศ ขอขอบคุณคณะกรรมการตรวจ ติดตาม การบริหารจัดการตามเกณฑรางวัลคุณภาพฯ กลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นําโดยนายประชอบ หลีนุกูล ผูอํานวยการโรงเรียนสงวนหญิง และคณะกรรมการทุกทาน ท่ีชวยนิเทศจนทําใหรายงานฉบับนี้ดําเนินไปตามกรอบขอกําหนด และขอขอบคุณ ดร.นิพนธ เสือกอน ท่ีใหคําแนะนําเปนอยางดียิ่ง โรงเรียนสตรีสิริเกศหวังวา ระบบการบริหารจัดการตามเกณฑรางวัลคุณภาพสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียน สตรีสิริเกศ จะเปนประโยชนตอการพัฒนาระบบการบริหารจัดการโรงเรียนมาตรฐานสากลอ่ืนๆ ตอไป โรงเรียนสตรีสิริเกศ

Page 3: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญ

หนา คํานํา ก สารบัญ ข สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ ฉ แผนภาพโครงสรางการบริหารโรงเรียนสตรีสิรเกศ ฎ โครงรางองคกร (Organization Profile) 1 1. ลักษณะขององคกร 1 ก. สภาพแวดลอมขององคกร 1 ข. ลักษณะองคกร : ความสัมพันธระดับองคกร 5 2. สภาวการณขององคกร 7 ก. สภาพแวดลอมการแขงขัน 7 ข. บริบทเชิงกลยุทธ 8 ค. ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินงาน 8 หมวด 1 การนําองคกร 10 1.1 การนําองคกรโดยผูบริหารระดับสูง 10 ก. วิสัยทัศน คานิยมและพันธกิจ 11 ข. การสื่อสารและผลการดําเนินการของโรงเรียน 14 1.2 การกํากับดูแลองคกรและความรับผิดชอบตอสังคมในวงกวาง 17 ก. การกํากับดูแลโรงเรียน 17 ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม 18 ค. ความรับผิดชอบตอสังคมในวงกวางและการสนับสนุนชุมชนท่ีสําคัญ 19

หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ 21 2.1 การจัดทํากลยุทธ 21 ก. การจัดทํากลยุทธ 21 ข. วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ 25 2.2 การกําหนดกลยุทธไปสูการปฏิบัติ 29 ก. กระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการและการถายทอดสูการปฏิบัติ 29 ข. กระบวนการคาดการณผลการดําเนินการ 32 หมวด 3 การมุงเนนผูเรียน 33

3.1 การรับฟงเสียง 33 ก. การรับฟงนักเรียน 33 ข. การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของนักเรียน 36

Page 4: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญ (ตอ)

หนา 3.2 ความผูกพันของนักเรียน 37 ก. หลักสูตรการจัดการศึกษาและการบริการอ่ืนๆ ท่ีสงเสริมการเรียนรูและการ

สนับสนุนนักเรียน 37

ข. การสรางความสัมพันธท่ีมีตอนักเรียน 39 หมวด 4 การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู 41

4.1 การวัด การวิเคราะห และการปรับปรุงผลการดําเนินการของโรงเรียน 42 ก. การวัดผลการดําเนินการ 42 ข. การวิเคราะหและทบทวนผลการดําเนินการ 45

ค. การปรับปรุงผลการดําเนินการ 45 4.2 การจัดการสารสนเทศ ความรู และเทคโนโลยีสารสนเทศ 46 ก. การจัดการขอมูลสารสนเทศและการจัดการความรู 46 ข. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ 49 หมวด 5 การมุงเนนบุคลากร 52

5.1 สภาพแวดลอมในการทํางาน 53 ก. ขีดความสามารถและอัตรากําลังบุคลากร 53 ข. บรรยากาศการทํางานของบุคลากร 55 5.2 ความผูกพันของบุคลากร 57 ก. ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร 57 ข. การประเมินความผูกพันของบุคลากร 58 ค. การพัฒนาบุคลากรและผูนํา 59 หมวด 6 การมุงเนนการดําเนินการ 60

6.1 ระบบงาน 60 ก. การออกแบบระบบงาน 60 ข. การจัดการระบบงาน 61 6.2 กระบวนการทํางาน 66 ก. การออกแบบกระบวนการทํางาน 66 ข. การจัดการกระบวนการทํางาน 68 หมวด 7 ผลลัพธ 70 7.1 ผลลัพธดานหลักสูตรและกระบวนการ 70 ก. ผลลัพธดานหลักสูตรและกระบวนการท่ีมุงเนนผูเรียน 70 ข. ผลลัพธดานประสิทธิผลของกระบวนการปฏิบัติการ 73 ค. ผลลัพธดานการจัดการหวงโซอุปทาน 83

Page 5: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญ (ตอ) หนา 7.2 ผลลัพธดานการมุงเนนนักเรียน 84 ก. ผลลัพธดานการมุงเนนนักเรียน 84 7.3 ผลลัพธดานการมุงเนนบุคลากร 88 ก. ผลลัพธดานบุคลากร 88 7.4 ผลลัพธดานการนําองคกรและการกํากับดูแลองคกร 92 ก. ผลลัพธดานการนําองคกรและการกํากับดูแลองคกรความรับผิดชอบตอ

สังคมในวงกวาง 92

ข. ผลลัพธดานการนํากลยุทธสูการปฏิบัติ 96 7.5 ผลลัพธดานการเงินและดานการตลาด 97 ก. ผลลัพธดานการเงินและดานการตลาด 97

Page 6: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา P1 จํานวนครูและบุคลากรของโรงเรียนสตรีสิริเกศ แยกประเภทตามกลุมสาระการ

เรียนรู วุฒิการศึกษา วิทยฐานะ ประจําปการศึกษา 2558 3

1.1 แสดงกระบวนการสรางความยั่งยืนของการดําเนินการสูวิสัยทัศนโรงเรียน สตรีสิริเกศ

13

1.2 แสดงวิธีการและความถ่ีของการสื่อสาร 15 2.1 ตัวอยางการกําหนดกลยุทธท่ีสอดคลองมาตรฐานท่ี 15 28 4.1 การกําหนดคาเปาหมายความสําเร็จ 44 4.2 แสดงความเชื่อถือได ปลอดภัย และใชงานงาย ของฮารดแวรและเน็ตเวิรก 50 4.3 แสดงความเชื่อถือได ปลอดภัย และใชงานงาย ของซอฟตแวร 50 6.1 กระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนท่ีโรงเรียนตองดําเนินการเพ่ือใหเกิด

คุณคา 67

7.2(1) ผลลัพธดานความผูกพันของผูเรียนและผูปกครอง 87 7.5(1) สัดสวนของนักเรียนท่ีรับตอนักเรียนท่ีมาสมัครเขาเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาป

ท่ี 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 100

Page 7: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญภาพ

ภาพประกอบท่ี หนา 1.1 แสดงความสัมพันธขององคประกอบของการนําองคกร 10 1.2 แสดงระบบการกําหนดวิสัยทัศนและคานิยม 11 1.3 แสดงกระบวนการสงเสริมการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรม 12 1.4 ระบบการสื่อสารของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 14 1.5 แสดงกระบวนการมุงเนนการปฏิบัติงาน 16 1.6 แสดงระบบของการกํากับดูแลการจัดการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ 17 1.7 แสดงกระบวนการประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ 18 1.8 แสดงกระบวนการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม 19 1.9 แสดงองคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมและการสนับสนุนชุมชน 19 2.1 วงจรการวางแผนกลยุทธของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 21 2.2 ระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสตรีสิริเกศ 22 2.3 การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ 22 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห SWOT โรงเรียนสตรีสิริเกศ 23 2.5 ระบบการกําหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาหรือวัตุประสงคหลังเชิงกลยุทธ

โรงเรียนสตรีสิริเกศ 26

2.6 วงจรการกําหนดกลยุทธท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการจัดการการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ

28

2.7 วงจรการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ 29 3.1 ความสัมพันธดานการมุงเนนผูเรียนของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 33 3.2 ระบบการรับฟงเสียงนักเรียนปจจุบันโรงเรียนสตรีสิริเกศ 34 3.3 ระบบการรับฟงเสียงของนักเรียนอนาคต 35 3.4 วงจรสรางความผูกพันของนักเรียนตอหลักสูตรและการบริการอ่ืนๆ 36 3.5 วงจรการกําหนดขอกําหนดของหลักสูตรฯ การจัดการเรียนการสอน และ

บริการอ่ืนๆ ของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 38

3.6 ระบบการจัดการขอรองเรียนโรงเรียนสตรีสิริเกศ 40 4.1 ความสัมพันธของระบบงานตามโครงสรางการบริหารและแผนกลยุทธ 41 4.2 ระบบของการกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จตามมาตรฐานการวัดการศึกษา 42 4.3 ความสัมพันธของขอมูลเพ่ือนําไปใชบริหารจัดการโรงเรียนสตรีสิริเกศ 46 4.4 ระบบการจัดการขอมูลสารสนเทศโรงเรียนสตรีสิริเกศ 46 4.5 แสดงการจัดการระบบองคความรูของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 49

Page 8: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพประกอบท่ี หนา 5.1 ความสัมพันธของการบริหารบุคคลโรงเรียนสตรีสิริเกศ 52 5.2 ระบบการจัดการสภาพแวดลอมในการทํางานโรงเรียนสตรีสิริเกศ 53 5.3 ระบบการบริหารความสามารถและอัตรากําลังโรงเรียนสตรีสิริเกศ 53 5.4 แผนภาพแสดงบรรยากาศในการทํางานของบุคลากร 55 5.5 แผนภาพแสดงนโยบาย การบริการ และสิทธิประโยชน 56 5.6 แผนภาพแสดงความสัมพันธของความผูกพันและการจัดการผลการ

ปฏิบัติงาน 57

6.1 การออกแบบระบบงานโรงเรียนสตรีสิริเกศ 61 6.2 การจัดการระบบงานโรงเรียนสตรีสิริเกศ 62

6.3 การควบคุมตนทุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 63 6.4 ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินโรงเรียนสตรีสิริเกศ 64 6.5 ระบบการจัดการกระบวนงานการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 66

7.1(1) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

70

7.1(2) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

71

7.1(3) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

72

7.1(4) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

72

7.1(5) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน 73 7.1(6) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีติด 0 ร มส. 73 7.1(7) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ

ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 74

7.1(8) แผนภูมิแทงแสดงจํานวนรางวัลเหรียญทองท่ีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนไดรับในการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและระดับชาติ เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน

74

7.1(9) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนดในระดับดีข้ึนไป

75

7.1(10) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

76

Page 9: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพประกอบท่ี หนา 7.1(11) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการเรียนท่ัวไปท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน 76

7.1(12) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนท่ัวไปท่ีติด 0 ร มส.

77

7.1(13) แผนภูมิแทงแสดงนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

77

7.1(14) แผนภูมิแทงแสดงจํานวนรางวัลเหรียญทองการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและชาติ เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน ป 2555-2557 (ม.ปลาย)

78

7.1(15) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองระดับดีข้ึนไปผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

78

7.1(16) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

79

7.1(17) แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบการจัดการศึกษาท่ีประเมินโดยสํานักงานประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษา องคกรมหาชน (สมศ.)

80

7.1(18) แผนภูมิแทงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ตามตัวบงชี้ท่ี 5 เทียบเคียงโรงเรียนคูแขงขัน ปการศึกษา 2555 – 2557

80

7.1(19) แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบผลการสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษากับโรงเรียนคูแขงขัน ปการศึกษา 2555-2557

81

7.1(20) แผนภูมิแทงแสดงจํานวนนักเรียนท่ีมีความรูตอภาวะฉุกเฉินและปฏิบัติงานตามข้ันตอนในการซอมรับภาวะฉุกเฉิน

81

7.1(21) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติเม่ือเกิดภาวะฉุกเฉิน 82 7.1(22) แผนภูมิแทงแสดงระดับคุณภาพของวัสดุอุปกรณและปจจัยในการพรอมใชใน

ภาวะฉุกเฉิน 82

7.1(23) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของผูสงมอบ ในการดําเนินงานตามขอสัญญา 83 7.1(24) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลการดําเนินงานตามขอกําหนดของผูสงมอบ 83 7.1(25) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครูและบุคลากร ตอการ

ปฏิบัติงานของผูสงมอบ 84

7.2(1) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนกลุมท่ัวไป ตอหลักสูตร การจัดการเรียนรูและบริการเสริมอ่ืนๆ

85

7.2(2) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษ เนนภาษาอังกฤษ (EP) ตอหลักสูตรการจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

85

Page 10: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญภาพ (ตอ) ภาพประกอบท่ี หนา

7.2(3) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ตอหลักสูตร การจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

86

7.2(4) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ตอหลักสูตร การจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

86

7.2(5) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ตอแผนการเรียน

87

7.3(1) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีเขารับการพัฒนาทางวิชาการมากกวา 20 ชั่วโมงตอป

88

7.3(2) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีมีวิทยฐานะสูงข้ึน 88 7.3(3) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีมีความรูและทักษะการใชภาษาอังกฤษ

และทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระดับดี 89

7.3(4) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการใหบริการสนับสนุนครู 89 7.3(5) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจตอการจัดบริการสิทธิประโยชนและ

บรรยากาศในการทํางาน 90

7.3(6) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกิจกรรมท่ีชวยสรางความผูกพัน 90

7.3(7) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของการใหบริการดานสิทธิประโยชนและสวัสดิการ 91 7.3(8) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของการพัฒนาบุคลากร 91 7.4(1) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกลไกการสื่อสาร 92 7.4(2) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลดานการนําองคกร 93 7.4(3) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพในการบริหารดานการเงินของโรงเรียน 93 7.4(4) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพในการกํากับดูแลใหครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาปฏิบัติตามกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม จัดกิจกรรมชวยเหลือสังคม และการใหบริการชุมชนตามขอเรียกรอง

94

7.4(5) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของสังคมและชุมชนตอการใหบริการของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

95

7.4(6) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ ป 2555-2557

96

7.4(7) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ 96

Page 11: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

สารบัญภาพ (ตอ)

ภาพประกอบท่ี หนา 7.5(1) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการบริหารดานการเงินใหบรรลุตาม

วัตถุประสงค 97

7.5(2) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของหนวยงานท่ีบริหารงบประมาณตามท่ีไดรับจัดสรรและดําเนินโครงการ/กิจกรรมบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย

98

7.5(3) แผนภูมิแทงแสดงรายไดสถานศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ ป 2555-2557 98 7.5(4) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของเงินบริจาคตอป 99 7.5(5) แผนภูมิแสดงรอยละของคาใชจายคาสาธารณูปโภคโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ระหวาง ป 2555-2557 99

7.5(6) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกลไกสรางความสัมพันธนักเรียนในอนาคต

100

Page 12: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

โครงสรางการบริหารงานโรงเรียนสตรสีิริเกศ จังหวัดศรีสะเกษ

คณะกรรมการบริหารโรงเรียน

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

โรงเรียนสตรีสิริเกศ ผูอํานวยการ สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียน

สตรีสิริเกศ

สมาคมศิษยเกาสตรีสิริเกศ มูลนธิิธีโอ ศรีเอียรดสมา

มูลนธิิหมอมคําเมียง ชุมพล ณ อยุธยา มูลนธิิสิริเกศ

รองผูอํานวยการ กลุมบรหิารงานท่ัวไป

รองผูอํานวยการ กลุมบรหิารงานบุคคล

รองผูอํานวยการกลุมบริหารงาน

งบประมาณและแผนงาน รองผูอํานวยการ

กลุมบรหิารงานวิชาการ

1. งานสํานักงานกลุมบริหารงานวิชาการ 2. งานพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจดัการเรียนการสอน 3. งานกลุมสาระฯ และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 4. งานทะเบียนวัดและประเมินผล 5. งานนิเทศภายใน 6. งานพัฒนาสื่อการจัดการเรียนรู 7. งานวิจัยและพัฒนา 8. งานแนะแนว 9. งานโรงเรียนมาตรฐานสากล 10. งานโรงเรียนวิถีพุทธ 11. งานโรงเรียนปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 12. งานศูนยอิริก 13. งานศูนยภาษาตางประเทศ

1. งานสํานักงานกลุมบริหารงานงบประมาณฯ 2. งานธุรการ 3. งานการเงินและบัญชี 4. งานพัสดุ 5. งานแผนงาน 6. งานประกันคุณภาพการศึกษา 7. งานสารสนเทศโรงเรียน

1. งานสํานักงานบริหารงานบุคคล 2. งานกิจการนักเรียน 3. งานสารวัตรนักเรียน 4. งานวิทยุสื่อสารและ กลองวงจรปด 5. งานประกันอุบัติเหต ุ6. งานสงเสริมประชาธิปไตยและงานสภานักเรียน 7. งานระเบียบวินัยและคณุธรรมจริยธรรม 8. งานระบบการดูแลชวยเหลือนักเรียน 9. งานโรงเรียนสุจรติ 10. งานสถานศึกษาสีขาว 11. งานบริหารงานบุคคล 12. งานจัดทําทะเบียนประวัติขาราชการครูและบุคลากร 13. งานประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร 14. งานเวรยามรักษาความปลอดภัย

1. งานสํานักงานกลุมบริหารงานท่ัวไป 2. งานอาคารสถานท่ีและแหลงเรียนรู 3. งานประชาสัมพันธ 4. งานอนามัยโรงเรยีน 5. งานหองสมุด 6. งานสหกรณเพ่ือการศึกษา 7. งานสวัสดิการและกองทุน 8. งานโสตทัศนศึกษา 9. งานสวัสดิการนํ้าดื่ม 10. งานโรงเรียนกับชุมชนและภาคีเครือขาย 11. งานโภชนาการและศูนยอาหาร 12. งานศูนยสิ่งแวดลอมศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ 13. งานยานพาหนะ 14. งานธนาคารโรงเรียน 15. งานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเครือขาย 16. งานดนตรีศึกษา

Page 13: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

โครงรางองคกร (Organization Profile)

1. ลักษณะขององคกร (Organization Description) โรงเรียนสตรีสิริเกศกอตั้งข้ึนเม่ือป พ.ศ. 2482 นับถึงปจจุบันเปนระยะเวลา 76 ป เปดสอน

ในระดับ ป.1, ป.4 และ ม.1 ป พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชและสมเด็จพระนางเจาสิริกิติติ์พระบรมราชินีนาถทรงเสด็จพระราชดําเนินเยี่ยมราษฎรเมืองศรีสะเกษและไดเสด็จมาท่ีโรงเรียนสตรีประจําจังหวัดศรีสะเกษซ่ึงเปนชื่อโรงเรียนในสมัยนั้น พระองคไดพระราชทานทรัพยสวนพระองคในการพัฒนาโรงเรียนพรอมพระราชทานนาม “สิริเกศ” เปนชื่อโรงเรียน โรงเรียนจึงไดเปลี่ยนชื่อจากโรงเรียนสตรีประจําจังหวัดศรีสะเกษเปนโรงเรียนสตรีสิริเกศอันเปนมงคลนามตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา นับเปนพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพนและเปนศิริมงคลของคณะครูและบุคลากรตลอดจนนักเรียนตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

ตลอดระยะเวลากวา 70 ปท่ีผานมา โรงเรียนไดสั่งสมประสบการณการจัดการศึกษา สรางกุลบุตรกุลธิดาใหเปนคนดี คนเกง และอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ก็ดวยครูและผูบริหารทุกสมัยท่ีมีความมุงม่ันในการพัฒนาโรงเรียน มีจิตสํานึกและยึดม่ันในอุดมการณของความเปนครู มีความรักความเมตตาและตั้งใจอบรมสั่งสอนศิษย ประดุจดังลูกของตน จนกลายเปนวัฒนธรรมท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษาถือปฏิบัติ โรงเรียนจึงไดรับการยอมรับและเปนไววางใจจากผูปกครองและชุมชนในจังหวัดศรีสะเกษและใกลเคียง ก. สภาพแวดลอมขององคกร (Organization Environment) (1) หลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน และบริการอ่ืนๆ (ผลิตภัณฑ)

โรงเรียนสตรีสิริเกศ ใชหลักสูตรในการจัดการเรียนการสอนตามกรอบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไดแก หลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553 (ฉบับปรับปรุง 2557) ประกอบดวยแผนการเรียนสําหรับนักเรียนท่ัวไปและแผนการเรียนสําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษดานภาษาอังกฤษ คือ English Program หรือ EP และดานวิทยาศาสตรคณิตศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม และหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553 (ฉบับปรับปรุง 2557) ประกอบดวยแผนการเรียนสําหรับนักเรียนท่ัวไปท่ีจัดโครงสรางของหลักสูตรท่ีเนนสงเสริมศักยภาพของนักเรียน 5 ดาน ไดแก โครงสราง 1 เนนคณิตศาสตร-วิทยาศาสตร โครงสราง 2 เนนคณิตศาสตร-ภาษาอังกฤษ โครงสราง 3 ศิลป-ภาษา (เนนภาษาจีน) โครงสราง 4 ศิลป-ภาษา (เนนภาษาญี่ปุน) และโครงสราง 5 อ่ืนๆ ตามความถนัดและสนใจ และแผนการเรียนสําหรับนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษดานภาษาอังกฤษคือ Mini English Program (MEP) และดานวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม

การจัดการเรียนการสอนและบริการเสริมอ่ืนๆ โรงเรียนไดจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและโครงสรางของหลักสูตรโรงเรียน โดยจัดบริการสงเสริมการเรียนรูและบริการอ่ืนๆ เพ่ือใหการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และศักยภาพของนักเรียน

Page 14: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

2

ไดแก การสืบคนผานระบบขอมูลสารสนเทศ (ICT) ระบบแนะแนวการศึกษา ระบบการดูแลชวยเหลือผูเรียน ระบบดูแลรักษาความปลอดภัย จัดศูนยสงเสริมการเรียนรูท่ีสําคัญ อาทิ ศูนยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (ERIC) ศูนย สิ่ งแวดลอม ศึกษาจั งหวัดศรี สะ เกษ ศูนยการ เรี ยนรูภาษาตางประเทศท่ีสองหรือภาษาตะวันออก (ภาษาจีน ภาษาญี่ปุน ภาษาเวียดนาม ภาษาเขมร ภาษาลาว) ศูนยอาเซียนศึกษา หองสมุดดิจิตอล ศูนยการเรียนรูศิลปวัฒนธรรมพ้ืนบานอีสาน ศูนยบริการเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเครือขาย เปนตน

(2) วิสัยทัศนและพันธกิจ คานิยมท่ีโรงเรียนสตรีสิริเกศยึดถือปฏิบัติ คือ การทํางานเปนระบบ (System) โดยมุงเนนความพึงพอใจของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียของโรงเรียน เปนสําคัญ (Satisfaction) และใชความรูเปนฐานในการบริหารจัดการ (Knowledge-Based Management) คานิยมดังกลาวโรงเรียนกําหนดใหเปนองคประกอบสําคัญในการวัดประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานของหนวยงาน หรือ SSK-Model มีวัฒนธรรมท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษาถือปฏิบัติสืบตอกันมาคือ รวมมือรวมใจจัดการศึกษาใหนักเรียนมีพัฒนาการตามศักยภาพและเอาใจใสลูกศิษยเสมือนดั่งลูกของตน และไดกําหนดใหเปนวัฒนธรรมของโรงเรียนคือ ครูอบรมสั่งสอนศิษยดวยความรักและเมตตา วิสัยทัศน สตรีสิริเกศมุงม่ันจัดการศึกษาสูมาตรฐานสากลบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง พันธกิจ 1. พัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเทียบเคียง

มาตรฐานสากล 2. พัฒนาการใหบริการทางการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาครูและบุคลากรใหมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. พัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษาตามขอกําหนดของเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาติ

เปาประสงค 1. ผูเรียนมีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเทียบเคียงมาตรฐานสากล 2. โรงเรียนใหบริการทางการศึกษาอยางมีประสิทธิภาพ 3. ครูและบุคลากรมีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. โรงเรียนมีระบบบริหารจัดการศึกษาตามขอกําหนดของเกณฑรางวัลคุณภาพแหงชาต ิ

คําขวัญ วิชาการเดน เนนคุณธรรม ผูนําดานกีฬา เห็นคุณคาความเปนไทย กาวไกลสูสากล ปรัชญาของโรงเรียน ปฺญา นรานํ สิริ ปญญาเปนสิริ คือ ม่ิงขวัญของคนท้ังหลาย สมรรถนะหลักของโรงเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตามคานิยมและวัฒนธรรมอยางเครงครัด ผูบริหารมีการบริหารจัดการศึกษาเปนระบบ ครูมีสมรรถนะสูงตามมาตรฐานวิชาชีพ มุงม่ันใหบริการทางการศึกษาท่ีมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตามเปาประสงคท่ีโรงเรียนกําหนด

(3) ลักษณะโดยรวมของบุคลากร ขอมูลครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ แสดงไดตามตาราง P1 ดังนี้ โรงเรียนมีขาราชการครูท้ังสิ้น 146 คน มีบุคลากรทางการศึกษา ประกอบดวย พนักงานราชการ 4 คน ครูพิเศษท่ีโรงเรียนใหทําหนาท่ีครู ในอัตราครูจางจํานวน 43 คน ลูกจางประจํา 8 คน เจาหนาท่ีสํานักงาน 4 คน และอ่ืนๆ 10 คน รวมท้ังอาสาสมัครท่ีเปนชาวประเทศ

Page 15: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

3

ญีปุนจํานวน 1 คน ในสวนของขาราชการครู เม่ือจําแนกตามวิทยฐานะ พบวา ครูมีวิทยฐานะชํานาญการพิเศษจํานวน 122 คน วิทยฐานะชํานาญการ 8 คน ท่ียังไมไดรับวิทยฐานะ 16 คน

ตาราง P1 จํานวนครูและบุคลากรโรงเรียนสตรีสิริเกศ แยกประเภทตามกลุมสาระการเรียนรู วุฒิการศึกษา วิทยฐานะ ประจําปการศึกษา 2558

ขอมูล ณ วันท่ี 21 กันยายน 2558

ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ ช ญ

ฝายบริหาร 4 1 5 2 1 2 5 0

ภาษาไทย 1 1 3 10 15 3 7 5 15 0

คณิตศาสตร 1 1 1 3 2 10 18 1 6 2 9 18 -4

สังคมศึกษาฯ 1 1 5 11 18 3 8 3 4 18 -1

วิทยาศาสตร 3 2 3 4 12 24 3 6 4 10 1 24 +2

รูศิลปศึกษา 1 4 2 7 1 2 4 7 -1

สุขศึกษา 7 1 8 3 4 1 8 0

ภาษาตางประเทศ 2 1 15 18 12 1 5 18 -12

การงานอาชีพฯ 0 0

- ธุรกิจ 2 4 6 2 2 2 6 +2

- คอมพิวเตอร 3 5 8 1 2 5 8 0

- คหกรรม 4 4 2 1 1 4 +2

- อุตสาหกรรม 3 3 3 3 0

- เทคโนโลยี 1 1 1 1 0

- เกษตร 1 2 3 1 2 3 +1

งานแนะแนว 1 4 5 3 1 1 5 +1

งานหองสมุด 1 2 3 2 1 3 -1

รวมขาราชการครู 1 1 6 8 1 7 39 83 146 0 0 22 52 23 45 2 2 146 -11

พนักงานราชการ 0 3 1 4

ครูพิเศษ 0 16 27 43

ลูกจางประจํา 0 6 2 8

เจาหนาที่สํานักงาน 0 1 3 4

บุคลากรทางการศึกษา 0 1 1

ยามรักษาความปลอดภัย 0 2 1 3

พนักงานทําความสะอาด 0 4 11 15

พนักงานขับรถ 0 1 1

อาสาสมัคร (ชาวญี่ปุน) 0 1 1

รวมทั้งสิ้น 146 13 11 49 99 26 56 2 3 226

ป.เอกประเภทของบุคลากร รวม รวม

จํานวน

ครู

ขาด/เกิน

อันดับ วุฒิการศึกษา

ครูผูชวย คศ.1 คศ.2 คศ.3 ต่ํากวา ป.ตรี ป.โท

Page 16: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

4

เม่ือจําแนกตามวุฒิการศึกษา พบวา สวนมากมีการศึกษาในระดับปริญญาตรีจํานวน 74 คน ระดับปริญญาโท 68 คน ปริญญญาเอก 4 คน อายุเฉลี่ย 52 ป อายุราชการเฉลี่ย 28 ป จากขอมูลดังกลาว แสดงใหเห็นถึงสมรรถนะดานครูและบุคลากรทางการศึกษาในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในดานการใหบริการสิทธิประโยชนท่ีกําหนดโรงเรียนไดปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางมีประสิทธิภาพ และการใหบริการสวัสดิการเพ่ิมท่ีชวยสงเสริมการทํางานของครูและบุคลากรทางการศึกษา อาทิเชน จัดใหมีหองสํานักงาน บริการน้ําดื่มน้ําใช รานสวัสดิการ โรงอาหาร อินเทอรเน็ต โทรศัพทภายใน วิทยุสื่อสาร ยานพาหนะ หองสมุด กองทุนฯ มีการสรางขวัญกําลังใจแกบุคลากรและครอบครัวในโอกาสตางๆ การทําประกันชีวิตและอุบัติเหตุ การบริการดานสุขภาพและความปลอดภัย จัดเวรยามรักษาการณภายในบริเวณโรงเรียนตลอด 24 ชั่วโมง ท้ังในวันราชการและวันหยุดราชการ จัดใหมีหองพยาบาลเจาหนาท่ีพยาบาล มีเวชภัณฑจําเปนเบื้องตน และมีบริการตรวจสุขภาพประจําป เปนตน

(4) สินทรัพย โรงเรียนสตรีสิริเกศมีสินทรัพยดังนี้ ดานอาคารสถานท่ี โรงเรียนมีท่ีดิน จํานวน 26 ไร 2 งาน 76.8 ตารางวา มีอาคารเรียน 7 หลัง อาคารประกอบ 16 หนวย หองเรียนและหองพิเศษท่ีสามารถใหบริการการจัดการเรียนการสอนอยางเพียงพอและมีคุณภาพ อาคารศูนยกีฬาเฉลิมพระเกียรติฯ สนามกีฬา และแหลงเรียนรูตางๆ ท่ีจัดเปนศูนยสงเสริมการเรียนรูท่ีสําคัญดังกลาวมาแลวขางตน ดานส่ืออุปกรณการเรียนการสอนและส่ิงอํานวยความสะดวก ประกอบดวย เครื่องฉายภาพเสมือนจริง เครื่องขยายเสียงประจําหองเรียน โทรศัพท รถยนต รถจักรยานยนต เครื่องอัดสําเนาพรอมเย็บ เครื่องตรวจขอสอบ เครื่องฉายโปรเจคเตอร กระดานอัจฉริยะ หองเรียน GSP หองเรียนไรพรมแดน หองเรียนตนแบบดวยการนําเทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการเรียนการสอน เปนตน ดานส่ือเทคโนโลยี ประกอบดวย คอมพิวเตอรสนับสนุนการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร 91 ชุด (เฉลี่ย 1 เครื่อง : 1.60 คน) หองเรียนคอมพิวเตอร 5 หอง และหองเรียน GSP 1 หอง ซ่ึงมีคอมพิวเตอรเพ่ือจัดการเรียนการสอน 358 ชุด คอมพิวเตอรเพ่ือการสืบคนสําหรับหองสมุดดิจิตอล 33 ชุด โรงเรียนจึงทําขอตกลงกับ บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด ใหเปนผูสงมอบอุปกรณคอมพิวเตอรสําหรับหองเรียนคอมพิวเตอรพรอมระบบ E-Learning 46 ชุด (จัดการเรียนการสอนคอมฯ 1 เครื่อง : 1 คน) คอมพิวเตอรเพ่ือการสืบคนสําหรับหองเรียนพิเศษ 16 ชุด สําหรับหองบริการอินเตอรเน็ต 15 ชุด (เพ่ือการศึกษาคนควาของนักเรียนเฉลี่ย 1 เครื่อง : 45.38 คน) มีระบบสัญญาณอินเตอรเน็ตไรสาย (WIFI) และระบบเครือขายเฉพาะบริเวณ (LAN) ครอบคลุมท้ังโรงเรียน ดวยสัญญาณอินเตอรเน็ตของโครงการ UniNet ความเร็ว 100 Mbps และสัญญาณจากผูสงมอบคือ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ความเร็ว 50 Mbps (5) กฎระเบียบขอบังคับ โรงเรียนสตรีสิริเกศเปนสวนราชการในบังคับบัญชาของสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีสถานะเปนนิติบุคคลตามกฏหมายวาดวยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนั้น กฎระเบียบขอบังคับ และประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ จึงเปนสิ่งท่ีโรงเรียนสตรีสิริเกศถือปฎิบัติรวมท้ังพระราชบัญญัติทางการศึกษาท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เชน ในสวนการบริหารงานบุคคล กฎ กคศ. ท่ีออกโดยสํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เปนขอบังคับท่ีโรงเรียนใหครูและบุคลากรทางการศึกษาถือปฏิบัติ การใหบริการดานหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนไดยึดหลักการและวิธีการจัดการศึกษาของ

Page 17: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

5

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 เปนกรอบการจัดทําหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ท้ังระดับมัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย รวมถึงแผนการเรียนท่ีสงเสริมความสามารถพิเศษเฉพาะดาน ตองยึดระเบียบของกระทรวงศึกษาธิการ สําหรับการบริการอ่ืนๆ ท่ีสนับสนุนใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีประสิทธิภาพ ไดยึดถือกฎระเบียบท่ีเก่ียวของอยางเครงครัด อาทิเชน กฏกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ระเบียบกระทรวงศึกษา วาดวย การบริหารขอมูลสารสนเทศดานการศึกษา พ.ศ. 2554 พระราชบัญญัติ วาดวย การกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 กฏระเบียบวาดวยการเงินและพัสด ุ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวย การพานักเรียนและนักศึกษาไปนอกสถานศึกษา พ.ศ. 2548 ในสวนของสภาพแวดลอมสุขอนามัย ยึดถือกฏระเบียบเก่ียวกับสาธารณสุขและความปลอดภัยในสถานศึกษา ในสวนของจริยธรรมโรงเรียน ไดใหครูและบุคลากรยึดจรรยาบรรณวิชาชีพเปนสิ่งสําคัญท่ีตองถือปฏิบัติ ข. ลักษณะองคกร : ความสัมพันธระดับองคกร (1) โครงสรางขององคกร โรงเรียนสตรีสิริเกศไดออกแบบโครงสรางขององคกรโดยคํานึงถึงภารกิจหลักในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามขอเสนอโรงเรียนนิติบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) และคํานึงถึงภาระงานของโรงเรียนมาตรฐานสากลรวมท้ังไดสอดคลองกับการจัดการศึกษาตามเกณฑรางวัลคุณภาพ ดังไดแสดงตามแผนภาพโครงสรางการบริหาร จากแผนภาพดังกลาว โรงเรียนไดแบงกลุมภาระงานท่ีสําคัญเปน 4 กลุมบริหารงาน ไดแก กลุมบริหารงานงบประมาณและแผนงาน กลุมบริหารงานวิชาการ กลุมบริหารงานบุคคล และกลุมบริหารงานท่ัวไป โดยมีรองผู อํานวยการท่ีไดรับการแตงตั้งจากสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 เปนผูรับผิดชอบในแตละกลุมบริหารงาน โรงเรียนไดกําหนดหนวยงานท่ีทําหนาท่ีเปนกลุมงาน มีบทบาททําหนาท่ีและความรับผิดชอบตามท่ีกําหนดไวในคูมือการปฏิบัติงานเปนการสนับสนุนการทํางานในแตละกลุมบริหารงาน

(2) นักเรียนและผูเกี่ยวของ กลุมนักเรียน โรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดคัดเลือกนักเรียน ตามหลักเกณฑและวิธีการของ สพฐ. คือ กําหนดใหโรงเรียนมีเขตพ้ืนท่ีบริการ สําหรับโรงเรียนสตรี- สิริเกศ มีเขตพ้ืนท่ีบริการ ไดแก เขตอําเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ตําบลเมืองเหนือ ตําบลเมืองใต ตําบลโพธิ์ (หมูท่ี 8, 9 และ 10) ตําบลหนองครก (หมูท่ี 5, 6 และ 8) ตําบลหญาปลอง (หมูท่ี 8 และ 11) ตําบลน้ําคํา (หมู 2, 8 และ 11) ตําบลโพนขา (หมูท่ี 6) เขตพ้ืนท่ีท่ัวไป หมายถึง นักเรียนท่ีอยูนอกเขตพ้ืนท่ีบริการ การจัดกลุมนักเรียนในแตละแผนการเรียนท่ีกําหนดไวในหลักสูตรโรงเรียนมีดังนี้

หลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557) แบงเปนกลุมนักเรียนแผนการเรียนนักเรียนท่ัวไป ซ่ึงเปนโครงสรางหองเรียนปกติ เปนกลุมนักเรียนท่ีคัดเลือกโดยการสอบวัดความรูจากกลุมนักเรียนในเขตพ้ืนท่ีบริการและนักเรียนท่ัวไป ในอัตราสวน 40:60 และกลุมนักเรียนแผนการเรียนนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ มีสองโครงสรางคือ โครงสรางท่ีเนนภาษาอังกฤษ รับจากนักเรียนท่ัวไปจํานวน 60 คน 2 หองเรียน และโครงสรางท่ีเนนวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร รับจากนักเรียนท่ัวไปจํานวน 30 คน 1 หองเรียน

Page 18: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

6

หลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ. 2553 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2557) แบงเปนกลุมแผนการเรียนสําหรับนักเรียนท่ัวไปท่ีมุงพัฒนาตามศักยภาพมี 5 โครงสราง ไดแก โครงสรางเนนคณิตศาสตร–วิทยาศาสตร โครงสรางเนนคณิตศาสตร–ภาษาอังกฤษ โครงสรางเนนศิลป-ภาษา (เนนภาษาจีน) โครงสรางเนนศิลป-ภาษา (เนนภาษาญี่ปุน) และโครงสรางอ่ืนๆ ท้ัง 5 โครงสราง รับจากนักเรียนท่ีจบหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับ (มัธยมศึกษาปท่ี 3) จํานวน 383 คน และรับจากนักเรียนท่ัวไปจํานวน 113 คน และกลุมแผนการเรียนนักเรียนท่ีมีความสามารถพิเศษ ไดแก กลุมนักเรียนหองเรียนพิเศษ Mini English Program (MEP) รับจํานวน 28 คน 1 หองเรียน และกลุมนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร คณิตศาสตร (Gifted) รับจํานวน 33 คน 1 หองเรียน นักเรียนหองเรียนพิเศษท้ังสองกลุม รับจากนักเรียนท่ัวไปโดยวิธีการสอบคัดเลือกตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี สพฐ. กําหนด กลุมผูมีสวนไดสวนเสีย โรงเรียนไดกําหนดผูมีสวนไดสวนเสียท่ีสําคัญไว 3 กลุม ไดแก กลุมผูปกครอง กลุมชุมชน หมายรวมถึง โรงเรียนในกลุมสหวิทยาเขตฯ องคกรภาครัฐและเอกชนท่ีอยูในเขตพ้ืนท่ีบริการ พ้ืนท่ีใกลเคียง กลุมหนวยงานตนสังกัด ไดแก สพม. สพฐ. และกระทรวงศึกษาธิการ (3) ผูสงมอบ พันธมิตรและผูใหความรวมมือ โรงเรียนสตรีสิริเกศมุงจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายสําคัญ คือ นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางกรศึกษาตามท่ีความคาดหวังของหลักสูตรฯ และผูมีสวนไดสวนเสียโดยอาศัยความรวมมือจากผูสงมอบ พันธมิตร และผูใหความรวมมือ ดังนี้ ผูสงมอบ โรงเรียนไดพิจารณาคัดเลือกองคกรท่ีมีความสามารถเฉพาะมาสนับสนุนชวยเหลือใหการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ ท่ีสําคัญ ไดแก บริษัท บางกอกซอรฟแวร จํากัด ในดานการใหเชาคอมพิวเตอรสําหรับจัดการเรียนการสอนและการสืบคนขอมูลของนักเรียน และบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) ไดทําขอตกลงท่ีจะรวมมือกับโรงเรียนในดานการใหเชาสัญญาณอินเตอรเน็ต ครูชาวตางประเทศท่ีเชี่ยวชาญการสอนวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุน ภาษาจีน ภาษาเขมร ไดทําขอตกลงดานการจัดการเรียนการสอนภาษาตางประเทศภายใตขอกําหนดท่ีโรงเรียนจัดทําข้ึน โดยมีคณะกรรมการฯ ท่ีโรงเรียนแตงตั้งข้ึนทําหนาท่ีกํากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติตามขอตกลงของผูสงมอบ และรายงานผลทุกภาคเรียน พันธมิตร โรงเรียนไดจัดทําขอตกลงความรวมมือกับองคกรการศึกษาท้ังในและตางประเทศ เพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรูและความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา พันธมิตรภายในประเทศท่ีสําคัญ ไดแก โรงเรียนมาตรฐานสากลท่ีพัฒนาอยางเขมขนในเขตจังหวัดสุรินทร บุรีรัมย ศรีสะเกษ (โรงเรียนประสาทวิทยาคาร โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม และโรงเรียนสตรีสิริเกศ) ตกลงความรวมมือดานการพัฒนาระบบบริหารของเครือขายโรงเรียนมาตรฐานสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ ตกลงความรวมมือกับโรงเรียนในดานการพัฒนาทางวิชาการ ศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดศรีสะเกษ ตกลงความรวมมือกับโรงเรียนในกลุมเครือขายเพ่ือรวมกันแกไขบําบัดฟนฟูเด็กเยาวชนและครอบครัว พันธมิตรตางประเทศท่ีสําคัญมีขอตกลงความรวมกันในการแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณการจัดการศึกษาและหลักสูตร แลกเปลี่ยนนักเรียน ครู และวัฒนธรรม ประกอบดวย สํานักงานกิจการชาวจีนโพนทะเลหรือเฉียวปน สํานักงานสงเสริมภาษาจีนสูสากลแหงประเทศจีนหรือฮ้ันปาน มหาวิทยาลัยซีหนานหลินเย เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน ประเทศ

Page 19: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

7

สาธารณรัฐประชาชนจีน โรงเรียนกวกห็อคเอว จังหวัดเว ประเทศเวียดนาม วิทยาลัยครูเสียมเรียบ จังหวัดเสียมเรียม ประเทศกัมพูชา ผูใหความรวมมือ โรงเรียนมีองคกรท่ีใหการสนับสนุนชวยเหลือโรงเรียนเปนหลักท่ีสําคัญ ไดแก สมาคมผูปกครองและครูโรงเรียนสตรีสิริเกศ สมาคมศิษยเกาสตรีสิริเกศ มูลนิธิธีโอศรีเอียรดสมา มูลนิธิสิริเกศ มูลนิธิหมอมคําเมียง ชุมพล ณ อยุธยา โรงเรียนอนุบาลศรีสะเกษ โรงพยาบาลศรีสะเกษ สถานีตํารวจภูธรจังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจังหวัดศรีสะเกษ ศูนยการปองกันและแกไขปญหายาเสพติด ศูนย TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ สํานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัดศรีสะเกษ เปนตน

2. สภาวการณขององคกร

ก. สภาพแวดลอมการแขงขัน (1) ลําดับในการแขงขัน โรงเรียนสตรีสิริเกศมีการพัฒนาการจัดการศึกษาท่ีมุงสู

ความเปนเลิศตามความคาดหวังของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย จากการศึกษาพบวา นักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียคาดหวังใหโรงเรียนจัดการศึกษาไดอยางมีคุณภาพ นักเรียนจบหลักสูตรฯ สามารถศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึนไดตามความคาดหวัง โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษาของรัฐท่ีมีชื่อเสียง รวมท้ังผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ความสามารถ และทักษะอยูในลําดับตนของประเทศ และมีผลปรากฏเปนท่ียอมรับของสังคม เพ่ือใหโรงเรียนมีพัฒนาการดานคุณภาพการศึกษา โรงเรียนใชผลการจัดการศึกษาโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยเปนคูเทียบ จากการศึกษาผลการจัดลําดับคุณภาพการจัดการศึกษาท่ีประเมินโดยสํานักงานประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษาองคกรมหาชน (สมศ.) พบวา โรงเรียนสตรีสิริเกศ จัดการศึกษามีคุณภาพในระดับท่ีดี คะแนนเฉลี่ยรอยละ 86.37 สวนโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยจัดการศึกษามีคุณภาพในระดับท่ีดีเชนกัน แตมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาโรงเรียนสตรีสิริเกศ คือเฉลี่ยรอยละ 89.20 สําหรับผลการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาของรัฐท่ีมีชื่อเสียง โรงเรียนไดกําหนดไว 6 สถาบัน ไดแก จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยขอนแกน โดยเทียบกับนักเรียนท่ีสอบไดในคณะแพทยศาสตร วิศวกรรมศาสตรสถาปตยกรรมศาสตร รัฐศาสตร ทันตแพทยศาสตร อักษรศาสตรและศึกษาศาสตร สําหรับในสวนของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชคะแนนการทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐานหรือ O-NET จากการศึกษาพบวา ในปการศึกษา 2555-2557 เม่ือจัดลําดับภายในกลุมโรงเรียนขนาดใหญพิเศษในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาฯ โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย จัดอยูในลําดับตน มีคะแนนเฉลี่ย 12.47 14.30 และ 10.20 ตามลําดับ สวนโรงเรียนสตรีสิริเกศอยูในลําดับท่ีเปนรอง มีคะแนนเฉลี่ย 10.03 11.50 และ 13.28 ตามลําดับ ในสวนของความสามารถและทักษะท่ีเกิดกับนักเรียน ใชผลการแขงขันทักษะความรูความสามารถ โครงการแขงขันศิลปหัตถกรรมของ สพฐ. ในระยะ 3 ป ท่ีผานมา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีจํานวนเหรียญทอง จํานวนเหรียญเงิน และเหรียญทองแดง ในการแขงขันระดับชาติไดใกลเคียงกับโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย

(2) การเปล่ียนแปลงความสามารถในการแขงขัน ผลการเปรียบเทียบผลการจัดการศึกษา โรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย พบวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีผลการจัดลําดับคุณภาพการจัด

Page 20: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

8

การศึกษาท่ีประเมินโดย สมศ. มีจํานวนเหรียญการแขงขันศิลปหัตถกรรมของสพฐ. อยูในระดับเดียวกัน แตในดานผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) โรงเรียนสตรี- สิริเกศ มีผลสัมฤทธิ์ท่ีมีแนวโนมสูงข้ึน ขณะท่ีโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยมีแนวโนมลดลง แตในดานผลการสอบเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษาท่ีมีชื่อเสียงยังเปนความทาทายของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

(3) แหลงขอมูลเชิงเปรียบเทียบ โรงเรียนสตรีสิริ เกศนําขอมูลมาพิจารณาเปรียบเทียบลําดับในการแขงขันดังนี้ 1) คุณภาพการจัดการศึกษาท่ีประเมินโดยสํานักงานประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษาองคกรมหาชน (สมศ.) 2) ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) จากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ 3) ผลการสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาผลการสอบคัดเลือกโควตารับตรง 4) ผลการแขงขันทักษะวิชาการ

ข. บริบทเชิงกลยุทธ โรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดกําหนดประเด็นท่ีใชเทียบกับโรงเรียน

ศรีสะเกษวิทยาลัย 4 ประเด็น ไดแก ผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ผลการศึกษาตอในมหาวิทยาลัยท่ีมีชื่อเสียง ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ผลการแขงขันความรูความสามารถและทักษะ ระดับประเทศและระดับนานาชาติ ขอมูลท้ัง 4 ประเด็น โรงเรียนไดนํามาวิเคราะหประเด็นท่ีเปนความทาทาย และประเด็นท่ีเปนความไดเปรียบเชิงกลยุทธเพ่ือนําไปสูการกําหนดกลยุทธ ดังนี้ ประเด็นท่ีเปนความทาทายท่ีสําคัญ ไดแก ผลการศึกษาตอในมหาวิทยาลัยท่ีมีชื่อเสียงของรัฐในคณะสําคัญๆ ซ่ึงเปนประเด็นสําคัญท่ีเปนความคาดหวังของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย ประเด็นความไดเปรียบกลยุทธ โรงเรียนสตรีสิริเกศมีครูและบุคลากรท่ีมีความมุงม่ันในการจัดการเรียนการสอนสูความเปนเลิศ การบริหารจัดการท่ีมีความเปนระบบท่ีสามารถตรวจสอบได โรงเรียนเปนท่ีตั้งของศูนยพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (ERIC) และศูนยวิชาการตางๆ รวมท้ังมีผลการแขงขันความรูความสามารถและทักษะในระดับนานาชาติ จากประเด็นท่ีกลาวมานั้น โรงเรียนสตรีสิริเกศไดใชความไดเปรียบในการพัฒนาการจัดการศึกษาและการนําระบบบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพมาใช ซ่ึงโรงเรียนถือวาเปนโอกาสท่ีจะทําใหโรงเรียนพัฒนาไปได

ค. ระบบการปรับปรุงผลการดําเนินงาน โรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดใชระบบการบริหารจัดการคุณภาพ 2 ระบบ คือ ระบบงาน

ประจําตามโครงสรางการบริหาร ท่ีมีบทบาท หนาท่ี ความรับผิดชอบและมาตรฐานการปฏิบัติงาน เปนกรอบในการกํากับและปรับปรุงผลการดําเนินการ และการดําเนินงานตามแผนกลยุทธภายใตแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระยะ 4 ป และแผนปฏิบัติการประจําป โดยมีเปาหมายสําคัญคือ มาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียน ท่ีมีตัวชี้วัดและคาเปาหมาย เปนตัวกําหนดความสําเร็จของผลการดําเนินการ

การดําเนินการเพ่ือความสําเร็จตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของหนวยงานและมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดใชระบบการปรับปรุงผลการดําเนินการ ดังนี้

Page 21: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

9

1) ระบบประกันคุณภาพการศึกษาท่ีใชทบทวน กํากับ และประเมินคุณภาพท้ังภายในและภายนอกเปนเครื่องมือในการปรับปรุงผลการดําเนินการอยางตอเนื่อง

2) ระบบการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ สทศ. นํามาใชในการปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนการสอนในแตละกลุมสาระการเรียนรู

3) ระบบการประเมินประสิทธิภาพการดําเนินงานของหนวยงาน และการดําเนินกิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ตามแผนปฏิบัติการประจําป และการพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ โดยใช SSK-Model เปนเครื่องมือประเมิน ซ่ึงประกอบดวย S หมายถึง System เปนองคประกอบดานความเปนระบบของการดําเนินการ ท่ีใชวงจรควบคุมคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle) เปนตัวควบคุม ไดแก ระบบท่ีมีการวางแผน(Plan) การนําแผนไปสูการปฏิบัติ (Do) การประเมินตรวจสอบ (Check) และการปรับปรุงผลการดําเนินการ (Act) หรือ PDCA S หมายถึง Satisfaction เปนองคประกอบดานความพึงพอใจของผูรับบริการ คณะกรรมการและผูบังคับบัญชาในระดับท่ีสูงข้ึนไป K หมายถึง Knowledge-Based Education การจัดการศึกษาของโรงเรียนอยูบนฐานของความรูท่ีเหมาะสม

4) ระบบการประเมินประสิทธิผล โดยใชมาตรฐานการปฏิบัติงานของหนวยงานตามโครงสรางการบริหารและใชมาตรฐานการจัดการศึกษา ตัวชี้วัด และคาเปาหมาย เปนเครื่องมือในการประเมินเพ่ือนําไปสูการปรับปรุงผลการดําเนินการสูความเปนเลิศท่ีเหนือกวาโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยตอไป

Page 22: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

หมวด 1

การนําองคกร

1.1 การนําองคกรโดยผูบริหารระดับสูง โรงเรียนสตรีสิริเกศมีระบบการนําองคกรตามทิศทางการจัดการศึกษาท่ีมุงสูวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค โดยใชคานิยม และวัฒนธรรมองคกรเปนพลังขับเคลื่อนท่ีสําคัญ โดยคํานึงถึงองคประกอบสําคัญดานผูเรียน ครู บุคลากรและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมถึงผูสงมอบ พันธมิตรและผูใหความรวมมือทุกสวนตองเขาใจถึงทิศทางการจัดการศึกษาบนพ้ืนฐานของกฎระเบียบขอบังคับและจรรยาบรรณวิชาชีพครู ผานการสื่อสารสรางความเขาใจแบบสองทิศทาง (Two Way) โดยผูอํานวยการโรงเรียน ระบบการปรับปรุงและการวัดผลการดําเนินการใช SSK-Model เปนเครื่องมือในการตรวจสอบประสิทธิภาพและใชมาตรฐานการปฏิบัติงาน มาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตัวชี้วัด และคาเปาหมายเปนหลักในการวัดประสิทธิผล การจัดการศึกษาของโรงเรียนเนนความเปนระบบ ความสอดคลอง การเรียนรูท่ีกอใหเกิดความยั่งยืนเพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศนท่ีกําหนด สรุปเปนภาพประกอบท่ี 1.1 ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 1.1 แสดงความสัมพันธขององคประกอบของการนําองคกร

Page 23: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

11

ก. วิสัยทัศน คานิยมและพันธกิจ (1) วิสัยทัศนและคานิยม ผูอํานวยการโรงเรียนมีระบบการกําหนดวิสัยทัศนและคานิยมเพ่ือใชเปนทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศท่ีเปดโอกาสใหครู บุคลากร ผูมีสวนไดสวนเสีย และองคกรท่ีใหการสนับสนุน มีสวนรวมในการดําเนินการ กระบวนการกําหนดวิสัยทัศนและคานิยมแสดงไดตามภาพประกอบท่ี 1.2 ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 1.2 แสดงระบบการกําหนดวิสัยทัศนและคานิยม

จากภาพประกอบท่ี 1.2 แสดงระบบการกําหนดวิสัยทัศนและคานิยมซ่ึงมีกระบวนการสําคัญๆ เริ่มจากการแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ประกอบดวย ผูมีสวนเก่ียวของไดแก ฝายบริหาร กลุมบริหารงานท้ัง 4 กลุม ผูแทนครู คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานและผูแทนผูปกครอง จํานวน 40 คน เพ่ือทําหนาท่ีจัดทําวิสัยทัศนและคานิยมของโรงเรียน และนําเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานใหเห็นชอบ คณะกรรมการดังกลาวไดรวบรวมขอมูลพ้ืนฐานของโรงเรียน เพ่ือวิเคราะหศักยภาพของโรงเรียน เชน อัตรากําลังครูและบุคลากร ขอมูลนักเรียน แหลงเรียนรู และผลการสอบ O-NET เปนตน ท่ีสงผลตอการพัฒนาโรงเรียนในอนาคต โดยนํานโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของ สพฐ. นโยบายและจุดเนนของ สพม. 28 ความคาดหวังและความตองการของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย ทบทวนภารกิจของโรงเรียนโดยดูสรุปผลการดําเนินงานของโรงเรียนท่ีผานมา วิเคราะหสถานภาพของโรงเรียนโดยดูปจจัยภายนอก คือ โอกาสและอุปสรรคปจจัยภายในคือ จุดออน จุดแข็ง กําหนดจุดยืนของโรงเรียน โดยเริ่มดวยการ SWOT ผลการ SWOT

Page 24: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

12

พบวา ในป พ.ศ.2556 โรงเรียนสตรีสิริเกศมีจุดยื่นอยูในตําแหนงสถานภาพดาวรุง (Stars) แสดงวา โรงเรียนมีความไดเปรียบเชิงกลยุทธและมีปจจัยภายนอกท่ีเอ้ือตอการจัดการศึกษาของโรงเรียน และกําหนดภาพความสําเร็จของโรงเรียนในระยะสี่ปขางหนา โดยการจัดทํารางวิสัยทัศนและคานิยมเขาสูการพิจารณาของผูมีสวนเก่ียวของ ไดแก สมาคมผูปกครองและครูฯ สมาคมศิษยเกาฯ ชมรมครูเกาฯ ครูและบุคลากร เพ่ือรวมกันแสดงความคิดเห็น ประเมินทบทวนและปรับปรุงแกไขใหสมบูรณโดยผานความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานฯ และประกาศใชวิสัยทัศนและคานิยมเปนทิศทางการจัดการศึกษา ผูอํานวยการการไดสรางความเขาใจใหครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผานกลไกการสื่อสารแบบสองทิศทางท่ีสําคัญ ไดแก การประชุมผูนําหนวยงานในระดับตางๆ ตามโครงสรางการบริหารงาน หนังสือเวียน และเว็บไซต (Website) ของโรงเรียน เปนตน เม่ือนําไปใช คณะกรรมการไดทําการประเมิน ทบทวน ปรับปรุง และพัฒนาวิสัยทัศนและคานิยมของโรงเรียนทุกป โดยใช SSK-Model เปนเครื่องมือเพ่ือใหสอดคลองกับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลงไป

(2) การสงเสริมการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม ผูอํานวยการโรงเรียนเปนแบบอยางท่ีดีในการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม มีการสรางบรรยากาศในการทํางานดวยกระบวนการในการสงเสริมและกํากับดูแลใหครูและบุคลากรยึดม่ันตอการปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรมในการทํางาน ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 1.3 แสดงกระบวนการสงเสริมการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรม

จากภาพประกอบท่ี 1.3 โรงเรียนสตรีสิริเกศ มีกระบวนการสงเสริมการประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและจริยธรรม โดยประการแรก จัดทําคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานจากผูมีสวนเก่ียวของ ประกอบดวย ฝายบริหาร กลุมบริหารงานท้ัง 4 กลุม เจาหนาท่ีกลุมบริหารงานบุคคล และผูแทนครู ประการท่ีสอง คณะกรรมการรวบรวมและจัดทํากฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับแนวปฏิบัติเชน หลักธรรมาภิบาล จรรยาบรรณวิชาชีพครู จริยธรรมในการปฏิบัติงาน ประการท่ีสาม สื่อสารแบบ

Page 25: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

13

สองทิศทาง เชน การประชุมครู หนังสือเวียน เว็บไซดของโรงเรียน เพ่ือใหครูและบุคลากรรับทราบและนําไปปฏิบัติอยางมีจริยธรรมเพ่ือกาวสูการบรรลุวิสัยทัศนของโรงเรียน ประการท่ีสี่ จัดกิจกรรมสนับสนุนเพ่ือเสริมแรงและสรางขวัญกําลังใจใหกับครูและบุคลากร เชน มอบเกียรติบัตรครูดีเดน ครูไมมีวันลา ครูดีในดวงใจ ฯลฯ ประการท่ีหา กํากับติดตามโดยใช SSK-Model เปนเครื่องมือในการกํากับติดตาม และโรงเรียนมีการทบทวนและประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรม และประเมินประสิทธิผลตามคาเปาหมายท่ีกําหนด คณะกรรมการไดนําผลมาวิเคราะห ปรับปรุงและพัฒนาเพ่ือใหเกิดความตอเนื่องเขาสูรอบการดําเนินการในชวงตอไป

(3) การสรางความย่ังยืนใหกับโรงเรียน ผูอํานวยการโรงเรียนมีวิธีการสรางความยั่งยืนใหกับโรงเรียน โดยมีระบบการสรางความยั่งยืน ดังนี้ ตารางท่ี 1.1 แสดงกระบวนการสรางความยั่งยืนของการดําเนินการสูวิสัยทัศนโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ระบบการสรางความย่ังยืน กระบวนงาน 1. กําหนดผูรับผิดชอบ แตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ประกอบดวย ฝายบริหารและ

ผูแทนครู จํานวน 15 คน 2. วิเคราะหความเสี่ยง กลุมบริหารงานท้ัง 4 กลุมงาน และกลุมสาระการเรียนรู

วิเคราะหความเสี่ยงของตนเอง เชน - กลุมบริหารงานวิชาการ ไดแก เรื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การติด 0 ร มส. การสําเร็จการศึกษาพรอมรุน เปนตน - กลุมบริหารงานงบประมาณและแผนงาน ไดแก เรื่อง การจัดซ้ือจัดจาง การเบิกจายเงิน ระบบบัญชี เปนตน - กลุมบริหารงานบุคคล ไดแก เรื่อง อัตรากําลัง การปฏิบัติตามกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพครู เปนตน - กลุมบริหารงานท่ัวไป ไดแก เรื่อง ความปลอดภัยของอาคารสถานท่ี การจัดบรรยากาศสภาพแวดลอม อาคารสถานท่ี เปนตน

3. จัดทําแผนบริหารความเสี่ยง แตละกลุมบริหารงาน กลุมงาน กลุมสาระการเรียนรู กลุมวิชา จัดทําโครงการ/กิจรรม ทุกปงบประมาณ และดําเนินงานตามโครงการอยางตอเนื่อง จนสําเร็จตามแผนท่ีวางไว และบรรลุวิสัยทัศนของโรงเรียน

4. กํากับติดตามการดําเนินงานแผนบริหารความเสี่ยง

โดยใช SSK–Model ในการกํากับติดตาม โดยคณะกรรมการตรวจสอบมาตรฐานการควบคุมภายใน

5. ประเมินผล โดยใชแบบตรวจสอบมาตรฐานการควบคุมภายในโรงเรียน

โรงเรียนสตรีสิริเกศใชระบบและกระบวนงานตามตารางท่ี 1.1 โดยใชการบริหารความเสี่ยงเขามาเปนหลักในการปองกันมิใหการดําเนินการกิจกรรม/โครงการตามแผนปฏิบัติการประจําปหยุดชะงัก และมีการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของระบบเพ่ือนํามาวิเคราะห ปรับปรุง ใชในรอบการดําเนินการถัดไป

Page 26: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

14

ข. การส่ือสารและผลการดําเนินงานของโรงเรียน (1) ดานการส่ือสาร ผูอํานวยการโรงเรียนมีระบบและกระบวนงานการสื่อสารแบบสองทิศทางไปยัง ครู บุคลากร นักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย แสดงไดตามภาพประกอบท่ี 1.4 ดังนี้

กระบวนการ ผูบริหาร/หัวหนางาน/

หัวหนากลุมสาระฯ ครูและบุคลากร

ผูมีสวนได สวนเสีย

กําหนดหัวขอ ที่จะสื่อสาร

กําหนด วิธีการสื่อสาร

ดําเนินการ สื่อสาร

ทบทวน ตรวจสอบ ประเมินผล การสื่อสาร

ปรับปรุง การสื่อสาร

ภาพประกอบท่ี 1.4 ระบบการสื่อสารของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ระบบและกระบวนงานการสื่อสารของโรงเรียนท่ีแสดงตามภาพประกอบท่ี 1.4 จะมีคณะกรรมการท่ีโรงเรียนแตงตั้งข้ึนใหทําหนาท่ีเปนคณะทํางานในการขับเคลื่อนระบบโดยมีผูอํานวยการเปนประธาน รองผูอํานวยการท้ัง 4 กลุมบริหารงาน เปนรองประธาน หัวหนากลุมสาระ

ถายทอด สื่อสาร/ ประชุม/ Social Network/ เสยีงตามสาย/ หนังสือเวียน/ ประกาศ/ E-Office/ สมัมนา/ โทรศัพท/ จดหมาย

อยางตอเน่ืองและทุกครั้งทีม่ีการเปลี่ยนแปลง

ปรับปรุงวิธีการสื่อสาร

ตอบแบบสอบถาม/

แบบสํารวจความพึงพอใจ ปละ 1 ครั้ง

วิสัยทัศน/ เปาประสงค/ พันธกิจ/ กลยุทธ/ คานิยม

ขอกฎหมาย ระเบียบ

ตรวจสอบผลการดาํเนินงาน ปละ 1 ครั้ง

ทบทวนโดย SSK-Model/

ขอมูลปอนกลับ

ประชุม/ Social Network/ เสียงตามสาย/ หนังสือเวียน/ประกาศ/ E-Office/ สัมมนา/โทรศัพท/ จดหมาย/ กลองรับความคิดเห็น/ สายตรงผูบริหาร/ แผนปฏบิัติการประจําป/ รายงานประจําป

แผนปฏิบตัิการประจําป ถายทอด/สื่อสารไปยงัครู บุคลากร

นักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย รายงานประจําป

Page 27: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

15

การเรียนรู เปนกรรมการ โดยมีงานโรงเรียนมาตรฐานสากล เปนกรรมการและเลขานุการ มีหนาท่ีขับเคลื่อนระบบและกระบวนงาน และประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการสื่อสาร วิเคราะห ปรับปรุง เพ่ือพัฒนาการสื่อสารในรอบการดําเนินการถัดไป การสื่อสารมีระบบและกระบวนงานท่ีสําคัญๆ ดังนี้ 1) กําหนดหัวขอท่ีจะสื่อสาร ไดแก วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และคานิยม ขอกฎหมาย ระเบียบ จรรยาบรรณวิชาชีพ

2) กําหนดวิธีการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ เพ่ือใหครู บุคลากร และผูมีสวนไดสวนเสียเขาใจทิศทางการจัดการศึกษา ดวยวิธีการ ประชุม Social Network เสียงตามสาย หนังสือเวียน E-Officeสัมมนา โทรศัพท กลองรับความคิดเห็น สายตรงผูบริหาร แผนปฏิบัติราชการ และรายงานประจําป 3) ดําเนินการสื่อสารเพ่ือนําสูการปฏิบัติในทิศทางเดียวกันภายใตการปฏิบัติตามขอกฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษาตองปฏิบัติอยางจริงจังดวยวีธีการและความถ่ีของการสื่อสาร ดังตารางท่ี 1.2

ตารางท่ี 1.2 แสดงวิธีการและความถ่ีของการสื่อสาร วิธีการ ผูเกี่ยวของ ความถี่ของการส่ือสาร

ประชุมครูและบุคลากรประจําเดือน ครูและบุคลากร 1 ครั้ง/เดือน

ประชุมคณะกรรมการกลุมบริหารงาน คณะกรรมการกลุมบริหารงาน

2 ครั้ง/เดือน

ประชุมกลุมสาระการเรียนรู ครูแตละกลุมสาระการเรียนรู 1 –2 ครั้ง/เดือน ประชุมคณะสี / ระดับชั้น ครูแตละคณะสี / ระดับชั้น 1 –2 ครั้ง/เดือน ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

อยางนอย 2 ครั้ง/ภาคเรียน

โทรศัพทมือถือ/โทรศัพทภายใน คณะครูและบุคลากร ไมจํากัด

สายตรงผูบริหาร นักเรียน ครู บุคลากร และผูมีสวนไดสวนเสีย

ไมจํากัด

เครือขายสังคมออนไลน (Social Network)

คณะครูและบุคลากร ไมจํากัด

ประกาศ เสียงตามสาย หนังสือเวียน คณะครูและบุคลากร ไมจํากัด ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส (E-Office)

คณะครูและบุคลากร ไมจํากัด

แผนปฏิบัติการประจําป นักเรียน ครู บุคลากร และผูมีสวนไดสวนเสีย

1 ครั้ง/ป

รายงานประจําป นักเรียน ครู บุคลากร และผูมีสวนไดสวนเสีย

1 ครั้ง/ป

4) ทบทวน ตรวจสอบ ประเมินผลการสื่อสาร โดยใช SSK-Model เปนเครื่องมือในการกํากับติดตามนําไปสูการดําเนินการบรรลุวิสัยทัศน คานิยม พันธกิจและเปาประสงคอยางยั่งยืน

Page 28: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

16

5) ปรับปรุงวิธีการสื่อสาร เพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศนของโรงเรียน (2) การทําใหเกิดการปฏิบัติอยางจริงจัง ผูอํานวยการโรงเรียน มีวิธีการดําเนินการ

เพ่ือใหครูและบุคลากรมุงเนนการปฏิบัติงานอยางจริงจัง ปรับปรุงกระบวนการทํางาน นําไปสูการสรางนวัตกรรมใหมๆ เพ่ือบรรลุวิสัยทัศนของโรงเรียน ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 1.5 แสดงกระบวนการมุงเนนการปฏิบัติงาน

จากภาพประกอบท่ี 1.5 โรงเรียนสตรีสิริเกศ มีกระบวนการมุงเนนการปฏิบัติงานอยางจริงจังโดย ประการแรก จัดทําคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน ประกอบดวย ฝายบริหาร กลุมบริหารงานท้ัง 4 กลุม เจาหนาท่ีกลุมบริหารงานบุคคล และผูแทนครู ประการท่ีสอง ประชุมชี้แจงมอบนโยบาย กลยุทธ จุดเนนในระดับกลุมบริหารงาน กลุมงาน กลุมสาระการเรียนรู ในสัปดาหแรกของการเปดภาคเรียน ประการท่ีสาม กําหนดแนวทาง วิธีการตรวจสอบ และประเมินผลการปฏิบัติงาน ประการท่ีสาม ดําเนินโครงการ/กิจกรรม ตามแผนปฏิบัติการประจําปของโรงเรียน ประการท่ีสี่ นิเทศตรวจสอบและประเมินผล โดยแตงตั้งผูรับผิดชอบในการนิเทศ ตรวจสอบ และประเมินผล โดยใช SSK-Model เปนเครื่องมือในการกํากับติดตาม และใชมาตรฐานการปฏิบัติงานมัธยมศึกษา พ.ศ.2552 เปนเกณฑในการประเมิน ประการท่ีหา ประชุมสัมมนาเพ่ือวิเคราะหผลการดําเนินงานทบทวนแนวทางการดําเนินงานนําเสนอปญหาหรือขอเสนอแนะ ดําเนินการปละ 1 ครั้ง เม่ือสิ้นสุดปการศึกษา ประการท่ีหก ปรับปรุงแกไขหรือพัฒนา เพ่ือใหบรรลุวิสัยทัศนของโรงเรียน

Page 29: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

17

1.2 การกํากับดูแลองคกรและความรับผิดชอบตอสังคมในวงกวาง ก. การกํากับดูแลโรงเรียน

(1) ระบบการกํากับดูแลโรงเรียน

ภาพประกอบท่ี 1.6 แสดงระบบของการกํากับดูแลการจัดการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ

จากภาพประกอบท่ี 1.6 แสดงระบบการกํากับดูแลการจัดการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ ผานงานประจําตามโครงสรางการบริหารท่ีมี ผูอํานวยการ รองผูอํานวยการ ทําหนาท่ีกํากับดูแลกลุมบริหารงาน กลุมงาน และกลุมสาระการเรียนรู โดยมีมาตรฐานการปฏิบัติงานเปนเปาหมายของการวัดประสิทธิผล ใช SSK-Model เปนเครื่องมือกํากับและประเมินประสิทธิภาพดานกระบวนการรวมท้ังงานดานกลยุทธตามแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศระยะ 4 ป (พ.ศ.2557–2560) และแผนปฏิบัติการประจําป เพ่ือนําไปสูการปฏิบัติโดยมีผูรับผิดชอบกํากับดูแลท้ังในระดับแผนงาน โครงการ และกิจกรรม ตามคําสั่งของโรงเรียน การวัดผลการดําเนินการดานประสิทธิผลใชตัวชี้วัดและคาเปาหมายรายป และคาเปาหมายเม่ือสิ้นสุดแผนกลยุทธ

(2) การประเมินผลการดําเนินการ จากภาพประกอบท่ี 1.6 แสดงระบบการวัดผลการดําเนินการอยางมีข้ันตอน ดานงานประจําตามโครงสรางการบริหาร มีการวัดผลการดําเนินงานระดับกลุมสาระฯ กลุมงาน และกลุมบริหารงาน โดยมีมาตรฐานการปฏิบัติงานเปนเปาหมายความสําเร็จ ในสวนงานกลยุทธท่ีขับเคลื่อนอยางเปนระบบ และมีการวัดผลในระดับกิจกรรม โครงการ และแผนงาน ตามท่ีปรากฏในแผนปฏิบัติการประจําป ท่ีมีตัวชี้วัดและคาเปาหมายเปนเปาหมายความสําเร็จ ระบบ

Page 30: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

18

การดําเนินงานตามแผนกลยุทธยังไดรองรับระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และการประเมินภายนอก

ข. การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายและมีจริยธรรม (1) การประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบ โรงเรียนสตรีสิริเกศเนนกระบวนการ

ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ ขอบังคับของครูและบุคลากรทางการศึกษาอยางเครงครัด

ภาพประกอบท่ี 1.7 แสดงกระบวนการประพฤติปฏิบัติตามกฎระเบียบ ขอบังคับ

โรงเรียนไดเปดชองทางใหนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย รองเรียนตอการประพฤติปฏิบัติท้ังงานประจํา งานตามแผนกลยุทธท่ีไมปฏิบัติตามขอกฎหมาย นําขอมูลมาวิเคราะหเพ่ือตรวจสอบความถูกตอง นําไปแกไขตามประเด็นรองเรียน พรอมท้ังจัดกิจกรรมยกยอง เชิดชูใหกับครูท่ีตั้งใจประพฤติปฏิบัติตาม กฎระเบียบ ขอบังคับ พรอมมอบประกาศนียบัตรเปนการรับรอง (2) การประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม โรงเรียนสตรีสิริ เกศระบบการ การควบคุม ดูแลการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรมของครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยเริ่มท่ีผูอํานวยการโรงเรียนประพฤติ ปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดี อยางมีจริยธรรม มีการบริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สงเสริมใหบุคลากรปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยจัดทําคูมือบุคลากร กําหนดหนาท่ีและมาตรฐานการปฏิบัติงานในแตละตําแหนงเพ่ือเปนแนวปฏิบัติสําหรับบุคลากรทุกคน จัดอบรมและสื่อสารใหครูและบุคลากรของโรงเรียนตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติงานใหเปนไปตามมาตรฐานของตําแหนง มีการกํากับติดตามโดยผูอํานวยการโรงเรียน รองผูอํานวยการ หัวหนากลุมสาระการเรียนรู และหัวหนางาน อยางสมํ่าเสมอ โดยใช SSK-Model เปนเครื่องมือในการกํากับ ติดตาม และประเมินผล หากผานเกณฑจะมีการสงเสริมสนับสนุน หากไมผานเกณฑจะมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพ่ือใหนักเรียน ผูปกครองและผูมีสวนไดสวนเสีย ไดรับการปฏิบัติจากทางโรงเรียนอยางเสมอภาคยุติธรรม และพึงพอใจสูงสุดบนพ้ืนฐานของจรรยาบรรณครู สรุปไดตามภาพประกอบท่ี 1.8

Page 31: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

19

ภาพประกอบท่ี 1.8 แสดงกระบวนการประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม

ค. ความรับผิดชอบตอสังคมในวงกวางและการสนับสนุนชุมชนท่ีสําคัญ โรงเรียนสตรีสิริเกศ ดําเนินการตามทิศทางการจัดการศึกษา โดยคํานึงถึงองคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมและการสนับสนุนชุมชน เขียนเปนความสัมพันธไดดังนี้

ภาพประกอบท่ี 1.9 แสดงองคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมและการสนับสนุนชุมชน

โรงเรียนไดกําหนดองคประกอบของความรับผิดชอบตอสังคมและการสนับสนุนชุมชนของโรงเรียนสตรีสิริเกศ ประกอบดวย องคประกอบท่ีหนึ่ง การสนับสนุนนโยบาย โรงเรียนไดดําเนินการตามนโยบายของทุกสวนท่ีเก่ียวของกับโรงเรียน เชน นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายของ สพฐ. และนโยบายของ สพม. 28 เปนตน องคประกอบท่ีสอง ความผาสุกของสังคม โรงเรียนไดดําเนินการในดานตางๆ เพ่ือใหสังคมเกิดความผาสุก เชน ดานการศึกษา ดานสิ่งแวดลอม และดานสังคม

Page 32: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

20

และวัฒนธรรม องคประกอบท่ีสาม การสนับสนุนชุมชนโรงเรียนไดใหการสนับสนุนชุมชนและบริการสังคมในดานตางๆ เชน บริการดานการศึกษา บริการดานอาคารสถานท่ี บริการดานกิจกรรมชุมชน ท้ังนี้ โรงเรียนไดแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงานตามองคประกอบตางๆ ผานการทบทวน กํากับ และประเมินผลการดําเนินงาน โดยใช SSK-Model เพ่ือปรับปรุงพัฒนาการดําเนินงานตอไป โรงเรียนสตรีสิริเกศ มีวิธีการดําเนินการในแตละองคประกอบ ดังนี้ (1) ความผาสุกของสังคมในวงกวาง โรงเรียนสตรีสิริเกศมีระบบของความรับผิดชอบตอสังคมในมุมกวาง ใน 3 ดาน ไดแก ดานการศึกษา ภารกิจหลักของโรงเรียนสอดคลองกับเปาหมายของชุมชน คือ การพัฒนาผูเรียนใหมีความรูคูคุณธรรม เปนทรัพยากรมนุษยท่ีมีคุณคาของสังคมซ่ึงก็คือบุตรหลานของบุคคลในชุมชน โรงเรียนและชุมชนจึงมีความสัมพันธเชิงรวมมือ โดยโรงเรียนมุงม่ันพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน สวนชุมชนมีบทบาทสนับสนุนภารกิจของโรงเรียน ดานสิ่งแวดลอม โรงเรียนกําจัดขยะมูลฝอยภายในและรอบๆ บริเวณโรงเรียนมีการคัดแยกขยะตามโครงการธนาคารขยะ มีระบบการระบายน้ําท้ิงท่ีดี เพ่ือไมใหเกิดผลกระทบตอสังคมและชุมชนโดยรอบ นอกจากนี้โรงเรียนสตรีสิริเกศเปนศูนยสิ่งแวดลอมศึกษาจังหวัดศรีสะเกษท่ีมีบทบาทในการรณรงคใหความรู จัดกิจกรรม และรวมกิจกรรมเก่ียวกับสิ่งแวดลอม และดานสังคมและวัฒนธรรม โรงเรียนรวมกิจกรรมตางๆ ของชุมชนเพ่ือสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมไทย เชน รวมกิจกรรมวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา งานประเพณีสงกรานต งานเทศกาลดอกลําดวนบาน งานประเพณีลอยกระทง การแสดงวงโปงลาง การบริจาคโลหิต และกิจกรรมจิตอาสาตางๆ (2) การสนับสนุนชุมชน โรงเรียนไดใหการสนับสนุนกิจกรรมของชุมชน การบริการสังคมในดานตางๆ ตามท่ีรองขอ โดยมีหนวยงานรับผิดชอบท่ีปรากฏในโครงสราง มีการประเมินประสิทธิภาพการใหบริการโดยใช SSK-Model และประเมินประสิทธิผลในดานความพึงพอใจ ดังตัวอยางการใหบริการของโรงเรียน อาทิ ดานวิชาการ เชน จัดอบรมใหความรูบริการดานการเปนวิทยากร บริการดานการศึกษาดูงาน บริการดานสื่อนวัตกรรมการเรียนรู บริการแหลงเรียนรู ดานอาคารสถานท่ีเชน หองประชุม สนามกีฬา อาคารเรียน และดานกิจกรรมชุมชน เชน งานประเพณีสงกรานต งานประเพณี 4 เผาไทยศรีสะเกษและเทศกาลดอกลําดวนบาน งานประเพณีลอยกระทง การแสดงวงโปงลางสตรีสิริเกศ เปนตน

Page 33: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

หมวด 2

การวางแผนเชิงกลยุทธ

โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดทําแผนกลยุทธและนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติเพ่ือขับเคลื่อนการจัดการศึกษาของโรงเรียนไปสูผลลัพธของการดําเนินการท่ีเปนเลิศตามท่ีกําหนดไวในวิสัยทัศนถือเปนคุณคาของผลการจัดการศึกษาท่ีใชสนับสนุนในการจัดการศึกษาตอไปแสดงความสัมพันธ ดังภาพประกอบท่ี 2.1

ภาพประกอบท่ี 2.1 วงจรการวางแผนกลยุทธของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

2.1 การจัดทํากลยุทธ

ก. การจัดทํากลยุทธ ในการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาซ่ึงใชหลักการวางแผนกลยุทธ โรงเรียน

ดําเนินการตามกฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

สถานศึกษา พ.ศ.2553 เปนกรอบในการจัดทํา แสดงไดดังภาพประกอบท่ี 2.2 ดังนี้

3 กําหนดกลยุทธ

4 จัดทํา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

5 จัดทํา

แผนปฏิบัติงาน 6

การบริหาร ทรัพยากรและบุคคล

7 การวัด วิเคราะห และการจัดการ

ความรู

8 การปรับปรุง

และรายงานผล

1 การวิเคราะห

SWOT

2 กําหนดมาตรฐานการจัดการศึกษา

ของโรงเรียน

คุณคา (Value) วิสัยทัศน (VISION)

สูความเปนเลิศ (EXELLENCE) ผลลัพธ (RESULT)

SSK-

Valu

e

SSK-Evaluation

SSK-Monitoring

SSK-Model

Page 34: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

22

ภาพประกอบท่ี 2.2 ระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียนสตรีสิริเกศ

จากภาพประกอบท่ี 2.2 แสดงระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีกําหนดไว

ในกฎกระทรวงฯ กําหนดใหสถานศึกษาดําเนินการ 8 ข้ันตอนอยางตอเนื่องและไดกําหนดข้ันตอนให

โรงเรียนจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานแสดงไดดังภาพประกอบท่ี 2.3 ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 2.3 การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ ท่ีมา : กฎกระทรวงวาดวยระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา พ.ศ.2553 ขอ 16

กําหนด

มาตรฐาน

จัดทําแผน

พัฒนา

จัดระบบ

บริหารและสารสนเทศ

ดําเนิน งานตาม

แผน

ติดตาม

ตรวจสอบคุณภาพ

ประเมินคุณภาพภายใน

จัดทํา

รายงานประจําป

พัฒนาคุณภาพ

การศึกษา

1 • ศึกษาสภาพปจจุบันและความตองการ

2 • กําหนดทิศทางการจัดการศึกษา

3 • กําหนดกลยุทธท่ีครอบคลุมมาตรฐาน

4 • กําหนดแหลงวิทยาการสนับสนุน

5 • กําหนดบทบาทของครูและบุคลากร

6 • กําหนดบทบาทของผูมีสวนไดสวนเสีย

7 • บริหารทรัพยากร

8 • จัดทําแผนปฏิบัติการประจําป

การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

Page 35: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

23

ระบบการวิเคราะห SWOT

จากภาพประกอบท่ี 2.2 และ 2.3 โรงเรียนสตรีสิริเกศไดนํามาเปนกรอบในการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียน ซ่ึงใชหลักการวางแผนกลยุทธและการนําแผนพัฒนาไปสูการปฏิบัติ มีกระบวนงานในแตละข้ันตอน ดังนี้ (1) กระบวนการวางแผนกลยุทธโรงเรียน โรงเรียนดําเนินการวางแผนการจัดทํากลยุทธตามท่ีกฎกระทรวงฯ กําหนด (อธิบายไวในภาพประกอบท่ี 2.2 และ 2.3) ตามองคประกอบท่ีหนึ่ง คือ การวิเคราะห SWOT หรือการศึกษาสภาพปญหาและความตองการในภาพประกอบท่ี 2.1 ซ่ึงอธิบายวิธีการดําเนินการดังภาพประกอบท่ี 2.4

(2) กระบวนการวิเคราะหและการกําหนดกลยุทธ

ภาพประกอบท่ี 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห SWOT โรงเรียนสตรีสิริเกศ

การวิเคราะห SWOT โรงเรียนสตรีสิริเกศ ดําเนินการดังนี้ การทบทวนผลการดําเนินการในชวงแผนฯ ท่ีผานมา โรงเรียนไดนําผลการประเมิน

มาตรฐานการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศและแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียน สตรีสิริเกศ ระยะ 4 ป (พ.ศ.2553-2556) เพ่ือวิเคราะหประเด็นท่ีประสบความสําเร็จและประเด็นท่ีตองปรับปรุง แกไข นําผลการวิเคราะหมาเปนขอมูลในการวิเคราะหสภาพปจจุบันและปญหา

รวบรวมสภาพปญหาและความตองการ โรงเรียนไดเก็บรวบรวมขอมูลสําคัญจากสารสนเทศของโรงเรียน (4.2) ท่ีจะนําสูการกําหนดจุดออนและจุดแข็ง โอกาสและอุปสรรค ท่ีโรงเรียนสตรีสิริเกศตองเผชิญ ไดแก มาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มาตรฐานการประกันคุณภาพภายนอกของสํานักงานรับรองและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาองคกรมหาชน (สมศ .) มาตรฐานสากล มาตรฐานคุณภาพของโรงเรียนท่ีเปนนโยบายสําคัญๆ ของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน รวมท้ังขอมูลท่ีไดจากการรับฟงเสียงของผูเรียน (3.1) ขอมูลสําคัญจากครูและบุคลากรทางการศึกษา (5.1, 5.2) และอ่ืนๆ

วิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอก พิจารณาถึงแนวโนมของปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอความ คงอยูและการขยายตัวของภารกิจของโรงเรียน มีท้ังปจจัยท่ีเปนโอกาสและปจจัยท่ีเปนอุปสรรคท่ีสงผลตอการบริหารจัดการ ซ่ึงไมสามารถควบคุมไดหรือควบคุมไดในระยะสั้นๆ การวิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกโรงเรียนสตรีสิริเกศนอกจากการวิเคราะหคูแขงขัน เพ่ือทราบวาองคกรใดท่ีเปนคูแขงขัน ลักษณะโดยท่ัวไปและยุทธศาสตรของคูแขงขัน การคาดการณถึงความเคลื่อนไหวของคูแขงขัน วิเคราะหสภาพแวดลอมภายนอกเพ่ือพิจารณาประเด็นท่ีเปนโอกาสและปญหาอุปสรรคจาก

