Transcript
  • Agricultural Sci. J. 42 : 3 (Suppl.) : 37-40 (2011) ว. วิทย. กษ. 42 : 3 (พเิศษ) : 37-40 (2554)

    การใช 1-Methylcyclopropene เพื่อลดอาการตกกระของผิวกลวยไข Using of 1-methylcyclopropene for reducing senescent spotting of ‘Kluai Khai’ banana peel

    กฤษณ สงวนพวก1,2 มัณฑนา บัวหนอง1,2 นัฐพร ใจแกว1,2 และ ศิรชิยั กัลยาณรัตน1,2

    Krish Sa-nguanpuag1,2, Mantana Buanong1,2, Nuttaporn Jaikeaw1,2 and Sirichai Kanrayanarat1,2 2

    Abstract The main problem of ‘Kluai Khai’ Banana after harvest is senescent spotting which is unacceptable by

    consumers. This research was to study treatment of 1-Methylcyclopropene at the concentrations of 0 (Control), 200, 500 and 1,000 nL.L-1 in reducing senescent spotting of ‘Kluai Khai’ Banana stored at 13oC. The result showed that ‘Kluai Khai’ Banana treated with 500 nL.L-1 1-MCP gave better result in reducing respiration and ethylene production rate and senescent spotting level than other treatments. However, no significant differences were observed in a* value, b* value, total sugar content, total acid content and sugar/acid ratio content in all treatments. Treatment of 500 nL.L-1 1-MCP showed degree senescent spotting appearance less than other treatments. Besides, ‘Kluai Khai’ Banana treated with 500 nL.L-1 1-MCP was able to extend its storage life by reducing senescent spotting level at least 18 days. Keywords: Kluai Khai Banana, Senescence spotting, 1-MCP

    บทคัดยอ ปญหาหลักของกลวยไขหลังการเก็บเก่ียวคือการตกกระท่ีผิวของกลวยไข ผูบริโภคไมยอมรับได งานวิจัยนี้มี

    วัตถุประสงคเพื่อศึกษาการรม 1-Methylcyclopropene (1-MCP) ที่ความเขมขน 0 (ชุดควบคุม) 200 500 และ 1,000 nL.L-1 เพื่อลดอาการตกกระของกลวยไขระหวางการเก็บรักษาท่ีอุณหภูมิ 13 องศาเซลเซียส การศึกษาน้ีพบวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ที่ความเขมขน 500 nL.L-1 สามารถลดอัตราการหายใจ อัตราการผลิตเอทิลีน และระดับการตกกระไดดีกวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ที่ระดับความเขมขน 0 (ชุดควบคุม) และ 1,000 nL.L-1 สําหรับการเปล่ียนแปลงคา a* b* ปริมาณนํ้าตาล ปริมาณกรด และอัตราสวนระหวางน้ําตาลตอกรด พบวาไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อม่ัน 95 % ในทุกชุดการทดลอง และจากการสังเกตลักษณะภายนอก พบวากลวยไขที่รมดวย 1-MCP ความเขมขน 500 nL.L-1 มีลักษณะปรากฏและการตกกระในวันที่ 18 ของการเก็บรักษานอยกวาชุดการทดลอง ซึ่งการรมกลวยไขที่ระดับความเขมขนดังกลาวสามารถยืดอายุการเก็บรักษาและลดอาการตกกระของกลวยไขไดอยางนอย 18 วัน คําสําคัญ: กลวยไข การตกกระ 1-MCP

    คํานํา กลวยเปนไมผลเขตรอนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจชนิดหนึ่ง เปนที่รูจักและปลูกกันอยางกวางขวางในทุกภาคของ

