การใช 1-methylcyclopropene เพื่อลดอาการ ... · 2011. 12. 26. ·...

4
Agricultural Sci. J. 42 : 3 (Suppl.) : 37-40 (2011) . วิทย . กษ. 42 : 3 ( พิเศษ) : 37-40 (2554) การใช 1-Methylcyclopropene เพื่อลดอาการตกกระของผิวกลวยไข Using of 1-methylcyclopropene for reducing senescent spotting of ‘Kluai Khai’ banana peel กฤษณ สงวนพวก 1,2 มัณฑนา บัวหนอง 1,2 นัฐพร ใจแกว 1,2 และ ศิริชัย กัลยาณรัตน 1,2 Krish Sa-nguanpuag 1,2 , Mantana Buanong 1,2 , Nuttaporn Jaikeaw 1,2 and Sirichai Kanrayanarat 1,2 2 Abstract The main problem of ‘Kluai Khai’ Banana after harvest is senescent spotting which is unacceptable by consumers. This research was to study treatment of 1-Methylcyclopropene at the concentrations of 0 (Control), 200, 500 and 1,000 nL.L -1 in reducing senescent spotting of ‘Kluai Khai’ Banana stored at 13 o C. The result showed that ‘Kluai Khai’ Banana treated with 500 nL.L -1 1-MCP gave better result in reducing respiration and ethylene production rate and senescent spotting level than other treatments. However, no significant differences were observed in a* value, b* value, total sugar content, total acid content and sugar/acid ratio content in all treatments. Treatment of 500 nL.L -1 1-MCP showed degree senescent spotting appearance less than other treatments. Besides, ‘Kluai Khai’ Banana treated with 500 nL.L -1 1-MCP was able to extend its storage life by reducing senescent spotting level at least 18 days. Keywords: Kluai Khai Banana, Senescence spotting, 1-MCP บทคัดยอ ปญหาหลักของกลวยไขหลังการเก็บเกี่ยวคือการตกกระที่ผิวของกลวยไข ผูบริโภคไมยอมรับได งานวิจัยนี้มี วัตถุประสงคเพื่อศึกษาการรม 1-Methylcyclopropene (1-MCP) ที่ความเขมขน 0 (ชุดควบคุม) 200 500 และ 1,000 nL.L -1 เพื่อลดอาการตกกระของกลวยไขระหวางการเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส การศึกษานี้พบวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ที่ความเขมขน 500 nL.L -1 สามารถลดอัตราการหายใจ อัตราการผลิตเอทิลีน และระดับการตกกระไดดีกวากลวยไขทีรมดวย 1-MCP ที่ระดับความเขมขน 0 (ชุดควบคุม) และ 1,000 nL.L -1 สําหรับการเปลี่ยนแปลงคา a* b* ปริมาณน้ําตาล ปริมาณกรด และอัตราสวนระหวางน้ําตาลตอกรด พบวาไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ในทุกชุดการทดลอง และจากการสังเกตลักษณะภายนอก พบวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ความเขมขน 500 nL.L -1 มี ลักษณะปรากฏและการตกกระในวันที18 ของการเก็บรักษานอยกวาชุดการทดลอง ซึ่งการรมกลวยไขที่ระดับความเขมขน ดังกลาวสามารถยืดอายุการเก็บรักษาและลดอาการตกกระของกลวยไขไดอยางนอย 18 วัน คําสําคัญ: กลวยไข การตกกระ 1-MCP คํานํา กลวยเปนไมผลเขตรอนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง เปนที่รูจักและปลูกกันอยางกวางขวางในทุกภาคของ ประเทศไทย ในอดีตประเทศไทยสงกลวยออกไปยังตลาดตางประเทศเปนจํานวนมากโดยเฉพาะประเทศญี่ปุ(จําลอง, 2534) แตการสงออกกลวยก็ลดปริมาณลง จากขอมูลของกรมสงเสริมการเกษตร พบวามีการปลูกกลวยไขในปริมาณมาก และมีการ สงออกไปยังตางประเทศมากที่สุด ในป ..2539 ปริมาณการสงออกกลวยไขไปยังตางประเทศมีประมาณ 1,981 ตัน แตในป ..2541 ลดลงเหลือเพียง 1,025 ตันในป หรือคิดเปนมูลคากวา 9.6 ลานบาท อีกทั้งยังมีแนวโนมลดลงไปอีก ทั้งนี้เนื่องจาก กลวยไขที่สงออกประสบปญหาเรื่อง ผิวตกกระ (senescence spotting) ซึ่งเปนลักษณะที่ไมพึงตองการของผูบริโภคการตก กระ (senescence spotting) เกิดเฉพาะกับผลกลวยไขที่ไดผานการสุกและเริ่มสุกงอม ชวงนี้ผลกลวยจะแสดงการตกกระให เห็นอยางชัดเจนที่บริเวณผิว กระบวนการตกกระของผิวกลวยไขเริ่มเมื่อสีผิวของผลกลวยเริ่มเปลี่ยนจากสีเหลืองกระดังงาเปนสี เหลืองเขม กานผลและปลายผลไมเหลือสีเขียวอยูแลว จุดตกกระสีน้ําตาลเริ่มมีขนาดเล็กเทาปลายเข็มหมุด และจุดพัฒนา 1 หลักสูตรเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กรุงเทพฯ 10140 1 Postharvest Technology Program, School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok 10140 2 ศูนยนวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรุงเทพฯ 10400 2 Postharvest Innovation Center, Commission of Higher Education, Bangkok 10400