ทบทวนผล การดําเนินการในชวงแผนฯ

ท่ีผานมา

รวบรวมสภาพปญหาและความตองการ

วิเคราะหสภาพแวดลอม

ภายนอก

วิเคราะหสภาพแวดลอม

ภายใน

กําหนด SWOT

ประเมิน SWOT

Page 36: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

24

องคประกอบ ดานสังคมและวัฒนธรรม (Socio–cultural Factors : S) เปนการวิเคราะหตลาดหลักของโรงเรียนคือ พ้ืนท่ีในจังหวัดศรีสะเกษ ในเรื่องโครงสรางประชากร ระบบการศึกษา คานิยม ความเชื่อวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี แนวคิดอนุรักษคุณภาพชีวิต การอนามัย สภาพกระแสสังคมและชุมชน ท่ีลอมรอบโรงเรียน ความตองการของชุมชน ปญหาของสังคม เครือขายความรวมมือระหวางสถานศึกษาภาครัฐ ฯลฯ เชน สังคมจังหวัดศรีสะเกษโดยภาพรวมเปนสังคมการเกษตรสงผลใหสามารถขยายแนวคิดการดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากโรงเรียนสูชุนชนไดสอดคลองกับวิถีชีวิต ประเด็นนี้จึงถือเปนโอกาส ขณะเดียวกันสังคมในพ้ืนท่ีจังหวัดศรีสะเกษปจจุบันเริ่มปรับเปลี่ยนเปนแบบวัตถุนิยมทําใหนักเรียนมีคานิยมท่ีไมพึงประสงค ประเด็นนี้ถือเปนอุปสรรค เปนตน ดานเทคโนโลยี (Technological Factors : T) เปนการวิเคราะหในเรื่องความกาวหนาทางเทคโนโลย ีเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีการบริหาร ภูมิปญญาทองถ่ินจังหวัดศรีสะเกษ ฯลฯ เชน ความกาวหนาทางเทคโนโลยีสงผลใหสามารถใชเปนสื่อจัดกิจกรรมการเรียนรูท่ีนักเรียนสามารถเรียนรูดวยตนเองไดตามความสนใจ ประเด็นนี้ถือเปนโอกาส แตความกาวหนาทางเทคโนโลยีท่ีสามารถสื่อสารไดอยางรวดเร็วก็สงผลใหนักเรียนเลียนแบบพฤติกรรมท่ีไมพึงประสงค ประเด็นนี้จึงกลายเปนอุปสรรค เปนตน ดานเศรษฐกิจ (Economic Factors : E) เปนการวิเคราะหในเรื่องสภาพและแนวโนมเศรษฐกิจ สภาพเศรษฐกิจของผูปกครอง ภาวะทางการเงิน การวางงาน อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ อัตราดอกเบี้ยและการลงทุนตางๆ ฯลฯ เชน น้ํามันราคาสูงข้ึนอยางตอเนื่องสงผลใหโรงเรียนสนับสนุนสงเสริมใหนักเรียนจัดทําโครงงาน/กิจกรรมประหยัดพลังงาน/กิจกรรมเชิงอนุรักษเปนประเด็นท่ีเปนโอกาส ประเด็นท่ีเปนอุปสรรคคือแนวโนมเงินเฟอ อัตราดอกเบี้ยสูงข้ึนอัตราการวางงานสูงสงผลใหผูปกครองนักเรียนบางสวนไมมีงานทํา ไมสามารถสนับสนุนการเรียนการสอนของนักเรียนไดอยางเต็มท่ี เปนตน ดานการเมืองและกฎหมาย (Political and Legal Factors : P) เปนการวิเคราะหในเรื่อง รัฐธรรมนูญพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับมาตรฐานการศึกษา หลักสูตรนโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการและสถานศึกษาตนสังกัดกฎระเบียบท่ีเก่ียวของกับการบริหารจัดการสถานศึกษา ฯลฯ เชน นโยบายเรียนฟรี 15 ปอยางมีคุณภาพของรัฐบาลสงผลใหลดภาระคาใชจายของผูปกครองเปนประเด็นท่ีเปนโอกาส แตถาหากวาจุดเนนของนโยบายของรัฐบาลไมตอเนื่องจะถือวาประเด็นนี้เปนอุปสรรค เปนตน วิเคราะหสภาพแวดลอมภายใน เปนการวิเคราะหถึงสภาพท่ีเปนจุดแข็ง (Strengths :S) และจุดออน (Weaknesses : W) ของโรงเรียน โดยใชประเด็นสําคัญ ดานโครงสรางและนโยบาย (Structure : S1) ดานการบริการและผลิตภัณฑ (Service and Product : S2) เปนการนําผลลัพธจากดําเนินการในชวงแผนฯ ท่ีผานมา ดานบุคลากร (Man : M1) เปนการนําผลลัพธจากดําเนินการในชวงแผนฯ ท่ีผานมา ซ่ึงแสดงไวใน 7.3 มาวิเคราะหเก่ียวกับปริมาณคุณภาพ ความเพียงพอของบุคลากร การพัฒนาบุคลากร ขวัญกําลังใจ ความกาวหนา ความรูความสามารถและทักษะของบุคลากร ซ่ึงแสดงวิธีการไวใน 5.1, 5.2 ดานประสิทธิภาพทางการเงิน (Money : M2) เปนการนําผลลัพธจากดําเนินการในชวงแผนฯ ท่ีผานมา ซ่ึงแสดงไวใน 7.5 มาวิเคราะหในเรื่องความเพียงพอของงบประมาณ แผนการบริหารงบประมาณ ประสิทธิภาพการใชเงิน ความประหยัด ความคุมคาความคลองตัวในการเบิกจาย ฯลฯ ดานวัสดุอุปกรณ (Material : M3) เปนการวิเคราะหในเรื่องความเพียงพอของสื่อวัสดุครุภัณฑ คุณภาพของสื่อ การใชและการบํารุงรักษาสื่อเทคโนโลยีในการเรียนการ

Page 37: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

25

สอน หองปฏิบัติการ แหลงเรียนรู ฯลฯ ดานการบริหารจัดการ (Management : M4) เปนการนําผลลัพธจากดําเนินการในชวงแผนฯ ท่ีผานมา ซ่ึงแสดงไวใน 7.4 มาวิเคราะหในเรื่องระบบการบริหารจัดการ การมีสวนรวมของบุคลากร การกระจายอํานาจ การใชเทคโนโลยีในการบริหาร การสื่อสารประชาสัมพันธ การระดมทรัพยากรจากทุกภาคสวน ซ่ึงแสดงวิธีการไวใน 1.1, 1.2 จากนั้นทําการกําหนดจุดยืนของโรงเรียนโดยการหาความสัมพันธของผลการประเมินสภาพแวดลอมท้ังภายนอกและภายใน โดยคณะกรรมการท่ีโรงเรียนมอบหมายรวมกันอภิปรายสรุป ดวยหลักฉันทามติและหลักการทางสถิติ ผลการวิเคราะหพบวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีจุดยืนอยูในสถานภาพท่ีเปนดาวรุง (Stars) กลาวคือ โรงเรียนสตรีสิริเกศมีการจัดการศึกษาท่ีมีสถานภาพเปนจุดแข็งมากกวาจุดออน อยูทามกลางสภาวะท่ีเปนโอกาส ประกอบกับวัฒนธรรมองคกรและคานิยมท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษาไดยึดถือปฏิบัติ คือการรวมแรงรวมใจจัดการศึกษาท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญ โดยรักลูกศิษยเสมือนลูกของตนเอง จากนั้นนําผลการวิเคราะหเหลานี้ไปกําหนดทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียนตอไป ข. วัตถุประสงคเชิงกลยุทธ

(1) วัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธ โรงเรียนสตรีสิริเกศไดนํามาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนมาเปนวัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธท่ีสําคัญ ซ่ึงกําหนดกรอบระยะเวลาท่ีจะบรรลุวัตถุประสงคเหลานี้ไว 4 ป (พ.ศ.2557-2560) และนําตัวบงชี้ในแตละมาตรฐานมาเปนตัวชี้วัดและคาเปาหมาย ซ่ึงแสดงรายละเอียดไวในมาตรฐานของโรงเรียนสตรีสิริเกศจํานวน 15 มาตรฐานท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการจัดการศึกษาการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

(2) การพิจารณาวัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธ จากภาพประกอบท่ี 2.1 องคประกอบของการจัดทํามาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริ เกศ ท่ีโรงเรียนกําหนดใหเปนวัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธ มีการดําเนินการอยางเปนระบบดังภาพประกอบท่ี 2.5 การกําหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาหรือวัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธโรงเรียนสตรีสิริเกศ ในแตละองคประกอบโรงเรียนดําเนินการดังนี้

Page 38: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

26

ภาพประกอบท่ี 2.5 ระบบการกําหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาหรือวัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธ

โรงเรียนสตรีสิริเกศ

ศึกษาผลการ SWOT โดยนําผลการศึกษาจุดออน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรค ท่ีโรงเรียนสตรีสิริเกศกําลังเผชิญอยูท้ังดานความไดเปรียบเชิงกลยุทธและความทาทายมาวิเคราะหใน แตละประเด็นเพ่ือแยกกลุมสวนท่ีเปนจุดแข็ง และจุดออน โดยแบงกลุมองคประกอบสําคัญท่ีชี้วัดความสําเร็จใน 4 มุมมอง (ในดานนักเรียน ดานระบบการจัดการศึกษา ดานครูและบุคลากรทางการศึกษา และดานการบริหารจัดการ) ตามหลัก Balanced Scorecard นํากลยุทธมาพิจารณาในแตละมุมมองเพ่ือกําหนดวัตถุประสงคเชิงกลยุทธ การสังเคราะหองคประกอบสําคัญ จากผลของการดําเนินการ SWOT ทําใหไดขอมูลท่ีสําคัญท้ัง 4 ดาน และแตละดานเปนประเด็นท่ีโรงเรียนตองดําเนินการเพ่ือรองรับการประเมินคุณภาพภายใน ประเมินผลการจัดการคุณภาพการจัดการศึกษา ประเมินผลการจัดการบริหารสถานศึกษาตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล และการประเมินอ่ืนๆ ขอมูลเพ่ือดําเนินการตอบสนองตอขอเรียกรองของนักเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ท่ีอธิบายไวใน 3.1 ขอมูลดานครูและบุคลากรทางการศึกษาซ่ึงอธิบายไวใน 5.1, 5.2

กําหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ ดําเนินการตามข้ันตอนตอไปนี้ เตรียมความพรอมการกําหนดมาตรฐานการศึกษาโดยแตงตั้งคณะกรรมการกําหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ประกอบดวย ผูบริหาร คณะครู ตัวแทนผูปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ สรางจิตสํานึกการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือสรางความรูความเขาใจและความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การประเมินภายนอก มาตรฐานสากล แนวทางการกําหนด

ศึกษาผลการ SWOT

สังเคราะหองคประกอบ

สําคัญ

กําหนดมาตรฐาน

ประเมินมาตรฐาน

ปรับปรุงมาตรฐาน

ขออนุมัติดําเนินการ

ประกาศใช

ทบทวนมาตรฐาน

มาตรฐาน การจัดการศึกษา

โรงเรียนสตรีสิริเกศ

Page 39: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

27

มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน และประโยชนของมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน วิเคราะหความสัมพันธของมาตรฐานการศึกษาซ่ึงประกอบดวย มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายใน กระทรวงศึกษาธิการ มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือการประกันคุณภาพภายนอก มาตรฐานสากล หลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ และอัตลักษณของโรงเรียนดานวิสัยทัศน พันธกิจ นโยบาย เปาหมาย สภาพแวดลอมภายในและภายนอก การดําเนินการในข้ันนี้ คณะกรรมการกําหนดมาตรฐานฯ ดําเนินการวิเคราะหโดยพิจารณาคําสําคัญท่ีสอดคลองกันในมาตรฐานการศึกษาและอัตลักษณของโรงเรียนเพ่ือใชในการกําหนดโครงสรางมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน จากนั้นจึงวิเคราะหความสัมพันธของตัวบงชี้ ประกอบดวย ตัวบงชี้ตามมาตรฐานการศึกษาดานคุณภาพผูเรียน ดานคุณภาพการจัดการศึกษา ดานคุณภาพการสรางสังคมแหงการเรียนรู ตัวชี้วัดผลการดําเนินงานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษาและนําไปสูการควบคุม ตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน กําหนดมาตรฐานการศึกษาและตัวบงชี้โดยกําหนดวิสัยทัศนพันธกิจท่ีสอดคลองกับนโยบายของรัฐบาล นโยบายของหนวยงานตนสังกัด จุดเดน จุดดอย อุปสรรคและโอกาสของโรงเรียนท้ังดานผูเรียน ดานคุณภาพการจัดการศึกษา ดานคุณภาพการสรางสังคมแหงการเรียนรูมาเปนตัวกําหนดมาตรฐานการศึกษา และตัวบงชี้ทุกดานใหสอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานและตัวบงชี้ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกระทรวงศึกษาธิการกําหนด ครอบคลุมสาระการเรียนรู มาตรฐานสากล มาตรฐานการเรียนรูหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 ครอบคลุมกระบวนการบริหารจัดการ กระบวนการเรียนรู ศักยภาพของผูเรียน ชุมชน และทองถ่ิน ตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานการศึกษา ถือเปนข้ันตอนในการประเมินมาตรฐาน โดยตรวจสอบความสอดคลองของมาตรฐานการศึกษาและตัวบงชี้ของโรงเรียน กับมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานและตัวบงชี้การศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกระทรวงศึกษาธิการกําหนด มาตรฐานและตัวบงชี้การศึกษาข้ันพ้ืนฐานการประเมินคุณภาพภายนอก มาตรฐานและตัวบงชี้ตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล มาตรฐานการเรียนรูหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พ.ศ.2551 หากตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานแลวพบวาไมสอดคลอง จะดําเนินการแกไขปรับปรุงมาตรฐาน ประชาพิจารณเปนการนํามาตรฐานการศึกษาเผยแพรและรับฟงความคิดเห็นของผูเก่ียวของทุกฝาย เชน ผูปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาฯ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน คณะครู องคกรเอกชน ดวยวิธีการประชุมระดมความคิด สํารวจความคิดเห็นโดยใชแบบสอบถาม ถามีประเด็นขอเสนอแนะ คณะกรรมการนํามาปรับแก และเม่ือเปนท่ีเห็นชอบจากประชาพิจารณ โรงเรียนจึงขออนุมัติดําเนินการโดยคณะกรรมการสถานศึกษาฯ เปนผูลงนามเห็นชอบ และประกาศใชมาตรฐานการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ เม่ือทําการทบทวนมาตรฐาน โรงเรียนไดยอนกลับไปศึกษามาตรฐานการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ นํามาพิจารณารวมกับการศึกษาผลการดําเนินการ SWOT วิเคราะหหาความไดเปรียบเชิงกลยุทธและความทาทาย เพ่ือจัดทํามาตรฐานในคราวถัดไป

เม่ือกําหนดมาตรฐานการจัดการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศหรือวัตถุประสงคหลักเชิง กลยุทธตามภาพประกอบท่ี 2.1 โรงเรียนสตรีสิริเกศไดใชมาตรฐานการจัดการศึกษามาเปนหลักสําคัญในการกําหนดกลยุทธ โดยมีกระบวนการท่ีสําคัญตามกฎกระทรวงฯ ดังภาพประกอบท่ี 2.6

Page 40: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

28

ภาพประกอบท่ี 2.6 วงจรการกําหนดกลยุทธท่ีสอดคลองกับมาตรฐานการจัดการศึกษา

โรงเรียนสตรีสิริเกศ

จากภาพประกอบท่ี 2.6 โรงเรียนใชหลักการวัด วิเคราะห และการจัดการความรู ซ่ึงอธิบายวิธีการไดมาซ่ึงตัววัดผลการดําเนินการ การกําหนดคาเปาหมาย นําสูการกําหนดกลยุทธไวในหัวขอ 4.1 ภาพประกอบท่ี 4.2 โดยกระบวนการดังกลาวนั้นไดนํามาตรฐานการจัดการศึกษามาเปนกรอบในการดําเนินการ แสดงตัวอยางดังตารางท่ี 2.1

ตารางท่ี 2.1 ตัวอยางการกําหนดกลยุทธท่ีสอดคลองมาตรฐานท่ี 15

วัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธ

ตัวชี้วัด คาเปาหมาย

กลยุทธสําคัญ 57 58 59 60

การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเนน แนวทางการปฏิรูป การศึกษาเพ่ือพัฒนาและสงเสรมิสถานศึกษาใหยกระดับคุณภาพสูงข้ึน

เพ่ือใหผูเรียนเปนเลิศทางวิชาการ - รอยละของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูเรียนท่ีมผีลการเรียนระดับดีข้ึนไป - คะแนนเฉลี่ยของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) เพ่ิมข้ึนไมนอยกวารอยละ - รอยละของผูเรียนท่ีเรียนจบหลักสตูรช้ันมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย

75 5

92

80 5

94

85 5

96

90 5

98

พัฒนาคุณภาพผูเรยีนเทียบเคียงมาตรฐานสากล - จัดกิจกรรมสอนเสริมเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธทางการเรียนทุกระดับช้ัน - กิจกรรมสอนเสริมเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ระดับช้ัน ม.3 และ ม.6

วงจรการกําหนดกลยุทธ

มาตรฐานการจัดการศึกษา

กําหนดตัวชี้วัด

กําหนดคาเปาหมาย

กําหนด กลยุทธ

ประเมิน กลยุทธ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

Page 41: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

29

จากตัวอยางการกําหนดกลยุทธตามตารางท่ี 2.1 โรงเรียนไดดําเนินการประเมินกลยุทธ โดยการพิจารณา ความสอดคลองกับมาตรฐานของโรงเรียน ตัวชี้วัดผลการดําเนินการสามารถสนับสนุนหรือวัดไดวาเปนไปตามวัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธ ความเปนไปไดของคาเปาหมาย ประเมินประสิทธิภาพของการกําหนดกลยุทธโดยใช SSK-Model วากลยุทธท่ีไดมาจากขอมูลหรือฐานความรูท่ีถูกตอง ผานการวิเคราะหอยางเปนระบบ ครูและบุคลากร และผูมีสวนเก่ียวของมีความพึงพอใจในกลยุทธนั้น โรงเรียนสตรีสิริเกศไดแสดง วัตถุประสงคหลักเชิงกลยุทธ ตัวชี้วัดผลการดําเนินการ การกําหนดคาเปาหมาย และกลยุทธท่ีสําคัญ ไวในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศและนํากลยุทธสูการปฏิบัติในหัวขอ 2.2

2.2 การกําหนดกลยุทธไปสูการปฏิบัติ

ก. กระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการและการถายทอดสูการปฏิบัติ

จากภาพประกอบท่ี 2.7 แสดงวงจรการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติข้ันตอนท่ี 1-7 เปนกระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการ ซ่ึงจะไดอธิบายใน ข(1) ข้ันตอนท่ี 8 เปนกระบวนการนําแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ อธิบายใน ข(2) ข้ันตอนท่ี 9 เปนกระบวนการประเมิน เพ่ือวิเคราะหการจัดสรรทรัพยากร การบริหารทรัพยากรมนุษย และวัดผลการดําเนินการ อธิบายใน ข(3)-ข(5) และข้ันตอนท่ี 10 เปนการทบทวนเพ่ือปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ อธิบายใน ข(6) แสดงกระบวนการตางๆ ท่ีนําไปสูการดําเนินการ ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 2.7 วงจรการนํากลยุทธไปสูการปฏิบัติ

Page 42: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

30

(1) กระบวนการจัดทําแผนปฏิบัติการ โรงเรียนสตรีสิริเกศไดแตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปโดยประสานกลุมงานเพ่ือเสนอรายชื่อคณะทํางาน จัดทํารางคําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการเสนอผูบริหารลงนามคําสั่ง และดําเนินการจัดทําแผนฯ ดังนี้ ข้ันตอนแรกคือ ศึกษาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระยะ 4 ป (พ.ศ.2557-2560) โดยการวิเคราะหองคประกอบสําคัญๆ ของแผนพัฒนาเทียบเคียงกับสถานการณภายนอกและสภาพแวดลอมภายในของโรงเรียนท่ีเปลี่ยนไป เพ่ือการปรับวิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค และกลยุทธ โดยคณะกรรมการท่ีไดรับมอบหมายจากผูอํานวยการ ท่ีประกอบดวยผูมีสวนเก่ียวของทุกๆ สวน ข้ันตอน ท่ี 2 ศึกษาผลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการในรอบปท่ีผานมา โดยศึกษาประสิทธิภาพของการดําเนินการกิจกรรม/โครงการ/แผนงาน และประสิทธิผลคือ ผลการดําเนินการเม่ือเทียบคาเปาหมาย เพ่ือกําหนดจุดท่ีตองการพัฒนา (Opportunity for Improvement หรือ OFI) และจุดท่ีมีผลการดําเนินการเปนไปตามเปาหมายหรือจุดแข็ง (Straight : S) ท้ัง S และ OFI จะใชเปนฐานในการกําหนดกิจกรรมในรอบการดําเนินการถัดไป ข้ันตอนท่ี 3 การทบทวนคาเปาหมายนําขอมูลท่ีไดจากการศึกษาผลการดําเนินงาน มาเปรียบเทียบคาเปาหมายท่ีกําหนด เพ่ือศึกษาผลตางระหวาง ผลท่ีเกิดข้ึนจริงกับคาเปาหมาย จากนั้นวิเคราะหสาเหตุท่ีทําใหเกิดผลการดําเนินการต่ํากวาคาเปาหมายหรือสูงกวาคาเปาหมาย นําไปพิจารณากําหนดคาเปาหมายใหมใหสอดคลองกับสภาพท่ีเปลี่ยนแปลงไป ตรวจสอบคาเปาหมายใหมอีกครั้ง และกําหนดเปนคาเปาหมายในรอบการดําเนินการถัดไป ข้ันตอนท่ี 4 กําหนดกิจกรรมภายใตโครงการ โรงเรียนสตรีสิริเกศใชหลักการมีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมโดยมอบหมายใหหนวยงานตามโครงสรางการบริหารไดนําเสนอกิจกรรมท่ีตอบสนองตอความสําเร็จตามตัวชี้วัดของโครงการภายใตแผนงาน ใหสอดคลองกับบทบาทหนาท่ีท่ีไดกําหนดไว คณะกรรมการดําเนินงานไดรวบรวมกิจกรรมและจัดกลุมกิจกรรมท่ีมีความเปนไปไดตอการดําเนินการและสนองตอความสําเร็จของโครงการ โดยพิจารณาความซํ้าซอน ตรงตามตัวชี้วัด และครอบคลุมตอผลลัพธใน 7.1-7.5 และผลการดําเนินการในรอบปท่ีผานมา ข้ันตอนท่ี 5 การจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป เริ่มจากการทบทวนแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตัวชี้วัด และคาเปาหมาย ถึงความสอดคลอง ความครบถวน และความเชื่อมโยงถึงผลลัพธท่ีจะเกิดข้ึน การจัดทําแผนปฏิบัติการไดรวมกันพิจารณาจัดสรรคาใชจายท่ีดําเนินการในแตละแผนงาน โครงการ และกิจกรรม โดยพิจารณาจากคาใชจายในการดําเนินการในรอบการดําเนินการของแผนท่ีผานมา พิจารณาผูรับผิดชอบท้ังระดับแผนงาน โครงการ และกิจกรรม โดยยึดหลักศักยภาพของบุคคล บทบาทหนาท่ีตามโครงสรางฯ และพิจารณาการกําหนดระยะเวลาในการดําเนินงาน คณะกรรมการไดจัดทํารางแผนปฏิบัติการประจําปตามรูปแบบท่ีโรงเรียนถือปฏิบัติ นําเสนอฝายบริหารเพ่ือพิจารณา หากมีประเด็นท่ีตองปรับแก คณะกรรมการฯไดนํากลับมาปรับแกอีกครั้งเพ่ือนําเสนอตอคณะกรรมการสถานศึกษาฯ พิจารณาใหความเห็นชอบโดยมีผูอํานวยการเปนผูรายงานชี้แจงเพ่ือสรางความเขาใจท้ังแผนงาน โครงการ และกิจกรรม คาใชจายตางๆ ท่ีปรากฎอยูในแผนปฏัติการประจําป แลวประกาศใชเปนแผนปฏิบัติการประจําปในการดําเนินการในแตละป จนเสร็จสิ้นในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศตอไป ข้ันตอนท่ี 6 จัดสรรทรัพยากร และข้ันตอนท่ี 7 บริหารบุคคล อธิบายใน ข(3) และ ข(4)

(2) กระบวนการนําแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ เม่ือจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป ตรวจสอบความเปนไปได ขออนุมัติงบประมาณดําเนินการตามแผน และไดรับอนุมัติแลว ลําดับถัดไป

Page 43: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

31

จะเปนการนําสูการปฏิบัติซ่ึงเปนข้ันสําคัญท่ีสุด โดยเริ่มตั้งแตตรวจสอบแผนปฏิบัติการประจําป เพ่ือวิเคราะหแผนและขอดําเนินการตามโครงการท่ีมีในแผนปฏิบัติการประจําปตามลําดับของโครงการกอนหลัง ศึกษางานและคุณสมบัติของผูรับผิดชอบเพ่ือวางแผนการปฏิบัติงานในเรื่องการใชทรัพยากรบุคคล งบประมาณ วัสดุอุปกรณท่ีไดรับจัดสรรเพ่ือการดําเนินงานอยางแทจริง กําหนดระยะเวลาของการปฏิบัติงานตามแผน และจัดทําตารางแสดงเวลาท่ีใชในการดําเนินงาน (Gantt Chart) ออกคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการกําหนดบทบาทหนาท่ีของผูดําเนินการตามแผน และแจงใหผูเก่ียวของในหนวยงานทราบถึงโครงการตามแผน จากนั้นคณะกรรมการดําเนินการตามแผนโครงการท่ีมีการมอบหมายงานโดยอาศัยหลักการบริหารโครงการ (Project Management) จัดสรรทรัพยากร ประสานงาน ควบคุมการปฏิบัติงานเพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมาย รวบรวมขอมูลท่ีเก่ียวของกับความกาวหนาของแผน ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินการเพ่ือวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลการทํางานซ่ึงอธิบายไวใน 6.1 และ 6.2 วิเคราะหแลกเปลี่ยนเรียนรูปรับปรุงแผนใหเหมาะสมกับสถานการณท่ีเปลี่ยนไป และรายงานผลการปฏิบัติงานตามแผนตั้งแตตนจนถึงสิ้นสุดแผน

(3) กระบวนการจัดสรรทรัพยากร ในการจัดทําแผนปฏิบัติการนั้น โรงเรียนสตรีสิริเกศไดพิจารณาเรื่องจัดสรรทรัพยากรและบริหารทรัพยากรบุคคล ข(3) โดยแตงตั้งคณะกรรมการเพ่ือทําหนาท่ีศึกษาวิเคราะหพัฒนารูปแบบวิธีคํานวณคาใชจายรายบุคคล จัดใหมีมาตรฐานการจัดการทางการเงิน 7 ประการ คือ การวางแผนงบประมาณ การคํานวณตนทุนของกิจกรรม การจัดระบบการจัดซ้ือจัดจาง การบริหารทางการเงินและการควบคุมงบประมาณ การรายงานทางการเงินและผลการดําเนินงาน การบริหารสินทรัพย การตรวจสอบภายใน เปลี่ยนระบบบัญชีจากเกณฑเงินสดและมีระบบตรวจสอบความโปรงใส เปนระบบ ภายใตกฏระเบียบดานการเงินท่ีประเด็นสําคัญเพ่ือการบริหารจัดการความเสี่ยง จึงจัดใหมีการนิเทศ กํากับ ติดตามการดําเนินงาน และประเมินผลการดําเนินงานการบริหารทรัพยากร โดยการรวบรวมทรัพยากรตางๆ ท่ีตองใชในการดําเนินงานจากแผนงาน นํามาจัดเรียงลําดับความสําคัญกอนหลัง เพ่ือจัดสรรและใชทรัพยากรท่ีไดมาอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผลเกิดประโยชนคุมคาสูงสุด ประเมินผลการใชทรัพยากรเพ่ือตรวจสอบความสามารถในการนําทรัพยากรไปใชวาตรงกับความตองการหรือไมเพียงไร เกิดผลสําเร็จอยางไร การนําผลการประเมินไปใช เม่ือประเมินผลการใชทรัพยากรจะไดรับขอมูลยอนกลับ ซ่ึงสามารถนําไปปรับปรุงพัฒนาการบริหารทรัพยากรในดานตางๆ เชน การจัดสรร การใช และควบคุม ตรวจสอบ เปนตน แหลงทรัพยากรทางการศึกษาของโรงเรียน ไดแก เงินงบประมาณ และเงินนอกงบประมาณ ในสวนของเงินนอกงบประมาณแบงเปนเงินอุดหนุดและอีกสวนหนึ่งเปนเงินรายไดสถานศึกษา ซ่ึงไดมาจากเงินระดมทรัพยากร เงินบริจาค เงินคาบํารุงอาคารสถานท่ี เปนตน

(4) กระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ฝายบริหารมอบหมายงานแกครูและบุคลากรโดยยึดหลักการวางคนใหถูกกับงาน (Put the right man on the right job) หรือจัดคนรับผิดชอบกิจกรรมท่ีตรงกับสมรรถนะของครูและบุคลากร การประเมินประสิทธิภาพของคนในการดําเนินกิจกรรมสอดคลองกับระบบการกํากับดูแล ใน 1.2

(5) กระบวนการวัดผลการดําเนินการ แบงการวัดผลการดําเนินการออกเปน 2 สวนหลักๆ คือ การวัดประสิทธิภาพของดําเนินงาน โดยใช SSK-Model เปนเครื่องมือวัดและประเมินผลการดําเนินงานท่ีเปนระบบ วัดระดับความพึงพอใจของนักเรียน ผูมีสวนไดสวนเสียหรือผูเก่ียวของ

Page 44: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

32

และการใชความรูเปนฐานในการปฏิบัติงาน การวัดประสิทธิผลของการดําเนินงานประเมินผลการวัดไดจากผลการดําเนินงานหรือความสําเร็จเทียบกับคาเปาหมายท่ีตั้งไว

(6) กระบวนการปรับเปล่ียนแผนการปฏิบัติการ โรงเรียนนําผลการปฏิบัติกิจกรรม ไปสูการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําปในรอบถัดไป

ข. กระบวนการคาดการณผลการดําเนินการ โรงเรียนท่ีนําผลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําปเทียบเคียงกับผลการดําเนินการของโรงเรียนคูแขงขัน ในกรณีท่ีเปนเรื่องเทียบเคียงกับโรงเรียนอ่ืน และการเทียบเคียงกับคาเปาหมาย วามีผลเปนอยางไร และจะนําไปสูการปรับเปลี่ยนกิจกรรมขณะเดียวกันโรงเรียนจัดใหมีการบริหารความเสี่ยง (Risk Management) การดําเนินการเริ่มจาก จัดตั้งผูบริหารงานดานความเสี่ยงและทีมบริหารความเสี่ยงของโรงเรียน โดยท่ีคณะกรรมการและผูบริหารทุกระดับมีสวนรวมในการพัฒนาการบริหารความเสี่ยง จากนั้นกําหนดขอบเขต/กรอบแนวทางการบริหารความเสี่ยงและวัฒนธรรมองคกรดวยการกําหนดนโยบายวัตถุประสงคและกลยุทธในการบริหารความเสี่ยง รวมท้ังระดับความเสี่ยงท่ีองคกรยอมรับได เพ่ือใหการบริหารความเสี่ยงเปนกลยุทธท่ีตอเนื่องและเปนแบบบูรณาการ จากนั้นดําเนินการตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง 5 ข้ันตอนประกอบดวย กําหนดวัตถุประสงค ระบุความเสี่ยง วิเคราะหประเมินผลความเสี่ยง ติดตาม ประเมินผล และรายงาน มีการติดตามความกาวหนาของการดําเนินงานตามแผนจัดการความเสี่ยงโดยฝายบริหาร (Monitor) และเปนการประเมินผลการควบคุมตนเองโดยรวมกันระหวางฝายบริหารครูและบุคลากร ตัวอยางความเสี่ยงท่ีอาจจะเกิดข้ึน ไดแก ความเสี่ยงดานการเงิน ดานบุคลากร การนํากิจกรรม/โครงการไปสูการปฏิบัติไมสามารถปฏิบัติได ภาวะฉุกเฉิน ภัยคุกคามจากภายนอกท่ีกระทบตอการบริหาร เปนตน

Page 45: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

หมวด 3

การมุงเนนผูเรียน

โรงเรียนสตรีสิริเกศไดสืบทอดวัฒนธรรมของโรงเรียนท่ีรวมมือรวมใจจัดการศึกษาเพ่ือนักเรียนดวยความเอาใจใส ประดุจลูกของตน ผลลัพธของการจัดการศึกษาจึงมุงใหนักเรียนประสบความสําเร็จทางการศึกษาตามเกณฑมาตรฐานสากล การรับฟงเสียงนักเรียน ท้ังปจจุบัน อดีตและอนาคต ยอมนําไปสูการพัฒนาของหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนการสอน และสรางความผูกพันของศิษยท่ีมีตอโรงเรียน สรุปความสัมพันธไดดังภาพประกอบท่ี 3.1

ภาพประกอบท่ี 3.1 ความสัมพันธดานการมุงเนนผูเรียนของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

3.1 การรับฟงเสียง

ก. การรับฟงนักเรียน (1) การรับฟงเสียงของนักเรียนปจจุบัน โรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดจัดวางระบบการรับฟงเสียงของนักเรียนปจจุบัน แสดงดังภาพประกอบท่ี 3.2

หลักสูตร การเรียนการสอน

และบริการอ่ืนๆ ความไมพอใจ

การจัดการ ขอเรียกรอง เสียงของนักเรียนและ

ผูมีสวนไดสวนเสีย

งานประจํา

งานกลยุทธ

ความพอใจ

หลักสูตร การเรียน การสอน

บริการอ่ืนๆ

การสรางความสัมพันธ

ความผูกพัน การสนับสนุน

ผูเรียน

ทบทวน

Page 46: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

34

ภาพประกอบท่ี 3.2 ระบบการรับฟงเสียงนักเรียนปจจุบันโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ระบบการรับฟงเสียงนักเรียนปจจุบันของโรงเรียนสตรีสิริเกศ เริ่มจากการมอบหมายงานคณะบุคคลผูรับผิดชอบ โดยผู อํานวยการโรงเรียนไดแตงตั้งเปนคําสั่งโรงเรียนท่ีมีคณะกรรมการ ประกอบดวย รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานวิชาการเปนประธาน หัวหนาระดับ ม.1 และหัวหนาระดับ ม.4 เปนกรรมการคณะทํางานดานการรับฟงนักเรียน โดยมีงานแนะแนวเปนกรรมการและเลขานุการ โรงเรียนไดมอบหมายหนาท่ีความรับผิดชอบใหดําเนินการตามระบบ ประชุมชี้แจงคณะกรรมการใหเขาใจถึงแนวทางท่ีจะนําไปปฏิบัติไดอยางถูกตอง องคประกอบท่ีสอง สํารวจชองทาง คณะทํางานไดศึกษาหลักสูตรโรงเรียนฯ กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนและบริการอ่ืนๆ โดยตั้งเปนประเด็นเพ่ือใชเปนขอเรียกรองของนักเรียน องคประกอบท่ีสาม การวิเคราะหประเด็นท่ีนักเรียนจะแสดงความคิดเห็นและชองทางในการรับฟง คณะทํางานไดใชเทคนิคการประชุมกลุม (Focus Group) เพ่ือกําหนดเปนประเด็นและชองทางในการรับฟงเสียงโดยยึดชองทางตามท่ีกําหนดไวในองคประกอบท่ีสอง เปนกรอบในการดําเนินการ ในสวนชองทางในการรับฟงเสียง คณะทํางานไดใชบทบาทหนาท่ีของครูประจําชั้นเขามามีบทบาทในการรับฟงเสียงนักเรียนโดยตรง ผานแบบฟอรมการสรุปรายงานขอเรียกรองเปนรายสัปดาห และสรุปรายงานตามสายงานตามโครงสรางการบริหาร พรอมท้ังเปดชองทางใหนักเรียนเสนอขอเรียกรองโดยตรงตอหนวยงานท่ีเก่ียวของผานระบบขอมูลสารสนเทศหรือยื่นขอเสนอดวยวาจาหรือลายลักษณอักษร องคประกอบท่ีสี่ การสังเคราะหขอมูล คณะทํางานไดรวบรวมขอมูลตามประเด็นท่ีไดกําหนดไวในเบื้องตน ตรวจสอบคุณภาพของขอมูลในเรื่องของความนาเชื่อถือตามกรอบประเด็นท่ีไดกําหนดไว จัดจําแนกขอมูลในแตละประเด็นพรอมวิเคราะหความสัมพันธของขอมูลกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ จัดทําเปนเอกสารนําเสนอตอคณะกรรมการฝายบริหาร เพ่ือรับทราบและตัดสินใจ องคประกอบท่ีหา การสงตอขอมูล คณะทํางานไดจัดทําเอกสารแยกประเภทของขอมูลตามหนวยงานท่ีเก่ียวของผานสายงานตามโครงสรางการบริหาร โดยแยกประเด็นท่ีไมสามารถแกปญหาหรือปรับปรุงไดทันที คณะทํางานไดรวบรวมไวเพ่ือใชเปนขอมูลในการปรับแผนปฏิบัติการประจําปตอไป องคประกอบท่ีหก การติดตามการจัดการขอเรียกรอง คณะทํางานไดศึกษาการแกปญหาการปรับปรุงท่ีไดดําเนินการไปในองคประกอบท่ีหา ถึงปญหาอุปสรรค ความสําเร็จของการแกปญหา รวบรวมเพ่ือฝายบริหารพิจารณาแกปญหาตอไป องคประกอบท่ีเจ็ด ประเมินผลการจัดการขอเรียกรอง คณะทํางานไดประเมินประสิทธิภาพการแกปญหาและปรับปรุง ขอเรียกรองดวย SSK-Model เพ่ือตรวจสอบความเปนระบบ PDCA การพึงพอใจตอวิธีการแกปญหา

การมอบ หมายงาน

สํารวจชองทาง

วิเคราะหประเด็นรับฟงและชองทาง

สังเคราะหขอมูล

สงตอขอมูล

การติดตามการจัดการขอเรียกรอง

ประเมินผลการจัดการขอเรียกรอง

ประเมินผลความพึงพอใจของนักเรียน

Page 47: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

35

และองคความรูท่ีเก่ียวของมาใชเปนฐานในการแกปญหาและประเมินประสิทธิผลตามประเด็นขอเรียกรองและความคาดหวังของนักเรียน องคประกอบท่ีแปด เปนการประเมินผลลัพธ เก่ียวกับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการจัดการขอเรียกรอง โดยคณะทํางานไดกําหนดตัวชี้วัดท่ีมีความสําคัญ คือ รอยละของระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการจัดการขอเรียกรองของนักเรียนปจจุบันตอหลักสูตรฯ การจัดการเรียนการสอนและบริการอ่ืนๆ เริ่มดําเนินการอยางเปนระบบในปการศึกษา 2557

(2) การรับฟงเสียงของนักเรียนอนาคต โรงเรียนไดจัดการระบบการรับฟงเสียงของนักเรียนในอนาคต แสดงดังภาพประกอบท่ี 3.3

ภาพประกอบท่ี 3.3 ระบบการรับฟงเสียงของนักเรียนอนาคต

นักเรียนในอนาคตของโรงเรียนสตรีสิริเกศ ประกอบดวยนักเรียนในเขตพ้ืนท่ีบริการ

และนักเรียนท่ัวไปท่ีกําลังศึกษาอยูในระดับชั้นประถมศึกษาปท่ี 5 และ 6 โรงเรียนใหความสําคัญกับการรับฟงของนักเรียนกลุมนี้ วัตถุประสงคท่ีสําคัญคือ ขอมูลจากการรับฟงเสียงจะนําไปใชปรับผลิตภัณฑของโรงเรียนใหมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผล และคุณภาพคือความพึงพอใจของนักเรียน วิธีการรับฟงเสียงของนักเรียนในอนาคตมีระบบการรับฟงเสียงดังภาพประกอบท่ี 3.3 ดังนี้

องคประกอบท่ีหนึ่ง การมอบหมายงาน ผู อํานวยการโรงเรียนไดออกคําสั่งมอบหมายงานในรูปคณะกรรมการประกอบดวย รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานวิชาการเปนประธาน หัวหนาระดับ ม.1 หัวหนาระดับ ม.4 เปนกรรมการคณะทํางานดานการรับฟงนักเรียน โดยมีคณะกรรมการงานแนะแนว เปนกรรมการและเลขานุการ คณะทํางานประชุมโดยมีผูอํานวยการชี้แจงแนวทางการดําเนินการเพ่ือสรางความเขาใจ องคประกอบท่ีสอง การกําหนดชองทางการรับฟงนักเรียนอนาคต คณะทํางานไดจัดประชุมวิเคราะหทางเลือก กําหนดทางเลือกท่ีเหมาะสมโดยยอนมาทบทวนกิจกรรมท่ีเคยปฏิบัติในรอบปท่ีผานมา ประเมินกิจกรรมท่ีมีโอกาสเขาถึงกลุมเปาหมายมาก

1. การมอบ หมายงาน

2. กําหนดชองทาง การรับฟง

3. จัดการ

ทําขอมูล

4. สงตอขอมูล

5. การจัดการตามขอเสนอ

6. ประเมินผลการจัดการ

ตามขอเสนอ

Page 48: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

36

ท่ีสุด โดยใชขอมูลจากงานแนะแนว จนไดชองทางเขาถึงกลุมเปาหมาย เพ่ือกําหนดกิจกรรมการรับฟงเสียงของนักเรียนอนาคต อาทิ โครงการสงครูไปสอนหองเรียนพิเศษคณิตศาสตรวิทยาศาสตร กิจกรรมแนะแนวสัญจร กิจกรรมเผยแพร และสํารวจ ฯลฯ ซ่ึงเปนกิจกรรมหลักๆ ท่ีผานการศึกษาความเปนไปได และเปนทางเลือกของชองทางการรับฟงในระดับตนๆ องคประกอบท่ีสาม การจัดการขอมูล คณะทํางานไดเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม แบบเสนอความตองการและการสัมภาษณ วิเคราะหและสังเคราะหขอมูลจนไดขอมูลท่ีมีความเปนไปไดท่ีจะนํามาปฏิบัติ และจําแนกประเภทของของขอมูลตามกลุมของผลิตภัณฑ องคประกอบท่ีสี่ กําหนดงาน/กิจกรรม/โครงการท่ีสนองขอมูล โดยจําแนกตามกลุมงานประจําและกลยุทธของโรงเรียน ตรวจสอบความเปนไปไดของกิจกรรม และความครอบคลุมของการสนองขอมูล องคประกอบท่ีหา การปฏิบัติ โรงเรียนใชการดําเนินงานตามสายงานโครงสรางการบริหาร และงานกลยุทธ กํากับ นิเทศติดตามใชกระบวนการปกติท่ีโรงเรียนใชกํากับการจัดการศึกษา องคประกอบท่ีหก ประเมินผลการจัดการกิจกรรมตามขอเสนอท้ังดานประสิทธิภาพของระบบการรับฟง การดําเนินการของกิจกรรม โดยใช SSK-Model ประเมินประสิทธิผลตามวัตถุประสงคและคาเปาหมาย และประเมินคุณภาพท่ีความพึงพอใจ เริ่มจากการศึกษากิจกรรมตามขอเสนอเพ่ือกําหนดประเด็นขอคําถามในการเกิดความเชื่อม่ันและวิธีการเก็บขอมูลกลุมตัวอยาง การวิเคราะห และสรุปผล โดยใชตัวชี้วัดเปนกรอบในการประเมินเทียบกับคาเปาหมาย ผลการประเมิน แสดงไวใน 7.2

ข. การประเมินความพึงพอใจและความผูกพันของนักเรียน (1) ความพึงพอใจและความผูกพัน สืบเนื่องจากระบบการรับฟงเรื่องของนักเรียนปจจุบัน (ภาพประกอบท่ี 3.2) จากองคประกอบท่ีสาม คือ การสังเคราะหขอมูล คณะกรรมการไดสังเคราะหขอมูลเปน 2 ประเภท คือ ขอมูลท่ีมีความพึงพอใจ และไมพึงพอใจ ตอหลักสูตรฯ การจัดการเรียนการสอน และการบริการอ่ืนๆ ในสวนขอมูลท่ีมีความพึงพอใจ โรงเรียนไดดําเนินการอยางเปนระบบเพ่ือใหเกิดความม่ันใจวา ความพึงพอใจนั้นจะนําไปสูความผูกพันของนักเรียนกับโรงเรียน แสดงดังภาพประกอบท่ี 3.4 ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 3.4 วงจรสรางความผูกพันของนักเรียนตอหลักสูตรและการบริการอ่ืนๆ