    ประเทศไทย ในอดีตประเทศไทยสงกลวยออกไปยังตลาดตางประเทศเปนจํานวนมากโดยเฉพาะประเทศญี่ปุน (จําลอง, 2534) แตการสงออกกลวยก็ลดปริมาณลง จากขอมูลของกรมสงเสริมการเกษตร พบวามีการปลูกกลวยไขในปริมาณมาก และมีการสงออกไปยังตางประเทศมากที่สุด ในป พ.ศ.2539 ปริมาณการสงออกกลวยไขไปยังตางประเทศมีประมาณ 1,981 ตัน แตในป พ.ศ.2541 ลดลงเหลือเพียง 1,025 ตันในป หรือคิดเปนมูลคากวา 9.6 ลานบาท อีกทั้งยังมีแนวโนมลดลงไปอีก ทั้งนี้เนื่องจากกลวยไขที่สงออกประสบปญหาเร่ือง ผิวตกกระ (senescence spotting) ซึ่งเปนลักษณะที่ไมพึงตองการของผูบริโภคการตกกระ (senescence spotting) เกิดเฉพาะกับผลกลวยไขที่ไดผานการสุกและเร่ิมสุกงอม ชวงนี้ผลกลวยจะแสดงการตกกระใหเห็นอยางชัดเจนที่บริเวณผิว กระบวนการตกกระของผิวกลวยไขเร่ิมเม่ือสีผิวของผลกลวยเร่ิมเปล่ียนจากสีเหลืองกระดังงาเปนสีเหลืองเขม กานผลและปลายผลไมเหลือสีเขียวอยูแลว จุดตกกระสีน้ําตาลเร่ิมมีขนาดเล็กเทาปลายเข็มหมุด และจุดพัฒนา

    1 หลกัสตูรเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะทรัพยากรชีวภาพและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยัเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กรุงเทพฯ 10140 1 Postharvest Technology Program, School of Bioresources and Technology, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Bangkok 10140 2 ศูนยนวตักรรมเทคโนโลยหีลังการเก็บเกี่ยว สํานกังานคณะกรรมการการอุดมศกึษา กรุงเทพฯ 10400 2 Postharvest Innovation Center, Commission of Higher Education, Bangkok 10400

  • การใช 1-Methylcyclopropene ปที่ 42 ฉบับที่ 3 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2554 ว. วิทยาศาสตรเกษตร 38

    ขยายขนาดและความเขมของสีมากขึ้นตามการสุกของกลวยไข จากนั้นจุดดังกลาวจะขยายเช่ือมตอกันเปนแนว และเกิดเปนรอยบุม วิธีการปองกันการตกกระของกลวยไขสามารถทําไดหลายวิธี ยกตัวอยางเชน การเก็บรักษาที่อุณหภูมิตํ่า (12 ถึง 18oซ) การใชถุงพีวีซีเพื่อลดอัตราการซึมผานของกาซ การใชสารเคลือบผิวเพื่อลดการซึมผานของกาซออกซิเจน และการใชอุณหภูมิสูงเพื่อลดการตกกระ (38 ถึง 46oซ เปนระยะเวลา 6 ถึง 24 ชั่วโมง) (Rujira et al., 2004) และมีการรายงานการศึกษาการใชสาร 1-Methylcyclopropene รวมกับความรอนเพื่อลดการตกกระของกลวยไข (Cu and Adisak, 2011) ดังนั้นจึงมีแนวคิดที่จะศึกษาการใช 1-Methylcyclopropene เพื่อลดการเกิดการตกกระของกลวยไข เพื่อใชเปนแนวทางสําหรับผูผลิต และผูสงออกกลวยไขตอไป