Upload: others

Post on 03-Feb-2021

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • Agricultural Sci. J. 42 : 3 (Suppl.) : 37-40 (2011) ว. วิทย. กษ. 42 : 3 (พเิศษ) : 37-40 (2554)

    การใช 1-Methylcyclopropene เพื่อลดอาการตกกระของผิวกลวยไข Using of 1-methylcyclopropene for reducing senescent spotting of ‘Kluai Khai’ banana peel

    กฤษณ สงวนพวก1,2 มัณฑนา บัวหนอง1,2 นัฐพร ใจแกว1,2 และ ศิรชิยั กัลยาณรัตน1,2

    Krish Sa-nguanpuag1,2, Mantana Buanong1,2, Nuttaporn Jaikeaw1,2 and Sirichai Kanrayanarat1,2 2

    Abstract The main problem of ‘Kluai Khai’ Banana after harvest is senescent spotting which is unacceptable by

    consumers. This research was to study treatment of 1-Methylcyclopropene at the concentrations of 0 (Control), 200, 500 and 1,000 nL.L-1 in reducing senescent spotting of ‘Kluai Khai’ Banana stored at 13oC. The result showed that ‘Kluai Khai’ Banana treated with 500 nL.L-1 1-MCP gave better result in reducing respiration and ethylene production rate and senescent spotting level than other treatments. However, no significant differences were observed in a* value, b* value, total sugar content, total acid content and sugar/acid ratio content in all treatments. Treatment of 500 nL.L-1 1-MCP showed degree senescent spotting appearance less than other treatments. Besides, ‘Kluai Khai’ Banana treated with 500 nL.L-1 1-MCP was able to extend its storage life by reducing senescent spotting level at least 18 days. Keywords: Kluai Khai Banana, Senescence spotting, 1-MCP

    บทคัดยอ ปญหาหลักของกลวยไขหลังการเก็บเก่ียวคือการตกกระท่ีผิวของกลวยไข ผูบริโภคไมยอมรับได งานวิจัยนี้มี