วิเคราะหขอมูลดานความพึงพอใจ

สื่อสาร รวบรวมขอมูล

การจัดกิจกรรมสรางความผูกพัน

ประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรม ***

ประเมินความผูกพัน ***

วิเคราะห/ปรับปรุง/แลกเปลี่ยนเรียนรู

Page 49: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

37

คณะกรรมการไดนําความพึงพอใจท่ีไดจากการรับฟงเสียงของนักเรียนปจุบันรวมถึงนักเรียนในอดีตมาวิเคราะหแยกกลุมนักเรียนตามโครงสรางหลักสูตรฯ ท้ังระดับมัธยมศึกษาตอนตนและระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ท้ังแผนการเรียนท่ัวไปและแผนการเรียนท่ีสงเสริมความสามารถพิเศษตางๆ พรอมตรวจสอบขอมูลถึงความถูกตอง และระดับของความพึงพอใจตอหลักสูตรฯ การเรียนการสอนและบริการอ่ืนๆ โดยสื่อสารยอนกลับกับกลุมเปาหมายเพ่ือการยืนยันความถูกตอง การยอนกลับคณะทํางานไดใชแบบสอบถามเปนเครื่องมือในการหาคําตอบพรอมความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอองคประกอบท่ีจะชวยสรางความผูกพันของนักเรียน ผลของการเก็บรวบรวมขอมูลและสังเคราะหขอมูลองคประกอบของความผูกพันพบวา ในหาองคประกอบแรกท่ีนักเรียนไดแสดงความคิดเห็นท่ีมีผลตอความพึงพอใจและความผูกพัน ไดแก ครูทําหนาท่ีเปนครูประจําชั้น กิจกรรมสงเสริมประสบการณตางๆ ท่ีโรงเรียนจัด พฤติกรรมการสอนของครู สภาพแวดลอมท่ีนักเรียนไดใชบริการ และความรูความสามารถของนักเรียนท่ีเพ่ิมข้ึน และยังมีองคประกอบท่ีมีผลตอความผูกพันของนักเรียนอ่ืนๆ อีก เชน คุณภาพของหองเรียน การใหบริการสาธารณูปโภค ฯลฯ ขอมูลท่ีไดจากความคิดเห็นของนักเรียน โรงเรียนไดนํามาเปนขอมูลพ้ืนฐานในการจัดกิจกรรม โครงการท่ีปรากฏอยูในแผนพัฒนาคุณภาพฯ และแผนปฏิบัติการประจําป และไดกําหนดไวในบทบาทหนาท่ีท่ีหนวยงานตามโครงสรางการบริหารตองปฏิบัติ เม่ือโรงเรียนไดดําเนินการตามแผนปฏิบัติงานประจําปตามงานประจําตามโครงสรางการบริหาร คณะทํางานไดวัดและประเมินประสิทธิภาพการทํางานโดยใช SSK-Model เพ่ือประเมินความเปนระบบ ความพึงพอใจ และความรูท่ีใชในการดําเนินกิจกรรม เพ่ือผสานความผูกพันดังปรากฏผลลัพธ 7.2 เม่ือสิ้นสุดการดําเนินการในแตละปคณะทํางานไดประเมินประสิทธิผลของวงจรสรางความผูกพันของนักเรียนจากตัวชี้วัดสําคัญ คือ รอยละของนักเรียนท่ีพึงพอใจตอกิจกรรม/โครงการ ท่ีสงผลตอความผูกพันในระดับดีและดีมาก จากวงจรของการสรางความผูกพัน คณะทํางานไดทําการวิเคราะหผลการดําเนินการ แลกเปลี่ยนเรียนรูและกําหนดกิจกรรมเพ่ือการปรับปรุงใหจํานวนท่ีมีนักเรียนท่ีมีความผูกพันตอการจัดการศึกษาของโรงเรียนเพ่ิมข้ึนเปนไปตามคาเปาหมายท่ีกําหนดเม่ือสิ้นสุดป พ.ศ.2560 และเปาหมายท่ีกําหนดในรอบการดําเนินการของแผนตอๆ ไป (2) ความไมพึงพอใจ โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดการความไมพึงพอใจในระบบเดียวกับการประเมินความพึงพอใจและความผูกพัน (1) แตจะเนนการแกปญหาเพ่ือสนองความไมพึงพอใจนั้นท้ังในการดําเนินการตามระบบงานประจําตามโครงสรางการบริหารกิจกรรม/โครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจําป เปนการสนับสนุนตัวชี้วัดสําคัญดานความพึงใจ 3.2 ความผูกพันของนักเรียน

ก. หลักสูตรการจัดการศึกษาและการบริการอ่ืนๆ ท่ีสงเสริมการเรียนรูและการสนับสนุนนักเรียน (1) หลักสูตรและการบริการอ่ืนๆ โรงเรียนสตรีสิริเกศ จัดการเรียนการสอนภายใตหลักสูตรโรงเรียนฯ การเรียนการสอน และบริการอ่ืนๆ ดังปรากฏในโครงรางดานผลิตภัณฑ เพ่ือใหนักเรียนเกิดความพึงพอใจและความผูกพันกับโรงเรียน โรงเรียนไดเปดโอกาสใหนักเรียนเขามามีสวน

Page 50: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

38

รวมในการกําหนดขอกําหนดกฎเกณฑตางๆ ของหลักสูตรฯ กิจกรรมการเรียนการสอนและการบริการอ่ืนๆ ดังแสดงไดตามภาพประกอบท่ี 3.5

ภาพประกอบท่ี 3.5 วงจรการกําหนดขอกําหนดของหลักสูตรฯ การจัดการเรียนการสอน และบริการอ่ืนๆ ของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ขอกําหนดตางๆ ท่ีเก่ียวกับผลิตภัณฑของโรงเรียนสตรีสิริเกศไดกําหนดข้ึนภายใต

ภาพประกอบท่ี 3.5 โดยเริ่มจากการศึกษาผลิตภัณฑของโรงเรียนถึงองคประกอบท่ีสําคัญและความเชื่อมโยงท่ีสัมพันธกับการเรียนการสอน และการบริการอ่ืนๆ ผลการศึกษาขอกําหนดดังกลาว ท่ีคณะกรรมการสถานศึกษาไดผานการเห็นชอบ โดยเฉพาะแผนการเรียนท่ีสงเสริมความสามารถพิเศษท่ีตองผานการอนุมัติ จากสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา วาขอกําหนดเหลานั้นมีผลอยางไรตอการจัดกลุมนักเรียนท่ีตรงตามเจตนารมณของหลักสูตรฯ เปนท่ียอมรับของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย โรงเรียนไดทําการทบทวนขอกําหนดเหลานั้นจากขอเรียกรองของนักเรียนปจจุบันและนักเรียนในอดีต เพ่ือใหเกิดความม่ันใจวา ขอกําหนดเหลานั้นเปนท่ีพึงพอใจของนักเรียน แลวนําเสนอตอผูมีอํานาจตัดสินใจในระดับผู อํานวยการโรงเรียนและคณะกรรมการสถานศึกษาฯ เพ่ือประกาศใชตอไป ภายหลังประกาศใชหากมีขอรองเรียนหรือขอเรียกรอง คณะกรรมการไดเก็บรวบรวมขอมูลเพ่ือนําไปวิเคราะห แลกเปลี่ยนเรียนรูเพ่ือนําไปปรับปรุงในรอบดําเนินการตอไป

(2) การสนับสนุนนักเรียน โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดการเรียนการสอนครบตามโครงสรางของหลักสูตรฯ ท่ีเนนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของ

1. ศึกษาผลิตภัณฑของ

โรงเรียน

2. วิเคราะหขอกําหนด

3. ทบทวนขอกําหนด

6. ประเมิน / วิเคราะห / ปรับปรุง / แลกเปลี่ยนเรียนรู

4. นําเสนอผูบริหารตัดสินใจ

5. ประกาศใช

Page 51: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

39

หลักสูตรฯ ในแตละกลุมสาระอยางครบถวน โดยเนนท่ีการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนข้ึนอยางตอเนื่อง ท้ังคะแนนเฉลี่ยรายบุคคล รายวิชา รายกลุมสาระการเรียนรู รวมไปถึงคะแนนสอบวัดคุณภาพการศึกษาระดับชาติ หรือ O-NET และความสามารถและทักษะของนักเรียนในดานตางๆ การสนับสนุนใหนักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึนนั้น โรงเรียนไดจัดบริการเสริมท่ีสําคัญ ไดแก การสืบคนขอมูลทางการศึกษาผานศูนยบริการเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเครือขายของโรงเรียน และระบบสืบคนผานทางหองสมุดดิจิตอล นอกจากนั้นโรงเรียนไดมีระบบแนะแนวทางการศึกษา และอ่ืนๆ ท่ีปรากฏในโครงรางองคกร โดยโรงเรียนไดพัฒนาการใหบริการ ท่ีคํานึงถึงประสิทธิภาพของการใหบริการเปนสําคัญ โรงเรียนยังไดจัดใหมีการรวมกลุมความสนใจในรูปของกิจกรรมพัฒนาผูเรียน ชมรม ชุมนุม และกลุมสนใจ โดยมีครูเปนท่ีปรึกษาจัดกิจกรรมอยางอิสระ จัดเวทีสงเสริมความสามารถและทักษะของนักเรียนอยางท่ัวถึง ท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา ในทุกๆ ดานท่ีนักเรียนและครูใหความสนใจ โดยมีตัวชี้วัดท่ีสําคัญ คือ รอยละของผลการแขงขัน ความรูความสามารถและทักษะในระดับภาคและระดับประเทศ ดังปรากฏในผลลัพธท่ี 7.1(ข) ผลการดําเนินการในแตละป คณะทํางานไดนําผลการดําเนินการในแตละป มาวิเคราะหปรับปรุงเพ่ือใชในการดําเนินการในรอบปถัดไปอยางตอเนื่อง

(3) การใชขอมูลนักเรียน โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดตั้งหนวยงานท่ีรับผิดชอบดานการบริหารจัดการขอมูลสารสนเทศท่ีปรากฏตามโครงสรางการบริหาร ขอมูลนักเรียนทุกกลุมโรงเรียนใชเปนฐานขอมูลท่ีสําคัญในการเก็บรวบรวม ตลอดจนการรับบริการผลิตภัณฑของโรงเรียน ระบบการบริหารจัดการขอมูลท่ีมีคุณภาพมีกระบวนงานดังปรากฏในขอ 4.2

ข. การสรางความสัมพันธท่ีมีตอนักเรียน

(1) การสรางความสัมพันธ โรงเรียนสตรีสิริเกศมีวัฒนธรรมของโรงเรียนท่ีสําคัญคือความรวมมือรวมแรงรวมใจจัดการศึกษาท่ีมุงใหผูเรียนประสบความสําเร็จดวยความรักความเมตตาตอศิษย มาเปนระยะเวลายาวนาน ชุมชนและสังคมใหความเชื่อถือไววางใจ ท่ีจะนํากุลบุตรกุลธิดาเขามาศึกษาเลาเรียน ดังนั้น นักเรียนสวนใหญของโรงเรียนมีผูปกครอง บิดามารดา ปูยาตายาย และเครือ-ญาติ เปนศิษยเกาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ ซ่ึงเปนตนทุนท่ีสําคัญในการสรางความสัมพันธใหกับกลุมนักเรียนในแตละแผนการเรียนท่ีกําหนดไวในหลักสูตรฯ การสรางความรูความเขาใจถึงหลักสูตรฯ การเรียนการสอน และบริการอ่ืนๆ สําหรับนักเรียนในอนาคตโรงเรียนไดมอบหมายให งานแนะแนวเปนหนวยงานหลักในการดําเนินการโดยมีกลุมบริหารงานวิชาการในการกํากับดูแล จัดกิจกรรมเขาถึงกลุมเปาหมาย มุงไปท่ีโรงเรียนประถมศึกษาในเขตพ้ืนท่ีบริการและพ้ืนท่ีท่ัวไป เพ่ือนําเสนอประเด็นใหมๆ ท่ีพัฒนาข้ึน อันเกิดจากการปรับปรุงหลักสูตรฯ การเรียนการสอน และบริการอ่ืนๆ ท่ีดีกวาใน รอบปท่ีผานมา รวมท้ังขอมูลท่ีจําเปนเพ่ือใหผูปกครองและนักเรียนตัดสินใจในการสมัครสอบคัดเลือก เขาศึกษาตอโรงเรียนสตรีสิริเกศ ท้ังในระดับมัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวชี้วัดสําคัญของการสรางความสัมพันธของนักเรียน คือ รอยละของนักเรียนท่ีมาสมัครสอบคัดเลือกเขาศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาตอนตนท่ีเพ่ิมข้ึน และรอยละของนักเรียนท่ีมาสมัครสอบคัดเลือกเขาศึกษาตอในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายท่ีเพ่ิมข้ึน ตัวชี้วัดท่ีสําคัญนี้จะปรากฏใน 7.2 กิจกรรมหรือวิธีการสรางความสัมพันธ งานแนะแนวไดประเมินประสิทธิภาพของการดําเนินการโดยใช SSK-Model

Page 52: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

40

และประเมินประสิทธิผลตามตัวชี้วัดท่ีกําหนด เปรียบเทียบกับคาเปาหมาย แลวนําผลมาวิเคราะหปรับปรุงกลไกสรางความสัมพันธใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงข้ึนในทุกป

(2) การจัดการขอเรียกรอง โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดการศึกษาท่ีเนนนักเรียนเปนสําคัญ เพ่ือใหการจัดการเรียนการสอนตามหลัสูตรโรงเรียนมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ขอรองเรียนของนักเรียน จึงเปนขอมูลสําคัญท่ีจะนํามาปรับปรุงหลักสูตรฯ กระบวนการเรียนการสอน และบริการอ่ืนๆ ใหมีประสิทธิภาพเปนท่ีพึงพอใจของนักเรียนผานระบบการจัดการขอรองเรียน ตามภาพประกอบท่ี 3.6

ภาพประกอบท่ี 3.6 ระบบการจัดการขอรองเรียนโรงเรียนสตรีสิริเกศ

จากภาพประกอบท่ี 3.6 โรงเรียนไดแตงตั้งคณะทํางาน โดยใชคําสั่งโรงเรียนเพ่ือกําหนดบุคคลและบทบาทหนาท่ี การดําเนินการจัดการขอรองเรียน เริ่มดวยการจัดเก็บขอมูลผานกลไกสําคัญคือ แบบสอบถาม ผานระบบเครือขายสารสนเทศ จากการเก็บขอมูลของครูประจําชั้น และอ่ืนๆ นํามาศึกษาความนาเชื่อถือของขอมูล วิเคราะเพ่ือการจําแนกขอมูลในประเด็นท่ีเก่ียวกับหลักสูตรฯ การจัดการเรียนสอน และการบริการอ่ืนๆ จัดลําดับความสําคัญของขอมูลเพ่ือนํามาจัดกิจกรรม และกลไกในการจัดการกับขอรองเรียนผานโครงสรางการบริหาร กิจกรรมและโครงการตามแผนปฏิบัติการประจําป โดยใชระบบการกํากับดูแลท่ีโรงเรียนถือปฏิบัติ คณะทํางานไดนําผลการดําเนินการกับขอรองเรียนท่ีผานกระบวนการปฏิบัติมาวิเคราะห ปรับปรุง เพ่ือเขาสูการดําเนินการในรอบปถัดไป โดยมีเปาหมายสําคัญ คือ จํานวนขอรองเรียนท่ีนอยลง

1. จัดเก็บขอมูลขอเรียกรอง

2. วิเคราะหขอมูล

3. กําหนดกิจกรรมจัดการ

ขอเรียกรอง 6. ปรับปรุง /

แลกเปลี่ยนเรียนรู

4. ดําเนินการ

จัดการ ขอเรียกรอง

5. ประเมิน /วิเคราะห

Page 53: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

หมวด 4

การวัด การวิเคราะห และการจัดการความรู

โรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดกําหนดกรอบความคิดในการดําเนินการเพ่ือการบรรลุทิศทางของโรงเรียน (วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาประสงค) อยูภายใตงานตามโครงสรางการบริหาร ดังรายละเอียดท่ีปรากฏ ใน 6.1 และ 6.2 สําหรับแผนกลยุทธโรงเรียนไดอธิบายไวใน 2.1 และ 2.2 ท้ังงานภายใตโครงสรางการบริหาร และกิจกรรม/โครงการภายใตแผนกลยุทธของโรงเรียน ท่ีกําหนดไวในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศระยะ 4 ป (พ.ศ.2557-2560) และถูกนําไปปฏิบัติภายใตของแผนปฏิบัติการประจําป

ภาพประกอบท่ี 4.1 ความสัมพันธของระบบงานตามโครงสรางการบริหารและแผนกลยุทธ

แลกเปลี่ยนเรียนรู ท่ีเปนเลิศ

ผลการดําเนินการ ในอนาคต

ปรับปรุงและ สรางนวัตกรรม

งานประจําตามโครงสรางการบริหาร

กลุมบริหาร

กลุมงาน

บุคคล

มาตรฐาน การปฏิบัติงาน

มาตรฐาน การปฏิบัติงาน

มาตรฐาน การปฏิบัติงาน

การวัดผล

การวัดผล

การวัดผล

กิจกรรม/โครงการตามแผนกลยุทธ

แผนงาน ตัวช้ีวัดระดับ

แผนงาน

ตัวช้ีวัดระดับโครงการ

ตัวช้ีวัดระดับกิจกรรม

โครงการ

กิจกรรม

การวัดผล

การวัดผล

การวัดผล

การจัดการระบบสารสนเทศ

การจัดการองคความรู

Software Hardware

Data Information

มีคุณลักษณะท่ีดี , พรอมใชงาน แมในภาวะฉุกเฉิน

ทิศทางการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค

Page 54: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

42

การวัด การวิเคราะห และการจัดการองคความรู เปนองคประกอบท่ีสําคัญท่ีกอใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู การจัดการกับผลการดําเนินการในดานตางๆ การปรับปรุงผลการดําเนินการ และการสรางนวัตกรรม ซ่ึงแสดงกระบวนงานท่ีสําคัญดังปรากฎในภาพประกอบท่ี 4.1 ความสัมพันธของระบบงานตามโครงสรางการบริหารและระบบของกิจกรรม/โครงการตามแผนกลยุทธ

4.1 การวัด การวิเคราะห และการปรับปรุงผลการดําเนินการของโรงเรียน

ก. การวัดผลการดําเนินการ (1) ตัววัดผลการดําเนินการ จากภาพประกอบท่ี 4.1 และ 2.1 แสดงใหเห็นถึงข้ันตอนของการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระยะ 4 ป (พ.ศ.2557-2560) ไดมีการกําหนดการวัดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศไว 15 มาตรฐานเพ่ือใชเปนวัตถุประสงคท่ีสําคัญ ในการกําหนดตัวชี้วัด คาเปาหมาย และกลยุทธ ในการดําเนินการเพ่ือการบรรลุวัตถุประสงคสําคัญท่ีกําหนดนั้น เพ่ือใหเกิดความม่ันใจในการท่ีจะใชตัวชี้วัดไปสูการวัดวิเคราะหและกําหนดกลยุทธ โรงเรียนมีระบบของการดําเนินการดังนี้

ภาพประกอบท่ี 4.2 ระบบของการกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จตามมาตรฐานการวัดการศึกษา

จากภาพประกอบท่ี 4.2 แสดงระบบของการกําหนดตัวชี้วัดความสําเร็จตาม

มาตรฐานการวัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ มีองคประกอบ 8 ประการ ประการแรกคือ การศึกษามาตรฐานการจัดการศึกษาซ่ึงมีท้ังหมด 15 มาตรฐาน มาตรฐานดังกลาวไดถูกกําหนดมาจากการรวบรวมขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะหหาจุดออน จุดแข็ง โอกาส อุปสรรค ของโรงเรียน และ

1. การศึกษา

มาตรฐานการ จัดการศึกษา

2. การวิเคราะห

พฤติกรรมตัวบงชี้ความสําเร็จ

3. กําหนด

ตัวชี้วัดหลัก

4. ประเมิน ตัวชี้วัด

5. จัดทํา

Focus group

6. ปรับตัวชี้วัด

7. ขออนุมัติ

8. ประกาศใช

ตัววัดผลการดําเนินการ การกําหนด คาเปาหมาย

Page 55: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

43

สภาพแวดลอมภายนอกท่ีโรงเรียนเก่ียวของ รวมไปถึงมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีประกาศโดยสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีกําหนดใหใชประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของประเทศ มาตรฐานการจัดการศึกษาท่ีใชประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสํานักงานรับรองและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา(องคกรมหาชน) เพ่ือใชประเมินคุณภาพภายนอกในระบบประกันคุณภาพการศึกษา และยังไดรวบรวมพันธกิจ เปาประสงค ความทาทาย ความไดเปรียบเชิงกลยุทธ ขอเรียกรองของนักเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูสงมอบ พันธมิตร และผูใหความรวมมือตลอดจนขอมูลดานครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมท้ังระบบการกํากับติดตาม และระบบการวัดผลการดําเนินการเพ่ือใหการกําหนดมาตรฐานของโรงเรียนครอบคลุมวัตถุประสงคสําคัญท่ีโรงเรียนตองดําเนินการเพ่ือบรรลุมาตรฐานการจัดการศึกษาท่ีกําหนด มาตรฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนไดผานการตรวจสอบ ประเมิน มาเปนลําดับจนเชื่อวาครอบคลุมประเด็นสําคัญๆ ประการท่ีสอง การวิเคราะหพฤติกรรมตัวบงชี้ความสําเร็จเพ่ือหารือรวมกันข้ันหนึ่งกอนถึงความเหมาะสมของการพิจารณาคัดเลือกตัววัดท่ีจะใชในการตรวจสอบผลการดําเนินการ มีกระบวนการท่ีสําคัญดังนี้ 1) พิจารณาตัววัดในอดีตวาตัวชี้วัดใดยังมีความเหมาะสมอยูและตัวชี้วัดใดควรยกเลิกเนื่องจากดําเนินการบรรลุผลแลวหรือไมสะทอนผลสําเร็จตามแผนปฏิบัติการ 2) พิจารณาตัววัดเพ่ิมเติมในแผนยุทธศาสตรภารกิจหลัก และนโยบายเรงดวนของกระทรวง 3) พิจารณาตัววัดและจํานวนตัววัดท่ีเหมาะสมโดยใชหลัก SMART คือ พิจารณาวามีความเจาะจงตองการวัดอะไร (Specific) และผลลัพธท่ีตองการคืออะไรโดยตองกําหนดวิธีการวัดได (Measurable) ตองวัดผลท่ีเกิดข้ึนไดไมวาจะวัดเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพไมเปนภาระมากเกินไปเปนงานท่ีตองดําเนินการอยูแลวเห็นชอบซ่ึงกันและกันระหวางฝายบริหารกับบุคลากรวาสามารถบรรลุได (Achievement) ขณะเดียวกันตองทาทายแตมีโอกาสเปนไปได (Realistic) และมีกรอบเวลาในการทํางานท่ีชัดเจนเหมาะสม (Time Bound) หรือมีการดําเนินการในชวงเวลาวัดประเมินผล เม่ือวิเคราะหหาตัววัดไดแลว ประการท่ีสาม กําหนดตัวชี้วัดหลักโดยจัดกลุมและจัดลําดับความสําคัญของตัววัด โดยโรงเรียนไดจําแนกเปน 4 มิติ ประกอบดวย ดานผูเรียน ดานการบริการทางการศึกษา ดานครูและบุคลากร และดานการบริหารจัดการ จากนั้นทําการคัดเลือกตัวชี้วัดท่ีสําคัญ โดยคัดเลือกจากตัวชี้วัดท่ีสงผลตอความสําเร็จของตัวชี้วัดอ่ืนๆ ตัวชี้วัดนั้นจะถูกดึงเปนตัวชี้วัดหลักของโรงเรียนหรือมีความสําคัญเปนลําดับแรก (First priority) ประการท่ีสี่ ประเมินตัวชี้วัดโดยเปรียบเทียบเกณฑสัมบูรณเพ่ือใชวัดวาโครงการ/กิจกรรมนั้นสามารถทําไดสมบูรณครบถวนหรือไมเปรียบเทียบกับคามาตรฐานกลางเปรียบเทียบเกณฑมาตรฐานเชิงนโยบาย เพ่ือใชวัดวาโครงการ/กิจกรรมนั้นสามารถทําไดใกลเคียงปริมาณความตองการท่ีกําหนดนโยบายของรัฐบาลหรือแผนของกระทรวงเปรียบเทียบการเคลื่อนไหวเชิงพัฒนาเพ่ือใชวัดวากิจกรรมนั้นสามารถทําไดดีข้ึนกวาเดิม ประการท่ีหา จัดทํา Focus group เปนวิธี เก็บขอมูลเชิงคุณภาพดวยการจัดใหบุคลากรในองคกรบางกลุมรวมอภิปรายพูดคุยกันซ่ึงประกอบดวยหัวหนากลุมวิชา หัวหนากลุมสาระฯ หัวหนาฝาย หัวหนากลุมบริหารงาน มุงประเด็นการสนทนาไปยังเรื่องตัววัดผลการดําเนินการ โดยพิจารณาวาตัวชี้วัดเหลานั้นเหมาะสมหรืออิงกับสภาพขอเท็จจริงของโรงเรียนหรือไม กลุมงานและโครงการ/กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการท่ีไดรับจัดสรรงบประมาณเพ่ือใหสามารถดําเนินการตอไปไดหรือไมจึงถือเปนข้ันตอนท่ีทบทวนกลั่นกรองและ

Page 56: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

44

สามารถปรับตัวชี้วัดไดจากนั้นจึงเสนอขออนุมัติจากฝายบริหารและประกาศใชเพ่ือนําตัววัดเหลานี้ไปกําหนดคาเปาหมาย ดังแสดงกระบวนการในหัวขอ (2)

(2) ขอมูลเชิงเปรียบเทียบ จากวัตถุประสงคสําคัญ และตัวชี้วัดความสําเร็จ ไดนํามากําหนดคาเปาหมายความสําเร็จในทุกตัวชี้วัดตามลําดับ มีกระบวนการดําเนินการเปนข้ันตอนดังนี้กําหนดคาความสําเร็จ ในระยะสิ้นสุดของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระยะ 4 ป (พ.ศ.2557-2560) ปท่ี 4 คือ ป พ.ศ.2560 โดยยึดหลักสมรรถนะของโรงเรียน ความไดเปรียบเชิงกลยุทธ และโอกาสทางการศึกษาเปนสําคัญ ศึกษาขอมูลสารสนเทศท่ีเนนประสิทธิผลของการดําเนินการเม่ือสิ้นสุดการดําเนินการตามแผนพัฒนาระยะ 4 ป (พ.ศ.2553-2556) เพ่ือใชเปนคาพ้ืนฐาน (Base line) ท่ีจะกําหนดคาเริ่มตนของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระยะ 4 ป (พ.ศ.2557-2560) กําหนดคาเปาหมายความสําเร็จ ในป 2557, 2558, 2559 โดยใชคาเฉลี่ยท่ีเพ่ิมข้ึนท่ีเทากัน ยกตัวอยางเชน ป 2556 มีขอมูลรอยละของผูเรียนท่ีสามารถสื่อสาร 2 ภาษา ไดระดับดีข้ึนไป (อังกฤษเพ่ือการสื่อสาร) เทากับ 55 โรงเรียนกําหนดคาความสําเร็จไว 75 ดังนั้น คาเฉลี่ยท่ีเพ่ิมข้ึนท่ีเทากันจึงเทากับ (75-55)/4 = 5 ดังตัวอยาง แสดงในตารางท่ี 4.1

ตารางท่ี 4.1 การกําหนดคาเปาหมายความสําเร็จ

วัตถุประสงค ตัวช้ีวัด คาเปาหมาย

กลยุทธสําคัญ 57 58 59 60

การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเนน แนวทาง การปฏิรูปการศึกษาเพ่ือพัฒนาและสงเสริมสถานศึกษาใหยกระดับคุณภาพสูงข้ึน

รอยละของผูเรียนท่ีสามารถสื่อสาร 2 ภาษา ไดระดับดี ข้ึนไป -ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร -ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร -ภาษาตางประเทศท่ี 2

80 60 60

85 65 65

90 70 70

95 75 75

พัฒนาคุณภาพผูเรียนเทียบเคียงมาตรฐานสากล - จัดกิจกรรมการฝกสนทนาภาษาอังกฤษเพ่ือเตรียมความพรอมสูประชาคมอาเซียน - จัดกิจกรรมการเรียนการสอน IS

กําหนดกลยุทธ โรงเรียนสตรีสิริเกศไดกําหนดโครงการเปนกลยุทธภายใตกลยุทธระดับองคกรหรือแผนงาน และกลยุทธระดับปฎิบัติการเปนการดําเนินการระดับกิจกรรมภายใตโครงการ จากผลการดําเนินการการวางแผนเชิงกลยุทธ โรงเรียนสตรีสิริเกศไดกําหนดกลยุทธระดับองคกรหรือแผนงาน กลยุทธภายใตแผนงานหรือโครงการ และกลยุทธระดับปฏิบัติการหรือกิจกรรมภายใตโครงการดังแสดงไวในหมวด 2 และแผนพัฒนาฯ (3) ขอมูลนักเรียนผูมีสวนไดสวนเสีย เม่ือทําการกําหนดกลยุทธในข้ันท่ี 4 แลว โรงเรียนไดทบทวนวัตถุประสงคสําคัญ ตัวชี้วัดความสําเร็จ คาเปาหมาย และกลยุทธท่ีใชดําเนินการ ซ่ึงเปนนวัตกรรมท่ีเกิดข้ึนจากการวางแผนท่ีเปนระบบและถูกนํามาใชปฏิบัติในการสรางความสําเร็จ จุดเนนท่ีสําคัญในการทบทวน คือ ทบทวนกับขอมูลท่ีไดจากการรับฟงเสียงของนักเรียน ผูมีสวนไดสวนเสีย ผูสงมอบ พันธมิตร ผูใหความรวมมือ คณะครูและบุคลากร เพ่ือใหเกิดความม่ันใจวา

Page 57: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

45

โรงเรียนไดสนองตอบขอเรียกรอง ความคาดหวัง และอ่ืนๆ ไดอยางครบถวน (หมวด 3.1 ก) และถาพบประเด็นท่ีไมครอบคลุม หรือไมครบถวน ไดนํามาปรับแกตอไป (4) ความคลองตัวของการวัดผล โรงเรียนสตรีสิริเกศไดกํากับดูแลใหเกิดความคลองตัวของการวัดผล โดยจัดทําระบบของการกํากับดูแลองคกรและประเมินผลการดําเนินการไวในหัวขอ 1.2 การกํากับดูแลตามสายงานการบังคับบัญชาตามโครงสรางการบริหาร และระดับการปฏิบัติการตามแผนกลยุทธ เพ่ือใหเกิดความคลองตัว ฝายบริหารกํากับติดตามโดยไดนําหลักธรรมา- ภิบาลเขามาใช กลาวคือ ผูอํานวยการไดกระจายอํานาจทางการตัดสินใจใหรองผูอํานวยการโรงเรียนไดตัดสินใจภายใตอํานาจหนาท่ีท่ีผูอํานวยการมอบหมาย โดยผานการมีสวนรวมของหนวยงานหรือทีมงานภายใตกลุมบริหาร เม่ือเกิดเหตุการณท่ีไมคาดคิดหรืองานลาชาไมเปนไปตามท่ีกําหนด ทีมงานท่ีรับผิดชอบในงานหรือกิจกรรมจะประชุมเพ่ือเสนอแนวทางใหรองผูอํานวยการไดตัดสินใจและทบทวนเพ่ือเกิดการม่ันใจไดวาการเปลี่ยนแปลงนั้นจะไมกระทบตอผลการดําเนินการ

ข. การวิเคราะหและทบทวนผลการดําเนินการ โรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดจัดทําแผนบริหารความเสี่ยง (Rich Management) ตามข้ันตอน

การปฏิบัติของระเบียบวาดวยการบริหารความเสี่ยง โดยพิจารณาความเสี่ยงท่ีอาจเกิดข้ึนจากการดําเนินการตามกลยุทธหรืองานประจําตามโครงสรางการบริหาร หรือความเสี่ยงดานการเงินท่ีจะกระทบตอการใชงบประมาณตามแผนและงานตามโครงสรางการบริหาร ท่ีมีคณะกรรมการรับผิดชอบดําเนินการควบคูไปกับการวางแผนกลยุทธ โดยวิเคราะหความเสี่ยงเพ่ือกําหนดประเด็นท่ีเปนความเสี่ยง กําหนดกลไกในการดําเนินการเพ่ือวางแผนบริหารความเสี่ยง ลงมือปฏิบัติตามกลไกท่ีกําหนด รวมท้ังวิเคราะหและทบทวนผลการดําเนินการภายหลังการใชกลไกในการแกไข และปองกันผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึน โดยศึกษาผลควบคูไปกับผลการดําเนินการตามโครงการ

ค. การปรับปรุงผลการดําเนินการ โรงเรียนสตรีสิริเกศไดใช SSK-Model และวงจรคุณภาพของเดมม่ิง (Deming’s Cycle)

หรือ PDCA มาใชในการกํากับดูแลการดําเนินการของงานตามโครงสรางการบริหาร และกิจกรรม/โครงการภายใตกลยุทธ ดังแสดงไวในขอ 2.1, 2.2 และ 6.1 ซ่ึงกอใหเกิด

(1) การแลกเปล่ียนเรียนรูวิธีปฏิบัติท่ีเปนเลิศ เม่ือทบทวนผลการดําเนินการของงาน ตางๆ ตามโครงสรางการบริหารและกิจกรรม/โครงการภายใตกลยุทธแลว ทุกหนวยงานสรางองคความรู ตามหัวขอ 4.2 ก(3) ซ่ึงเปนวิธีการในการแลกเปลี่ยนเรียนรูวิธีการปฏิบัติงานท่ีเปนเลิศของ แตละหนวยงานในโรงเรียน เปนแบบอยางท่ีดีตอการนํามาบูรณาการเพ่ือพัฒนางานอ่ืน

(2) ผลการดําเนินการในอนาคต ผลการทบทวนผลการดําเนินการ เปนขอมูลท่ีจะตองรวบรวมมาเพ่ือเปนขอมูลเชิงเปรียบเทียบและเชิงแขงขัน สําหรับการกําหนดคาความสําเร็จ ตามวิธีการท่ีกลาวไวในหัวขอ 4.1 ก(2)

(3) การปรับปรุงอยางตอเนื่องและนวัตกรรม โรงเรียนทบทวนผลการดําเนินการ ตามขอ ข แลวนําผลการทบทวนเหลานั้นไปจัดลําดับความสําคัญเพ่ือนําไปวิเคระหในการปรับปรุงการวางแผนกลยุทธ ซ่ึงเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่องจนกลายเปนนวัตกรรมของโรงเรียนสตรีสิริเกศ และถายทอดสูหนวยงานตามโครงสรางการบริหาร สูผูสงมอบ พันธมิตร และผูใหความรวมมือของโรงเรียน

Page 58: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

46

เพ่ือนําสูการปฏิบัติ ดวยวิธีการสรางองคความรู และจัดระบบสารสนเทศท่ีงายตอเขาถึง และพรอมใชงานแมอยูในสภาวะฉุกเฉิน ดังแสดงในหัวขอ 4.2

4.2 การจัดการสารสนเทศ ความรู และเทคโนโลยีสารสนเทศ

ก. การจัดการขอมูลสารสนเทศและการจัดการความรู

ภาพประกอบท่ี 4.3 ความสัมพันธของขอมูลเพ่ือนําไปใชบริหารจัดการโรงเรียนสตรีสิริเกศ

(1) คุณลักษณะ เพ่ือใหม่ันใจวาขอมูลสารสนเทศและองคความรูมีคุณลักษณะของสารสนเทศท่ีดี ดังภาพประกอบท่ี 4.3 โรงเรียนสตรีสิริเกศมีวิธีการดําเนินการดังภาพประกอบท่ี 4.4

ภาพประกอบท่ี 4.4 ระบบการจัดการขอมูลสารสนเทศโรงเรียนสตรีสิริเกศ

จากภาพประกอบท่ี 4.4 ข้ันตอนแรกโรงเรียนเริ่มจากการวางแผนการดําเนินการและแตงตั้งคณะทํางานสารสนเทศโรงเรียนเพ่ือมอบหมายงาน ซ่ึงประกอบดวย ครูหรือเจาหนาท่ี

ขอมูลพรอมใช

แมนยํา

ถูกตองและเชื่อถือได

ทันกาล

ปลอดภัยและเปนความลับ

ระบบการจัดการข้อมูลสารสนเทศ

ข้อมูลประสิทธิภาพ ข้อมูลประสิทธิผล

Page 59: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

47

ท่ีรับผิดชอบงานสารสนเทศจากทุกๆ กลุมบริหารงาน กลุมสาระการเรียนรู และกลุมวิชา ข้ันตอนท่ี 2 ดําเนินการรวบรวมขอมูล โดยคณะทํางานจากทุกกลุมเปนผูรวบรวม คณะทํางานจะเปนผูท่ีสามารถเขาถึงขอมูลดิบไดสะดวก รวดเร็ว ทันกาล และตรวจสอบความถูกตองของขอมูลจากแหลงขอมูลท่ีเปนตนสังกัด โดยผานหัวหนากลุมงาน และรองผูอํานวยการลงนาม เพ่ือเปนการตรวจสอบและยืนยันความถูกตองอีกครั้ง หากขอมูลมีความผิดพลาดตองดําเนินการรวบรวมขอมูลใหมหรือปรับเปลี่ยนแกไขขอมูลใหถูกตอง ทําใหไดขอมูลนาเชื่อถือและมีหลักฐานอางอิงท่ีชัดเจนท่ีเก็บรวบรวมไวท่ีตนสังกัด ข้ันตอนท่ี 3 เม่ือไดขอมูลท่ีผานการตรวจสอบความถูกตองแมนยําแลว จึงดําเนินการจัดหมวดหมู เรียบเรียง ประมวลผลหรือวิเคราะหขอมูลท่ีเปนตัวเลข เพ่ือใหอยูในรูปแบบท่ีงายตอการนําเสนอ ข้ันตอนท่ี 4 ทําการจัดเก็บหรือบันทึกขอมูล ลงในสื่อประเภทตางๆ เชน จัดทําเปนรายงาน หนังสือ บทความตีพิมพในจุลสารโรงเรียน จัดเก็บในฐานขอมูลคอมพิวเตอรหรือเครื่องแมขายของโรงเรียน ข้ันตอนท่ี 5 จัดทําระบบการคนคืนขอมูลสารสนเทศพรอมใชงานผานเว็บไซตของโรงเรียน (URL Website : www.ssk.ac.th) เพ่ือความสะดวกในการจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศ (Retrieving Data) จะไดจัดเก็บและคนคืนสารสนเทศอยางถูกตอง แมนยํา รวดเร็ว และตรงกับความตองการสําหรับสนับสนุนการตัดสินใจของฝายบริหาร ข้ันตอนท่ี 6 ในการประมวลผลเพ่ือใหไดมาซ่ึงสารสนเทศนั้น ไดมีการสําเนาขอมูล (Reproducing Data) นําไปเก็บไวในท่ีท่ีปลอดภัย เพ่ือปองกันความเสียหายท่ีอาจเกิดข้ึนกับขอมูล ในกรณีเกิดเหตุภาวะฉุกเฉินท้ังจากสาเหตุทางกายภาพ และระบบการจัดเก็บขอมูล โดยใชซอฟแวรชวยในการสํารองและดึงขอมูลกลับมาใชใหมได ข้ันตอนท่ี 7 ทําการเผยแพร สื่อสาร หรือกระจายขอมูล (Communicating/disseminating Data) เ พ่ือใหสารสนเทศท่ีไดสงถึงไปยังทุกฝายหรือผูท่ีเก่ียวของ ไมวาจะเปนบุคลากร ผูสงมอบ พันธมิตร ผูท่ีใหความรวมมือ รวมท้ังนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย (2) ขอมูลและสารสนเทศพรอมใชงาน จากภาพประกอบท่ี 4.3 และ 4.4 ในการทําใหขอมูลและสารสนเทศท่ีจําเปนมีความพรอมใชงาน โรงเรียนสตรีสิริเกศมีวิธีการดําเนินการดังนี้ มีการวางแผนเชิงกลยุทธในเรื่องปรับปรุงพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ แหลงเรียนรูสภาพแวดลอมและการบริการใหเอ้ือตอการเรียนรู มีแนวคิดท่ีจะพัฒนาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (MIS) เพ่ือใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือในการจัดกิจกรรมการเรียนรูและระบบบริหารงานในโรงเรียน สนับสนุนการดําเนินงานในสวนตางๆ อยางชัดเจนและเปนระบบ กําหนดหนวยงานผูรับผิดชอบโดยตรง คือ งานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรและเครือขาย มีคําสั่งมอบหมายภาระงานแกบุคลากรอยางชัดเจน มีหนาท่ีรับผิดชอบในการจัดหาพัฒนาระบบงานและบริหาร Hardware, Software และเครือขายขอมูล (Network) ใหขอมูลสารสนเทศท่ีอยูในรูป Electronic มีความพรอมใชงานตลอดเวลา มีการปรับระบบใหเปนไปตามความตองการของโรงเรียน พัฒนาบุคลากรท่ีรับผิดชอบดานการดูแลบํารุงรักษาระบบเครือขาย การจัดการระบบขอมูลสารสนเทศ โดยสงบุคลากรเขารวมอบรมอยางสมํ่าเสมอ รวมถึงมีวิศวกรผูเชี่ยวชาญทางดานเครือขายคอยใหคําแนะนําในการพัฒนาและปรับปรุงใหระบบสามารถสนับสนุนการทํางานไดดียิ่งข้ึน สงเสริม/สนับสนุน ใหมีโครงการจัดอบรมครูและบุคลากรท้ังโรงเรียนใหมีความรูความสามารถในการใชงานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสนับสนุนงานและจัดการเรียนการสอน จัดใหมีเครื่องแมขาย (Server) ท่ีมีประสิทธิภาพสูง มีการกระจายสัญญาณอินเตอรเน็ตไรสาย รองรับการใชงานไดเพียงพอท้ังระบบ Internet และ Intranet