    อุปกรณและวิธีการ

    คัดเลือกกลวยไขที่มีความแก 80% ไมมีตําหนิ ขนาดใกลเคียงกัน ทําความสะอาดดวยน้ําสะอาด จุมในสารละลายเบนโนมิล 100 ppm แลวผ่ึงใหแหง และนําไปรมดวย 1-MCP ที่ระดับความเขมขน 0 200 500 และ 1,000 nL.L-1 เปนระยะเวลา 12 ชั่วโมง หลังจากนั้นทําการเก็บรักษากลวยไขไวที่ตูแชควบคุมอุณหภูมิ 13+2 องศาเซลเซียส ความช้ืนสัมพัทธ 85 – 95 % ตลอดระยะเวลาการทดลอง โดยทําการวิเคราะหตัวอยางทุก 3 วัน เปนระยะเวลา 18 วัน วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) ทําการทดลอง 3 ซ้ํา ทําการวิเคราะหปริมาณน้ําตาลทั้งหมด ปริมาณกรดดวยวิธีการไตเตรท อัตราสวนระหวางน้ําตาลตอกรด ลักษณะการเกิดอาการผิดปกติ อัตราการหายใจ อัตราการผลิตเอทิลีน การเปล่ียนแปลงสี (L*, a* และ b*) และระดับการเกิดการตกกระ

    ผลและวิจารณ อัตราการหายใจและอัตราการผลิตเอทิลีนของกลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ แสดงดัง Figure

    1 พบวาอัตราการหายใจและอัตราการผลิตเอทิลีนของทุกชุดการทดลองมีอัตราเพิ่มขึ้นต้ังแตวันแรกของการเก็บรักษา และมีอัตราการหายใจสูงที่สุดในวันที่ 9 ของการเก็บรักษา หลังจากนั้นอัตราการหายใจของทุกชุดการทดลองลดลงอยางรวดเร็วตลอดอายุการเก็บรักษา โดยท่ีชุดการทดลองที่รมดวย 1 – MCP มีอัตราการหายใจที่ตํ่ากวาชุดการทดลองที่ไมไดรมดวย 1 – MCP สําหรับอัตราการผลิตเอทิลีนชุดการทดลองท่ีรมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 500 และ 1000 nL.L-1 สามารถลดอัตราการผลิตเอทิลีนไดมากกวาชุดการทดลองอื่น และแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยสอดคลองกับการทดลองของ Jiang และคณะ (1999) ที่พบวาเม่ือรมกลวยดวย 1-MCP ที่ระดับความเขมขนสูงขึ้นจะลดอัตราการหายใจ และการผลิต เอทิลีนได

    Figure 1 Respiration rate and ethylene production of ‘Kluai Khai’ Banana pretreatment with 1-MCP at various concentration.

    การเปล่ียนแปลงสี (L*, a* และ b*) ของกลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ในปริมาณตางๆ แสดงดัง Figure 2 พบวากลวย

    ไขที่รมดวย 1 – MCP สามารถชละการเปล่ียนแปลงคาความสวางได โดยการรมที่ระดับความเขมขน 1000 nL.L-1 สามารถชะลอการเปล่ียนแปลงคาความสวางไดดีที่สุดและแตกตางจากชุดการทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สําหรับการเปล่ียนแปลงคา a* พบวาในทุกชุดการทดลองมีการเพิ่มขึ้นของคา a* ตลอดอายุการเก็บรักษา และไมแตกตางกันอยางมี

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Day of storage Day of storage

    Resp

    iration

    rate

    (mgC

    O 2/Kg

    .hr)

    Ethyle

    ne pr

    oduc

    tion r

    ate (u

    l/kg.hr

    )

  • ว. วิทยาศาสตรเกษตร ปที่ 42 ฉบับที่ 3 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2554 การใช 1-Methylcyclopropene 39

    นัยสําคัญทางสถิติในทุกชุดการทดลอง สําหรับการเปล่ียนแปลงคา b* พบวาคา b* มีคาเพิ่มขึ้นตลอดอายุการเก็บรักษาในทุกชุดการทดลอง และไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในทุกชุดการทดลอง

    ปริมาณนํ้าตาลท้ังหมด ปริมาณกรดที่ไตเตรทได และอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรดของกลวยไขที่รมดวย 1– MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ แสดงดัง Figure 3 พบวากลวยไขที่รมดวย 1 – MCP มีปริมาณน้ําตาลท้ังหมดเพิ่มขึ้นต้ังแตวันแรกของการเก็บรักษา และมีปริมาณนํ้าตาลท้ังหมดมากที่สุดในวันที่ 12 ของการเก็บรักษา หลังจากนั้นปริมาณนํ้าตาลทั้งหมดลดลงตลอดอายุการเก็บรักษา ปริมาณนํ้าตาลทั้งหมดของกลวยที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทุกชุดการทดลอง สําหรับปริมาณกรดดวยวิธีไตเตรท พบวาทุกชุดการทดลองมีปริมาณกรดลดลงตลอดอายุการเก็บรักษา และไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทุกชุดการทดลอง และอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรด จากผลการทดลองพบวาอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรดมีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกชุดการทดลอง โดยชุดการทดลองที่รมดวย 1 – MCP ความเขมขน 500 nL.L-1 มีอัตราสวนระหวางน้ําตาลและกรดเพิ่มมากที่สุดในวันที่ 12 ของการเก็บรักษา โดยชุดการทดลองอื่นมีอัตราสวนมากที่สุดในวันที่ 9 ของการเก็บรักษา ดังนั้นการใช 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 500 nL.L-1 สามารถชะลอการสุกของกลวยไขได เนื่องจาก 1 – MCP สามารถชะลออัตราการสุกของผลิตผลไดจึงทําใหมีอัตราการหายใจและการผลิตเอทิลีนลดลง และสามารถชะลอการเปล่ียนแปลงคาสีเปลือก และการผลิตน้ําตาลและกรดได (Jansasithorn and Kanlayanarat, 2006)

    Figure 2 Color (L*, a* and b*) of ‘Kluai Khai’ Banana peel treated with 1-MCP at various concentration.

    ระดับการเกิดการตกกระและอาการผิดปกติของกลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนตางๆ แสดงดัง Figure 4 พบวากลวยไขที่รมดวย 1 – MCP ที่ความเขมขน 500 และ 1000 nL.L-1 สามารถลดอาการการตกกระของกลวยไขไดดีกวาวิธีอื่นๆ โดยที่ระดับความเขมขน 500 nL.L-1 สามารถชะลอการเกิดการตกกระของกลวยไขไดดีที่สุด และแตกตางจากชุดการทดลองอื่นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ สําหรับอาการผิดปกติ จากผลการทดลองพบวากลวยไขที่รม 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 200 nL.L-1 มีระดับอาการผิดปกตินอยที่สุด โดยที่การรม 1 – MCP ที่ความเขมขน 100 nL.L-1 พบอาการผิดปกติมากที่สุด สําหรับการรมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขนพบวา พบอาการผิดปกติไมแตกตางกับชุดการทดลองที่รมดวย 1 – MCP ที่ระดับความเขมขน 0 nL.L-1 อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1

    Treatment 1-MCP 200 nL.L-1

    Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Day of storage

    Day of storageDay of storage

    Color

    , L*

    Color

    , a*

    Color

    , b*

  • การใช 1-Methylcyclopropene ปที่ 42 ฉบับที่ 3 (พิเศษ) กันยายน-ธันวาคม 2554 ว. วิทยาศาสตรเกษตร 40

    Figure 3 Sugar content, titratable acidity and sugar acid ratio of ‘Kluai Khai’ Banana pulp treated with 1-MCP at

    various concentration. Figure 4 Senescent spotting level and disorder symptom of ‘Kluai Khai’ Banana peel treated with 1-MCP at

    various concentration.

    สรุป การรมกลวยไขดวย 1 – MCP ที่ความเขมขนที่ 500 nL.L-1 สามารถชะลอการสุก และการตกกระของกลวยไขไดดี

    ที่สุดเม่ือเปรียบเทียบกับชุดการทดลองอื่น โดยพบวาคุณภาพของกลวยไขยังคงคุณภาพดีอยูเหมือนเดิม ไมพบการหลุดออกจากหวีของกลวย