    วัตถุประสงคเพื่อศึกษาการรม 1-Methylcyclopropene (1-MCP) ที่ความเขมขน 0 (ชุดควบคุม) 200 500 และ 1,000 nL.L-1 เพื่อลดอาการตกกระของกลวยไขระหวางการเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส การศึกษาน้ีพบวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ที่ความเขมขน 500 nL.L-1 สามารถลดอัตราการหายใจ อัตราการผลิตเอทิลีน และระดับการตกกระไดดีกวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ที่ระดับความเขมขน 0 (ชุดควบคุม) และ 1,000 nL.L-1 สําหรับการเปล่ียนแปลงคา a* b* ปริมาณนํ้าตาล ปริมาณกรด และอัตราสวนระหวางน้ําตาลตอกรด พบวาไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 95 % ในทุกชุดการทดลอง และจากการสังเกตลักษณะภายนอก พบวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ความเขมขน 500 nL.L-1 มีลักษณะปรากฏและการตกกระในวันที่ 18 ของการเก็บรักษานอยกวาชุดการทดลอง ซึ่งการรมกลวยไขที่ระดับความเขมขนดังกลาวสามารถยืดอายุการเก็บรักษาและลดอาการตกกระของกลวยไขไดอยางนอย 18 วัน คําสําคัญ: กลวยไข การตกกระ 1-MCP

    คํานํา กลวยเปนไมผลเขตรอนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง เปนที่รูจักและปลูกกันอยางกวางขวางในทุกภาคของ

    ประเทศไทย ในอดีตประเทศไทยสงกลวยออกไปยังตลาดตางประเทศเปนจํานวนมากโดยเฉพาะประเทศญี่ปุน (จําลอง, 2534) แตการสงออกกลวยก็ลดปริมาณลง จากขอมูลของกรมสงเสริมการเกษตร พบวามีการปลูกกลวยไขในปริมาณมาก และมีการสงออกไปยังตางประเทศมากที่สุด ในป พ.ศ.2539 ปริมาณการสงออกกลวยไขไปยังตางประเทศมีประมาณ 1,981 ตัน แตในป พ.ศ.2541 ลดลงเหลือเพียง 1,025 ตันในป หรือคิดเปนมูลคากวา 9.6 ลานบาท อีกทั้งยังมีแนวโนมลดลงไปอีก ทั้งนี้เนื่องจากกลวยไขที่สงออกประสบปญหาเร่ือง ผิวตกกระ (senescence spotting) ซึ่งเปนลักษณะที่ไมพึงตองการของผูบริโภคการตกกระ (senescence spotting) เกิดเฉพาะกับผลกลวยไขที่ไดผานการสุกและเร่ิมสุกงอม ชวงนี้ผลกลวยจะแสดงการตกกระใหเห็นอยางชัดเจนที่บริเวณผิว กระบวนการตกกระของผิวกลวยไขเร่ิมเม่ือสีผิวของผลกลวยเร่ิมเปล่ียนจากสีเหลืองกระดังงาเปนสีเหลืองเขม กานผลและปลายผลไมเหลือสีเขียวอยูแลว จุดตกกระสีน้ําตาลเร่ิมมีขนาดเล็กเทาปลายเข็มหมุด และจุดพัฒนา

    1 หลกัสตูรเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กรุงเทพฯ 10140 1 Postharvest Technology Program, School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok 10140 2 ศูนยนวตักรรมเทคโนโลยหีลังการเก็บเกี่ยว สํานกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา กรุงเทพฯ 10400 2 Postharvest Innovation Center, Commission of Higher Education, Bangkok 10400

  • การใช 1-Methylcyclopropene ปที่ 42 ฉบับที่ 3 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2554 ว. วิทยาศาสตรเกษตร 38

    ขยายขนาดและความเขมของสีมากขึ้นตามการสุกของกลวยไข จากนั้นจุดดังกลาวจะขยายเช่ือมตอกันเปนแนว และเกิดเปนรอยบุม วิธีการปองกันการตกกระของกลวยไขสามารถทําไดหลายวิธี ยกตัวอยางเชน การเก็บรักษาที่อุณหภูมิตํ่า (12 ถึง 18oซ) การใชถุงพีวีซีเพื่อลดอัตราการซึมผานของกาซ การใชสารเคลือบผิวเพื่อลดการซึมผานของกาซออกซิเจน และการใชอุณหภูมิสูงเพื่อลดการตกกระ (38 ถึง 46oซ เปนระยะเวลา 6 ถึง 24 ชั่วโมง) (Rujira et al., 2004) และมีการรายงานการศึกษาการใชสาร 1-Methylcyclopropene รวมกับความรอนเพื่อลดการตกกระของกลวยไข (Cu and Adisak, 2011) ดังนั้นจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาการใช 1-Methylcyclopropene เพื่อลดการเกิดการตกกระของกลวยไข เพื่อใชเปนแนวทางสําหรับผูผลิต และผูสงออกกลวยไขตอไป