Page 60: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

48

จัดการขอมูลสารสนเทศเขาระบบการคนคืนสารสนเทศของโรงเรียนเพ่ือพรอมใชงาน ดังนี้ มีระบบสนับสนุนการบริหารจัดการสถานศึกษา (SMSS) เขาถึงไดท่ี URL : http://smss.ssk.ac.th เปนระบบสารสนเทศหลักของโรงเรียน จึงตองมีการประมวลผลไดทันที มีการเปรียบเทียบขอมูลอยางถูกตองและเปนปจจุบัน เพ่ือใหเกิดการบริหารงานอยางเต็มประสิทธิภาพ สนับสนุนการตัดสินใจของการบริหารงานท้ัง 4 กลุมบริหารงาน เชน การตรวจสอบการเขาชั้นเรียนของนักเรียน การเขาแถว สามารถเขาถึงขอมูลหนังสือราชการ คําสั่งโรงเรียน ผานการใชระบบทะเบียนหนังสือราชการ การจองหองประชุมและอาคารสถานท่ี เปนตน นอกจากนี้ยังมีระบบสนับสนุนการบริหารอ่ืนๆ ไดแก ระบบบริหารงานกลุมบริหารงานท่ัวไป (GDMC) ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหารสมรรถนะของขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาท้ังระบบ (CMSS) โปรแกรมระบบจัดซ้ือจัดจางภาครัฐ (E-GP) ระบบบริหารพัสดุและทรัพยสินของโรงเรียน (School Man) และระบบ GIRO Data Entry ชวยสนับสนุนงานใหเกิดความคลองตัวมากยิ่งข้ึน มีระบบสารสนเทศพ้ืนฐานของโรงเรียน เขาถึงไดท่ี URL : http://gpa.ssk.ac.th/ssk-info ประกอบดวย ขอมูลและสารสนเทศท่ีเก่ียวของกับภาพรวมของโรงเรียน มีระบบการจัดการสารสนเทศเก่ียวกับผูเรียน เปนระบบสารสนเทศท่ีรวบรวมขอมูลเก่ียวกับผูเรียนท้ังหมดสารสนเทศ สวนนี้จัดทําโดยครูประจําชั้น จัดสงขอมูลใหกับเจาหนาท่ี ในฝายแผนงานและสารสนเทศ ไดทําการจัดเก็บในระบบ DMC (Data Management Center) เชน ขอมูลพ้ืนฐานของนักเรียนรายบุคคล สภาพเศรษฐกิจของผูเรียนการดอยโอกาส เปนตน สารสนเทศอีกสวนหนึ่งจัดทําโดยครูผูสอนเปนสวนใหญ เชน ผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนจําแนกเปนรายชั้นรายป ผลการประเมินคุณภาพของผูเรียน รายงานผลความกาวหนาของผูเรียน รายงานความประพฤติ พฤติกรรมการแสดงออกของผูเรียนรายงานการติดตามและเฝาระวังนักเรียนในกลุมหวงใย เปนตน ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานวิชาการ โรงเรียนใชระบบ Student 51 ในการจัดเก็บระบบสารสนเทศเก่ียวกับกระบวนการจัดการเรียนการสอนและหลักสูตร การวัดและประเมินผล มีระบบลงทะเบียนออนไลน ผูเรียนลงทะเบียนเรียนวิชาเพ่ิมเติมและกิจกรรมชุมนุม ผานทาง URL : reg.ssk.ac.th มีระบบตรวจขอสอบและวิเคราะหขอสอบ ระบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน (SSK E-Learning) เขาถึงไดท่ี URL : http://elearning.ssk.ac.th ประเมินความพึงพอใจของผูใชระบบเพ่ือนําไปปรับปรุงแกไขพัฒนาระบบใหดียิ่งข้ึน ฝายบริหารทําการนิเทศติดตามงานอยางสมํ่าเสมอ

(3) การจัดการความรู จากภาพประกอบท่ี 4.5 โรงเรียนสตรีสิริเกศเริ่มตนจัดการองคความรูโดยการประเมินองคกรกอนเพ่ือใหทราบวา โรงเรียนควรสรางองคความรูท่ีจําเปนใดบางเพ่ือสนับสนุนการเรียนรูของบุคลากรในโรงเรียนใหสามารถทํางานไดบรรลุตามวิสัยทัศนและพันธกิจของโรงเรียน ซ่ึงไดขอสรุปวา โรงเรียนควรสรางองคความรูหลักๆ 2 สวน คือ องคความรูเก่ียวกับการดําเนินการของกลุมบริหารงานเพ่ือถายทอดข้ันตอน/แนวทางการปฏิบัติงาน และองคความรูท่ีเกิดจากการถายทอดประสบการณในการปฏิบัติงานของแตละบุคคล จากนั้นจึงดําเนินการสรางองคความรู โดยมีวิธีการดําเนินการดังนี้ เตรียมการปรับพฤติกรรมของครูและบุคลากรในโรงเรียน สรางความเขาใจเรื่องการสรางองคความรู ทําใหครูและบุคลากรยอมรับการเปลี่ยนแปลง สื่อสารใหเขาใจตรงกันถึงข้ันตอนการดําเนินการ คิดคนกระบวนการและจัดเตรียมเครื่องมือ ฝกอบรม ถายทอดความรูแก ครูและบุคลากรเก่ียวกับการสรางองคความรู รวมกันสรางองคความรูตามกระบวนการ KM จากนั้นรวบรวมความรู

Page 61: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

49

และนําไปถายทอด แบงปน ในรูปแบบ วารสารสตรีสิริเกศ จุลสารสตรีสิริเกศ และคลังความรูผานทาง URL : km.ssk.ac.th นิเทศ กํากับ ติดตาม และประเมินผล เพ่ือนํากลับไปปรับปรุงการดําเนินการครั้งตอไปเพ่ือพัฒนาใหดียิ่งข้ึนและเกิดความยั่งยืน พัฒนาเปนนวัตกรรมหรือนําวิธีการปฏิบัติท่ีเปนเลิศไปเปนแนวทางการดําเนินการตอไป ยกยอง ชมเชย ใหขวัญกําลังใจแกครูและบุคลากร

ข. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (1) คุณลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวร โรงเรียนสตรีสิริเกศมีวิธีการดังนี้ กําหนด

หนาท่ีผูรับผิดชอบชัดเจน มีวิธีการจัดการท้ังดานฮารดแวร เน็ตเวิรก และซอฟตแวรใหม่ันใจไดวา ฮารดแวรและซอฟตแวรมีความเชื่อถือได ปลอดภัย และใชงานงาย ดังตารางท่ี 4.2 และ 4.3

ภาพประกอบท่ี 4.5 แสดงการจัดการระบบองคความรูของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

กําหนดองคความรูท่ีจําเปน เพ่ือการบรรลุวิสัยทัศนพันธกิจของโรงเรียน

1. เตรียมการปรับพฤติกรรม (สรางการยอมรับ)

2. การสื่อสาร 3. กระบวนการ / เคร่ืองมือ

6.การยกยอง/ชมเชย

5. นิเทศ/ประเมินผล 4. การฝกอบรมและเรียนรู

เปาหมายของKM

- บุคลากรสามารถนําองคความรูท่ีมีนั้นมาเปนฐานในการปฏิบัติ - พัฒนางานจนกระท่ัง สรางองคความรูใหม หรือเกิดเปนนวัตกรรมใหม - เกิดองคกรท่ีมีความเปนเลิศ (Best Practice)

1. บงช้ีความรู

2.สราง/แสวงหา ความรู

3. จัดความรู เปนระบบ

4. ประมวล กลั่นกรองความรู

5. เขาถึง ความรู

6. แลกเปลี่ยน ความรู

7. สรุปบทเรียน/ องคความรู

KM Process

Page 62: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

50

ตารางท่ี 4.2 แสดงความเชื่อถือได ปลอดภัย และใชงานงาย ของฮารดแวรและเน็ตเวิรก ความนาเช่ือถือได ความปลอดภัย การใชงานงาย

1. คัดเลือกคุณลักษณะของฮารดแวรท่ีมีประสิทธิภาพในการทํางาน 2. มีระบบในการเฝาระวัง (Monitor) เพ่ือใหมีความม่ันใจวาฮารดแวรพรอมใหบริการ 3. ทุกเดือนตองทําการ Monitor ขอมูล Uptime หากนอยกวาเปาหมาย ตองหาสาเหตุ ปญหา และแกไข 4. ใชบริการ Internet Service Provider (ISP) 2 รายสํารองในกรณีรายใดรายหนึ่งใหบริการไมได 5. กําหนดโครงการและงบประมาณในการบํารุงรักษาฮารดแวร ดําเนินการตามแผนอยางสมํ่าเสมอ 6. มีวิศวกรทําหนาท่ีใหคําปรึกษาในการจัดการฮารดแวรเพ่ือการบริหารขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ

1. มีหองควบคุมระบบการทํางานแยกเปนสัดสวน มีระบบปรับอากาศ และมีกลองบันทึกภาพการใชงาน ใชงานไดตลอด 24 ชั่วโมง 2. มีระบบสํารองไฟฟากรณีไฟฟาดับ เพ่ือใหระบบทํางานไดปกติ 3. มีการกําหนดสิทธิ์ในการเขาถึงฮารดแวรในแตละตัว 4. มีระบบปองกันการบุกรุกจากบุคคลภายนอก

1. มีข้ันตอนวิธีการใชงานท่ีชัดเจน 2. มีบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถรับผิดชอบในการทํางาน

ตารางท่ี 4.3 แสดงความเชื่อถือได ปลอดภัย และใชงานงาย ของซอฟตแวร

ความนาเช่ือถือ ความปลอดภัย การใชงานงาย 1. คัดเลือกคุณลักษณะของซอฟตแวรท่ีมีประสิทธิภาพในการทํางาน 2. กําหนดโครงการและงบประมาณในการบํารุงรักษาซอฟตแวร ดําเนินการตามแผนอยางสมํ่าเสมอ 3. มีวิศวกรทําหนาท่ีใหคําปรึกษาในการจัดการซอฟตแวรเพ่ือการบริหารขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ 4. QA software กอนนําไปใชงาน และทําการ Monitor จากปญหาท่ีเจาหนาท่ีรับแจง

1. กําหนดสิทธิ์ในการเขาใชงานตามบทบาทหนาท่ีรับผิดชอบ 2. มีการสํารองขอมูล (Backup) ทุกวัน และจัดเก็บขอมูลไวในรูปแบบไฟลขอมูล และสํารองขอมูลไวในระบบ Cloud Computing ผานระบบอินเตอรเน็ตและสามารถกูคืนไดภายใน 24 ชั่วโมง 3. มีการกําหนดผูรับผิดชอบในการทํางาน และแกไขปญหาในการใชงาน 4. งานระบบ Authentication ซ่ึงเปน ระบบท่ีใชแสดงตัวตนในการเขาใชอินเทอรเน็ตตาม พ.ร.บ. วาดวย การกระทําความผิดทางคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

1. มีคูมือในการใชงานระบบซอฟตแวรบริหารจัดการ 2. มีการเผยแพรขอมูลสารสนเทศในอินเตอรเน็ตใหบุคคลท่ัวไปไดรับทราบ 3. มีชองทางในการติดตอสื่อสารระหวางผูรับผิดชอบและผูสนใจ

Page 63: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

51

(2) ความพรอมใชงานในภาวะฉุกเฉิน ในกรณีฉุกเฉิน โรงเรียนสตรีสิริเกศมีวิธีการเพ่ือเพ่ิมความม่ันใจวา ขอมูลสารสนเทศรวมถึงระบบฮารดแวรและซอฟแวรยังคงมีสภาพพรอมใชงานไดอยางตอเนื่องแมในสภาวะฉุกเฉิน ดังนี้ ข้ันตอนท่ี 1 ระบบอินเตอรเน็ตของโรงเรียน มีการติดตั้งเครื่องแมขายสําหรับเชื่อมตอระบบอินเตอรเน็ต 2 ระบบ คือ ระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูง (Leased Line) โดยเชาใชบริการสัญญาณจาก CAT Corporate Service และระบบอินเตอรเน็ตความเร็วสูงจากโครงการพัฒนาและขยายเครือขาย เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือพัฒนาการศึกษาเพ่ือรองรับการศึกษาท้ังระบบ (UniNet) ดังนั้น หากมีระบบใดระบบหนึ่งขัดของ ก็จะมีระบบสํารอง เพ่ือใหสามารถใชงานเครือขายไดตลอด ข้ันตอนท่ี 2 การปองกันและแกไขปญหากระแสไฟฟาขัดของ ซ่ึงอาจสรางความเสียหายแกระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร จึงมีโครงการจัดซ้ือเครื่องสํารองไฟ เปดใชงานเครื่องสํารองไฟฟาและปรับแรงดันไฟฟาอัตโนมัติ (UPS) ตลอดระยะเวลาท่ีเปดใชงานเครื่องคอมพิวเตอรแมขายและเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล ข้ันตอนท่ี 3 ใชซอฟตแวรในการบริหารจัดการระบบอยางมีประสิทธิภาพ โดยเลือกใชซอฟตแวรบริหารจัดการแบบลิขสิทธิ์มีการบริการใหคําปรึกษาจากทีมงานผูพัฒนาอยางทันทวงที มีการปรับปรุงระบบซอฟทแวรท่ีใชงานใหทันสมัยอยูเสมอ ข้ันตอนท่ี 4 มีระบบสํารองฐานขอมูลท่ีหลากหลาย เชน จัดเก็บไวแถบแมเหล็ก (Hard disk) และระบบ Cloud Computing จัดเก็บไวบนเครือขายอินเตอรเน็ต โดยผานระบบ Google Apps for Education ซ่ึงเปนผูใหบริการระดับโลก สามารถเรียกคืนไดภายใน 24 ชั่วโมง ข้ันตอนท่ี 5 จัดใหมีบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถในการดูแลขอมูลสารสนเทศฮารดแวรซอฟแวรวัสดุอุปกรณ และทําหนาท่ีเตรียมพรอมใหใชงานไดอยางตอเนื่อง แมกรณีภาวะฉุกเฉิน ข้ันตอนท่ี 6 จัดเตรียมระบบ E-Learning และ E-Classroom สําหรับครูสรางเนื้อหาบทเรียนและพรอมรับมือเม่ือกรณีเกิดเหตุภาวะฉุกเฉิน โรงเรียนจําเปนตองหยุดทําการ แตผูเรียนสามารถเรียนผานระบบออนไลนได

Page 64: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

หมวด 5

การมุงเนนบุคลากร

โรงเรียนสตรีสิริเกศใหความสําคัญตอครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนไดจัดสภาพแวดลอมและสรางบรรยากาศท่ีเอ้ือตอการทํางาน การบริหารขีดความสามารถและอัตรากําลัง การจัดสวัสดิการและกิจกรรมสรางความผูกพันของบุคลากรตอสถานศึกษา แสดงความสัมพันธไดตามภาพประกอบท่ี 5.1 ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 5.1 ความสัมพันธของการบริหารบุคคลโรงเรียนสตรีสิริเกศ

สภาพแวดลอม ในการทํางาน

ความผูกพัน ของบุคลากร

ระบบการมุงเนนบุคลากร

วิสัยทัศน พันธกิจ เปาประสงค

นโยบาย จุดเนน กลยุทธ

Page 65: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

53

5.1 สภาพแวดลอมในการทํางาน

ภาพประกอบท่ี 5.2 ระบบการจัดการสภาพแวดลอมในการทํางานโรงเรียนสตรีสิริเกศ การจัดการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดระบบการปฏิบัติงานตามสายงานตามโครงสรางการบริหารครอบคลุมทุกภาระงานมีการกําหนดบทบาท หนาท่ี ความรับผิดชอบและมาตรฐานการปฏิบัติงานของทุกกลุมงานเพ่ือใชเปนเปาหมายสําคัญของการทํางานใหบรรลุผล ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 5.3 ระบบการบริหารความสามารถและอัตรากําลังโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ก. ขีดความสามารถและอัตรากําลังบุคลากร

(1) ขีดความสามารถและอัตรากําลัง โรงเรียนไดจัดระบบการบริหารขีดความ สามารถและอัตรากําลัง ตามภาพประกอบท่ี 5.3 เริ่มจากการสํารวจอัตรากําลังในแตละกลุมสาระการเรียนรูและงานสนับสนุน โดยใชเกณฑอัตรากําลังท่ี สพฐ. กําหนด นําขอมูลท่ีไดจากการสํารวจมาวิเคราะหท้ังในดานปริมาณ คือ ระบุจํานวนและคุณลักษณะเชิงประชากรท่ีจําเปน เชน อายุ อายุราชการ แนวโนมการขอยาย การเกษียณราชการกอนกําหนด และดานขีดความสามารถ คือ ความรูและทักษะ (วิชาเอก/วิชาโท) ประสบการณในการทํางานดานตางๆ ความสามารถพิเศษ ครูท่ีสอนตรงตามเอก กําหนดอัตรากําลังขาด อัตราการเกิน นําเสนอฝายบริหารเพ่ือพิจารณาดําเนินการ

สํารวจความตองการ

อัตรากําลังครู

วิเคราะหอัตรากําลัง

แกปญหาดานอัตรากําลัง ขาด/เกิน

ประเมินผล

ทบทวน ปรับปรุง พัฒนา

อัตรากําลัง

สมรรถนะ

บุคลากรใหม

การ

เปลี่ยน

แปลง

บุคลากร

การทํางาน ใหบรรลุผล เปาหมาย

มาตรฐาน ตัวช้ีวัด

Page 66: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

54

ปรับอัตรากําลังใหความเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาท่ี ประเมินผลและปรับปรุงแผนอัตรากําลังครูในชวงเดือนมิถุนายนของทุกป

(2) บุคลากรใหม โรงเรียนสตรีสิริเกศไดบริหารงานอยางมีสวนรวม โดยใหแตละกลุมสาระการเรียนรูสํารวจขอมูลอัตรากําลัง เม่ือวิเคราะหอัตรากําลังครูแลว หากปรากฏครูขาดอัตรากําลัง ใหเสนอตอฝายบริหาร มีการประชุมวางแผนการดําเนินงาน กําหนดคุณสมบัติของบุคลากรใหตรงกับความตองการของลักษณะงาน ข้ันตอนแรกจะใชทรัพยากรบุคคลท่ีมีอยูในโรงเรียนโดยมีการไหลเลื่อนบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถในโรงเรียนไปชวยเหลือในสวนท่ีขาด หากยังไมเพียงพอโรงเรียนจะดําเนินการใหมีผูสงมอบโดยการจัดจางตามระเบียบปฏิบัติของทางราชการ เพ่ือรอการดําเนินการ สรรหา บรรจุและแตงตั้ง เพ่ือวางแผนอัตรากําลังครูในอนาคตใหเหมาะสม โดยศึกษาบริบทท่ีเก่ียวของ เชน วิสัยทัศน แผนการจัดชั้นเรียน โครงสรางหลักสูตร ความเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจท่ีสงผลตอความคาดหวังความตองการของผูเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย เพ่ือกําหนดความตองการครู เม่ือไดบุคลากรตามท่ีตองการแลว โรงเรียนจะมีการพัฒนาโดยใหบุคลากรใหมโดยจัดใหมีการปฐมนิเทศ และสงเสริมใหเขารวมการอบรม ประชุม สัมมนา ศึกษาดูงานตามวิชาเอก หรือภาระงานท่ีไดรับมอบหมาย มีการประเมินความพึงพอใจในดานตางๆ ของครูเพ่ือรักษาบุคลากรใหมไว มีการทบทวนกระบวนการทํางานอยางสมํ่าเสมอ

(3) การทํางานใหบรรลุผล โรงเรียนจัดระบบการกํากับติดตามการจัดการศึกษาเปนสองระบบคือ ระบบงานประจํา ผานสายบังคับบัญชาตามโครงสรางการบริหาร งานประกอบดวยผูอํานวยการโรงเรียน รองผูอํานวยการโรงเรียนซ่ึงแบงหนาท่ีรับผิดชอบดานวิชาการ ดานกิจการนักเรียน ดานบุคลากร ดานบริหารท่ัวไป และมอบหมายหัวหนากลุมสาระการเรียนรูเปนคณะบริหารโรงเรียน การบริหารงานบุคคลของโรงเรียน จะสรรหาและบรรจุแตงตั้งครูตามกลุมสาระการเรียนรูใหสอดคลองกับความตองการและภาระหนาท่ีของโรงเรียนและสมรรถนะหลักของโรงเรียน โดยกําหนดบทบาท หนาท่ี ความรับผิดชอบ และมาตรฐานการปฏิบัติงานของแตละหนวยงาน ดังอธิบายในหมวดท่ี 6 ขอ 6.1 ข(1) ในแตละปครูทุกคนตองจัดทําแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ปฏิบัติงานตามแผนท่ีวางไว ประเมินผลการทํางานของตัวเอง และรายงานงานผลการดําเนินงานเสนอตามสายงานการบริหาร พรอมวิเคราะห ปรับปรุงอยางตอเนื่อง

(4) การจัดการเปล่ียนแปลงของบุคลากร โรงเรียนบริหารจัดการเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรโดยใชกระบวนงานการวางแผนอัตรากําลังเตรียมความพรอมตอการเปลี่ยนแปลงอัตรากําลังของบุคลากรในอนาคต เริ่มดวยการวิเคราะหปจจัยท่ีมีผลตอการเปลี่ยนแปลง รวบรวมขอมูลท่ีไดจากการวิเคราะห ไดแก แนวโนมการโยกยาย การเกษียณอายุราชการ การเกษียณอายุราชการกอนกําหนด โรงเรียนจะสํารวจขอมูลลวงหนา เพ่ือเตรียมการสรรหาครูทดแทนในอัตราท่ีวาง วิเคราะหแผนการรับนักเรียน และคาดคะเนจํานวนนักเรียนในอนาคตโดยการจัดทํา School mapping การคาดการณนักเรียนในระยะ 4 ป ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ วิเคราะหแผนการจัดชั้นเรียนแตละโครงสรางหลักสูตร/แผนการเรียนและ ขีดความสามารถและอัตรากําลังของครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีมีอยู เม่ือวิเคราะหสภาพปญหาและความตองการอัตรากําลังแลวจึงมีการประชุมวางแผนหาแนวทางเตรียมรับสถานการณ ตาม

Page 67: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

55

กระบวนการขอ 5.1 ก(2) มีแผนอัตรากําลังระยะสั้นและระยะยาวรองรับการเปลี่ยนแปลงมีการประเมินกระบวนการทํางานอยางสมํ่าเสมอพัฒนาปรับปรุงใหดีข้ึน

ข. บรรยากาศการทํางานของบุคลากร

ภาพประกอบท่ี 5.4 แผนภาพแสดงบรรยากาศในการทํางานของบุคลากร

(1) สภาพแวดลอมในการทํางาน จากภาพประกอบท่ี 5.4 แสดงระบบของการสราง

บรรยากาศในการทํางานของครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนซ่ึงเปนสิ่งท่ีโรงเรียนใหความสําคัญเพราะการสนับสนุนใหครูและบุคลากรไดทํางานอยางจริงจังตามบทบาท หนาท่ีท่ีกําหนดของแตละกลุมงาน กระบวนงานของระบบแสดงความสัมพันธ ดังนี้ โรงเรียนไดทําแบบสํารวจเพ่ือรวบรวมขอมูลเก่ียวกับความตองการพ้ืนฐานดานสภาพแวดลอมในการทํางานของครู บุคลากร คณะกรรมการประชุมวางแผนรวมกันกําหนดสภาพแวดลอมในการทํางานท่ีดี ในดานตางๆ ไดแก ดานความปลอดภัย ดานการปองกันภัยในสถานศึกษา ดานการสงเสริมสุขอนามัย ดานบรรยากาศในการทํางาน ดานการปองกันและควบคุมอุบัติเหตุ ดานการจัดหาอุปกรณท่ีจําเปนสําหรับการปฏิบัติงาน กําหนดใหมีผูรับผิดชอบงานในแตละดาน กําหนดภาระงานท่ีพึงกระทําใหเกิดสภาพแวดลอมในการทํางานท่ีดี อาทิ จัดหาวัสดุอุปกรณท่ีจําเปนเพ่ืออํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน จัดเวรยามรักษาความปลอดภัย ครูชายปฏิบัติหนาท่ีเวรกลางคืน ครูหญิงปฏิบัติหนาท่ีเวรกลางวัน ติดตั้งอุปกรณดับเพลิง กลองวงจรปด ประจําอาคารตางๆ อยางครบถวน และจัดอบรมหลักสูตรการปองกันอัคคีภัยและการเตรียมความพรอมตอภัยพิบัติ จางบุคลากร เพ่ือดูแลรักษาความสะอาดของอาคารสถานท่ีอยางเปนระบบ มีโครงการใหครูและบุคลากรตรวจสุขภาพประจําป จัดกิจกรรมเสริมสรางการทํางาน คํานวณราคางานในการกอสรางใหครอบคลุมคาใชจายในการปองกันอุบัติเหตุ เนื่องจากการทํางานท่ีอาจจะเกิดข้ึน มีการพัฒนาดานระบบสารสนเทศระบบเครือขายใหทันสมัยและเพียงพอ เปนตน

Page 68: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

56

กิจกรรมดังกลาวดําเนินการภายใตงานประจําตามโครงสรางการบริหารและแผนปฏิบัติการประจําป ผานระบบการกํากับ ติดตาม ตามข้ันตอนปกติ เม่ือสิ้นสุดรอบการดําเนินการคณะทํางานไดประเมินประสิทธิภาพโดยใช SSK-Model และประเมินประสิทธิผลคือความพึงพอใจ (2) นโยบาย การบริการ และสิทธิประโยชน จากภาพประกอบท่ี 5.5 แสดงนโยบาย การบริการ และสิทธิประโยชน แสดงใหเห็นวาโรงเรียนสตรีสิริเกศไดศึกษาดานการบริการสิทธิประโยชนตามระเบียบของทางราชการ เชน การเบิกคารักษาพยาบาล การศึกษาบุตร การเบิกคาเชาบานสําหรับบุคคลท่ีมีสิทธิ์เบิก การเบิกจายงบประมาณในการเดินทางไปราชการ ประกันสังคมสําหรับเจาหนาท่ีประจําสํานักงานและครูพิเศษ การเบิกจายเงินในการปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ฯลฯ นอกจากนี้แลวโรงเรียนยังมีการสํารวจขอมูลเก่ียวกับความตองการการบริการและสิทธิประโยชนของครูและบุคลากร โดยรวมกันประชุมวางแผนกําหนดการบริการสิทธิประโยชนท่ีนอกเหนือจากท่ีกฎหมายกําหนด มีคณะกรรมการผูรับผิดชอบ เชน การจัดบริการสิ่งอํานวยความสะดวกพ้ืนฐาน อุปกรณท่ีจําเปนสําหรับสํานักงาน จัดสวัสดิการดานตางๆ ใหแกบุคลากร สงเสริมพัฒนาบุคลากร โดยจัดอบรม ประชุมสัมมนา ศึกษาดูงานท้ังใน และตางประเทศ ปรับปรุงและตกแตงอาคารสถานท่ี โดยบุคลากรทุกคนไดมีสวนรวมในการออกแบบและตกแตงบรรยากาศของอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอมใหเอ้ือประโยชนตอการทํางาน มีการประเมินผลความพึงพอใจอยางสมํ่าเสมอ และพัฒนา ปรับปรุงระบบการบริการ สิทธิประโยชนตางๆใหดีข้ึน

ภาพประกอบท่ี 5.5 แผนภาพแสดงนโยบาย การบริการ และสิทธิประโยชน

1. ศึกษาขอมูล

2. แตงต้ังคณะกรรมการ

3. ประชุมวางแผน

4. รวบรวมขอมูล

5. สํารวจความตองการ

6. ประเมินผล

7. ทบทวน ปรับปรุง พัฒนา

Page 69: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

57

ภาพประกอบท่ี 5.6 แผนภาพแสดงความสัมพันธของความผูกพันและการจัดการผลการปฏิบัติงาน

5.2 ความผูกพันของบุคลากร

ก. ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

(1) องคประกอบของความผูกพัน จากภาพประกอบท่ี 5.6 โรงเรียนสตรีสิริเกศ ไดใหความสําคัญตอการสรางความผูกพันของครูและบุคลากรท่ีจะสงผลตอผลลัพธของการจัดการศึกษา โดยเริ่มจากการวิเคราะหองคประกอบของความผูกพันเพ่ือกําหนดเปนองคประกอบท่ีใชในการสงเสริมและพัฒนา การวิเคราะหองคประกอบของความผูกพันเพ่ือกําหนดองคประกอบสําคัญท่ีสงผลตอความผูกพันและความพึงพอใจของบุคลากร เริ่มจากการสํารวจ รวมรวมขอมูลเก่ียวกับปจจัยท่ีจะสงผลตอความผูกพันของบุคลากร นําเสนอขอมูลตอท่ีประชุมฝายบริหาร หัวหนากลุมสาระฯ หัวหนางาน เพ่ือพิจารณาขอมูลกําหนดปจจัยท่ีมีผลตอความผูกพัน จัดทําขอสรุปท่ีไดเปนแนวทางในการกําหนดประเด็นตางๆ ใหครอบคลุมทุกปจจัยดานสิทธิประโยชนและสวัสดิการ นําองคประกอบของความผูกพันไปหาคุณภาพของความผูกพัน ในดานความเปนไปไดท่ีจะนําไปปฏิบัติ ความเหมาะสมในแงมุมตางๆ ลําดับความสําคัญ และงบประมาณคาใชจาย วิเคราะห สรุปนําเสนอตอผูอํานวยการเพ่ือกําหนดเปนองคประกอบท่ีจะนําไปใชจัดกิจกรรมตอไป

การจัดการผลการปฏิบัติ

วิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด

ผลการดําเนินการ

เปรียบเทียบผลการ

ดําเนินการ

ผลของความผูกพัน ความผูกพัน วิเคราะห กําหนด ประเมิน

วัฒนธรรม สํารวจ สงเสริม

ผลลัพธ การดําเนินการ

ต้ังกลุมเปาหมาย

วิเคราะห/

การจัดการความรู

ปรับปรุง

ประเมิน

Page 70: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

58

(2) วัฒนธรรมองคกร โรงเรียนสตรีสิริเกศกอตั้งมาไมนอยกวา 70 ป วัฒนธรรมของโรงเรียนท่ีครูและบุคลากรทางการศึกษาถือปฏิบัติสืบเนื่องกันมา คือ “ครูโรงเรียนสตรีสิริเกศมีความรัก ความเมตตาและตั้งใจอบรมสั่งสอนศิษย” และมีคานิยมในการปฏิบัติงาน คือ “ใชองคความรูเปนฐาน ทํางานเปนระบบ ครบถวนบริการ” การเสริมสรางวัฒนธรรมและคานิยมดังกลาว โรงเรียนใชหลักการสรางทีมงานท่ีมีท้ังครูอาวุโส ครูวัยกําลังทํางาน และครูใหม เพ่ือเปนการถายทอดวัฒนธรรมโรงเรียนและคานิยม รวมท้ังกิจกรรมอ่ืนๆ ท่ีกลุมครูเกาไดเขามามีสวนสําคัญในการถายทอด เพ่ือใหวัฒนธรรมและคานิยมไดมีการถือปฏิบัติสืบเนื่องกันไป พฤติกรรมดานวัฒนธรรมโรงเรียนและคานิยมมีการประเมินทุกภาคเรียน โดยคณะกรรมการท่ีโรงเรียนแตงตั้งข้ึน ผลการประเมินถูกนํามาวิเคราะหเพ่ือจัดกิจกรรมท่ีเหมาะสมตอไป ท้ังนี้เพ่ือใหครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนมีพัฒนาการดานวัฒนธรรมและคานิยม (3) การจัดการผลการปฏิบัติงาน โรงเรียนมีระบบงานประจํา เปนสายงานตามโครงสรางการบริหาร มีลําดับชั้นและขอบเขตของความรับผิดชอบโดยมีมาตรฐานการปฏิบัติของหนวยงานเปนเปาหมายของการประเมินประสิทธิผล และกิจกรรม/โครงการภายใตแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาฯ ซ่ึงเปนการดําเนินงานตามกลยุทธท่ีตัวชี้วัดและคาเปาหมายเปนเปาหมายของการประเมินประสิทธิผล โดยมีวัฒนธรรมของโรงเรียนและคานิยมชวยขับเคลื่อนไปสูความสําเร็จตามวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาประสงคท่ีกําหนด มีระบบการกํากับ ดูแล การมอบหมายการดําเนินงานเปนคําสั่งโรงเรียนท่ีชัดเจน การดําเนินงานท้ังสายงานประจําและกิจกรรม/โครงการตามแผนกลยุทธมีการประเมินประสิทธิภาพโดยใช SSK-Model การวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลมีคณะกรรมการท่ีโรงเรียนแตงตั้งเปนหนวยงานเฉพาะท่ีนอกเหนือจากการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลของผูท่ีรับผิดชอบดําเนินงานเองเพ่ือเปนการตรวจสอบและรับรองผลการดําเนินงานระดับโรงเรียน

ข. การประเมินความผูกพันของบุคลากร

(1) การประเมินความผูกพันของบุคลากร โรงเรียนดําเนินการตอเนื่องจากผลการศึกษาองคประกอบท่ีชวยสรางความผูกพัน คณะกรรมการไดประชุมเพ่ือนําองคประกอบของความผูกพันสูการปฏิบัติ ผานสายงานตามโครงสรางการบริหาร และกิจกรรมในแผนปฏิบัติการประจําป กํากับติดตามผานระบบตามสายบังคับบัญชา เม่ือเสร็จสิ้นรอบการดําเนินการคณะกรรมการจัดประเมินประสิทธิภาพดวย SSK-Model ประเมินประสิทธิผลตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน และตัวชี้วัดท่ีกําหนด และประเมินคุณภาพดวยการประเมินความพึงพอใจในการกําหนดองคประกอบของความผูกพัน สรุปรายงานเสนอ ใหผูบริหารรับทราบและนํามาจัดเก็บไวเปนหลักฐาน มีการทบทวนและพัฒนา แกไขขอบกพรองใหสมบูรณยิ่งข้ึน

(2) ความเช่ือมโยงกับผลลัพธการดําเนินการของโรงเรียน ผลการประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลท้ังงานประจําตามโครงสรางการบริหาร และกิจกรรม/โครงการตามแผนกลยุทธ เปนผลจากความรู ความสามารถ และทักษะของครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีโรงเรียนมอบหมาย โรงเรียนไดนําผลการดําเนินงานท่ีผานการรับรองมาใชเปนปริมาณและคุณภาพของงานเพ่ือพิจารณาเลื่อนข้ันเงินเดือน การยกยองชมเชยท้ังในระดับโรงเรียน เขตพ้ืนท่ี ระดับประเทศ ซ่ึงจะสงผลตอการเลื่อนวิทยฐานะใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษา

Page 71: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

59

ค. การพัฒนาบุคลากรและผูนํา

(1) ระบบการเรียนรูและการพัฒนา โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดระบบการเรียนรูและการพัฒนาผานกระบวนการประเมินประสิทธิภาพดวย SSK-Model ซ่ึงใชองคประกอบของความเปนระบบ (Systematic) ท่ีใชวงจรควบคุมคุณภาพของเดมม่ิงมากําหนดความเปนระบบคือ การวางแผนการนําแผนไปสูการปฏิบัติ การตรวจสอบผลการปฏิบัติ และการปรับปรุงพัฒนา การประเมินความเปนระบบของหนวยงานตามโครงสรางการบริหาร และกิจกรรม/โครงการตามแผนกลยุทธจะเปนเครื่องมือสําคัญในการเรียนรูและการพัฒนา การวัดผลการเรียนรูและการพัฒนาจึงใชผลการประเมินความเปนระบบใน SSK-Model โรงเรียนไดนําผลการประเมินดังกลาวมาแสดงพัฒนาการของการเรียนรูและพัฒนาดังปรากฏผลในหมวดท่ี 7 ขอ 7.3

(2) ประสิทธิผลของการเรียนรูและพัฒนา สืบเนื่องจากระบบการเรียนรูและพัฒนาท่ีโรงเรียนใชคานิยมท่ีทํางานเปนระบบ และการประเมินประสิทธิภาพดานความเปนระบบ SSK- Model การดําเนินการดังกลาวของโรงเรียนสงผลใหครูและบุคลากรทางการศึกษามีพัฒนาการของการเรียนรู และเกิดประสิทธิผลของงานท้ังระดับบุคคล หนวยงาน และโรงเรียน ดังปรากฏใน 7.3

(3) ความกาวหนาในอาชีพการงาน โรงเรียนไดวางระบบการสงเสริมความกาวหนาในวิชาชีพโดยการออกแบบระบบงานท่ีครอบคลุมภาระงานท้ังหมดของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรฯ และการบริการอ่ืนๆ ท้ังระบบงานประจําและกิจกรรม/โครงการตามแผนกลยุทธโดยมีวิสัยทัศน พันธกิจ และเปาประสงคเปนเปาหมายความสําเร็จในระยะ 4 ป โรงเรียนใชระบบงานดังกลาวพิจารณามอบหมายบุคลากรรับผิดชอบโดยมีมาตรฐานการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดเปนเปาหมายของการประเมินประสิทธิผล และใช SSK-Model เปนเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ ผลการประเมินผลการดําเนินงานท้ังระดับบุคคล ระดับหนวยงาน และระดับโรงเรียนจะนําไปใชเปนขอมูลเพ่ือรับการยกยอง เชิดชู การเลื่อนข้ันเงินเดือน การเลื่อนวิทยฐานะ ประสิทธิผลของความกาวหนาในวิชาชีพของครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนสตรสิริเกศแสดงไดในขอ 7.3

Page 72: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

หมวด 6

การมุงเนนการดําเนินการ

โรงเรียนสตรีสิริเกศ มีกรอบความคิดในการกําหนดกระบวนการท่ีสรางคุณคากอใหเกิดประสิทธิผลสูงสุดตอการเรียนรูและความสําเร็จของนักเรียน โดยการวางแผนเชิงกลยุทธเพ่ือใหสนองตอความตองการของนักเรียนผูมีสวนไดสวนเสียและบรรลุทิศทางการจัดการศึกษาของโรงเรียน (วิสัยทัศน พันธกิจ และเปาประสงค) ซ่ึงอธิบายไวใน 3.1, 2.1 และ 2.2 องคประกอบท่ีสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การจัดการระบบงานและกระบวนการทํางาน ซ่ึงถือวาเปนตัวขับเคลื่อนการดําเนินการของงานภายใตโครงสรางการบริหารใหเกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและปรับปรุงกระบวนการอยางตอเนื่องจนเกิดเปนนวัตกรรม สงผลใหโรงเรียนประสบความสําเร็จและยั่งยืนแมในภาวะฉุกเฉิน ดังรายละเอียดท่ีปรากฏ ใน 6.1 และ 6.2 6.1 ระบบงาน

ก. การออกแบบระบบงาน (1) แนวคิดในการออกแบบระบบงาน โรงเรียนสตรีสิริเกศไดนําหลักการจัดองคการในระบบราชการ (Bureaucracy) มาเปนแนวคิดในการออกแบบระบบงานการบริหารจึงมีการกําหนดลําดับชั้นของอํานาจหนาท่ีอยางชัดเจนและมีการกระจายอํานาจตามโครงสรางการบริหารการปฏิบัติงานมีกฎระเบียบวิธีการปฏิบัติงานเปนข้ันตอนสอดคลองกับแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ.2552 มีขอกําหนดเปนลายลักษณอักษร ใชสมรรถนะหลักของโรงเรียนท้ังดานแหลงเรียนรูและสมรรถนะของครูท่ีมีความสามารถอยางดีในการถายทอดผานหลักสูตรและจัดกระบวนการเรียนการสอนการพิจารณาความกาวหนาในงานแกบุคลากรเปนไปตามระบบคุณธรรม การคัดเลือกคนหรือการเลื่อนตําแหนงอยูบนพ้ืนฐานของความรูความสามารถของบุคลากรเสริมสรางภาวะผูนํา สําหรับการจัดระบบงานเพ่ือขับเคลื่อนการใหบริการทางการศึกษาผานหลักสูตรและการใหบริการเสริมอ่ืนๆ อยางมีประสิทธิภาพสงถึงนักเรียนอยางท่ัวถึงตามศักยภาพ มีองคประกอบสําคัญ 5 ประการ แสดงดังภาพประกอบท่ี 6.1 ประการท่ีหนึ่ง คือ การวิเคราะหภาระงาน โดยดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการเพ่ือวิเคราะหระบบงานเดิมและระบบงานใหม รวมกันรวบรวมภาระงานท้ังท่ีสอดคลองกับแนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ.2552 และภาระงานสําคัญๆ ท่ีจําเปนตองเกิดข้ึนใหมเพ่ือรองรับการจัดการเรียนการสอน การสนับสนุนและการบริการเสริมอ่ืนๆ ซ่ึงครอบคลุมภารกิจในทุกมิติ ประการท่ีสอง คือ การกําหนดกลุมงาน โดยการนําภาระงานท่ีไดจากการวิเคราะหภาระงานมาพิจารณาจัดกลุมงานตามลักษณะงานและจัดทําโครงสรางการบริหาร

Page 73: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

61

ประการท่ีสาม กําหนดโครงสรางการบริหารโดยการประเมินประสิทธิภาพของการออกแบบระบบงานเปนโครงรางการบริหาร โดยใช SSK-Model พิจารณาวา มีความเปนระบบหรือไม เปนท่ีพึงพอใจของผูท่ีเก่ียวของหรือไม และใชองคความรูในการออกแบบเหมาะสมหรือไม จากนั้นจึงจัดทําโครงสรางการบริหารของโรงเรียนอยางเปนทางการดังในภาพประกอบท่ี 4.1 และภาพโครงสรางการบริหาร แสดงใหเห็นถึงระบบงานของโรงเรียนสตรีสิริเกศ ซ่ึงแบงตามงานประจําตามโครงสรางการบริหาร และกิจกรรม/โครงการตามแผนกลยุทธ จึงมีหนวยงานยอย ประกอบดวย 4 กลุมบริหารงาน แตละกลุมบริหารงานถูกแบงเปนกลุมงานตามภาระงาน จากนั้นจึงผานการเห็นชอบจากคณะกรรมการ (2) ขอกําหนดของระบบงาน ภาพประกอบท่ี 6.1 โรงเรียนได กําหนดภารกิจโดยแตงตั้งคณะกรรมการทบทวนโครงสรางการบริหาร และจัดทําบทบาท อํานาจหนาท่ีความรับผิดชอบ กําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงานของโรงเรียนสตรีสิริเกศ ซ่ึงแสดงขอกําหนดท่ีสําคัญของแตละระบบงานไวอยางชัดเจน และมีความสัมพันธกันระหวางระบบงานตางๆ ท้ังนี้เพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงคประการสุดทาย คือ การประเมินทบทวน โรงเรียนสตรีสิริเกศไดประเมินความเปนไปไดของขอกําหนดของระบบงานโดยใช SSK-Model จากองคประกอบ 3 ประการ คือ ความเปนระบบ ความพึงพอใจ และองคความรู ในการจัดทําเครื่องมือท่ีใชประเมิน ซ่ึงจัดทําเปนแบบสอบถามแบบการประมาณคา 5 ระดับ ใชประเมินเปนภาพรวมของกลุมงานโดยใชเกณฑคาเฉลี่ยท่ีมากกวา 3 ใหถือวาขอกําหนดของระบบงานนั้นมีความเปนไปไดในการนําไปใชกําหนดเปนบทบาท หนาท่ีของกลุมงานจากนั้นทบทวนขอกําหนดของระบบงานเพ่ือเปนการตรวจสอบความถูกตองแลวนํากลับไปปรับปรุงระบบเดิม และนําระบบสูการปฏิบัติใน ข(1)

ข. การจัดการระบบงาน (1) การนําระบบงานไปปฏิบัติ โรงเรียนสตรีสิริเกศมีระบบงานตามโครงสรางการบริหาร ดังแสดงในภาพโครงสรางการบริหาร โดยมีวิธีการจัดการและปรับปรุงระบบงานเพ่ือสรางคุณคาแกนักเรียน ทําใหโรงเรียนประสบความสําเร็จอยางยั่งยืน ดังภาพประกอบท่ี 6.2