    เอกสารอางอิง จําลอง เจตนะจิตร. 2534. สงกลวยไขไปขายที่ญี่ปุน. กสิกร 64: 336 – 338 Cu, N.L. and J. Adisak. 2011. Effect of 1-MCP in Combination with Heat Treatment on Preservative Quality of Banana (Cv. Kluai

    Khai) Fruits. Agricultural Sci. J. 42 : 1 (Suppl.) : 341-344 Jiang, Y., D. Joyce and A.J. Macnish. Extension of the shelf life of banana fruit by 1-methylcyclopropene in combination with

    polyethylene bags. Postharvest Biol. and Tech. 16:187-193 Jansasithorn, R. and S. Kanlayanarat. 2006. Effect of 1-MCP on Physiological Changes in Banana ´Khai´. Acta Hoeticulturae 712. Rujira. C., K. Saichol and G.D. Wouter. 2004. Senescent spotting of banana peel is inhibited by modified atmosphere packaging.

    Postharvest Biol. and Tech. 31: 167-175.

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Treatment 1-MCP 0 nL.L-1 Treatment 1-MCP 200 nL.L-1 Treatment 1-MCP 500 nL. L-1 Treatment 1-MCP 1,000 nL. L-1

    Day of storage

    Day of storage

    Day of storage

    Day of storage Day of storage

    Suga

    rcon

    tent(g

    /100r

    w)

    Titrab

    le acid

    ity, %

    Suga

    racid

    ratio

    Sene

    scent

    spott

    ing lev

    el

    Disord

    er sym

    ptom

    (%)

    /ColorImageDict > /JPEG2000ColorACSImageDict > /JPEG2000ColorImageDict > /AntiAliasGrayImages false /CropGrayImages true /GrayImageMinResolution 300 /GrayImageMinResolutionPolicy /OK /DownsampleGrayImages true /GrayImageDownsampleType /Bicubic /GrayImageResolution 300 /GrayImageDepth -1 /GrayImageMinDownsampleDepth 2 /GrayImageDownsampleThreshold 1.50000 /EncodeGrayImages true /GrayImageFilter /DCTEncode /AutoFilterGrayImages true /GrayImageAutoFilterStrategy /JPEG /GrayACSImageDict > /GrayImageDict > /JPEG2000GrayACSImageDict > /JPEG2000GrayImageDict > /AntiAliasMonoImages false /CropMonoImages true /MonoImageMinResolution 1200 /MonoImageMinResolutionPolicy /OK /DownsampleMonoImages true /MonoImageDownsampleType /Bicubic /MonoImageResolution 1200 /MonoImageDepth -1 /MonoImageDownsampleThreshold 1.50000 /EncodeMonoImages true /MonoImageFilter /CCITTFaxEncode /MonoImageDict > /AllowPSXObjects false /CheckCompliance [ /None ] /PDFX1aCheck false /PDFX3Check false /PDFXCompliantPDFOnly false /PDFXNoTrimBoxError true /PDFXTrimBoxToMediaBoxOffset [ 0.00000 0.00000 0.00000 0.00000 ] /PDFXSetBleedBoxToMediaBox true /PDFXBleedBoxToTrimBoxOffset [ 0.00000 0.00000 0.00000 0.00000 ] /PDFXOutputIntentProfile () /PDFXOutputConditionIdentifier () /PDFXOutputCondition () /PDFXRegistryName () /PDFXTrapped /False

    /CreateJDFFile false /Description > /Namespace [ (Adobe) (Common) (1.0) ] /OtherNamespaces [ > /FormElements false /GenerateStructure false /IncludeBookmarks false /IncludeHyperlinks false /IncludeInteractive false /IncludeLayers false /IncludeProfiles false /MultimediaHandling /UseObjectSettings /Namespace [ (Adobe) (CreativeSuite) (2.0) ] /PDFXOutputIntentProfileSelector /DocumentCMYK /PreserveEditing true /UntaggedCMYKHandling /LeaveUntagged /UntaggedRGBHandling /UseDocumentProfile /UseDocumentBleed false >> ]>> setdistillerparams> setpagedevice


Top Related