    อุปกรณและวิธีการ

    คัดเลือกกลวยไขที่มีความแก 80% ไมมีตําหนิ ขนาดใกลเคียงกัน ทําความสะอาดดวยน้ําสะอาด จุมในสารละลายเบนโนมิล 100 ppm แลวผ่ึงใหแหง และนําไปรมดวย 1-MCP ที่ระดับความเขมขน 0 200 500 และ 1,000 nL.L-1 เปนระยะเวลา 12 ชั่วโมง หลังจากนั้นทําการเก็บรักษากลวยไขไวที่ตูแชควบคุมอุณหภูมิ 13+2 องศาเซลเซียส ความช้ืนสัมพัทธ 85 – 95 % ตลอดระยะเวลาการทดลอง โดยทําการวิเคราะหตัวอยางทุก 3 วัน เปนระยะเวลา 18 วัน วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ทําการทดลอง 3 ซ้ํา ทําการวิเคราะหปริมาณน้ําตาลทั้งหมด ปริมาณกรดดวยวิธีการไตเตรท อัตราสวนระหวางน้ําตาลตอกรด ลักษณะการเกิดอาการผิดปกติ อัตราการหายใจ อัตราการผลิตเอทิลีน การเปล่ียนแปลงสี (L*, a* และ b*) และระดับการเกิดการตกกระ

    ผลและวิจารณ อัตราการหายใจและอัตราการผลิตเอทิลีนของกลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ แสดงดัง Figure

    1 พบวาอัตราการหายใจและอัตราการผลิตเอทิลีนของทุกชุดการทดลองมีอัตราเพิ่มขึ้นต้ังแตวันแรกของการเก็บรักษา และมีอัตราการหายใจสูงที่สุดในวันที่ 9 ของการเก็บรักษา หลังจากนั้นอัตราการหายใจของทุกชุดการทดลองลดลงอยางรวดเร็วตลอดอายุการเก็บรักษา โดยท่ีชุดการทดลองที่รมดวย 1 – MCP มีอัตราการหายใจที่ตํ่ากวาชุดการทดลองที่ไมไดรมดวย 1 – MCP สําหรับอัตราการผลิตเอทิลีนชุดการทดลองท่ีรมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 500 และ 1000 nL.L-1 สามารถลดอัตราการผลิตเอทิลีนไดมากกวาชุดการทดลองอื่น และแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยสอดคลองกับการทดลองของ Jiang และคณะ (1999) ที่พบวาเม่ือรมกลวยดวย 1-MCP ที่ระดับความเขมขนสูงขึ้นจะลดอัตราการหายใจ และการผลิต เอทิลีนได

    Figure 1 Respiration rate and ethylene production of ‘Kluai Khai’ Banana pretreatment with 1-MCP at various concentration.

    การเปล่ียนแปลงสี (L*, a* และ b*) ของกลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ในปริมาณตางๆ แสดงดัง Figure 2 พบวากลวย

    ไขที่รมดวย 1 – MCP สามารถชละการเปล่ียนแปลงคาความสวางได โดยการรมที่ระดับความเขมขน 1000 nL.L-1 สามารถชะลอการเปล่ียนแปลงคาความสวางไดดีที่สุดและแตกตางจากชุดการทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สําหรับการเปล่ียนแปลงคา a* พบวาในทุกชุดการทดลองมีการเพิ่มขึ้นของคา a* ตลอดอายุการเก็บรักษา และไมแตกตางกันอยางมี

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Day of storage Day of storage

    Resp

    iration

    rate

    (mgC

    O 2/Kg

    .hr)

    Ethyle

    ne pr

    oduc

    tion r

    ate (u

    l/kg.hr

    )

  • ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 42 ฉบับที่ 3 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2554 การใช 1-Methylcyclopropene 39