ระบบงาน

1. วิเคราะห ภาระงาน

2. กําหนด กลุมงาน

3. กําหนดโครงสราง การบริหาร

4. กําหนด ภารกิจ

5. ประเมิน ทบทวน

ภาพประกอบท่ี 6.1 การออกแบบระบบงานโรงเรียนสตรีสิริเกศ

Page 74: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

62

ภาพประกอบท่ี 6.2 การจัดการระบบงานโรงเรียนสตรีสิริเกศ

จากภาพประกอบท่ี 6.2 แสดงการจัดการระบบงานตามโครงสรางการบริหารท่ีเกิดจากองคประกอบท่ีตอเนื่องเปนระบบดังนี้ ประการแรก คือ การทบทวนกระบวนงานเพ่ือตรวจสอบระบบงานวามีความครบถวนถูกตอง และมีความเปนไปไดในการนํามาใชในดําเนินการจัดการใหบริการทางการศึกษามากนอยเพียงใด ประการท่ีสอง คือ ฝายบริหารประสานความเขาใจใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหมีความรู ความเขาใจ และนําระบบไปสูการปฏิบัติไดอยางครบถวน ผานกระบวนการสื่อสารตามท่ีอธิบายไวในสวนของการนําองคกร 1.1ข(1) ประการท่ีสาม คือ มอบหมายงานฝายบริหารมอบหมายงานแกบุคลากรโดยยึดหลักการวางคนใหถูกกับงาน และการออกคําสั่งกําหนดบทบาทหนาท่ีของบุคลากรโรงเรียนสตรีสิริเกศในทุกปการศึกษา ประการท่ีสี่ คือ จัดทําปฏิทินปฏิบัติงานโรงเรียนสตรีสิริเกศทุกปการศึกษา จากนั้นแตละงานตามโครงสรางการบริหาร (กลุมบริหารงาน กลุมงาน หรือบุคคล) ดําเนินการจัดทําแผนและปฏิทินการปฏิบัติงานของตนเองซ่ึงจําเปนตองสอดคลองกับปฏิทินการปฏิบัติงานของโรงเรียน หรือหากมีภารกิจเรงดวนหรือเกิดภาวะฉุกเฉิน โรงเรียนจะจัดทําเปนปฏิทินเฉพาะกิจ ประการท่ีหา เพ่ือใหบุคลากรในโรงเรียนปฏิบัติหนาท่ีท่ีไดมอบหมายบรรลุเปาหมายท่ีกําหนด ฝายบริหารดําเนินการกํากับติดตามระบบงาน โดยกํากับดูแลโรงเรียนตามวิธีการท่ีอธิบายไวใน 1.2 ก ประการท่ีหก การประเมินประสิทธิภาพของระบบงานโดยใช SSK-Model โดยคณะกรรมการประเมินผล SSK-Model และประเมินประสิทธิผลจากตัวชี้วัดความสําเร็จท่ีแตละระบบงานกําหนดตามคาเปาหมายท่ีกําหนดไว ซ่ึงขอมูลท่ีไดจากการวัดและ

Page 75: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

63

ประเมินผลนี้จะถูกเก็บรวบรวมไปเปนขอมูล สารสนเทศ สําหรับนําไปใชในการวัด วิเคราะห และการจัดการความรูซ่ึงอธิบายวิธีการไวใน 4.1 (2) การควบคุมตนทุน การควบคุมตนทุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ มีการดําเนินการตามกฎระเบียบขอบังคับดานการเงินโดยตั้งคณะทํางานเพ่ือทําหนาท่ีรับผิดชอบในการควบคุมดูแลและติดตามการลดตนทุนการจัดการศึกษา ฝายบริหารรณรงคสรางจิตสํานึกใหกับครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนใหมีสวนรวมในการลดตนทุนจัดทําโครงการ/แผนการลดและควบคุมตนทุน พรอมท้ังกําหนดเปาหมายและระยะเวลาดําเนินการอยางชัดเจน องคประกอบของการควบคุมตนทุนแสดงดังภาพประกอบท่ี 6.3

ภาพประกอบท่ี 6.3 การควบคุมตนทุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

จากภาพประกอบท่ี 6.3 โรงเรียนมีกระบวนงานควบคุมตนทุนการจัดการศึกษา

ประการแรก คือ การวิเคราะหรายรับรายจาย และภาระงาน เปนการรวบรวมขอมูลดานการเงินของ

ระบบงานในหวงเวลาท่ีผานมา มาวิเคราะหเพ่ือเปนสวนหนึ่งในการนําไปพิจารณาจัดสรรทุน

งบประมาณคาใชจายใหเหมาะสมหรือใกลเคียงกับภาระงานท่ีไดรับผิดชอบมากท่ีสุดจึงตองวิเคราะห

ดานตางๆ โดยการคาดคะเนกระแสการไหลของเงินสดของระบบงาน (Cash Flow) เพ่ือคาดการณ

ประมาณการเงินและการจายของแตละระบบงาน ทําใหทราบวาระบบงานนั้นมีเงินหมุนเวียนในการ

บริหารระบบงานแตละชวงเวลามากนอยเพียงใด เพียงพอหรือไม จํานวนเงินท่ีเพียงพอตอความ

ตองการควรเปนเทาไร โดยวิเคราะหจากกระแสเงินสดรับ กระแสเงินสดจาย และกระแสเงินสดสุทธิ

วิเคราะหตนทุน 2 มิติ โดยพิจารณารายจายของระบบงานเทียบกับผลงานหรือภาระงานท่ีประสบ

ผลสําเร็จ เชน ระบบงานไดรับจัดสรรงบประมาณในการดําเนินงานจํานวนหนึ่ง เม่ือการดําเนินงาน

แลวเสร็จบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไวและยังคงเหลืองบประมาณบางสวน ถือไดวา ระบบงานนี้มี

Page 76: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

64

ประสิทธิภาพสูงถาหากงบประมาณหมดไปและการดําเนินงานแลวเสร็จบรรลุวัตถุประสงคท่ีตั้งไว ถือ

ไดวา ระบบงานนี้มีประสิทธิภาพ แตถางบประมาณหมดไปและการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงค

ท่ีตั้งไว ถือวาระบบงานนี้ประสิทธิภาพไมดีพอ เปนตน ข้ันตอนนี้ถือเปนการวิเคราะหตนทุนการจัด

การศึกษา ทําใหทราบถึงจุดท่ีใชตนทุนสูงและต่ํา รวมถึงทราบสาเหตุและท่ีมาท่ีทําใหใชตนทุนสูง

ประการท่ีสอง คือ การกําหนดตนทุนไดนําขอมูลท่ีผานการวิเคราะหมากําหนดสิ่งท่ีตองการคิดตนทุน

การจัดการศึกษาของโรงเรียน (Cost Object) ประกอบดวย 3 สวน คือ ตนทุนสําหรับการจัดกิจกรรม

การเรียนการสอน ตนทุนสําหรับงานตามโครงสรางการบริหาร เชน ตนทุนสําหรับหนวยงานสนับสนุน

การจัดการเรียนการสอน งานซอมบํารุงอาคารสถานท่ี ตนทุนสํารอง โรงเรียนจึงกําหนดตนทุนพรอม

จัดสรรทุนและคาใชจายดังกลาวในอัตราสวน 7:2:1 ประการท่ีสี่อการเบิกจายอดําเนินการโดยยึด

ระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการเบิกจายคาใชจายในการบริหารงานของสวนราชการ พ.ศ.2553

ทุกข้ันตอนท่ีกลาวมานั้น ฝายบริหารไดกํากับติดตามใหบุคลากรในโรงเรียนปฏิบัติบัติหนาท่ีท่ีได

มอบหมายใหบรรลุเปาหมายท่ีกําหนดและประเมินผลการวัดการดําเนินงานโดยใช SSK-Model

ประเมินประสิทธิภาพของการควบคุมตนทุนการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ โดยวัดจาก รอย

ละของหนวยงาน/งาน/โครงการ ท่ีใชงบประมาณตามแผน และเก็บรวบรวมขอมูล สารสนเทศ

สําหรับนําไปใชในการวัด วิเคราะห และการจัดการความรู ใน 4.1

(3) การเตรียมความพรอมตอภาวะฉุกเฉิน

จากภาพประกอบท่ี 6.4 แสดงระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินโรงเรียนสตรีสิริเกศเปนการ

เตรียมความพรอมตอภาวะฉุกเฉินท่ีอาจจะเกิดข้ึนซ่ึงเปนอุปสรรคตอการจัดการศึกษาของโรงเรียน โรงเรียนไดจัดเตรียมความพรอมไว 5 องคประกอบดังนี้ ประการแรก เปนการวิเคราะหสถานการณท่ี

2 กําหนด

ภาวะฉุกเฉิน

3 ปองกัน

ภาวะฉุกเฉิน

4 ประเมิน

ความพรอม

5 ทบทวน

ภาวะฉุกเฉิน

1 วิเคราะห

สถานการณ

การเตรียม ความพรอม

ตอภาวะฉุกเฉิน

ภาพประกอบท่ี 6.4 ระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินโรงเรียนสตรีสิริเกศ

Page 77: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

65

อาจกอใหเกิดภัยพิบัติและสถานการณภาวะฉุกเฉินได โดยแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินการจากกลุมงานผูรับผิดชอบตามโครงสรางการบริหาร จัดประชุมชี้แนะถึงภาวะฉุกเฉิน รวมกันวิเคราะหภัยพิบัติและสถานการณฉุกเฉินท่ีอาจสงผลกระทบตอกระบวนการท่ีสําคัญของโรงเรียน โดยระบุเหตุผลในการพิจารณาภัยพิบัติและสถานการณฉุกเฉินท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดท้ัง อัคคีภัย อุทกภัย วาตภัย ไฟฟาขัดของ โรคระบาด เหตุชุมนุมทางการเมือง เทคโนโลยีสารสนเทศขัดของ ฮารดแวร และซอรฟแวรขัดของ วิเคราะหระดับความรุนแรงแบบถวงน้ําหนักตามระดับความรุนแรงท่ีมีผลตอกระบวนการ พันธกิจตามกฎหมาย นักเรียนและโอกาสท่ีจะเกิดจากนั้นจัดเรียงลําดับความรุนแรงของสถานการณหรือภาวะฉุกเฉิน ประการท่ีสอง หลังจากการวิเคราะหระดับความรุนแรงท่ีมีผลตอดานตางๆ โรงเรียนจึงไดกําหนดภาวะฉุกเฉิน จัดทําแผนปฏิบัติการเตรียมความพรอมรองรับภัยพิบัติและสถานการณฉุกเฉินระดับโรงเรียนข้ึน จํานวน 3 แผน ซ่ึงเปนภัยพิบัติหรือสถานการณฉุกเฉินท่ีสงผลกระทบรุนแรงตอการปฏิบัติงาน หรือสงผลกระทบในวงกวางตอกระบวนการท่ีสรางคุณคาของโรงเรียนเปนประจําทุกปประกอบดวย แผนรองรับอุทกภัยวาตภัย แผนรองรับอัคคีภัย และแผนรองรับเทคโนโลยีสารสนเทศขัดของ ประการท่ีสาม เพ่ือปองกันภาวะฉุกเฉิน โรงเรียนไดหาวิธีการปองกันโดย การเตรียมความพรอมรองรับสถานการณฉุกเฉินกอนเกิดภัย การจัดระบบปฏิบัติการรองรับภาวะฉุกเฉิน จัดทําแผนปฏิบัติการรองรับสถานการณฉุกเฉิน จัดทําแผนภูมิ องคกรรองรับภาวะฉุกเฉิน ไดแก สถานท่ีตั้ง ตําแหนงท่ีกําหนด ไวเปนจุดควบคุมภาวะฉุกเฉินหลักและจุดท่ีสํารอง หมายเลขโทรศัพทของบุคคล หนวยงาน เชน ผูรับผิดชอบอาคารสถานท่ีผูประสานงานกรณีฉุกเฉินหนวยงานและผูท่ีควบคุมภาวะฉุกเฉิน เปนตน จัดใหมีคูมือการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการรองรับสถานการณฉุกเฉิน เตรียมความพรอมดานบุคลากร การฝกอบรม การจัดเตรียมสถานท่ี การฝกซอมแผนหรือการทดสอบระบบ เม่ือดําเนินการออกแบบแผนปองกันภาวะฉุกเฉินแลว โรงเรียนทําการประเมินความพรอมโดยการกําหนดตัวชี้วัดท่ีสามารถตรวจสอบความพรอมรับมือเม่ือเกิดเหตุภาวะฉุกเฉินทุกสถานการณท่ีอาจจะเกิดข้ึน และใช SSK-Model เปนเครื่องมือวัดประสิทธิภาพของการวางแผนเตรียมความพรอมท่ีเปนระบบ เปนท่ีพึงพอใจของทุกฝาย โดยใชความรูเปนฐานในการดําเนินการจัดเตรียมความพรอม เพ่ือเก็บขอมูลสารสนเทศเหลานี้สําหรับการวัด วิเคราะห และการจัดการองคความรูเพ่ือเตรียมการครั้งตอไป การปฏิบัติการขณะเกิดภัยพิบัติหรือสถานการณฉุกเฉินโรงเรียนใหผูรับผิดชอบมีหนาท่ีเขาดําเนินการปองกันระงับภัยและแกไขสถานการณฉุกเฉินโดยเร็ว แลวแจงฝายบริหารและสวนราชการท่ีรับผิดชอบรวมบูรณาการใหทราบทันที การปฏิบัติการฟนฟูบูรณะหลังเกิดภัย เม่ือสถานการณฉุกเฉินไดกลับคืนสูภาวะปกติแลว ฝายบริหารออกคําสั่งยุติการปฏิบัติงานภาวะฉุกเฉิน ประเมินความเสียหาย และหาแนวทางดูแลใหกลับสูสภาพเดิมโดยสั่งการใหฟนฟูผูประสบภัยฟนฟูโครงสรางพ้ืนฐาน เพ่ือใหการจัดการกระบวนการดําเนินการตอไปอยางตอเนื่อง ประการสุดทาย คือ ทบทวนภาวะฉุกเฉิน คณะกรรมการดําเนินการและฝายบริหารรวมกันทบทวนสถานการณท่ีเกิดข้ึนติดตามการปฏิบัติการแกไขสถานการณและประเมินผลตัวชี้วัดของแผนสํารองฉุกเฉินเพ่ือปองกันผลกระทบตอการจัดการกระบวนการ คือ มีแผนปฏิบัติการเตรียมการและปองกันภัยพิบัติรองรับสถานการณฉุกเฉินดานอุทกภัยวาตภัยอัคคีภัยและเทคโนโลยีสารสนเทศขัดของ ใชแบบสอบถามประเมินระดับความพึงพอใจตอการเขาควบคุมสถานการณจากผูประสบภัย ฝายบริหารประเมินผลการดําเนินการจากการวัดผล

Page 78: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

66

การทํางานท่ีเปนระบบ โดยใช SSK-Model และสรุปปญหาอุปสรรคสําหรับเปนขอมูลในการวิเคราะหสถานการณในวางแผนครั้งถัดไป

6.2 กระบวนการทํางาน

ก. การออกแบบกระบวนการทํางาน

(1) แนวคิดในการออกแบบกระบวนการทํางาน โรงเรียนสตรีสิริเกศใชแนวคิดในการวิเคราะหและออกแบบระบบงาน โดยศึกษาวัฎจักรการพัฒนาระบบงาน (System Development Life Cycle : SDLC) มาประยุกตใชในการออกแบบระบบงานเพ่ือใชในการขับเคลื่อนการบริการทางการศึกษาตามแผนภาพโครงสรางการบริหาร โดยมีกระบวนการท่ีสรางคุณคาทําใหการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรท่ีโรงเรียนกําหนด รวมถึงการบริการเสริมตางๆ ไปสูนักเรียนอยางมีประสิทธิภาพจึงไดออกแบบกระบวนการซ่ึงจะนําไปสูการปฏิบัติ ดังภาพประกอบท่ี 6.5 ดังนี้

ภาพประกอบท่ี 6.5 ระบบการจัดการกระบวนงานการจัดการศึกษาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ประการแรก คือ การวิเคราะหระบบงาน เปนการทบทวนกลุมงานพรอมขอกําหนดของระบบงานวายังตอบสนองตอการกํากับติดตามมากนอยเพียงใดโดยแตงตั้งคณะกรรมการท่ีรับผิดชอบจากนั้นดําเนินการโดยกําหนดกระบวนการท่ีสรางคุณคาของโรงเรียน โดยกําหนด

Page 79: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

67

หลักเกณฑในการคัดเลือกเพ่ือใหม่ันใจวากระบวนการท่ีคัดเลือกสรางคุณคาใหกับโรงเรียนตัวอยางเกณฑการคัดเลือก เชน เปนกระบวนการท่ีสงผลโดยตรงตอเปาประสงคเชิงยุทธศาสตรและพันธกิจของโรงเรียน เปนกระบวนการท่ีทําใหเกิดประสิทธิภาพการทํางานท่ีดีข้ึน เปนกระบวนการท่ีสงมอบคุณคาใหแกนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย เปนกระบวนการท่ีชวยลดคาใชจายในการดําเนินงาน เปนตน เม่ือไดหลักเกณฑการคัดเลือกแลวนําหลักเกณฑดังกลาวมา ใหคะแนนแตละกระบวนงานโดยใชหลักเกณฑท่ีกําหนดเพ่ือหากระบวนการท่ีสรางคุณคา เม่ือไดคาคะแนนของแตละกระบวนการแลวนํามาจัดลําดับความสําคัญและพิจารณาวากระบวนการใดเปนกระบวนการท่ีสรางคุณคาและกระบวนการใดเปนกระบวนการสนับสนุน วิเคราะหหวงโซแหงคุณคา (Value Chain) เปนเครื่องมือท่ีใชวิเคราะหความสัมพันธระหวางกระบวนการตางๆ ในโรงเรียนอันจะนําไปสูการสรางคุณคา (Value Creation) โดยเริ่มตนจากการกําหนดคุณคาท่ีโรงเรียนตองการ นั่นคือ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรท่ีโรงเรียนกําหนด รวมถึงการบริการเสริมตางๆ ไปสูนักเรียนอยางมีประสิทธิภาพ จากนั้นพิจารณากระบวนการตางๆ ท้ังกระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุน ท่ีโรงเรียนตองดําเนินการเพ่ือใหเกิดคุณคานั้น แสดงดังตารางท่ี 6.1 ตารางท่ี 6.1 กระบวนการหลักและกระบวนการสนับสนุนท่ีโรงเรียนตองดําเนินการเพ่ือใหเกิดคุณคา

กระบวนการหลัก กระบวนการสนับสนุน 1. กระบวนการจัดการเรียนการสอน 2. กระบวนการพัฒนาหลักสูตร 3. กระบวนการดูแลชวยเหลือผูเรียน 4. กระบวนการพัฒนาบุคลากร

กระบวนการสนับสนุนเชน ดานการเงินและพัสดุ ดานอาคารสถานท่ี งานแนะแนว งานอนามัย เปนตน

ข้ันตอนการวิเคราะหระบบนี้ ไดศึกษาสภาพแวดลอมของระบบท้ังการดําเนินงานภายใน วิเคราะหการออกแบบกิจกรรมและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ในการวิเคราะหนี้ พิจารณาท้ังระบบเดิมหรือลักษณะของสิ่งท่ีเปนอยูในปจจุบัน (As Is) และวิเคราะหเพ่ือออกแบบระบบใหมหรือสิ่งท่ีควรจะเปน (To Be) เพ่ือหาชองวาง (Gap) และแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการทํางานภายในโรงเรียนใหดีข้ึน (2) ขอกําหนดของกระบวนการทํางาน ขอกําหนดท่ีสําคัญของกระบวนการท่ีสรางคุณคาของโรงเรียนกําหนดใหสอดคลองกับความตองการของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย โรงเรียนมีวิธีการหาขอกําหนดท่ีสําคัญและนําขอกําหนดท่ีสําคัญไปสูการปฏิบัติดังนี้ เริ่มตนจากการสํารวจความคิดเห็นของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย ไดอธิบายไวใน 3.1 ประมวลผลการสํารวจเพ่ือสรุปผลความตองการของนักเรียนจัดลําดับความสําคัญของความตองการและนําองคความรูเทคโนโลยีสารสนเทศตางๆรวมท้ังข้ันตอนและระยะเวลาการปฏิบัติงานมาใชประกอบในการจัดทําขอกําหนดของกระบวนการ แปลงความตองการท่ีไดและองคความรูตางๆ ใหเปนขอกําหนดท่ีสําคัญของกระบวนการ กําหนดตัวชี้วัดกระบวนการตามขอกําหนดท่ีสําคัญ ออกแบบกระบวนการโดยนําขอกําหนดและตัวชี้วัดไปใชในการควบคุมกระบวนการ (Process Specification) จัดทําคูมือการปฏิบัติงาน

Page 80: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

68

จากวิธีการท่ีกลาวมาขางตน ทําใหโรงเรียนทราบความตองการของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียวา นักเรียนมีความตองการเรียนใหจบหลักสูตรและมีความสามารถในสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา ดังนั้น ขอกําหนดท่ีสําคัญ คือ การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรท่ีโรงเรียนกําหนด รวมถึงการบริการเสริมตางๆ ไปสูนักเรียนอยางมีประสิทธิภาพนั่นเอง

ข. การจัดการกระบวนการทํางาน (1) การนํากระบวนการทํางานท่ีสําคัญไปสูการปฏิบัติดําเนินการดังนี้ เม่ือไดกําหนดกระบวนการท่ีสรางคุณคาและขอกําหนดท่ีสําคัญของกระบวนการท่ีสรางคุณคาแลว ประการแรก การออกแบบกระบวนการทํางานซ่ึงดําเนินการดังนี้ แปลงขอกําหนดท่ีสําคัญไปสูการออกแบบกระบวนการ วิเคราะหผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนตอกระบวนการอ่ืนๆ หรือตอสภาพแวดลอมอ่ืนๆ การวัดผลของกระบวนการกําหนดตัวชี้วัดท่ีสําคัญท่ีบงชี้ประสิทธิผลของกระบวนการ อธิบายไวใน 4.1 วิเคราะหขีดความสามารถและองคความรูของครูและบุคลากรท่ีจะดําเนินการไดอธิบายไวใน 5.1ก การเทียบเคียงมาตรฐานของกระบวนการกับโรงเรียนอ่ืน (Benchmarking) หรือหนวยงานท่ีมีวิธีปฏิบัติ ท่ีดี ( Bฺest Practices) ออกแบบกระบวนการท่ีมีประสิทธิผล โดยพิจารณาถึงรอบระยะเวลาการปฏิบัติงานซ่ึงดําเนินการลดระยะเวลาและข้ันตอนการปฏิบัติงาน ปรับปรุงกระบวนการทํางานใหมหรือการนําเทคโนโลยีมาชวยในกระบวนการ แตงตั้งคณะกรรมการผูรับผิดชอบท่ีชัดเจน โดยรวมกันทําหนาท่ีศึกษาความเปนไปไดพิจารณาความคุมคา ความเสี่ยงและกรอบระยะเวลาในการดําเนินกระบวนการ การนํากระบวนการไปปฏิบัติเพ่ือใหบรรลุผลตามขอกําหนดท่ีสําคัญ ซ่ึงดําเนินการดังนี้ กําหนดตัวชี้วัดของการปฏิบัติงานในทุกระดับภายใตโครงสรางการบริหารอธิบายไวใน 4.1 จัดการกระบวนการในลักษณะ Daily Management คือ จัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงานในทุกกระบวนการ การจัดทํามาตรฐานเปนสิ่งท่ีจะเกิดข้ึนภายหลังไดมีการปรับปรุงงานและมีการนําไปปฏิบัติดวยข้ันตอนหรือวิธีการใหมแลว พบวา ทําใหกระบวนการทํางานนั้นมีประสิทธิภาพมากข้ึนท้ังในดานการลดข้ันตอนปฏิบัติงานไดเร็วข้ึน หรือสามารถลดคาใชจายในดานตางๆ ลงไดก็จะนําวิธีการใหมนั้นมากําหนดเปนมาตรฐานการปฏิบัติงานตอไป มีระบบการกํากับดูแล ติดตามและทบทวนผลการดําเนินงานเปนระยะท้ังเปนทางการและไมเปนทางการ จัดทําแผนผังกระบวนงานทํางาน (Process Flow Chart) และจัดทําคูมือการปฏิบัติงานของแตกระบวนงาน (2) การจัดการเกี่ยวกับผูสงมอบ โรงเรียนมีวิธีการจัดการในแตละกลุมผูสงมอบ ดังนี้ ครูสอนภาษาตางประเทศ ทําหนาท่ีสงมอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนทางดานภาษาไปยังนักเรียน และผูรับบริการอ่ืนๆ เพ่ือใหม่ันใจวา ผูสงมอบเปนผูท่ีมีคุณสมบัติและพรอมท่ีจะชวยยกระดับผลการดําเนินการของโรงเรียน โรงเรียนดําเนินการดังนี้ แตงตั้งคณะกรรมการในการวางแผน คัดเลือกและทดสอบความรูความสามารถใหมีคุณสมบัติเหมาะสมกับตําแหนง ตามระเบียบการรับบุคลากร กําหนดแผนพัฒนาบุคลากรใหมีขีดความสามารถในการใหบริการอธิบายไวใน 5.2 ค นิเทศการจัดการเรียนการสอนและประเมินคุณภาพจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียน วัดระดับความพึงพอใจในการจัดหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนจากนักเรียน ผูปกครอง และผูมี

Page 81: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

69

สวนไดสวนเสียในกรณีท่ีไมผานการประเมินจะไมมีการตอสัญญาจาง เพ่ือไมใหเกิดความเสี่ยงในกรณีเลิกจาง โรงเรียนไดแตงตั้งคณะกรรมการทําหนาท่ีติดตามตรวจสอบเปนระยะ ทําใหเกิดความพรอมในการแกไขความเสี่ยง บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด ทําหนาท่ีสงมอบอุปกรณคอมพิวเตอรสําหรับหองเรียนคอมพิวเตอรพรอมระบบ E-Learning จํานวน 46 ชุด หองสืบคนสําหรับหองเรียนพิเศษ จํานวน 16 ชุด และสําหรับหองบริการอินเตอร จํานวน 15 ชุด บริ ษัท กสท โทรคมนาคม จํ า กัด (มหาชน) ทําหนา ท่ีส งมอบสัญญาณอินเตอรเน็ตความเร็ว 50 Mbps โดยโรงเรียนดําเนินการจัดทําสัญญาเชาและขอตกลงชัดเจนตามระเบียบการเงินและพัสดุ (3) การปรับปรุงกระบวนการทํางาน โรงเรียนสตรีสิริเกศ มีระบบกํากับดูแลกระบวนการทํางาน โดยฝายบริหาร และนําขอมูลเหลานี้ไปวิเคราะหเพ่ือปรับปรุงกระบวนการทํางานตางๆ ดังนี้ โรงเรียนสตรีสิริเกศดําเนินการปรับปรุงกระบวนการทํางานอยางตอเนื่อง โดยวัดประสิทธิภาพการทํางาน จากเครื่องมือวัด SSK-Model เพ่ือประเมินกระบวนการทํางานของหนวยงานตางๆ ตามโครงสรางการบริหาร โดยใชตัวชี้วัดและคาเปาหมายท่ีกําหนดข้ึน เชน รอยละของหนวยงานหรือกระบวนการท่ีทํางานอยางมีประสิทธิภาพ รอยละของหนวยงานตามโครงสรางการบริหารท่ีมีผลการปฏิบัติงานท่ีเปนเลิศ ระดับคุณภาพจากการกํากับ ติดตาม นิเทศ การจัดการศึกษา เปนตน ซ่ึงอธิบายไวใน 2.1ข หากไมเปนไปตามเปาหมายจะวิเคราะหหาสาเหตุและหาแนวทางเพ่ือปรับปรุง และจัดทําเปนองคความรูแสดงถึงแนวทางในการปรับปรุง ซ่ึงจะระบุปญหา สาเหตุวิธีการปองกัน และแนวทางการปรับปรุง ขอมูลท้ังหมดจะถูกนํายอนกลับมาเพ่ือทบทวนคูมือการปฏิบัติงานอีกครั้งหนึ่ง การควบคุมกระบวนการจะใชผลการดําเนินการตามตัวชี้วัดของกระบวนการเปนตัวควบคุม ท้ังนี้ โรงเรียนจะพัฒนาระบบเตือนภัยท่ีแสดงวาผลท่ีเกิดข้ึนเริ่มเขาสูจุดวิกฤต ซ่ึงจะสงผลกระทบตอความสําเร็จของโรงเรียนและกระทบตอกระบวนการทํางานอ่ืนๆ การปรับปรุงกระบวนการทํางาน ดําเนินการหลายแนวทาง เชน การแลกเปลี่ยนประสบการณภายในหนวยงานยอยของโรงเรียนหรือกับหนวยงานอ่ืน การศึกษาและวิเคราะหกระบวนการการนําระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (MIS) หรือเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเหมาะสมมาใช การใชขอมูลจากเสียงของนักเรียนนํามาเพ่ือปรับปรุงกระบวนการ เปนตน

Page 82: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

หมวด 7

ผลลัพธ

โรงเรียนสตรีสิริเกศ จัดการเรียนการสอนภายใตหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และสนับสนุนสงเสริมใหนักเรียนเกิดการเรียนรูอยางเต็มศักยภาพ ดวยการจัดสภาพแวดลอมท้ังทางกายภาพ และวิชาการ รวมท้ังการสนับสนุนดานการคนควาผานระบบเครือขายขอมูลสารสนเทศ และการบริการอ่ืนๆ เพ่ือใหการจัดการศึกษาของโรงเรียนมีคุณภาพ เปนไปตามความคาดหวังของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย โดยผานงานประจําตามโครงสรางการบริหาร กิจกรรม/โครงการ/แผนงาน ตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐานโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระยะ 4 ป และแผนปฏิบัติการรายป ท่ีมีระบบกํากับ ติดตาม นิเทศ และการวัดผลการดําเนินการอยางมีประสิทธิภาพ โดยมุงเนนท่ีผูเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา และกระบวนการปฏิบัติอยางเปนระบบ ผลลัพธของการดําเนินการแสดงดังตอไปนี้

7.1 ผลลัพธดานหลักสูตรและกระบวนการ

ก. ผลลัพธดานหลักสูตรและกระบวนการท่ีมุงเนนผูเรียน โรงเรียนสตรีสิริเกศไดพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ภายใตกรอบโครงสรางของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และความตองการของนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสียอยางตอเนื่อง โดยใชขอมูลจากการรับฟงเสียงของนักเรียนปจจุบันและนักเรียนในอนาคต ผลลัพธของหลักสูตรดานประสิทธิภาพและประสิทธิผล ปรากฏดังนี้ (1) ผลลัพธดานประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

ภาพประกอบท่ี 7.1(1) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

ประสิทธิภาพของแผนการเรียนทั่วไป

ประสิทธิภาพของแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ

ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนการศึกษาคนควาอิสระ

2555 4.15 4.41 4.57

2556 4.35 4.54 4.68

2557 4.55 4.74 4.79

4.15

4.41 4.57

4.35 4.54

4.68 4.55

4.74 4.79

3.84

4.24.44.64.8

5

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

Page 83: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

71

จากภาพประกอบท่ี 7.1(1) เม่ือทําการวัดประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรี สิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553 โดยใช SSK-Model พบวา ในป 2555, 2556 และ 2557 ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพของแผนการเรียนท่ัวไป แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ และการจัดการเรียนการสอนการศึกษาคนควาอิสระ(IS) อยูในระดับดี แสดงวาโรงเรียนมีประสิทธิภาพของหลักสูตรฯ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ท้ังแผนการเรียนท่ัวไป แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษการจัดการเรียนการสอนการศึกษาคนควาอิสระ(IS) มีแนวโนมสูงข้ึน แตเม่ือเทียบกับคาเปาหมายซ่ึงกําหนดไวเทากับ 5 มีคาต่ํากวาคาเปาหมาย โรงเรียนจึงจําเปนตองวางแผนพัฒนาประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนฯ ใหเทียบเทากับคาเปาหมาย

(2) ผลลัพธดานประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

ภาพประกอบท่ี 7.1(2) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ

ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

จากภาพประกอบท่ี 7.1(2) เม่ือทําการวัดประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริ-เกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553 โดยใช SSK-Model พบวา ในป 2555, 2556 และ 2557 ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพของแผนการเรียนท่ัวไป แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ และการจัดการเรียนการสอนการศึกษาคนควาอิสระ(IS) อยูในระดับดี แสดงวาโรงเรียนมีประสิทธิภาพของหลักสูตรฯ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ท้ังแผนการเรียนท่ัวไป แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ การจัดการเรียนการสอนการศึกษาคนควาอิสระ(IS) มีแนวโนมสูงข้ึน แตเม่ือเทียบกับคาเปาหมายซ่ึงกําหนดไวเทากับ 5 มีคาต่ํากวาคาเปาหมาย โรงเรียนจึงจําเปนตองวางแผนพัฒนาประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนฯ ใหเทียบเทากับคาเปาหมาย

ประสิทธิภาพของแผนการเรียนทั่วไป

ประสิทธิภาพของแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ

ประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนการศึกษาคนควาอิสระ

2555 4.21 4.45 4.46

2556 4.38 4.51 4.82

2557 4.45 4.59 4.7

4.21

4.45 4.46 4.38

4.51

4.82

4.45 4.59

4.7

3.94

4.14.24.34.44.54.64.74.84.9

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

Page 84: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

72

(3) ผลลัพธดานประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนสตรี-สิริเกศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

ภาพประกอบท่ี 7.1(3) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

จากภาพประกอบท่ี 7.1(3) เม่ือทําการวัดประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553 โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 อยูในระดับดี แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนสูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมายแตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

(4) ผลลัพธดานประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโรงเรียนสตรี-สิริเกศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

1) แสดงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาพประกอบท่ี 7.1(4) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร โรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

จากภาพประกอบท่ี 7.1(4) เม่ือทําการวัดประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553 โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดาน

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 5 5 5

ผลลัพธ 4.42 4.57 4.77

5 5 5

4.42 4.57

4.77

4

4.2

4.4

4.6

4.8

5

5.2

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร โรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน พ.ศ.2553

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 5 5 5

ผลลัพธ 4.36 4.53 4.74

5 5 5

4.36 4.53

4.74

44.24.44.64.8

55.2

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร โรงเรียนสตรีสิริเกศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พ.ศ.2553

Page 85: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

73

ประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 อยูในระดับดี แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการจัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย สูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

ข. ผลลัพธดานประสิทธิผลของกระบวนการปฏิบัติการ (1) ประสิทธิผลของกระบวนการจัดการเรียนการสอน (1.1) ประสิทธิผลของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรโรงเรียน สตรีสิริเกศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนตนแผนการเรียนท่ัวไป 1) กลุมสาระการเรียนรูท่ีสอนครบตามโครงสรางของหลักสูตรฯ ป 2555-2557 มีคาเทากับรอยละ 100 ซ่ึงตรงกับคาเปาหมายท่ีกําหนดไว 2) นักเรียนท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน

ภาพประกอบท่ี 7.1(5) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน

จากภาพประกอบท่ี 7.1(5) พบวา รอยละของนักเรียนท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุนในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 92, 97 และ 96 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องทุกป เม่ือ เทียบกับคาเปาหมาย มีคาสูงกวาเปาท่ีตั้งไว แสดงใหเห็นคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดผลลัพธท่ีดีตอผูเรียน

3) นักเรียนท่ีติด 0 ร มส.

ภาพประกอบท่ี 7.1(6) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีติด 0 ร มส.

จากภาพประกอบท่ี 7.1(6) พบวา รอยละของนักเรียนท่ีติด 0 ร มส. ป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 2.12, 2.08 และ 1.64 ตามลําดับ ซ่ึงลดลงอยางตอเนื่องทุกป เม่ือเทียบกับ

90 92

94 92

97 96

85

90

95

100

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน

คาเปาหมาย

นักเรียนทีจบหลักสูตร

3 3 3

2.12 2.08 1.64

0

1

2

3

4

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีติด 0 ร มส.

คาเปาหมาย

ชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

Page 86: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

74

คาเปาหมาย มีคาต่ํากวาเปาท่ีตั้งไว แสดงถึงคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดผลลัพธท่ีดีตอผูเรียนและมีแนวโนมท่ีรอยละของนักเรียนท่ีติด 0 ร มส. จะลดลงตอเนื่อง 4) นักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ และอาน คิดวิเคราะห ตามท่ีหลักสูตรฯ กําหนดในป 2555-2557 มีคาเทากับรอยละ 100 ท้ังสามป แสดงวานักเรียนโรงเรียน สตรีสิริเกศมีประสิทธิผลตามเปาหมายท่ีกําหนด 5) นักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ภาพประกอบท่ี 7.1(7) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง

จากภาพประกอบท่ี 7.1(7) พบวา รอยละของนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในป 2555, 2556 และ 2557 มีคาเทากับ 98.98, 99.04 และ 99.26 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องทุกป เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย มีคาสูงกวาเปาท่ีตั้งไว แสดงใหเห็นคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ทําใหเกิดผลลัพธท่ีดีตอผูเรียน

6) รางวัลเหรียญทองท่ีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนไดรับในการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและระดับชาติ เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน

ภาพประกอบท่ี 7.1(8) แผนภูมิแทงแสดงจํานวนรางวัลเหรียญทองท่ีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนไดรับในการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและระดับชาติ เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน

95 95 95

98.98 99.04 99.26

92

94

96

98

100

2555 2556 2557

รอยน

ละ

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คาเปาหมาย

ผาน

2555 2556 2557

ส.ส.ก. ระดับภาค 6 7 8

ศ.ก.ว. ระดับภาค 0 1 5

ส.ส.ก. ระดับชาติ 0 0 0

ศ.ก.ว. ระดับชาติ 0 1 0

6 7 8

0 1

5

0 1 0 02468

10

จํานว

แผนภูมิแทงแสดงจํานวนรางวัลเหรียญทองการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับชาติ เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน ป 2555-2557 (ม.ตน)

Page 87: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

75

จากภาพประกอบท่ี 7.1(8) พบวา จํานวนรางวัลเหรียญทองการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและระดับชาติ ในป 2555, 2556 และ 2557 มีจํานวนเหรียญทองระดับภาค จํานวน 6, 7 และ 8 แตไมมีเหรียญทองระดับชาติ เม่ือเปรียบเทียบกับโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย ซ่ึงเปนคูแขงขัน มีจํานวนเหรียญทองระดับภาค จํานวน 0, 1 และ 5 และมีเหรียญทองระดับชาติ จํานวน 1 เหรียญ ในป 2556 แสดงใหเห็นวาจะตองมีการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนเพ่ือใหเกิดผลลัพธท่ีดีข้ึนสามารถเทียบเคียงกับโรงเรียนคูแขงขันได

7) นักเรียนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนดระดับดีข้ึนไป

ภาพประกอบท่ี 7.1(9) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนดในระดับดีข้ึนไป

จากภาพประกอบท่ี 7.1(9) พบวา รอยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนดระดับดีข้ึนไป ในป 2555, 2556 และ 2557 มีคาเทากับ 78.08, 79.31 และ 80.79 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนเม่ือเทียบกับคาเปาหมาย มีคาสูงกวาเปาท่ีตั้งไว

(1.2) ประสิทธิผลของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรโรงเรียน สตรีสิริเกศ ระดับมัธยมศึกษาตอนตนแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ

1) รายวิชาท่ีสอนครบตามหลักสูตรฯ แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษโครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) และโครงสรางหองเรียนพิเศษเนนภาษาอังกฤษ English Program (EP) ในป 2555-2557 มีคาเทากับรอยละ 100 ทุกป แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดการเรียนการสอนครบตามโครงสรางของหลักสูตรฯ และเม่ือเทียบกับคาเปาหมาย มีคาตรงตามเปาหมายท่ีกําหนด

2) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

70

75

80 78.08 79.31 80.79

60

65

70

75

80

85

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมธัยมศึกษาตอนตนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนดในระดับดีขึ้นไป

คาเปาหมาย

ผลการประเมินระดับดีขึ้นไป

Page 88: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

76

ภาพประกอบท่ี 7.1(10) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตนแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

จากภาพประกอบท่ี 7.1(10) เม่ือทําการวัดประสิทธิผลโดยการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเอง พบวาระดับของผลลัพธดานประสิทธิผลในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับรอย 100 แสดงวาโรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิผลของการการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังสูงกวาคาเปาหมายท่ีกําหนด

(1.3) ประสิทธิผลของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรโรงเรียน สตรีสิริเกศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนท่ัวไป

1) กลุมสาระการเรียนรูท่ีสอนครบตามโครงสรางของหลักสูตรฯ ป 2555-2557 มีคาเทากับรอยละ 100 ซ่ึงตรงกับคาเปาหมายท่ีกําหนดไว

2) นักเรียนท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน

ภาพประกอบท่ี 7.1(11) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนท่ัวไปท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน จากภาพประกอบท่ี 7.1(11) พบวา รอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา

ตอนปลายแผนการเรียนท่ัวไป ป 2555-2557 เทากับ 90.7, 94.8 และ 95 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนทุกปเม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังสูงกวาคาเปาหมาย

70 75 80 100 100 100 100 100 100

0

50

100

150

2555 2556 2557

รอยล

ะ แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนตน

แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

คาเปาหมาย

โครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted)

โครงสรางหองเรียนพิเศษเนนภาษาอังกฤษ English Program (EP)

90

92

94

90.7

94.8 95

86

88

90

92

94

96

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนท่ัวไป ท่ีจบการศึกษาภาคบังคับพรอมรุน

คาเปาหมาย

นักเรียนทีจบหลักสูตร

Page 89: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

77

3) นักเรียนท่ีติด 0 ร มส.

ภาพประกอบท่ี 7.1(12) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการ

เรียนท่ัวไปท่ีติด 0 ร มส. จากภาพประกอบท่ี 7.1(12) พบวา รอยละของนักเรียนท่ีติด 0 ร มส. ในป

2555-2557 เทากับ 2.54, 2.48 และ 1.95 ตามลําดับ เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาเปาหมายและมีแนวโนมท่ีรอยละของนักเรียนท่ีติด 0 ร มส. จะลดลงอยางตอเนื่อง

4) นักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ และอาน คิด วิเคราะห ตามหลักสูตรฯ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายกําหนด ในป 2555-2557 มีคาเทากับรอยละ 100 ท้ังสามป แสดงวานักเรียนโรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิผลตามเปาหมายท่ีกําหนด

5) นักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ภาพประกอบท่ี 7.1(13) แผนภูมิแทงแสดงนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

จากภาพประกอบท่ี 7.1(13) พบวารอยละของนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในป 2555, 2556 และ 2557 มีคาเทากับ 99.02, 99.13 และ 99.33 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องทุกป เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย มีคาสูงกวาเปาท่ีตั้งไว

3 3 3

2.54 2.48

1.95

0

1

2

3

4

2555 2556 2557

รอยล

ะ แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมธัยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนท่ัวไป

ท่ีติด 0 ร มส.

คาเปาหมาย

นักเรียนที่ติด 0 ร มส

95 95 95

99.02 99.13 99.33

92

94

96

98

100

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงนักเรียนท่ีผานการประเมินคุณลักษณะฯ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เปาหมาย

ผาน

Page 90: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

78

6) รางวัลเหรียญทองท่ีนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายไดรับในการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและระดับชาติ เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน

ภาพประกอบท่ี 7.1(14) แผนภูมิแทงแสดงจํานวนรางวัลเหรียญทองการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและชาติ เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน ป 2555-2557 (ม.ปลาย)

จากภาพประกอบท่ี 7.1(14) ในป 2555-2557 โรงเรียนสตรีสิริเกศไดรับรางวัลเหรียญทองจากการแขงขันศิลปหัตถกรรมในระดับภาค จํานวน 9, 11 และ 16 เหรียญ ระดับชาติจํานวน 1 เหรียญ ในป 2557 เม่ือเปรียบเทียบกับโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย ซ่ึงเปนคูแขงขัน ซ่ึงไดรับรางวัลเหรียญทองระดับภาค จํานวน 2, 0 และ 0 เหรียญ ตามลําดับ และระดับประเทศ จํานวน 1 เหรียญทองในป 2555 แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศ มีผลการพัฒนาศักยภาพผูเรียนสูความเปนเลิศใกลเคียงกับโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย

7) นักเรียนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

ภาพประกอบท่ี 7.1(15) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควา

ดวยตนเองระดับดีข้ึนไปผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

2555 2556 2557

ส.ส.ก. ระดับภาค 9 11 16

ศ.ก.ว. ระดับภาค 2 0 0

ส.ส.ก. ระดับชาติ 0 0 1

ศ.ก.ว. ระดับชาติ 1 0 0

9 11

16

2 0 0 0 0 1 1 0 0

0

5

10

15

20

จํานว

น แผนภูมิแทงแสดงจํานวนรางวัลเหรียญทองการแขงขันศิลปหัตถกรรมระดับภาคและชาติ

เทียบกับโรงเรียนคูแขงขัน ป 2555-2557 (ม.ปลาย)

70 75 80 98.1 98.23 99.99

0

50

100

150

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเอง ระดับดีขึ้นไปผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

คาเปาหมาย

ผลการประเมินระดับดีขึ้นไป

Page 91: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

79

จากภาพประกอบท่ี 7.1(15) พบวารอยละของนักเรียน ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองระดับดีข้ึนไปผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด ในป 2555, 2556 และ 2557 มีคาเทากับ 98.1, 98.23 และ 99.99 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนอยางตอเนื่องทุกป เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย มีคาสูงกวาเปาท่ีตั้งไว แสดงใหเห็นคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ

(1.4) ประสิทธิผลของกระบวนการจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรโรงเรียน สตรีสิริเกศ ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ

1) รายวิชาท่ีสอนครบตามหลักสูตรฯ แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษโครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) และโครงสรางหองเรียนพิเศษเนนภาษาอังกฤษ English Program (EP) ในป 2555-2557 มีคาเทากับรอยละ 100 ทุกป แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศไดจัดการเรียนการสอนครบตามโครงสรางของหลักสูตรฯ และเม่ือเทียบกับคาเปาหมาย มีคาตรงตามเปาหมายท่ีกําหนด

ภาพประกอบท่ี 7.1(16) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ี

โรงเรียนกําหนด จากภาพประกอบท่ี 7.1(16) พบวา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควาดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด คิดเปนรอยละ 100 ซ่ึงในป 2555-2557 โรงเรียนไดกําหนดคาเปาหมายไวเทากับ 70, 75 และ 80 ตามลําดับ แสดงวา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษผานเกณฑท้ังหมด แสดงถึงประสิทธิผลของกระบวนการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนสตรีสิริเกศ

70 75 80 100 100 100 100 100 100

0

50

100

150

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนระดับชั้นมธัยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ ท่ีมีผลการประเมินการศึกษาคนควา

ดวยตนเองผานเกณฑท่ีโรงเรียนกําหนด

คาเปาหมาย

โครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted)

โครงสรางหองเรียนพิเศษเนนภาษาอังกฤษ English Program (EP)

Page 92: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

80

(1.5) คุณภาพการจัดการศึกษาท่ีประเมินโดยสํานักงานประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษา องคกรมหาชน (สมศ.)

ภาพประกอบท่ี 7.1(17) แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบการจัดการศึกษาท่ีประเมินโดยสํานักงาน

ประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษา องคกรมหาชน (สมศ.) ของโรงเรียนสตรีสิริเกศเทียบกับโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย

จากภาพประกอบท่ี 7.1(17) โรงเรียนสตรีสิริเกศ จัดการศึกษามีคุณภาพในระดับท่ีดี คะแนนเฉลี่ยรอยละ 86.37 สวนโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัยจัดการศึกษามีคุณภาพในระดับท่ีดีเชนกัน แตมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาโรงเรียนสตรีสิริเกศ คือเฉลี่ยรอยละ 89.20

(1.6) ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ตามตัวบงช้ีท่ี 5 เทียบเคียงโรงเรียนคูแขงขัน ปการศึกษา 2555 - 2557

ภาพประกอบท่ี 7.1(18) แผนภูมิแทงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน

(O-NET) ตามตัวบงชี้ท่ี 5 เทียบเคียงโรงเรียนคูแขงขัน ปการศึกษา 2555 - 2557 จากภาพประกอบท่ี 7.1(18) พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผานการประเมิน

ระดับชาติ (O-NET) ของโรงเรียนสตรีสิริเกศในระยะสามป มีแนวโนมสูงข้ึน และเม่ือเทียบเคียงกับโรงเรียนคูแขงขัน พบวาผลสัมฤทธิ์ของโรงเรียนสตรีสิริเกศมีพัฒนาการท่ีดีกวา

2554-2558

ศรีสะเกษวิทยาลัย 89.2

สตรีสิริเกศ 86.37

ดี

ดี

84

86

88

90

คะแน

แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบการจัดการศึกษาท่ีประเมินโดยสํานักงานประเมินและรับรองคุณภาพการศึกษา องคกรมหาชน (สมศ.)

ของโรงเรียนสตรีสิริเกศเทียบกับโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย

2555 2556 2557

ศรีสะเกษวิทยาลัย 12.47 14.3 10.2

สตรีสิริเกศ 10.03 11.5 13.28

ดี ดี พอใช พอใช พอใช ดี

05

101520

Valu

e

แผนภูมิแทงผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาแหงชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ตามตัวบงช้ีท่ี 5 เทียบเคียงโรงเรียนคูแขงขัน ปการศึกษา

2555 - 2557

Page 93: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

81

(1.7) ผลการสอบเขาศึกษาตออุดมศึกษาเทียบเคียงกับโรงเรียนคูแขงขัน

ภาพประกอบท่ี 7.1(19) แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบผลการสอบเขาศึกษาตอ

ในระดับอุดมศึกษากับโรงเรียนคูแขงขัน ปการศึกษา 2555-2557 จากภาพประกอบท่ี 7.1(19) ผลการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาของรัฐท่ีมี

ชื่อเสียง ซ่ึงโรงเรียนไดกําหนดไว 6 สถาบัน ในคณะท่ีสําคัญๆ ระหวางปการศึกษา 2555-2557 พบวา โรงเรียนสตรีสิริเกศเปนรองโรงเรียนศรีสะเกษวิทยาลัย อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากนักเรียนโรงเรียน สตรีสิริเกศสวนใหญมักเลือกเรียนตอในสถาบันอุดมศึกษาใกลบาน และมีอัตราการศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาเพ่ิมมากข้ึน

(2) การเตรียมพรอมตอภาวะฉุกเฉิน โรงเรียนไดกระบวนการเตรียมพรอมตอภาวะ

ฉุกเฉิน 6.2(ค) เพ่ือรับผลกระทบตอการจัดการเรียนการสอนผลลัพธของการเตรียมความพรอมปรากฏ

ดังนี้

1) นักเรียนท่ีมีความรูตอภาวะฉุกเฉินและจะปฏิบัติงานตามข้ันตอนในการซอมรับภาวะฉุกเฉิน

ภาพประกอบท่ี 7.1(20) แผนภูมิแทงแสดงรอยละนักเรียนท่ีมีความรูตอภาวะฉุกเฉินและปฏิบัติงาน

ตามข้ันตอนในการซอมรับภาวะฉุกเฉิน

0 3 0 2 4

51

25 33

10

24

11

124

0 6 1 1 2

28

7

25

3

16 4

86

1 3 4 1 2

28

10

34

16

29

13

124

0

20

40

60

80

100

120

140

จุฬาฯ ม.เกษตรฯ ม.มหิดลฯ ม.ธรรมศาสตรฯ ม.เทคโนโลยีฯ ลาดกระบัง

ม.ขอนแกนฯ

จํานว

น (ค

น)

แผนภูมิแทงแสดงการเปรียบเทียบผลการสอบเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษากับโรงเรียนคูแขงขัน ปการศึกษา 2555-2557

สสก. 2555

ศกว. 2555

สสก. 2556

ศกว. 2556

สสก. 2557

ศกว. 2557

84 94 100

56

95 100

0

50

100

150

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของนักเรียนท่ีมีความรูตอภาวะฉุกเฉินและปฏบัิติงานตามขั้นตอนในการซอมรับภาวะฉุกเฉิน

นักเรียนมีความรูตอภาวะฉุกเฉิน

นักเรียนปฏิบัติตามข้ันตอนในการซอมรับภาวะฉุกเฉิน

Page 94: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

82

จากภาพประกอบท่ี 7.1(20) พบวารอยละของนักเรียนมีความรูความเขาใจ สามารถ

ปฏิบัติตามข้ันตอนในการซอมรับภาวะฉุกเฉินในป 2555, 2556 และ 2557 มีคาเทากับ 84, 94 และ

100 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมมากข้ึนทุกๆป และเม่ือพิจารณารอยละของการปฏิบัติตามข้ันตอนในการซอม

รับภาวะฉุกเฉินมีคาเทากับ 56, 95 และ 100 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมมากข้ึนทุกๆ ป

2) ประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติเม่ือเกิดภาวะฉุกเฉิน

ภาพประกอบท่ี 7.1(21) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติเม่ือเกิดภาวะฉุกเฉิน จากภาพประกอบท่ี 7.1(21) เม่ือทําการวัดประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติเม่ือ

เกิดภาวะฉุกเฉิน โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.4, 4.54 และ 4.97 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีระสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติเม่ือเกิดภาวะฉุกเฉินสูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

3) ระดับคุณภาพของวัสดุอุปกรณและปจจัยในการพรอมใชในภาวะฉุกเฉิน

ภาพประกอบท่ี 7.1(22) แผนภูมิแทงแสดงระดับคุณภาพของวัสดุอุปกรณและปจจัยในการพรอมใชในภาวะฉุกเฉิน

จากภาพประกอบท่ี 7.2(22) เม่ือทําการวัดระดับคุณภาพของวัสดุอุปกรณและปจจัยในการพรอมใชในภาวะฉุกเฉิน โดยใช SSK-Model พบวา ผลลัพธดานระดับคุณภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.28, 4.69 และ 4.82 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีระดับคุณภาพของวัสดุอุปกรณและปจจัยในการพรอมใชในภาวะฉุกเฉินสูงข้ึน เม่ือเทียบกับคา

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 5 5 5

ผลลัพธ 4.4 4.54 4.97

5 5 5

4.4 4.54

4.97

4

4.5

5

5.5

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกระบวนการปฏิบัติเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน

5 5 5

4.28

4.69 4.82

3.5

4

4.5

5

5.5

2555 2556 2557

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงระดับคุณภาพของวัสดุอุปกรณและ ปจจัยในการพรอมใชในภาวะฉุกเฉิน

คาเปาหมาย

ผลลัพธ

Page 95: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

83

เปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

ค. ผลลัพธดานการจัดการหวงโซอุปทาน การจัดการเรียนการสอนใหเกิดประสิทธิผลตามหลักสูตรฯ โรงเรียนสตรีสิริเกศไดมอบให ผูสงมอบ คือ ครูชาวตางประเทศท่ีเชี่ยวชาญการสอนวิชา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาเขมร, บริษัท บางกอกซอฟแวร จํากัด และบริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) เขามามีสวนรวมในการจัดการศึกษา โดยมีขอกําหนดท่ีผูสงมอบเหลานั้นถือปฏิบัติ และรับผิดชอบผลท่ีเกิดข้ึน ผลลัพธของการบริหารจัดการ

1) ประสิทธิภาพของผูสงมอบ ในการดําเนินงานตามขอสัญญา

ภาพประกอบท่ี 7.1(23) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของผูสงมอบ ในการดําเนินงานตามขอสัญญา จากภาพประกอบท่ี 7.1(23) เม่ือทําการวัดประสิทธิภาพของผูสงมอบ ในการดําเนินงาน

ตามขอสัญญา โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.57, 4.69 และ 4.93 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของผูสงมอบ ในการดําเนินงานตามขอสัญญา สูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

2) ประสิทธิผลการดําเนินงานตามขอกําหนดของผูสงมอบ

ภาพประกอบท่ี 7.1(24) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลการดําเนินงานตามขอกําหนดของผูสงมอบ

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 5 5 5

ผลลัพธ 4.57 4.69 4.93

4.2

4.4

4.6

4.8

5

5.2

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของผูสงมอบ ในการดําเนินงานตามขอสัญญา

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 80 85 90

ครูชาวตางชาติ 83.37 92.51 97.25

บ.บางกอกซอฟแวร 85.27 89.32 96.03

บ.กสท โทรคมนาคม 89.56 92.28 96.32

020406080

100120

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลการดําเนินงานตามขอกําหนดของผูสงมอบ

Page 96: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

84

จากภาพประกอบท่ี 7.1(24) พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในรายวิชาท่ีทําการจัดการเรียนการสอนโดยผูสงมอบ ในป 2555, 2556 และ 2557 มีคาเทากับ 83.37, 92.51 และ 97.25 ตามลําดับ ระดับความพึงพอใจตอการใหบริการของ บริษัทบางกอกซอฟแวร จํากัด มีคาเทากับ 85.27, 89.32 และ 96.03 ตามลําดับ ระดับความพึงพอใจตอการใหบริการของ บริษัท กสท โทรคมนาคม จํากัด (มหาชน) มีคาเทากับ 89.56, 92.28 และ 96.32 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมมากข้ึนทุกๆป แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของการใหบริการของผูสงมอบ และทําใหเกิดผลลัพธท่ีดีตอผูเรียน

3) ระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครูและบุคลากร ตอการปฏิบัติงานของผูสงมอบ

ภาพประกอบท่ี 7.1(25) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครูและบุคลากร

ตอการปฏิบัติงานของผูสงมอบ จากภาพประกอบท่ี 7.1(25) เม่ือทําการวัดระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครูและ

บุคลากร ตอการปฏิบัติงานของผูสงมอบ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับความพึงพอใจ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.4, 4.54 และ 4.97 ตามลําดับ แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพการทํางานของผูสงมอบ ทําใหระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครูและบุคลากร สูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมาย

7.2 ผลลัพธดานการมุงเนนนักเรียน

ก. ผลลัพธดานการมุงเนนนักเรียน (1) ระดับความพึงพอใจของผูเรียนและผูปกครอง ตอผลิตภัณฑ (หลักสูตรฯ) ตอการจัดการเรียนการสอน และตอการบริการเสริมอ่ืนๆ ในแตละกลุมผูเรียนซ่ึงแยกไวตามหลักสูตรฯ คือ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนและตอนปลาย ท้ังแผนการเรียนท่ัวไปและแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ

1) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุมท่ัวไปตอแผนการเรียนท่ัวไป การจัดการเรียนการสอน และบริการเสริมอ่ืนๆ ตามโครงสรางหองเรียนปกติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

5 5 5

4.4 4.54

4.97

4

4.5

5

5.5

2555 2556 2557

ระดับ

คุณภา

แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียน ครูและบุคลากร ตอการปฏิบัติงานของผูสงมอบ

คาเปาหมาย

ผลลัพธ

Page 97: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

85

ภาพประกอบท่ี 7.2(1) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนกลุมท่ัวไป ตอหลักสูตร การ

จัดการเรียนรูและบริการเสริมอ่ืนๆ จากภาพประกอบท่ี 7.2(1) พบวา ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุม

ท่ัวไป ตามโครงสรางหองเรียนปกติ ท่ีมีตอแผนการเรียน ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.4, 4.43 และ 4.52 ระดับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู เทากับ 4.2,4.35 และ 4.44 และระดับความพึงพอใจตอบริการเสริมอ่ืนๆ เทากับ 4.08, 4.15 และ 4.22 ตามลําดับ เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

2) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุมสงเสริมความสามารถพิเศษ ตอแผนการเรียน, การจัดการเรียนการสอน และ บริการเสริมอ่ืนๆ ตามโครงสรางหองเรียนพิเศษเนนภาษาอังกฤษ English Program (EP) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

ภาพประกอบท่ี 7.2(2) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษ

เนนภาษาอังกฤษ(EP) ตอหลักสูตรการจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ จากภาพประกอบท่ี 7.2(2) พบวา ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนเรียน

กลุมสงเสริมความสามารถพิเศษ ตามโครงสรางหองเรียนพิเศษเนนภาษาอังกฤษ English Program (EP) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ท่ีมีตอแผนการเรียน ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.55, 4.57 และ 4.58 ระดับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู เทากับ 4.42, 4.48 และ 4.52 และระดับความพึงพอใจตอบริการเสริมอ่ืนๆ เทากับ 4.46, 4.48 และ4.55 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนทุกป เม่ือเทียบ

5 5 5

4.57 4.36 4.32

4.61 4.42 4.29

4.68 4.48 4.32

3.5

4

4.5

5

5.5

หลักสูตร การจัดการเรียนรู การบริการเสริมอื่นๆ

รอยล

ะ แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนกลุมท่ัวไปตอหลักสูตรฯ

การจัดการเรียนรูและบริการเสริมอ่ืนๆ

คาเปาหมาย

ปการศึกษา 2555

ปการศึกษา 2556

ปการศึกษา 2557

5 5 5

4.57 4.36 4.32

4.61 4.42 4.29

4.68 4.48

4.32

3.5

4

4.5

5

5.5

หลักสูตร การจัดการเรียนรู การบริการเสริมอื่นๆ

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษ เนนภาษาอังกฤษ(EP)ตอหลักสตูรการจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

คาเปาหมาย

ปการศึกษา 2555

ปการศึกษา 2556

ปการศึกษา 2557

Page 98: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

86

กับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

3) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุมสงเสริมความสามารถพิเศษ ตอแผนการเรียนสงเสริมความสามารถพิเศษ, การจัดการเรียนการสอน และบริการเสริมอ่ืนๆ ตามโครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน

ภาพประกอบท่ี 7.2(3) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร(Gifted) ตอหลักสูตร การจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

จากภาพประกอบท่ี 7.2(3) พบวา ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียน กลุมสงเสริมความสามารถพิเศษ ตามโครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ตอแผนการเรียน ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.48 , 4.52 และ 4.66, ระดับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู เทากับ 4.44, 4.49 และ 4.52 และระดับความพึงพอใจตอบริการเสริมอ่ืนๆ เทากับ 4.32, 4.46 และ 4.88 ตามลําดับ ซ่ึงเพ่ิมข้ึนทุกป เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

4) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุมท่ัวไปตอแผนการเรียนท่ัวไป การจัดการเรียนการสอน และบริการเสริมอ่ืนๆ ตามโครงสรางหองเรียนปกติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาพประกอบท่ี 7.2(4) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษ

วิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ตอหลักสูตร การจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

5 5 5

4.57 4.36 4.32

4.61 4.42 4.29

4.68 4.48

4.32

3.5

4

4.5

5

5.5

หลักสูตร การจัดการเรียนรู การบริการเสริมอื่นๆ

ระดับ

คุณภา

แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร- คณิตศาสตร (Gifted) ตอหลักสูตร การจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

คาเปาหมาย

ปการศึกษา 2555

ปการศึกษา 2556

ปการศึกษา 2557

5 5 5

4.57 4.36

4.32

4.61 4.42

4.29

4.68 4.48

4.32

3.5

4

4.5

5

5.5

หลักสูตร การจัดการเรียนรู การบริการเสริมอื่นๆ

ระดับ

คุณภา

แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร- คณิตศาสตร (Gifted) ตอหลักสูตร การจัดการเรียนรูและการบริการเสริมอ่ืนๆ

คาเปาหมาย

ปการศึกษา 2555

ปการศึกษา 2556

ปการศึกษา 2557

Page 99: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

87

จากภาพประกอบท่ี 7.2(4) พบวา ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุมท่ัวไป ตามโครงสรางหองเรียนปกติ ท่ีมีตอแผนการเรียน ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.57, 4.61 และ 4.68 ระดับความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรู เทากับ 4.36, 4.42 และ 4.48 และระดับความพึงพอใจตอบริการเสริมอ่ืนๆ เทากับ 4.23, 4.29 และ 4.32 ตามลําดับ เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

5) ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุมสงเสริมความสามารถพิเศษ ตอแผนการเรียน, การจัดการเรียนการสอน และบริการเสริมอ่ืนๆ ตามโครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาพประกอบท่ี 7.2(5) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนหองเรียนพิเศษ

วิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ตอแผนการเรียน จากภาพประกอบท่ี 7.2(5) พบวา ระดับความพึงพอใจของนักเรียนท่ีเรียนกลุม

สงเสริมความสามารถพิเศษ ตามโครงสรางหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร (Gifted) ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มีระดับความพึงพอใจตอแผนการเรียน การจัดการเรียนการสอนและบริการเสริมอ่ืนๆ ในป 2555, 2556 และ 2557 อยูในระดับดี ตามลําดับ เม่ือเทียบกับคาเปาหมายแลวยังต่ํากวาคาเปาหมาย แตมีแนวโนมวาจะมีการพัฒนาข้ึนจนสามารถเทียบเทาคาเปาหมายไดในอนาคต

(2) ความผูกพันของผูเรียนและผูปกครอง ตารางท่ี 7.2(1) ผลลัพธดานความผูกพันของผูเรียนและผูปกครอง

รายการ ปการศึกษา

2555 2556 2557

รอยละของนักเรียนท่ีออกกลางคัน 0.16 0.15 0.15

รอยละของจํานวนศิษยเกาท่ีเพ่ิมข้ึนในการเขารวมกิจกรรมของโรงเรียน 1.46 83.25 16.73 รอยละของจํานวนเงินท่ีเพ่ิมข้ึนในการบริจาคสนับสนุนโรงเรียน 10.36 14.07 24.82

รอยละของครูท่ีเปนศิษยเกาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ 7.23 8.65 9.42

5 5 5

4.57 4.36 4.32

4.61 4.42 4.29

4.68 4.48 4.32

3.5

4

4.5

5

5.5

หลักสูตร การจัดการเรียนรู การบริการเสริมอื่นๆ

ระดับ

คุณภา

แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร-คณิตศาสตร(Gifted) ตอแผนการเรียน

คาเปาหมาย

ปการศึกษา 2555

ปการศึกษา 2556

ปการศึกษา 2557

Page 100: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

88

จากตารางท่ี 7.2(1) พบวา ดานความผูกพันของผูเรียนและผูปกครอง เม่ือเปรียบเทียบขอมูลในแตละดานปรากฏวา ตั้งแตป 2555–2557 รอยละของนักเรียนท่ีออกกลางคัน มีคาลดลง, รอยละของจํานวนศิษยเกาในการเขารวมกิจกรรมของโรงเรียน มีคาเพ่ิมข้ึน, รอยละของจํานวนเงินบริจาคสนับสนุนโรงเรียน เพ่ิมข้ึน และรอยละของครูท่ีเปนศิษยเกาของโรงเรียนสตรีสิริเกศ มีคาเพ่ิมข้ึน แสดงใหเห็นความผูกพันกับโรงเรียนของผูเรียนและผูปกครองตอโรงเรียนท่ีมีมากข้ึน สงผลตอประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานท่ีดีข้ึน

7.3 ผลลัพธดานการมุงเนนบุคลากร ก. ผลลัพธดานบุคลากร (1) ขีดความสามารถและอัตรากําลังบุคลากร 1) ครูท่ีเขารับการพัฒนาทางวิชาการมากกวา 20 ชั่วโมงตอป

จากภาพประกอบท่ี 7.3(1) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีเขารับการพัฒนาทางวิชาการมากกวา

20 ชั่วโมงตอป จากภาพประกอบท่ี 7.3(1) พบวาในปการศึกษา 2555-2557 รอยละของครูท่ีเขารับการอบรมและพัฒนาทางวิชาการ มีคาสูงข้ึนทุกป เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย ยังต่ํากวาเปาท่ีวางไว แตจากคารอยละท่ีเพ่ิมข้ึนแสดงถึงแนวโนมท่ีจะมีการพัฒนาบุคลากรอยางตอเนื่องจนเทียบเทากับคาเปาหมาย 2) ครูท่ีมีวิทยฐานะเพ่ิมข้ึน

จากภาพประกอบท่ี 7.3(2) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีมีวิทยฐานะสูงข้ึน

จากภาพประกอบท่ี 7.3(2) พบวา ในป 2555 ครูท่ีมีวิทยฐานะสูงข้ึน คิดเปนรอยละ 10.42 สวนภายในป 2556 รอยละของครูท่ีมีวิทยฐานะสูงข้ึนมีคาลดลง และมีแนวโนมสูงข้ึนอีกครั้งใน

100 100 100

83.72 85.06 87.8

70

80

90

100

110

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีเขารับการพัฒนาทางวิชาการมากกวา 20 ชั่วโมงตอป

คาเปาหมาย

ครูที่เขารับการพัฒนาทางวิชาการมากกวา 20 ชั่วโมงตอป

10 10 10 10.42

5.59 6.21

0

5

10

15

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีมีวิทยฐานะสูงขึ้น

คาเปาหมาย

ครูที่มีวิทยฐานะสูงขึ้น

Page 101: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

89

ป 2557 จากแนวโนมท่ีลดลงนั้นแสดงใหเห็นวามีครูของโรงเรียนสตรีสิริเกศท่ีอยูในตําแหนงท่ีมีวิทยฐานะสูงอยูแลวเปนจํานวนมาก (อธิบายไวในโครงรางองคกร ตาราง P1) 3) ครูท่ีมีความรูและทักษะการใชภาษาอังกฤษ และทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระดับดี

ภาพประกอบท่ี 7.3(3) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีมีความรูและทักษะการใชภาษาอังกฤษ และ

ทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระดับดี

จากภาพประกอบท่ี 7.3(3) พบวา ในป 2555–2557 รอยละของครูท่ีมีความรูและทักษะการใชภาษาอังกฤษ และทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระดับดี มีคารอยละ 80 ข้ึนไป ซ่ึงสูงข้ึนทุกป เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย มีคาต่ํากวาเปาท่ีวางไว แตจากแนวโนมท่ีมีคาสูงข้ึน แสดงใหเห็นวาจะสามารถพัฒนาครูใหมีความรูและทักษะการใชภาษาอังกฤษ และทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระดับดี ไดเทียบเทากับเปาท่ีวางไว (2) บรรยากาศการทํางาน

1) ประสิทธิภาพของการใหบริการสนับสนุนครู

ภาพประกอบท่ี 7.3(4) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการใหบริการสนับสนุนครู ภาพประกอบท่ี 7.3(4) พบวาในป 2555 – 2557 การใหบริการสนับสนุนครู เม่ือประเมิน

ประสิทธิภาพดวย SSK-Model แลวพบวา ระดับของผลลัพธมีแนวโนมสูงข้ึน และสูงกวาคาเปาหมายท่ีกําหนด ซ่ึงเปนผลท่ีเกิดจากนโยบายในการใสใจตอความสะดวก ความปลอดภัยและบรรยากาศท่ีดีในการทํางาน จึงทําใหประสิทธิภาพท่ีเกิดข้ึนมีคาสูงอยางตอเนื่อง

90 90 90 83.48 86.02

89.56 85.78

89.12 91.34

70

80

90

100

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของครูท่ีมีความรูและทักษะการใชภาษาอังกฤษ และทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ในระดับดี

คาเปาหมาย

ครูที่มีความรูและทักษะการใชภาษาองักฤษ

ครูที่มีความรูและทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (ICT)

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 4.5 4.5 4.5

ผลลัพธ 4.75 4.8 4.8

4.5 4.5 4.5

4.75 4.8 4.8

4.34.44.54.64.74.84.9

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการใหบริการสนับสนุนครู

Page 102: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

90

2) ความพึงพอใจตอการจัดบริการสิทธิประโยชนและบรรยากาศในการทํางาน

ภาพประกอบท่ี 7.3(5) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจตอการจัดบริการสิทธิประโยชนและบรรยากาศในการทํางาน

จากภาพประกอบท่ี 7.3(5) พบวาในป 2555 – 2557 การจัดบริการสิทธิประโยชนและ บรรยากาศในการทํางานเม่ือประเมินประสิทธิภาพดวย SSK-Model แลวพบวา ระดับของผลลัพธมีแนวโนมสูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย ต่ํากวาคาเปาหมายท่ีกําหนด แตสามารถทํานายไดวาจะสามารถพัฒนาประสิทธิภาพใหเทียบเทากับคาเปาหมายได (3) การทําใหบุคลากรมีความผูกพัน 1) ประสิทธิภาพของกิจกรรมท่ีชวยสรางความผูกพัน

ภาพประกอบท่ี 7.3(6) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกิจกรรมท่ีชวยสรางความผูกพัน

จากภาพประกอบท่ี 7.3(6) ในปการศึกษา 2555 – 2557 กิจกรรมท่ีชวยสรางความผูกพันใหกับบุคลากร เม่ือประเมินประสิทธิภาพดวย SSK-Model แลวพบวา ระดับของผลลัพธสูงข้ึน และสูงกวาคาเปาหมายท่ีกําหนด แสดงใหเห็นวาจะมีการพัฒนากิจกรรมใหมีประสิทธิภาพมากข้ึนอยางตอเนื่อง

คาเปาหมาย ระดับความพึงพอใจตอการจัดบริการสิทธิประโยชน

ระดับความพึงพอใจตอบรรยากาศในการทํางาน

2555 5 4.87 4.75

2556 5 4.93 4.82

2557 5 4.98 4.85

5 4.87

4.75

5 4.93 4.82

5 4.98 4.85

4.64.74.84.9

55.1

ระดับ

คุณภา

แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจตอการจัดบริการสิทธิประโยชนและบรรยากาศ ในการทํางาน

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 4.5 4.5 4.5

ผลลัพธ 4.9 4.95 4.95

4.5 4.5 4.5

4.9 4.95 4.95

4.2

4.4

4.6

4.8

5

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกิจกรรมท่ีชวยสรางความผูกพัน

Page 103: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

91

2) ประสิทธิผลการใหบริการดานสิทธิประโยชนและสวัสดิการ

ภาพประกอบท่ี 7.3(7) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของการใหบริการดานสิทธิประโยชนและ

สวัสดิการ จากภาพประกอบท่ี 7.3(7) ในป 2555–2557 รอยละของการใหบริการดานสิทธิ

ประโยชนและสวัสดิการ มีคารอยละ 98 ข้ึนไปทุกป และสูงกวาคาเปาหมายท่ีตั้งไว แสดงถึงประสิทธิภาพของการใหบริการ และเกิดผลลัพธท่ีดีตอการปฏิบัติงานของครู (4) การพัฒนาบุคลากร

ภาพประกอบท่ี 7.3(8) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของการพัฒนาบุคลากร

จากภาพประกอบท่ี 7.3(8) พบวา ในป 2555–2557 รอยละของการพัฒนาบุคลากร ท้ังในดานของหนวยงานท่ีมีครูและบุคลากรท่ีมีความรูความสามารถและตรงสาขาท่ีเหมาะสม, ดานครูท่ีมีผลงานการสรางนวัตกรรมและดานหนวยงานท่ีสรางมาตรฐานการปฏิบัติงาน มีคารอยละ 100 ทุกดาน และตรงตามเปาหมายท่ีตั้งไว แสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพในการทํางานของครูและบุคลากรท่ีเก่ียวของ สงผลใหไดผลลัพธท่ีดีตอผูเรียน

90 90 90

98 99 99

85

90

95

100

2555 2556 2557

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของการใหบริการดานสิทธิประโยชนและสวัสดิการ

คาเปาหมาย

การใหบริการดานสิทธิประโยชนและสวัสดิการ

คาเปาหมาย

รอยละของหนวยงานที่มีครูและบุคลากรที่ความรูความสามารถและตรง

สาขาที่เหมาะสม

รอยละของครูที่มีผลงานการสรางนวัตกรรม

รอยละของหนวยงานที่สรางมาตรฐานการ

ปฏิบัติงาน

2555 100 100 100 100

2556 100 100 100 100

2557 100 100 100 100

020406080

100120

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของการพัฒนาบุคลากร

Page 104: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

92

7.4 ผลลัพธดานการนําองคกรและการกํากับดูแลองคกร

ก. ผลลัพธดานการนําองคกรการกํากับดูแลองคกรความรับผิดชอบตอสังคมในวงกวาง (1) การนําองคกร 1) ประสิทธิภาพของกลไกการสื่อสาร

ภาพประกอบท่ี 7.4(1) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกลไกการสื่อสาร จากภาพประกอบท่ี 7.4(1) การจัดการกลไกดานการสื่อสารของโรงเรียนสตรีสิริเกศ เม่ือ

ทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.7, 4.83 และ 4.86 ตามลําดับ แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพการบริหารจัดการดานกลไกการสื่อสารแนวโนมสูงข้ึนแตเม่ือเทียบกับคาเปาหมายต่ํากวา 2) ประสิทธิผลของการนําองคกร แสดงดังภาพประกอบท่ี 7.4(2) พบวารอยละของครูและบุคลากรท่ีเขาใจและนําสาระไปสูการปฏิบัติไดถูกตอง ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 91, 93.3 และ 95 ตามลําดับ แสดงใหเห็นวาครูและบุคลากรโรงเรียนสตรีสิริเกศท่ีสื่อสารเขาใจและนําไปปฏิบัติมีจํานวนเพ่ิมข้ึน รอยละของครูและบุคลากรท่ีพึงพอใจตอพฤติกรรมของผูบริหารในการสรางความผูกพันในระดับดีมากข้ึนไป ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 81.5, 83.5 และ 85 ตามลําดับ แสดงวาครูและบุคลากรโรงเรียนสตรีสิริเกศพึงพอใจตอพฤติกรรมของผูบริหารในการสรางความผูกพันในระดับดีมากมีแนวโนมสูงข้ึน สวนรอยละของครูและบุคลากรท่ีมีพฤติกรรมตามคานิยมท่ีโรงเรียนกําหนด ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 93, 94.5 และ 95 ตามลําดับ แสดงวา ครูและบุคลากรโรงเรียนสตรีสิริเกศมีพฤติกรรมตามคานิยมท่ีโรงเรียนกําหนดเพ่ิมมากข้ึน ท้ังสามรายการกําหนดคาเปาหมายเทากับ 100 เม่ือเทียบกับคาเปาหมายผลลัพธจึงมีคาต่ํากวาเปาหมายท่ีกําหนด

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 5 5 5

ประสิทธิภาพ 4.7 4.83 4.87

5 5 5

4.7

4.83

4.87

4.554.6

4.654.7

4.754.8

4.854.9

4.955

5.05

ประส

ิทธิภา

พ(S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกลไกการสื่อสาร ป 2555-2557

Page 105: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

93

ภาพประกอบท่ี 7.4(2) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลดานการนําองคกร

(2) การกํากับดูแลองคกร 1) ประสิทธิภาพของการกํากับดูแลโรงเรียน เม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดย

ใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 5 ทุกป แสดงใหเห็นวา ฝายบริหารโรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการกํากับดูแลโรงเรียนอยางเปนระบบ เปนท่ีพึงพอใจของครูและบุคลากร และใชขอมูลเปนฐานการกํากับดูแลโรงเรียน

2) ประสิทธิภาพในการบริหารดานการเงินของโรงเรียน

ภาพประกอบท่ี 7.4(3) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพในการบริหารดานการเงินของโรงเรียน

จากภาพประกอบท่ี 7.4(3) เม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.9, 4.93 และ 4.95 ตามลําดับ แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการบริหารจัดการดานการเงินอยูในระดับดีมีแนวโนมสูงข้ึน แตเม่ือเทียบกับคาเปาหมายซ่ึงเทากับ 5 ยังมีคาต่ํากวาเปาหมาย มีความพึงพอใจของครูและบุคลากรตอการใหบริการดานการเงิน ในป 2555, 2556 และ 2557 มีแนวโนมสูงข้ึนเชนกัน

รอยละของครูและบุคลากรที่เขาใจและนําสาระไปสูการปฏิบัติ

รอยละของครูและบุคลากรที่พึงพอใจตอพฤติกรรมของผูบริหารในการสรางความผูกพัน ระดับดี

มากขึ้นไป

รอยละของครูและบุคลากรที่มีพฤติกรรมตามคานิยมที่โรงเรียน

กําหนด

2555 91 81.5 93

2556 93.3 83.5 94.5

2557 95 85 95

91

81.5

93 93.3

83.5

94.5 95

85

95

707580859095

100

รอยล

ะ แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลดานการนําองคกร

5

4.72

5 4.91

5

4.8

5 4.93

5

4.84

5 4.95

4.4

4.6

4.8

5

5.2

System Satisfaction KnowledgeBased ประสิทธิภาพ

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพในการบริหารดานการเงินของโรงเรียน

2555

2556

2557

Page 106: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

94

(3) กฎหมายและกฏระเบียบขอบังคับ 1) ประสิทธิภาพของการกํากับดูแลใหครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตาม

กฏหมาย

ภาพประกอบท่ี 7.4(4) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพในการกํากับดูแลใหครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตามกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม จัดกิจกรรมชวยเหลือสังคม และการ

ใหบริการชุมชนตามขอเรียกรอง จากภาพประกอบท่ี 7.4(4) ประสิทธิภาพในการกํากับดูแลใหครูและบุคลากร

ทางการศึกษาปฏิบัติตามกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม จัดกิจกรรมชวยเหลือสังคม และการใหบริการชุมชนตามขอเรียกรอง ในชวงป 2555-2557 อยูในระดับดีมาก

2) โรงเรียนสตรีสิริเกศไมมีครูท่ีถูกรองเรียนการประพฤติผิดกฏหมายและกฏระเบียบขอบังคับ ในชวงป 2555-2557 สอดคลองกับคาเปาหมายท่ีกําหนด

(4) จริยธรรม 1) ประสิทธิภาพของการกํากับดูแลใหครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีประพฤติ

ปฏิบัติอยางมีจริยธรรม แสดงดังภาพประกอบท่ี 7.4(4) เม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555-2557 เทากับ 5 ทุกป แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพการกํากับดูแลใหครูและบุคลากรทางการศึกษาท่ีประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรมอยูในระดับดีมากทุกป สอดคลองกับคาเปาหมายท่ีกําหนด

2) โรงเรียนสตรีสิริเกศไมมีครูท่ีถูกรองเรียนในเรื่องจรรยาบรรณครู 3) ครูท่ีมีประพฤติปฏิบัติจนไดรับการยกยองชมเชยในชวงป 2555-2557 คิดเปน

รอยละ 100 (5) สังคม

1) ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมชวยเหลือสังคม จากภาพประกอบท่ี 7.4(4) เม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป

ประสิทธิภาพของการกํากับดูแลใหครูและ

บุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตามกฎหมาย

ประสิทธิภาพของการกํากับดูแลใหครูและ

บุคลากรทางการศึกษาที่ประพฤติปฏิบัติอยางมี

จริยธรรม

ประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมชวยเหลือสังคม

ประสิทธิภาพของการใหบริการชุมชนตามขอ

เรียกรอง

2555 5 5 5 4

2556 5 5 5 5

2557 5 5 5 5

5 5 5 4 5 5 5 5 5 5 5 5

0123456

ประส

ิทธิภา

พ(S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการกํากับดูแลใหครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตามกฎหมายประพฤติปฏิบัติอยางมีจริยธรรม จัดกิจกรรมชวยเหลือสังคมและการ

ใหบริการชุมชนตามขอเรียกรอง

Page 107: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

95

2555, 2556 และ 2557 เทากับ 5 ทุกป แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการจัดกิจกรรมชวยเหลือสังคมอยูในระดับดีมากทุกป สอดคลองกับคาเปาหมายท่ีกําหนด

2) ระดับความพึงพอใจของสังคมและชุมชนท่ีมีตอการใหบริการของโรงเรียน

ภาพประกอบท่ี 7.4(5) แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของสังคมและชุมชนตอการใหบริการ

ของโรงเรียนสตรีสิริเกศ จากภาพประกอบท่ี 7.4(5) ความพึงพอใจของสังคมและชุมชนตอการใหบริการของ

โรงเรียนสตรีสิริเกศ ป 2555-2557 คิดเปนรอยละ 94, 95, 97 และ 94, 95, 98 ตามลําดับ มีแนวโนมดีและสูงกวาคาเปาหมายท่ีกําหนดไวคือ รอยละ 80 แสดงวาฝายบริหารมีการกํากับดูแลองคกรอยางมีความรับผิดชอบเปนท่ีพึงพอใจตอสังคมวงกวาง

3) จํานวนกิจกรรมท่ีชวยเหลือสังคมตอป จากภาพประกอบท่ี 7.4(5) แสดงใหเห็นวาแตละป โรงเรียนสตรีสิริเกศดําเนินกิจกรรมท่ีชวยเหลือสังคมตามขอเรียกรองเพ่ิมมากข้ึนแสดงถึงการกํากับดูแลองคกรใหชวยเหลือสังคมวงกวาง

4) ประสิทธิภาพของการใหบริการชุมชนตามขอเรียกรอง จากภาพประกอบท่ี 7.4(4) มีประสิทธิภาพในการกํากับดูแลโรงเรียนใหบริการชุมชนตามขอเรียกรองอยูในระดับดีมาก

รอยละความพึงพอใจของสังคมที่มีตอการใหบริการของโรงเรียน

(%)

รอยละกิจกรรมที่ชวยเหลือสังคมตอป (%)

รอยละความพึงพอใจของชุมชนตอการใหบริการของโรงเรียน

(%)

2555 94 94 94

2556 95 95 95

2557 97 97 98

94 94 94 95 95 95

97 97 98

9293949596979899

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงระดับความพึงพอใจของสังคมและชุมชนตอการใหบริการ ของโรงเรียนสตรีสิริเกศ ป 2555-2557

Page 108: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

96

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 5 5 5

ประสิทธิภาพ 4.40 4.42 4.61

44.24.44.64.8

55.2

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ ป 2555-2557

ข. ผลลัพธดานการนํากลยุทธสูการปฏิบัติ 1) ประสิทธิภาพของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ

ภาพประกอบท่ี 7.4(6) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ ป 2555-2557

จากภาพประกอบท่ี 7.4(6) การนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติเม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555-2557 เทากับ 4.40, 4.42 และ 4.46 ตามลําดับ แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติมีแนวโนมสูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมายยังคงต่ํากวา ฝายบริหารจึงทบทวนและปรับปรุงระบบการกํากับติดตามการปฏิบัติงานใหดียิ่งข้ึน

2) ประสิทธิผลของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ

จากภาพประกอบท่ี 7.4(7) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ

จากภาพประกอบท่ี 7.4(7) การนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติเม่ือทําการประเมินประสิทธิผล โดยพิจารณารอยละของกิจกรรมท่ีกําหนดไวในแผนปฏิบัติการดําเนินการแลวมี

รอยละของกิจกรรมที่กําหนดไวในแผนปฏิบติัการดําเนินการแลว มีผลตามคาเปาหมาย

กําหนด

รอยละของหนวยงานที่ดําเนินงานบรรลุมาตรฐานที่กําหนด

2555 94.65 100

2556 94.77 100

2557 94.84 100

94.65

100

94.77

100

94.84

100

919293949596979899

100101

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิผลของการนําแผนปฏิบัติการไปสูการปฏิบัติ

Page 109: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

97

ผลตามคาเปาหมายกําหนด พบวา ในป 2555-2557 เทากับ 94.65 94.77 และ 94.84 ตามลําดับ แสดงวากิจกรรมตางๆ ท่ีกําหนดไวในแผนปฏิบัติการดําเนินการแลวมีผลตามคาเปาหมายท่ีโรงเรียนกําหนดอยูในระดับดีมาก มีแนวโนมท่ีจะบรรลุเปาหมายมากข้ึนถึงแมวาจะไมเทากับคาเปาหมายท่ีมีการกําหนดถึง 100 ก็ตาม เม่ือพิจารณารอยละของหนวยงานท่ีดําเนินงานบรรลุมาตรฐานท่ีกําหนด พบวา ในป 2555-2557 มีเทากับ 100 ท้ังสามป แสดงวาหนวยงานในโรงเรียนสตรีสิริเกศปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานท่ีโรงเรียนกําหนดจนกลายเปนสมรรถนะหลักของโรงเรียน ถือวามีแนวโนมท่ีดีและบรรลุตามคาเปาหมายท่ีกําหนด เปนผลมาจากการกํากับองคกรของฝายบริหาร