    นัยสําคัญทางสถิติในทุกชุดการทดลอง สําหรับการเปล่ียนแปลงคา b* พบวาคา b* มีคาเพิ่มขึ้นตลอดอายุการเก็บรักษาในทุกชุดการทดลอง และไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในทุกชุดการทดลอง

    ปริมาณนํ้าตาลท้ังหมด ปริมาณกรดที่ไตเตรทได และอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรดของกลวยไขที่รมดวย 1– MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ แสดงดัง Figure 3 พบวากลวยไขที่รมดวย 1 – MCP มีปริมาณน้ําตาลท้ังหมดเพิ่มขึ้นต้ังแตวันแรกของการเก็บรักษา และมีปริมาณนํ้าตาลท้ังหมดมากที่สุดในวันที่ 12 ของการเก็บรักษา หลังจากนั้นปริมาณนํ้าตาลทั้งหมดลดลงตลอดอายุการเก็บรักษา ปริมาณนํ้าตาลทั้งหมดของกลวยที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทุกชุดการทดลอง สําหรับปริมาณกรดดวยวิธีไตเตรท พบวาทุกชุดการทดลองมีปริมาณกรดลดลงตลอดอายุการเก็บรักษา และไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทุกชุดการทดลอง และอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรด จากผลการทดลองพบวาอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกชุดการทดลอง โดยชุดการทดลองที่รมดวย 1 – MCP ความเขมขน 500 nL.L-1 มีอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรดเพิ่มมากที่สุดในวันที่ 12 ของการเก็บรักษา โดยชุดการทดลองอื่นมีอัตราสวนมากที่สุดในวันที่ 9 ของการเก็บรักษา ดังนั้นการใช 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 500 nL.L-1 สามารถชะลอการสุกของกลวยไขได เนื่องจาก 1 – MCP สามารถชะลออัตราการสุกของผลิตผลไดจึงทําใหมีอัตราการหายใจและการผลิตเอทิลีนลดลง และสามารถชะลอการเปล่ียนแปลงคาสีเปลือก และการผลิตน้ําตาลและกรดได (Jansasithorn and Kanlayanarat, 2006)

    Figure 2 Color (L*, a* and b*) of ‘Kluai Khai’ Banana peel treated with 1-MCP at various concentration.

    ระดับการเกิดการตกกระและอาการผิดปกติของกลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ แสดงดัง Figure 4 พบวากลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ที่ความเขมขน 500 และ 1000 nL.L-1 สามารถลดอาการการตกกระของกลวยไขไดดีกวาวิธีอื่นๆ โดยที่ระดับความเขมขน 500 nL.L-1 สามารถชะลอการเกิดการตกกระของกลวยไขไดดีที่สุด และแตกตางจากชุดการทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สําหรับอาการผิดปกติ จากผลการทดลองพบวากลวยไขที่รม 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 200 nL.L-1 มีระดับอาการผิดปกตินอยที่สุด โดยที่การรม 1 – MCP ที่ความเขมขน 100 nL.L-1 พบอาการผิดปกติมากที่สุด สําหรับการรมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนพบวา พบอาการผิดปกติไมแตกตางกับชุดการทดลองที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 0 nL.L-1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1

    Treatment 1-MCP 200 nL.L-1

    Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Day of storage

    Day of storageDay of storage

    Color

    , L*

    Color

    , a*

    Color

    , b*

  • การใช 1-Methylcyclopropene ปที่ 42 ฉบับที่ 3 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2554 ว. วิทยาศาสตรเกษตร 40

    Figure 3 Sugar content, titratable acidity and sugar acid ratio of ‘Kluai Khai’ Banana pulp treated with 1-MCP at

    various concentration. Figure 4 Senescent spotting level and disorder symptom of ‘Kluai Khai’ Banana peel treated with 1-MCP at

    various concentration.

    สรุป การรมกลวยไขดวย 1 – MCP ที่ความเขมขนที่ 500 nL.L-1 สามารถชะลอการสุก และการตกกระของกลวยไขไดดี

    ที่สุดเม่ือเปรียบเทียบกับชุดการทดลองอื่น โดยพบวาคุณภาพของกลวยไขยังคงคุณภาพดีอยูเหมือนเดิม ไมพบการหลุดออกจากหวีของกลวย

    เอกสารอางอิง จําลอง เจตนะจิตร. 2534. สงกลวยไขไปขายที่ญี่ปุน. กสิกร 64: 336 – 338 Cu, N.L. and J. Adisak. 2011. Effect of 1-MCP in Combination with Heat Treatment on Preservative Quality of Banana (Cv. Kluai

    Khai) Fruits. Agricultural Sci. J. 42 : 1 (Suppl.) : 341-344 Jiang, Y., D. Joyce and A.J. Macnish. Extension of the shelf life of banana fruit by 1-methylcyclopropene in combination with

    polyethylene bags. Postharvest Biol. and Tech. 16:187-193 Jansasithorn, R. and S. Kanlayanarat. 2006. Effect of 1-MCP on Physiological Changes in Banana ´Khai´. Acta Hoeticulturae 712. Rujira. C., K. Saichol and G.D. Wouter. 2004. Senescent spotting of banana peel is inhibited by modified atmosphere packaging.

    Postharvest Biol. and Tech. 31: 167-175.

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Day of storage

    Day of storage

    Day of storage

    Day of storage Day of storage

    Suga

    rcon

    tent(g

    /100r

    w)

    Titrab

    le acid

    ity, %

    Suga

    racid

    ratio

    Sene

    scent

    spott

    ing lev

    el

    Disord

    er sym

    ptom

    (%)

    /ColorImageDict > /JPEG2000ColorACSImageDict > /JPEG2000ColorImageDict > /AntiAliasGrayImages false /CropGrayImages true /GrayImageMinResolution 300 /GrayImageMinResolutionPolicy /OK /DownsampleGrayImages true /GrayImageDownsampleType /Bicubic /GrayImageResolution 300 /GrayImageDepth -1 /GrayImageMinDownsampleDepth 2 /GrayImageDownsampleThreshold 1.50000 /EncodeGrayImages true /GrayImageFilter /DCTEncode /AutoFilterGrayImages true /GrayImageAutoFilterStrategy /JPEG /GrayACSImageDict > /GrayImageDict > /JPEG2000GrayACSImageDict > /JPEG2000GrayImageDict > /AntiAliasMonoImages false /CropMonoImages true /MonoImageMinResolution 1200 /MonoImageMinResolutionPolicy /OK /DownsampleMonoImages true /MonoImageDownsampleType /Bicubic /MonoImageResolution 1200 /MonoImageDepth -1 /MonoImageDownsampleThreshold 1.50000 /EncodeMonoImages true /MonoImageFilter /CCITTFaxEncode /MonoImageDict > /AllowPSXObjects false /CheckCompliance [ /None ] /PDFX1aCheck false /PDFX3Check false /PDFXCompliantPDFOnly false /PDFXNoTrimBoxError true /PDFXTrimBoxToMediaBoxOffset [ 0.00000 0.00000 0.00000 0.00000 ] /PDFXSetBleedBoxToMediaBox true /PDFXBleedBoxToTrimBoxOffset [ 0.00000 0.00000 0.00000 0.00000 ] /PDFXOutputIntentProfile () /PDFXOutputConditionIdentifier () /PDFXOutputCondition () /PDFXRegistryName () /PDFXTrapped /False

    /CreateJDFFile false /Description > /Namespace [ (Adobe) (Common) (1.0) ] /OtherNamespaces [ > /FormElements false /GenerateStructure false /IncludeBookmarks false /IncludeHyperlinks false /IncludeInteractive false /IncludeLayers false /IncludeProfiles false /MultimediaHandling /UseObjectSettings /Namespace [ (Adobe) (CreativeSuite) (2.0) ] /PDFXOutputIntentProfileSelector /DocumentCMYK /PreserveEditing true /UntaggedCMYKHandling /LeaveUntagged /UntaggedRGBHandling /UseDocumentProfile /UseDocumentBleed false >> ]>> setdistillerparams> setpagedevice