7.5 ผลลัพธดานการเงินและดานการตลาด

ก. ผลลัพธดานการเงินและดานการตลาด (1) ผลการดําเนินการดานการเงิน

การเบิกจายเงินงบประมาณของโรงเรียนเปนไปตามแผนปฏิบัติการประจําปโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเพ่ือประโยชนสูงสุด โรงเรียนดําเนินการอยางเปนระบบและเปนปจจุบัน ขอมูลผลลัพธดานการเงินเหลานี้เปนสวนหนึ่งในการนํามาวิเคราะหสภาพแวดลอมภายในเพ่ือวางแผนเชิงกลยุทธของโรงเรียน อธิบายไวใน 2.1 โดยฝายบริหารมีระบบการกํากับดูแลใหเปนไปตามระเบียบขอบังคับและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับงานการเงิน การบัญชี และการพัสดุ อยางเครงครัด ซ่ึงอธิบายไวใน 1.2 ผลลัพธทางการเงินดานประสิทธิภาพและประสิทธิผล ปรากฎดังนี้ 1) ประสิทธิภาพของการบริหารดานการเงินใหบรรลุตามวัตถุประสงค

ภาพประกอบท่ี 7.5(1) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการบริหารดานการเงินใหบรรลุตาม

วัตถุประสงค จากภาพประกอบท่ี 7.5(1) การบริหารดานการเงินใหบรรลุตามวัตถุประสงค

เม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.91, 4.93 และ 4.95 ตามลําดับ แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการบริหารดานการเงินใหบรรลุตามวัตถุประสงคสูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย ทุกปมีคาสูงกวาคาเปาหมายท่ีกําหนด

2) ประสิทธิผลดานการบริหารงบประมาณท่ีแตละหนวยงานไดรับการจัดสรรเพ่ือดําเนินโครงการ/กิจกรรม ใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 4.50 4.50 4.50

ประสิทธิภาพ 4.91 4.93 4.95

4.50 4.50 4.50 4.91 4.93 4.95

0.00

2.00

4.00

ประส

ิทธิภา

(SSK

-Mod

el)

แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของการบริหารดานการเงิน ใหบรรลุตามวัตถุประสงค

Page 110: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

98

ภาพประกอบท่ี 7.5(2) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของหนวยงานท่ีบริหารงบประมาณตามท่ีไดรับจัดสรรและดําเนินโครงการ/กิจกรรมบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย

จากภาพประกอบท่ี 7.5(2) รอยละหนวยงานท่ีบริหารงบประมาณตามท่ีไดรับจัดสรรและสามารถดําเนินการ โครงการ/กิจกรรม ไดบรรลุตามตัวชี้วัด คาเปาหมายท่ีกําหนด ในป 2555-2557 เทากับ 97.33, 99.42 และ 100 ตามลําดับ เม่ือเทียบกับรอยละของงบประมาณท่ีไดรับจัดสรรตามแผนปฏิบัติการประจําป พบวา ป 2555 มีประสิทธิผลอยูในระดับต่ํา เนื่องจากรอยละของการใชงบประมาณตามแผนฯ มากกวารอยละของหนวยงานท่ีดําเนินงานบรรลุตามเปาหมาย ป 2556 มีประสิทธิผลอยูในระดับดี เนื่องจากรอยละของการใชงบประมาณตามแผนฯ เทากับรอยละของหนวยงานท่ีดําเนินงานบรรลุตามเปาหมาย และป 2557 มีประสิทธิผลอยูในระดับดีมาก เนื่องจาก รอยละของการใชงบประมาณตามแผนฯ นอยกวารอยละของหนวยงานท่ีดําเนินงานบรรลุตามเปาหมาย แสดงใหเห็นวา หนวยงานในโรงเรียนสตรีสิริเกศมีการบริหารงบประมาณตามท่ีไดรับจัดสรรและแนวโนมท่ีดีข้ึน

3) รายไดสถานศึกษาท่ีเพ่ิมข้ึนตอป

ภาพประกอบท่ี 7.5(3) แผนภูมิแทงแสดงรายไดสถานศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ ป 2555-2557

2555 2556 2557

รอยละของหนวยงานที่ใชงบประมาณตามแผนฯ

98.24 99.42 97.53

รอยละของหนวยงานที่ดําเนินกิจกรรม/โครงการบรรลุผลสําเร็จตาม

เปาหมาย 97.33 99.42 100

98.24

99.42

97.53 97.33

99.42 100

95.5096.0096.5097.0097.5098.0098.5099.0099.50

100.00100.50

รอยล

แผนภูมิแทงแสดงรอยละของหนวยงานท่ีบริหารงบประมาณตามท่ีไดรับจัดสรร และดําเนินกิจกรรม/โครงการ บรรลุผลตามเปาหมาย

2555 2556 2557

รายไดสถานศึกษา 22.98 20.65 27.95

22.98

20.65

27.95

-

5.00

10.00

15.00

20.00

25.00

30.00

จํานว

นเงิน

บริจา

ค (ล

านบา

ท)

แผนภูมิแสดงรายไดสถานศึกษาโรงเรียนสตรีสิริเกศ ป 2555-2557

Page 111: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

99

จากภาพประกอบท่ี 7.5(3) พบวา รายไดสถานศึกษาในป 2556 มีคาลดลงเนื่องจากโรงเรียนรับนักเรียนจํานวนลดลงวัตถุประสงคเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในกระบวนการจัดการเรียนการสอนใหดียิ่งข้ึนสงผลใหจํานวนเงินระดมทรัพยากรลดลง สวนป 2557 มีคาสูงข้ึนเนื่องจากไดรับเงินระดมทรัพยากรจากนักเรียนเพ่ิมข้ึนเพ่ือนํามาใชบริหารจัดการเก่ียวกับผูสงมอบ

4) จํานวนเงินบริจาคท่ีเพ่ิมข้ึนตอป

ภาพประกอบท่ี 7.5(4) แผนภูมิแทงแสดงรอยละของเงินบริจาคตอป จากภาพประกอบท่ี 7.5(4) การบริหารดานการเงินใหบรรลุตามวัตถุประสงค

เม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.91, 4.93 และ 4.95 ตามลําดับ แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของการบริหารดานการเงินใหบรรลุตามวัตถุประสงคสูงข้ึน เม่ือเทียบกับคาเปาหมาย ทุกปมีคาสูงกวาคาเปาหมายท่ีกําหนด

4) คาสาธารณูปโภคท่ีลดลง

ภาพประกอบท่ี 7.5(5) แผนภูมิแสดงรอยละของคาใชจายคาสาธารณูปโภคโรงเรียนสตรีสริิเกศ

ระหวาง ป 2555-2557

2555 2556 2557

จายโดยเงินอุดหนุน 1,687,372.29 1,354,735.24 1,631,883.88

จายโดยเงินรายไดสถานศึกษา 2,477,680.87 3,057,327.36 1,487,423.04

รวมคาสาธารณูปโภค 4,165,053.16 4,412,062.60 3,119,306.92

0.001,000,000.002,000,000.003,000,000.004,000,000.005,000,000.00

บาท

แผนภูมิแสดงรอยละของคาใชจายคาสาธารณูปโภคโรงเรียนสตรีสิริเกศ ระหวางป 2555-2557

2555 2556 2557

จํานวนเงินบริจาคทุนการศึกษา 527,000.00 619,000.00 600,500.00

เงินบริจาคอื่นๆ 1,500,000.00 225,500.00 4,246,173.08

527,000.00 619,000.00

600,500.00

1,500,000

225,500

4,246,173

0.00500,000.00

1,000,000.001,500,000.002,000,000.002,500,000.003,000,000.003,500,000.004,000,000.004,500,000.00

จํานว

นเงิน

บริจา

ค (บ

าท)

แผนภูมิแสดงจํานวนเงินบริจาคโรงเรียนสตรีสิริเกศ ปการศึกษา 2555-2557

Page 112: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

100

จากภาพประกอบท่ี 7.5(5) การบริหารดานการเงินใหใชจายดานสาธารณูปโภคไดอยางพอเพียงบนพ้ืนฐานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและบรรลุตามเปาประสงคของโรงเรียน จากขอมูลพบวา รายจายคาสาธารณูปโภคของโรงเรียน ระหวางป 2555-2556 เพ่ิมสูงข้ึนเล็กนอยเนื่องจากโรงเรียนเพ่ิมการบริการอ่ืนๆ แกนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย เพ่ิมสิทธิประโยชนและบริการอ่ืนแกครูและบุคลากร เชน การเพ่ิมจํานวนคอมพิวเตอรท้ังสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและสํานักงาน การติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เปนตน ปริมาณการใชสาธารณูปโภคจึงเพ่ิมมากข้ึน สวนป 2557 คาใชจายสาธารณูปโภคลดลง คิดเปนรอยละ 29.30 เม่ือเทียบกับคาเปาหมายท่ีกําหนดคือ ลดลงรอยละ 10 แสดงใหเห็นวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีมาตรการในการประหยัดทรัพยากร มีการกํากับองคกรและสื่อสารใหครูและบุคลากรรวมท้ังนักเรียนและผูมีสวนไดสวนเสีย รวมกันใชทรัพยากรอยางคุมคา รับผิดชอบตอสังคม (2) ผลการดําเนินการดานการตลาด

1) ประสิทธิภาพของกลไกสรางความสัมพันธนักเรียนในอนาคต

ภาพประกอบท่ี 7.5(6) แผนภูมิแทงแสดงประสิทธิภาพของกลไกสรางความสัมพันธนักเรียนในอนาคต

จากภาพประกอบท่ี 7.5(6) ประสิทธิภาพของกลไกสรางความสัมพันธนักเรียนในอนาคต เม่ือทําการประเมินประสิทธิภาพ โดยใช SSK-Model พบวา ระดับของผลลัพธดานประสิทธิภาพ ในป 2555, 2556 และ 2557 เทากับ 4.73, 4.75 และ 4.78 ตามลําดับ แสดงวา โรงเรียนสตรีสิริเกศมีประสิทธิภาพของกลไกสรางความสัมพันธนักเรียนในอนาคตสูงข้ึน แตเม่ือเทียบกับคาเปาหมายยังมีคาต่ํากวาเปา โรงเรียนจึงมุงม่ันท่ีจะพัฒนาเพ่ือจัดการตลาดใหดียิ่งข้ึน

2) สัดสวนของนักเรียนท่ีรับตอนักเรียนท่ีมาสมัครเขาเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 ตารางท่ี 7.5(1) สัดสวนของนักเรียนท่ีรับตอนักเรียนท่ีมาสมัครเขาเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4

หลักสูตรฯ ปการศึกษา 2555 ปการศึกษา 2556 ปการศึกษา 2557 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 1 : 2.2 1 : 2.0 1 : 2.0 ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 1 : 1.4 1 : 1.5 1 : 1.5

จากตารางท่ี 7.5(1) พบวา สัดสวนของนักเรียนท่ีรับตอนักเรียนท่ีมาสมัครเขาเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 มีสัดสวนคอนขางคงท่ีจึงถือเปนโรงเรียนท่ีมีอัตราการแขงขันสูง

2555 2556 2557

คาเปาหมาย 5.00 5.00 5.00

ประสิทธิภาพ 4.73 4.75 4.78

5.00 5.00 5.00

4.73 4.75 4.78

4.404.604.805.005.20

ประส

ิทธิภา

พ (S

SK-M

odel

) แผนภูมิแสดงประสิทธิภาพของกลไกลสรางความสัมพันธของนักเรียนในอนาคต

Page 113: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

คณะกรรมการดําเนินงานงานโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนสตรีสิริเกศ

1. คณะกรรมการขับเคล่ือนงานโรงเรียนมาตรฐานสากล 1.1 นายสุธี ชินชัย ประธานกรรมการ 1.2 นายประสพ ชารีนิวัฒน รองประธานกรรมการ 1.3 นายคูณ ชํานิกุล รองประธานกรรมการ 1.4 นายพิชัย ผองแผว รองประธานกรรมการ 1.5 นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ กรรมการ 1.6 นางศิริวรรณ มะโรณีย กรรมการ 1.7 นายประจักษ พันธสีมา กรรมการ 1.8 นายวิชิต ม่ันใจ กรรมการ 1.9 นางวราพร เจริญยุทธ กรรมการ 1.10 นางมยุรี สาลีวงศ กรรมการ 1.11 นายอุทัย จึงสมาน กรรมการ 1.12 นายจาตุรงค ศรีรส กรรมการ 1.13 นางรัชฎาพร พงศพฤฒิชัย กรรมการ 1.14 นางสาวสรอยทอง ทาโพธิ์ กรรมการ 1.15 นางวลัย นามวงศ กรรมการ 1.16 นายชัยโรจน พิทักษธรรม กรรมการ 1.17 นางกิตติยา สงสุข กรรมการ 1.18 นายประดิษฐ สงสุข กรรมการ 1.19 นางสุนันทา สิมพันธ กรรมการ 1.20 นางสาวขวัญใจ ภาพันธ กรรมการ 1.21 นางวิรงรอง วิเศษ กรรมการ 1.22 นางฐานิตา วัฒนพฤกษชาติ กรรมการ 1.23 นายศักดิ์ชาย เกษร กรรมการ 1.24 นางเบญจมาภรณ จันทรชิต กรรมการ 1.25 นายภูเบศ เศรษฐบุตร กรรมการ 1.26 นางสาวภัทยา นามวงศ กรรมการและเลขานุการ 1.27 นายมงคล ไชยเทพ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 1.28 นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและผูชวยเลขานุการ 1.29 นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 1.30 นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการและผูชวยเลขานุการ

2. คณะกรรมการรวบรวมขอมูลและเขียนรายงานโรงเรียนมาตรฐานสากล 2.1 นายมงคล ไชยเทพ ประธานกรรมการ 2.2 นายวรพจน นาคถมยา รองประธานกรรมการ

Page 114: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

2

2.3 นางวิรงรอง วิเศษ รองประธานกรรมการ 2.4 นางบุษกรณ พรหมพิลา กรรมการ 2.5 นางรัตตินันท อารยะสิทธิ กรรมการ 2.6 นางเทพา สระแกว กรรมการ 2.7 นางวลัย นามวงศ กรรมการ 2.8 นายเฉลียว ศิริดล กรรมการ 2.9 นางสาวชนิดาพร ดวงแสง กรรมการ 2.10 นางวณิชยา รัฐอุบล กรรมการ 2.11 นางณัฐรดา สาลี กรรมการ 2.12 นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการ 2.13 นางดวงศิริ สุขประเสริฐ กรรมการ 2.14 นายไพรนคร ชิณะแขว กรรมการ 2.15 นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและเลขานุการ 2.16 นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 2.17 นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ

Page 115: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

คําส่ังโรงเรียนสตรีสิริเกศ ท่ี 136 / 2558

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการรับการประเมินโรงเรียนตนแบบการบริหารจัดการ ดวยระบบคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาอยางเขมขน (Intensive School)

……………………………….. ตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดจัดทําโครงการเพ่ือยกระดับคุณภาพโรงเรียนสูมาตรฐานสากล โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาผูเรียนใหมีศักยภาพเปนพลโลกและเพ่ือพัฒนาดานการบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพ และไดทําการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากลท่ีพัฒนาระบบบริหารจัดการเพ่ือพัฒนาอยางเขมขน (Intensive School) โดยโรงเรียนสตรีสิริเกศ ในวนัท่ี 15กรกฎาคม 2558 ระหวางเวลา 08.30-16.30 น. ณ หองประชุมเกศสิริ โรงเรียนสตรีสิริเกศ อําเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ เพ่ือใหการดําเนินงานดังกลาว เปนไปดวยเรียบรอยและบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีวางไวจึงแตงตั้งบุคลากรรับผิดชอบ ดังนี้ 1. คณะกรรมการท่ีปรึกษา

1.1 นายสุธ ี ชินชัย ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีสิริเกศ 1.2 นายประสพ ชารีนิวัฒน รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานงบประมาณและแผนงาน 1.3 นางสาวภัทยา นามวงศ รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานวิชาการ 1.4 นายคูณ ชํานิกุล รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล 1.5 นายพิชัย ผองแผว รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานท่ัวไป

มีหนาท่ี ใหคําปรึกษาแกคณะกรรมการฝายตาง ๆ ใหดําเนินการไปดวยความเรียบรอย 2. คณะกรรมการดําเนินงาน 2.1 นางสาวภัทยา นามวงศ ประธานกรรมการ 2.2 นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ รองประธานกรรมการ 2.3 นายวรพจน นาคถมยา กรรมการ 2.4 นางเทพา สระแกว กรรมการ 2.5 นายเฉลียว ศิริดล กรรมการ 2.6 นางไพลี จันทรนิยม กรรมการ

2.7 นางบุษกรณ พรหมพิลา กรรมการ 2.8 นายประโยชน รังษี กรรมการ 2.9 นางสาวชนิดาพร ดวงแสง กรรมการ

/2.10 นางรัตตินันท....

Page 116: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

2 2.10 นางรัตตินันท อารยะสิทธินนท กรรมการ 2.19 นายวิวิศน ธนะจิตตสิน กรรมการ 2.20 นางสาวปยลดา มีเกษ กรรมการ 2.21 นางวณิชยา รัฐอุบล กรรมการ 2.22 นายมงคล ไชยเทพ กรรมการและเลขานุการ

2.23 นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและผูชวยเลขานุการ 2.24 นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 2.25 นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. วางแผนการดําเนินงาน

2. ประสานงานกับคณะกรรมการฝายตาง ๆ เพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอย และบรรลุตามวัตถุประสงค

3. ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 3. คณะกรรมการรวบรวมเอกสาร หมวด 1 การนําองคกร 1. นายสุธ ี ชินชัย ประธานกรรมการ 2. นายประสพ ชารีนิวัฒน รองประธานกรรมการ 3. นางสาวภัทยา นามวงศ รองประธานกรรมการ 4. นายคูณ ชํานิกุล รองประธานกรรมการ

5. นายพิชัย ผองแผว รองประธานกรรมการ 6. นางสนธยา ธานี กรรมการ 7. นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและเลขานุการ 8. นางไพลี จันทรนิยม กรรมการและผูชวยเลขานุการ 9. นายนพพร ศรปญญา กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. ประสาน รวบรวมเอกสารหลักฐาน เพ่ือรับประเมิน ใหเสร็จสิ้นภาย ในวันท่ี 13 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 4. คณะกรรมการรวบรวมเอกสาร หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ 1. นายประสพ ชารีนิวัฒน ประธานกรรมการ 2. นางเบญจมาภรณ จันทรชิต รองประธานกรรมการ 3. นายชัยยงค จรจันทร กรรมการ 4. นางโสภา พิเชฐโสภณ กรรมการ 5. นางฐานิตา วัฒนพฤษกชาติ กรรมการ 6. นางสาวพิชญาภา สีนามะ กรรมการ

7. นายไพรนคร ชิณะแขว กรรมการ 8. นางสาวจินตภาณี กองจินดา กรรมการ

/9. นายประดิษฐ...

Page 117: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

3

9. นายประดิษฐ สงสุข กรรมการและเลขานุการ 10. นางสาวชนิดาพร ดวงแสง กรรมการละผูชวยเลขานุการ

มีหนาท่ี 1. ประสาน รวบรวมเอกสารหลักฐาน เพ่ือรับประเมิน ใหเสร็จสิ้น ภายในวันท่ี 13กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 5. คณะกรรมการรวบรวมเอกสาร หมวด 3 การมุงเนนนักเรียน 1. นายคูณ ชํานิกุล ประธานกรรมการ 2. นายประจักษ พันธสีมา รองประธานกรรมการ 3. นายชัยโรจน พิทักษธรรม กรรมการ 4. นายศักดิ์ชาย เกษร กรรมการ 5. นางสุนันทา สิมพันธ กรรมการ 6. นายธุวลักษณ แกวคูณ กรรมการ 7. นางสาวบุญลอม กันตรง กรรมการ 8. นางเทพา สระแกว กรรมการและกรรมการ 9. นางวณิชยา รัฐอุบล กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. ประสาน รวบรวมเอกสารหลักฐาน เพ่ือรับการประเมิน ใหเสร็จสิ้น ภายในวันท่ี 13กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 6. คณะกรรมการรวบรวมเอกสาร หมวด 4 การวัด การวิเคราะหและการจัดการความรู 1. นางสาวภัทยา นามวงศ ประธานกรรมการ 2. นางวิรงรอง วิเศษ รองประธานกรรมการ 3. นางเบญจมาภรณ จันทรชิต กรรมการ 4. นางสาวยุวด ี คุณสม กรรมการ 5. นางฐานิตา วัฒนพฤษชาติ กรรมการ 6. นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ กรรมการ

7. นางสาวบุญลอม กันตรง กรรมการ 8. นายภูเบศ เศรษฐบุตร กรรมการ 9. นางบุษกรณ พรหมพิลา กรรมการและเลขานุการ 10. นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและผูชวยเลขานุการ 11. นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. ประสาน รวบรวมเอกสารหลักฐาน เพ่ือรับการประเมิน ใหเสร็จสิ้น ภายในวันท่ี 13 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

/7. คณะกรรมการ...

Page 118: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

4 7. คณะกรรมการรวบรวมเอกสาร หมวด 5 การมุงเนนบุคลากร

1. นายคูณ ชํานิกุล ประธานกรรมการ 2. นางกิตติยา สงสุข รองประธานกรรมการ 3. นางรสสุคนธ แกวคูณ กรรมการ 4. นางสาวพิชญาภา สีนามะ กรรมการ 5. นางสาวจุธาภัค วรโคตร กรรมการ 6. นายวรพจน นาคถมยา กรรมการและเลขานุการ 7. นางรัตตินันท อารยะสิทธินนท กรรมการและผูชวยเลขานุการ 8. นางนิตยา วิเศษสังข กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. ประสาน รวบรวมเอกสารหลักฐาน เพ่ือรับการประเมิน ใหเสร็จสิ้น

ภายในวันท่ี 13 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 8. คณะกรรมการรวบรวมเอกสาร หมวด 6 การมุงเนนการดําเนินการ 1. นายพิชัย ผองแผว ประธานกรรมการ 2. นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ รองประธานกรรมการ 3. นางสนธยา ธานี กรรมการ 4. นางเกศินี สารพันธุ กรรมการ 5. นางเอ้ือมพร สหธรรมมิกะชาติ กรรมการ 6. นางเบญจมาภรณ จันทรชิต กรรมการ 7. นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการ

8. นางสาวจินตภาณี กองจินดา กรรมการ 9. นางวลัย นามวงศ กรรมการและเลขานุการ 10. นางดวงศิริ สุขประเสริฐ กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. ประสาน รวบรวมเอกสารหลักฐาน เพ่ือรับการประเมิน ใหเสร็จสิ้น ภายในวันท่ี 13กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 9. คณะกรรมการรวบรวมเอกสาร หมวด 7 ผลลัพธ 1. นายสุธี ชินชัย ประธานกรรมการ 2. นายประสพ ชารีนิวัฒน รองประธานกรรมการ 3. นางสาวภัทยา นามวงศ รองประธานกรรมการ 4. นายคูณ ชํานิกุล รองประธานกรรมการ 5. นายพิชัย ผองแผว รองประธานกรรมการ 6. นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ กรรมการ

/7. นายประจักษ...

Page 119: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

5 7. นายประจักษ พันธสีมา กรรมการ 8. นางศิริวรรณ มะโรณีย กรรมการ 9. นายวิชิต ม่ันใจ กรรมการ 10. นายประดิษฐ สงสุข กรรมการ 11. นางกิตติยา สงสุข กรรมการ 12. นายณัฐวุฒิ หารไชย กรรมการ 13. นายมงคล ไชยเทพ กรรมการและกรรมการ 14. นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและผูชวยเลขานุการ

15. นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 16. นางณัฐรดา สาลี กรรมการและผูชวยเลขานุการ 17. นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 18. นางไพลี จันทรนิยม กรรมการและผูชวยเลขานุการ 19. นายประดิษฐ สงสุข กรรมการและผูชวยเลขานุการ 20. นางชนิดาพร ดวงแสง กรรมการและผูชวยเลขานุการ 21. นางเทพา สระแกว กรรมการและผูชวยเลขานุการ 22. นางวณิชยา รัฐอุบล กรรมการและผูชวยเลขานุการ 23. นางบุษกรณ พรหมพิลา กรรมการและผูชวยเลขานุการ 24. นายวรพจน นาคถมยา กรรมการและผูชวยเลขานุการ 25. นางรัตตินันท อารยะสิทธินนท กรรมการและผูชวยเลขานุการ 26. นางวลัย นามวงศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 27. นางดวงศิริ สุขประเสริฐ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 28. นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. ประสาน รวบรวมเอกสารหลักฐาน เพ่ือรับการประเมิน ใหเสร็จสิ้น ภายในวันท่ี 13กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 10. คณะกรรมการฝายพิธีการ 1. นางสนธยา ธานี ประธานกรรมการ 2. นางเบญจมาภรณ จันทรชิต รองประธานกรรมการ 3. นางสาวพรทิพย หาวิชิต กรรมการ 4. นางสงวน ศรีกุล กรรมการ 5. นายศักดิ์ชาย เกษร กรรมการและเลขานุการ 6. นางสาวปยลดา มีเกษ กรรมการและผูชวยเลขานุการ

มีหนาท่ี 1. ปฏิบัติหนาท่ีพิธีกร 2. จัดเตรียมนักเรียนตอนรับคณะกรรมการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล 3. บันทึกภาพการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากล 4. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

/11. คณะกรรมการ...

Page 120: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

6 11. คณะกรรมการฝายจัดสถานท่ี 1. นายวิชิต ม่ันใจ ประธานกรรมการ 2. นายวิวิศน ธนะจิตตสิน รองประธานกรรมการ 3. นางนันทภัส อุบลพงษ กรรมการ 4. นักการภารโรงและคนงานทุกคน กรรมการ 5. นายเฉลียว ศิริดล กรรมการและเลขานุการ 6 . นายเกรียงไกร ศรีกุล กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. จัดเตรียมสถานท่ีในการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากลหองประชุมเกศสิริ โรงเรียนสตรีสิริเกศ อําเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ 2. จัดโตะเกาอ้ี โตะหมูบูชา โตะสําหรับคณะกรรมการประเมิน และผูเขารับการประเมิน 3. จัดทําและติดตัวหนังสือ

ยินดีตอนรับคณะกรรมการประเมินโรงเรียนตนแบบการบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพการศึกษา เพ่ือพัฒนาอยางเขมขน (Intensive School)

4. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 12. คณะกรรมการฝายปฏิคม 1. นางวรรณา ศิริดล ประธานกรรมการ 2. นางสาวปยลดา มีเกษ รองประธานกรรมการ 3. นางสาวกาญจนา ทุมโมง กรรมการ 4. นางสาวกุลนิษฐ พรมลา กรรมการ 5. นายสม จันทอน กรรมการ 6. นายทวีศักดิ์ อาจชมภู กรรมการ 7. นางสาวจินตภาณี กองจินดา กรรมการและเลขานุการ 8. นางสาวกุลมณี พรหมศรี กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. จัดเตรียมอุปกรณ อาหารวาง น้ําดื่ม สําหรับคณะกรรมการประเมิน 2. บริการอาหารวาง น้ําดื่มคณะกรรมการประเมิน 3. จัดเก็บอุปกรณใหเรียบรอยเม่ือเสร็จงาน 13. คณะกรรมการฝายประเมินผล 1. นายประดิษฐ สงสุข ประธานกรรมการ 2. นายชัยยงค จรจันทร กรรมการ 3. นางโสภา พิเชฐโสภณ กรรมการและเลขานุการ 4. นางสาวสุภัทรา ชูสาย กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. จัดทําแบบประเมิน 2. สรุปรายงานผล ปญหา อุปสรรคและขอเสนอแนะ

/ ขอใหคณะ....

Page 121: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

7 ขอใหคณะกรรมการท่ีไดรับการแตงตั้งปฏิบัติหนาท่ีโดยเครงครัด อยางเต็มความสามารถเพ่ือใหเกิดผลดีตอทางราชการ หากมีปญหาอุปสรรคใหรายงานใหโรงเรียนทราบ เพ่ือสั่งการตอไป สั่ง ณ วันท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ. 2558

(นายสุธี ชินชัย)

ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีสิริเกศ

Page 122: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

คําส่ังโรงเรียนสตรีสิริเกศ ท่ี 149 / 2558

เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการแกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑมาตรฐานสากล ระดับ OBECQAโรงเรียนตนแบบการบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาอยางเขมขน

(Intensive World Class School) ………………………………..

ตามท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดทําการประเมินโรงเรียนมาตรฐานสากลท่ีพัฒนาระบบบริหารจัดการ เพ่ือพัฒนาอยางเขมขน (Intensive World Class School) ในระดับ OBECQA โดยทําการประเมินโรงเรียนสตรีสิริเกศ ในวันท่ี 15 กรกฎาคม 2558 นั้น คณะกรรมการประเมินไดมีขอเสนอแนะใหแกไขและปรับปรุงในการจัดทํารายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับ OBECQA โรงเรียนตนแบบการบริหารจัดการดวยระบบคุณภาพการศึกษาเพ่ือพัฒนาอยางเขมขน (Intensive World Class School)

โรงเรียนสตรีสิริเกศ จึงขอแตงตั้งคณะกรรมการแกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล เพ่ือใหเปนไปดวยเรียบรอยและบรรลุตามวัตถุประสงคท่ีวางไวจึงแตงตั้งบุคลากรรับผิดชอบ ดังนี้ 1. คณะกรรมการท่ีปรึกษา

1.1 นายสุธี ชินชัย ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีสิริเกศ 1.2 นายประสพ ชารีนิวัฒน รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานงบประมาณและแผนงาน 1.3 นางสาวภัทยา นามวงศ รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานวิชาการ 1.4 นายคูณ ชํานิกุล รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานบุคคล 1.5 นายพิชัย ผองแผว รองผูอํานวยการกลุมบริหารงานท่ัวไป

มีหนาท่ี ใหคําปรึกษาแกคณะกรรมการฝายตาง ๆ ใหดําเนินการไปดวยความเรียบรอย

2. คณะกรรมการขับเคล่ือนงานโรงเรียนมาตรฐานสากล 2.1 นายสุธี ชินชัย ประธานกรรมการ 2.2 นายประสพ ชารีนิวัฒน รองประธานกรรมการ 2.3 นายคูณ ชํานิกุล รองประธานกรรมการ 2.4 นายพิชัย ผองแผว รองประธานกรรมการ

2.5 นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ กรรมการ 2.6 นางศิริวรรณ มะโรณีย กรรมการ 2.7 นายประจักษ พันธสีมา กรรมการ 2.8 นายวิชิต ม่ันใจ กรรมการ 2.9 นางกิตติยา สงสุข กรรมการ

/2.10 นางวราพร...

Page 123: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

2 2.10 นางวราพร เจริญยุทธ กรรมการ 2.11 นางมยุรี สาลีวงศ กรรมการ 2.12 นายอุทัย จึงสมาน กรรมการ 2.13 นายจตุรงค ศรีรส กรรมการ 2.14 นางรัชฎาพร พงศพฤฒิชัย กรรมการ 2.15 นางสาวสรอยทอง ทาโพธิ์ กรรมการ 2.16 นางวลัย นามวงศ กรรมการ 2.17 นายชัยโรจน พิทักษธรรม กรรมการ 2.18 นางโสภา พิเชฐโสภณ กรรมการ 2.19 นางสุนันทา สิมพันธ กรรมการ 2.20 นางสาวขวัญใจ ภาพันธ กรรมการ 2.21 นางวิรงรอง วิเศษ กรรมการ 2.22 นางฐานิตา วัฒนพฤกษชาติ กรรมการ 2.23 นายศักดิ์ชาย เกษร กรรมการ 2.24 นางเบญจมาภรณ จันทรชิต กรรมการ 2.25 นายภูเบศ เศรษฐบุตร กรรมการ 2.26 นางสาวภัทยา นามวงศ กรรมการและเลขานุการ 2.27 นายมงคล ไชยเทพ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 2.28 นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 2.29 นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและผูชวยเลขานุการ 2.30 นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 2.31 นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. ประสานดําเนินการขับเคลื่อนเก่ียวกับโรงเรียนมาตรฐานสากล

2. ประสานและจัดทําขอมูลเก่ียวกับการประเมิน นิเทศ กํากับ ติดตาม โรงเรียนมาตรฐานสากล 3. ปฎิบัติหนาท่ีอ่ืนๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

3. คณะกรรมการรวบรวมขอมูลและเขียนรายงาน งานโรงเรียนมาตรฐานสากล 3.1 นายมงคล ไชยเทพ ประธานกรรมการ 3.2 นายวรพจน นาคถมยา รองประธานกรรมการ 3.3 นางวิรงรอง วิเศษ รองประธานกรรมการ 3.4 นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ รองประธานกรรมการ 3.5 นางเทพา สระแกว กรรมการ 3.6 นายเฉลียว ศิริดล กรรมการ 3.7 นางไพลี จันทรนิยม กรรมการ

3.8 นางบุษกรณ พรหมพิลา กรรมการ 3.9 นางวลัย นามวงศ กรรมการ 3.10 นางณัฐรดา สาลี กรรมการ 3.11 นางดวงศิริ สุขประเสริฐ กรรมการ

/3.12 นางสาวชนิดาพร...

Page 124: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

3 3.12 นางสาวชนิดาพร ดวงแสง กรรมการ 3.13 นางรัตตินันท อารยะสิทธินนท กรรมการ 3.14 นางวณิชยา รัฐอุบล กรรมการ 3.15 นายไพรนคร ชิณะแขว กรรมการ 3.16 นายนพพร ศรปญญา กรรมการ 3.17 นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและเลขานุการ 3.18 นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 3.19 นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. วางแผนการดําเนินงาน 2. ประสานงานกับคณะกรรมการฝายตาง ๆ เพ่ือใหการดําเนินงานเปนไปดวยความเรียบรอยและบรรลุ ตามวัตถุประสงค 3. ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 3. คณะกรรมการแกไขและปรับปรุงรายงานผลการดําเนินงานฯ หมวด 1 การนําองคกร 1. นายสุธ ี ชินชัย ประธานกรรมการ 2. นายประสพ ชารีนิวัฒน รองประธานกรรมการ 3. นางสาวภัทยา นามวงศ รองประธานกรรมการ 4. นายคูณ ชํานิกุล รองประธานกรรมการ

5. นายพิชัย ผองแผว รองประธานกรรมการ 6. นางสนธยา ธานี กรรมการ 7. นายมงคล ไชยเทพ กรรมการและเลขานุการ 8. นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 9. นางไพลี จันทรนิยม กรรมการและผูชวยเลขานุการ 10. นายนพพร ศรปญญา กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. แกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล ตาม

ขอเสนอแนะใหเสร็จสิ้นและรวบรวมเอกสารสงภายในวันท่ี 22 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย 4. คณะกรรมการแกไขและปรับปรุงรายงานผลการดําเนินงานฯ หมวด 2 การวางแผนเชิงกลยุทธ 1. นายประสพ ชารีนิวัฒน ประธานกรรมการ 2. นางเบญจมาภรณ จันทรชิต รองประธานกรรมการ 3. นายชัยยงค จรจันทร กรรมการ 4. นายประดิษฐ สงสุข กรรมการ 5. นางฐานิตา วัฒนพฤษกชาติ กรรมการ 6. นางสาวพิชญาภา สีนามะ กรรมการ

7. นายไพรนคร ชิณะแขว กรรมการ 8. นางสาวจินตภาณี กองจินดา กรรมการ 9. นางโสภา พิเชฐโสภณ กรรมการและเลขานุการ 10. นางสาวชนิดาพร ดวงแสง กรรมการละผูชวยเลขานุการ

มีหนาท่ี...

Page 125: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

4 มีหนาท่ี 1. แกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล ตาม

ขอเสนอแนะใหเสร็จสิ้นและรวบรวมเอกสารสงภายในวันท่ี 22 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

5. คณะกรรมการแกไขและปรับปรุงรายงานผลการดําเนินงานฯ หมวด 3 การมุงเนนนักเรียน 1. นายคูณ ชํานิกุล ประธานกรรมการ 2. นายประจักษ พันธสีมา รองประธานกรรมการ 3. นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ รองประธานกรรมการ 4. นายชัยโรจน พิทักษธรรม กรรมการ 5. นายศักดิ์ชาย เกษร กรรมการ 6. นางสุนันทา สิมพันธ กรรมการ 7. นางวราพร เจริญยุทธ กรรมการ 8. นางมยุรี สาลีวงศ กรรมการ 9. นายอุทัย จึงสมาน กรรมการ 10. นายมงคล ไชยเทพ กรรมการ 11. นายจตุรงค ศรีรส กรรมการ 12. นางรัชฎาพร พงศพฤฒิชัย กรรมการ 13. นางสาวสรอยทอง ทาโพธิ์ กรรมการ 14. นางวลัย นามวงศ กรรมการ 15. นายเอกรัตน ลับโกษา กรรมการ 16. นางเทพา สระแกว กรรมการและกรรมการ 17. นางวณิชยา รัฐอุบล กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. แกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล ตาม

ขอเสนอแนะใหเสร็จสิ้นและรวบรวมเอกสารสงภายในวันท่ี 22 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

6. คณะกรรมการแกไขและปรับปรุงรายงานผลการดําเนินงานฯ หมวด 4 การวัด การวิเคราะหและการจัดการความรู 1. นางสาวภัทยา นามวงศ ประธานกรรมการ 2. นางวิรงรอง วิเศษ รองประธานกรรมการ 3. นางเบญจมาภรณ จันทรชิต กรรมการ 4. นางฐานิตา วัฒนพฤษชาติ กรรมการ 5. นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ กรรมการ 6. นายภูเบศ เศรษฐบุตร กรรมการ 7. นางบุษกรณ พรหมพิลา กรรมการและเลขานุการ 8. นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. แกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล ตาม

ขอเสนอแนะใหเสร็จสิ้นและรวบรวมเอกสารสงภายในวันท่ี 22 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

/7. คณะกรรมการ...

Page 126: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

5 7. คณะกรรมการแกไขและปรับปรุงรายงานผลการดําเนินงานฯ หมวด 5 การมุงเนนบุคลากร

1. นายคูณ ชํานิกุล ประธานกรรมการ 2. นางกิตติยา สงสุข รองประธานกรรมการ 3. นางประสพสุข ระยับศรี กรรมการ 4. นางก่ิงแกว แดงงาม กรรมการ 5. นางรสสุคนธ แกวคูณ กรรมการ 6. นางสาวพิชญาภา สีนามะ กรรมการ 7. นางสาวจุธาภัค วรโคตร กรรมการ 8. นายวรพจน นาคถมยา กรรมการและเลขานุการ 9. นางรัตตินันท อารยะสิทธินนท กรรมการและผูชวยเลขานุการ 10. นางนิตยา วิเศษสังข กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. แกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล ตาม

ขอเสนอแนะใหเสร็จสิ้นและรวบรวมเอกสารสงภายในวันท่ี 22 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

8. คณะกรรมการแกไขและปรับปรุงรายงานผลการดําเนินงานฯ หมวด 6 การมุงเนนการดําเนนิการ 1. นายพิชัย ผองแผว ประธานกรรมการ 2. นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ รองประธานกรรมการ 3. นายประจักษ พันธสีมา กรรมการ 4. นางศิริวรรณ มะโรณีย กรรมการ 5. นายวิชิต ม่ันใจ กรรมการ 6. นางกิตติยา สงสุข กรรมการ 7. นางเบญจมาภรณ จันทรชิต กรรมการ 8. นายวิวิศน ธนะจิตตสิน กรรมการ 9.นางสาวจินตภาณี กองจินดา กรรมการ 10.นางวลัย นามวงศ กรรมการและเลขานุการ 11. นางดวงศิริ สุขประเสริฐ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 12. นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการและผูชวยเลขานุการ มีหนาท่ี 1. แกไขและปรับปรุง รายงานผลการดําเนินงานตามเกณฑโรงเรียนมาตรฐานสากล ตาม

ขอเสนอแนะใหเสร็จสิ้นและรวบรวมเอกสารสงภายในวันท่ี 22 กรกฎาคม 2558 2. อ่ืน ๆ ตามท่ีไดรับมอบหมาย

9. คณะกรรมการแกไขและปรับปรุงรายงานผลการดําเนินงานฯ หมวด 7 ผลลัพธ 1. นายสุธี ชินชัย ประธานกรรมการ 2. นายประสพ ชารีนิวัฒน รองประธานกรรมการ 3. นางสาวภัทยา นามวงศ รองประธานกรรมการ 4. นายคูณ ชํานิกุล รองประธานกรรมการ 5. นายพิชัย ผองแผว รองประธานกรรมการ 6. นายวัลลภ สหธรรมมิกะชาติ กรรมการ

/7. นายประจักษ...

Page 127: คํานําkm.ssk.ac.th/wp-content/uploads/2016/01/REPORT-OBECQA... · 2018-04-12 · 2.4 แสดงวงจรของการวิเคราะห swot โรงเรียนสตรีสิริเกศ

6 7. นายประจักษ พันธสีมา กรรมการ 8. นางศิริวรรณ มะโรณีย กรรมการ 9. นายวิชิต ม่ันใจ กรรมการ 10. นายประดิษฐ สงสุข กรรมการ 11. นางกิตติยา สงสุข กรรมการ 12. นางวิรงรอง วิเศษ กรรมการ 13. นายมงคล ไชยเทพ กรรมการและกรรมการ 14. นางสาววิภาพร ชิณะแขว กรรมการและผูชวยเลขานุการ

15. นางศิริรัตน ธนทองคําเหลือ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 16. นางณัฐรดา สาลี กรรมการและผูชวยเลขานุการ 17. นางนิธินันท ธนะจิตตสิน กรรมการและผูชวยเลขานุการ 18. นางไพลี จันทรนิยม กรรมการและผูชวยเลขานุการ 19. นายประดิษฐ สงสุข กรรมการและผูชวยเลขานุการ 20. นางชนิดาพร ดวงแสง กรรมการและผูชวยเลขานุการ 21. นางเทพา สระแกว กรรมการและผูชวยเลขานุการ 22. นางวณิชยา รัฐอุบล กรรมการและผูชวยเลขานุการ 23. นางบุษกรณ พรหมพิลา กรรมการและผูชวยเลขานุการ 24. นายวรพจน นาคถมยา กรรมการและผูชวยเลขานุการ 25. นางรัตตินันท อารยะสิทธินนท กรรมการและผูชวยเลขานุการ 26. นางวลัย นามวงศ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 27. นางโสภา พเชฐโสภณ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 28. นางดวงศิริ สุขประเสริฐ กรรมการและผูชวยเลขานุการ 29. นายศักดิ์ชัย มะโรณีย กรรมการและผูชวยเลขานุการ 30. นายนพพร ศรปญญา กรรมการและผูชวยเลขานุการ

ขอใหคณะกรรมการท่ีไดรับการแตงตั้งปฏิบัติหนาท่ีโดยเครงครัด อยางเต็มความสามารถเพ่ือใหเกิดผลดีตอทางราชการ หากมีปญหาอุปสรรคใหรายงานใหโรงเรียนทราบ เพ่ือสั่งการตอไป สั่ง ณ วันท่ี 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

(นายสุธี ชินชัย)

ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีสิริเกศ