แผนการบริหารความเสี่ยง...

30
แผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี กันยายน พ.ศ. 2558

Upload: others

Post on 30-Dec-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

แผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยสีุรนารี

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

กันยายน พ.ศ. 2558

บทสรุปผู้บริหาร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้ด าเนินการบริหารความเสี่ยงตามคู่มือการบริหารความเสี่ยงที่

ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2559 โดยมีวัตถุประสงค์

เพ่ือให้มหาวิทยาลัยมีความพร้อมในการป้องกันความเสี่ยงที่จะกลายเป็นปัญหาในอนาคต ซึ่งการบริหาร

ความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยเน้นการสื่อสารสองช่องทางคือ ระดับล่างขึ้นบน (Bottom up) ในรูปแบบที่

มีการรายงานจากคณะท างานบริหารความเสี่ยงประจ าหน่วยงานต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

มหาวิทยาลัย และระดับบนลงล่าง (Top down) ในรูปแบบที่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

มหาวิทยาลัยสั่งการมายังคณะท างานบริหารความเสี่ยงประจ าหน่วยงาน โดยมีหน่วยตรวจสอบภายใน

ท าหน้าที่สอบทานการด าเนินการตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในและประเมินผลความส าเร็จใน

การด าเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยงของทุกหน่วยงาน

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ได้เห็นชอบแผนการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งมีจ านวน 6 ปัจจัยเสี่ยง อันประกอบด้วย

ความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational risks) จ านวน 4 ปัจจัยเสี่ยง ได้แก ่

1) ปริมาณน้ าดิบเพ่ือใช้ผลิตน้ าประปาภายในมหาวิทยาลัยมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการ

2) ความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติต่างๆ

3) ความเสถียรของระบบไฟฟ้าแรงสูงภายในมหาวิทยาลัย

4) ความผิดพลาดที่เกิดจากการปฏิบัติงานด้านพัสดุของมหาวิทยาลัย

ความเสี่ยงด้านชื่อเสียง (Image and reputation risks) จ านวน 1 ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่

5) ผลกระทบต่อภาพลักษณ์ที่เกิดจากการร้องเรียนการให้บริการของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย

ความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภัย (Health and safety risks) จ านวน 1 ปัจจัยเสี่ยง ได้แก ่

6) การเกิดโรคระบาดภายในมหาวิทยาลัย

โดยแผนการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัยทั้ง 6 ปัจจัยเสี่ยง มีหน่วยงานผู้รับผิดชอบ

ภายในมหาวิทยาลัยท าหน้าที่ด าเนินการตามกิจกรรมควบคุม เพ่ือให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของแต่ละ

ปัจจัยเสี่ยง

สารบัญ หน้า

ค าน า ก

บทสรุปส าหรับผู้บริหาร ค

สารบัญ ง

1. บทน า 1

1.1 วิสัยทัศน์ 1

1.2 พันธกิจ 1

1.3 เป้าประสงค์หลัก 1

1.4 ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระยะ 5 ปี 2

(พ.ศ. 2555 - พ.ศ. 2559)

1.5 การบริหารจัดการความเสี่ยง 2

2. แผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจ าปีงบประมาณ 3

พ.ศ. 2559

2.1 กระบวนการจัดท าแผนบริหารความเสี่ยง 3

2.2 ปัจจัยเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 4

2.3 แผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 5

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

3. ปฏิทินการบริหารความเสี่ยง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 8

ภาคผนวก 9

ก. โครงการอบรมการบริหารจัดการด้านความเสี่ยง 10

ข. จ านวนปัจจัยเสี่ยง จ าแนกตามประเภทความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 17

ค. ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 19

ง. ค าสั่งแต่งตั้งคณะท างานกลั่นกรองรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน

และแผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 22

1

1. บทน า

1.1 วิสัยทัศน์

“มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นเลิศ

และเป็นที่พ่ึงของสังคม”

ค าอธิบาย

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี เป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นเลิศ

อยู่ในอันดับ 1 ใน 3 ของประเทศ และอันดับ 1 ใน 100 ของเอเชีย เป็นแหล่งผลิตบุคลากรชั้นยอด เป็นผู้น า

ในด้านการบริหารจัดการและด าเนินภารกิจได้อย่างมีคุณภาพ มาตรฐาน โดยมีนวัตกรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดีใน

ทุกด้าน เป็นที่พ่ึงพาของสังคมทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยได้รับการยอมรับทั้งในระดับท้องถิ่น

ประเทศ และนานาชาติ

1.2 พันธกิจ

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารีเป็นมหาวิทยาลัยเฉพาะทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มุ่งมั่น

สร้างสรรค์ผลงานวิจัย ปรับแปลง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืนของสังคม ผลิต

บัณฑิตที่มีคุณภาพ มีความรู้และปัญญาคู่คุณธรรม ให้บริการวิชาการ และการทะนุบ ารุงศิลปะและ

วัฒนธรรม โดยยึดหลักความเป็นอิสระทางวิชาการและใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ

1.3 เป้าประสงค์หลัก

1. การจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยเป็นที่ยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ

2. มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับให้เป็นมหาวิทยาลัยวิจัยระดับชาติและนานาชาติ

3. มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจากสังคมในการเป็นที่พ่ึงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

4. ชุมชนและท้องถิ่นได้รับความรู้ด้านการทะนุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรมเพิ่มขึ้น

5. มหาวิทยาลัยมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการสูงภายใต้อัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย

2

1.4 ยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2555 – พ.ศ. 2559)

1. การจัดการศึกษามีคุณภาพได้มาตรฐานสากล ประกอบด้วย 8 มาตรการ 50 แนวทาง

2. การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการวิจัยสู่การยอมรับในระดับชาติและนานาชาติ

ประกอบด้วย 4 มาตรการ 19 แนวทาง

3. การเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการปรับแปลง ถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยี และการ

บริการวิชาการ เพื่อเป็นที่พ่ึงของสังคม ประกอบด้วย 4 มาตรการ 21 แนวทาง

4. การส่งเสริมเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมของท้องถิ่น และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประกอบด้วย 3

มาตรการ 8 แนวทาง

5. การบริหารจัดการที่ดี มีประสิทธิภาพสูง ภายใต้อัตตาภิบาลและธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัย

ประกอบด้วย 9 มาตรการ 55 แนวทาง

1.5 การบริหารจัดการความเสี่ยง

การบริหารจัดการด้านความเสี่ยงเป็นกระบวนการที่มหาวิทยาลัยจัดให้มีขึ้นเพ่ือบริหารจัดการ

โอกาสของเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นและส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานของมหาวิทยาลัย เป็นการประเมิน

ความเสี่ยงที่ก่อให้เกิดความเสียหาย หรืออันตรายในกระบวนการท างาน เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิดการ

สูญเสียในอนาคต เมื่อค้นพบความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้ หน่วยงานต้องด าเนินการลดความเสี่ยง หรือ

ถ่ายโอนความเสี่ยง

ซึ่งการด าเนินการจัดการความเสี่ยงของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้ด าเนินการตามคู่มือการ

บริหารความเสี่ยงที่มหาวิทยาลัยก าหนดขึ้น ครอบคลุมการทบทวนระบบการควบคุมภายในที่มีอยู่ให้มี

ความเข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ เพ่ือลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน โดยระบบการบริหารความเสี่ยง

ของมหาวิทยาลัยก าหนดให้มีการประเมินเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น พิจารณาวิธีการจัดการความเสี่ยงที่

เหมาะสม เพ่ือจ ากัดให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้

3

2. แผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

2.1 กระบวนการจัดท าแผนบริหารความเสี่ยง

ในการด าเนินการจัดท าแผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุ รนารี ประจ าปี

งบประมาณ พ.ศ. 2559 นั้น ได้มีการจัดอบรมเพ่ือส่งเสริมเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจและทบทวนระบบ

บริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จ านวน 2 โครงการ (ภาคผนวก ก) ได้แก่

1. โครงการอบรมหลักสูตร “การบริหารความเสี่ ยงของมหาวิทยาลัย University Risk

Management : URM” เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557

2. โครงการอบรมหลักสูตร “การจัดท าแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในและแผนงบประมาณ

ระดับหน่วยงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559” เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2557 ซึ่งในการท าแผนการบริหารความเสี่ยง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 นั้น มหาวิทยาลัย

ก าหนดให้แต่ละหน่วยงานด าเนินการผ่านระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (Management Information Systems: MIS) การบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย จึงส่งผลให้การรวบรวมและกลั่นกรองข้อมูลการบริหารความเสี่ยง ท าได้สะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยมีขั้นตอนพอสังเขปดังนี้

1. เอกสาร SUT-RM 1 ค าอธิบายรายละเอียดประกอบการระบุปัจจัยเสี่ยง ให้หน่วยงานด า เนิ นการ บั นทึ กข้ อมู ล กา ร ระบุ ปั จ จั ย เ สี่ ย ง ในระบบสารสน เทศการบริ หา รคว าม เสี่ ย ง (http://smart.sut.ac.th/rm/) โดยศึกษาจากคู่มือการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี โดยเน้นที่การให้ค่าคะแนนโอกาส และผลกระทบ ให้ระบุเหตุผลประกอบการพิจารณาแก่คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้วย 2. เอกสาร SUT-RM 2 รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน ระดับหน่วยงาน ซึ่งระบบฯ จะโอนข้อมูลจาก SUT-RM 1 ไปยัง SUT-RM 2 โดยอัตโนมัติ

3. เอกสาร SUT-RM 3 การจัดล าดับความเสี่ยงในแผนผังเมทริกซ์ ระบบฯ จะท าการค านวณค่าระดับความเสี่ยง และจัดล าดับความเสี่ยงในแผนผังเมทริกซ์โดยอัตโนมัติ

โดยคณะท างานกลั่นกรองรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในและแผนการบริหารความ

เสี่ยง ได้พิจารณากลั่นกรองรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในระดับหน่วยงาน และแผนการ

บริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย เพ่ือน าผลการกลั่นกรองเสนอต่อคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งในการประชุมครั้งที่ 4/2558 เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2558 คณะกรรมการ

บริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ได้ให้ความเห็นชอบรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุม

ภายในระดับหน่วยงาน จ านวน 27 ปัจจัยเสี่ยง (ภาคผนวก ข) จากหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยจ านวน

ทั้งสิ้น 34 หน่วยงาน และเห็นชอบแผนการบริหารความเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย จ านวน 6 ปัจจัยเสี่ยง โดยมี

ประเภทความเสี่ยงด้านปฏิบัติการ (Operational risks : O) จ านวน 4 ปัจจัยเสี่ยง ประเภทความเสี่ยงด้าน

4

ชื่อเสียง (Image and reputation risks : IM) จ านวน 1 ปัจจัยเสี่ยง และประเภทความเสี่ยงด้านสุขภาพ

และความปลอดภัย (Health and safety risks : HS) จ านวน 1 ปัจจัยเสี่ยง

2.2 ปัจจัยเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

ปัจจัยเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 จ านวน 6 ปัจจัยเสี่ยง มีรายละเอียดดังตารางที่ 1

ตารางท่ี 1 ปัจจัยเสี่ยงระดับมหาวิทยาลัย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ล าดับ

ที ่ ปัจจัยเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง

ผู้รับผิดชอบ

1 ปริมาณน้ าดิบเพื่อใช้ผลิตน้ าประปาภายในมหาวิทยาลัยมีปริมาณไม่เพียงพอต่อความต้องการ

O ส่วนอาคารสถานที่

2 ความเสียหายที่เกิดจากภัยธรรมชาติต่างๆ

O ส่วนอาคารสถานที่

3 ความเสถียรของระบบไฟฟ้าแรงสูงภายในมหาวิทยาลัย

O ส่วนอาคารสถานที่

4 ความผิดพลาดที่เกิดจากการปฏิบัติงานด้านพัสดุของมหาวิทยาลัย

O ส่วนพัสดุ

5 ผลกระทบต่อภาพลักษณ์ที่เกิดจากการร้องเรียนการให้บริการของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย

IM โรงพยาบาล มทส.

6 การเกิดโรคระบาดภายในมหาวิทยาลัย

HS โรงพยาบาล มทส.

ประเภทความเสี่ยง 1. ST : Strategic risks = ความเสีย่งด้านกลยุทธ์ 2. F : Financial and asset risks = ความเสี่ยงด้านการเงินและทรัพยส์ิน 3. O : Operational risks = ความเสี่ยงด้านปฏบิัติงาน 4. IM : Image and reputation risks = ความเสีย่งด้านช่ือเสียง 5. HS : Health and safety risks = ความเสี่ยงด้านสุขภาพและความปลอดภยั 6. S : Staff risks = ความเสี่ยงด้านบุคลากร 7. ICT : Information and communication technology risks =

ความเสีย่งด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 8. C : Compliance risks = ความเสี่ยงด้านกฎระเบียบ 9. G : Good governance risks = ความเสี่ยงด้านอัตตาภิบาลและธรรมาภิบาล

2.3 แผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

ปัจจัยเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง

สาเหตุความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยงก่อนการจัดการ การจัดการความเสี่ยง

วิธีการจัดการความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยงท่ี

ยอมรับได้

สัญญาณเตือนภัย ผู้รับผิดชอบ

L I L x I

1. ปริมาณน้ าดิบเพื่อใช้

ผลิตน้ าประปาภายใน

มหาวิทยาลัยมีปริมาณ

ไม่ เพียงพอต่อความ

ต้องการ

O การเติบโตของมหาวิทยาลัยส่งผลให้

มีความต้องการน้ าประปาเพื่อใช้ใน

การอุปโภคเพิ่มสูงขึ้น

4 5 20 1. ก า ร เ พิ่ ม พื้ น ท่ี กั ก เ ก็ บ น้ า ภ า ย ใ น

มหาวิทยาลัยให้เพียงพอสอดคล้องกับ

การเติบโตของมหาวิทยาลัย

2. การหาแหล่งน้ าดิบเพิ่มเติมจากท้ังภายใน

และภายนอกมหาวิทยาลัย อาทิเช่น การ

ใช้น้ าบาดาล การขออนุญาตสูบน้ าดิบ

จากภายนอกมหาวิทยาลัยมาใช้

การ

ป้องกัน

ความเสี่ยง

6 ปริมาณน้ าดิบในพื้นท่ีกัก

เก็ บ น้ า ท่ี มี อ ยู่ มี ป ริ ม าณ

คงเหลือน้อย

ส่วนอาคาร

สถานท่ี

2. ความเสียหายท่ีเกิด

จากภัยธรรมชาติต่างๆ

O

เกิดภัยธรรมชาติต่างๆ เช่น อุทกภัย

วาตภัย และภัยแล้ง

3 4 12 1. การขุดลอกร่องน้ า และการระบายน้ าท่ี

ดีเพ่ือป้องกันผลกระทบจากน้ าท่วม

2. การตัดแต่งต้นไม้สูง การปรับปรุงและ

ซ่อมแซมหลังคาเก่าและช ารุดเพื่อ

ป้องกันผลกระทบจากแรงลม

3. การน าน้ ารีไซเคิลมาใช้ การบ ารุงและ

ตรวจตราท่อส่ งน้ า และมาตรการ

ประหยัดน้ า เพื่อป้องกันผลกระทบจาก

ภัยแล้ง

การ

ป้องกัน

ความเสี่ยง

6 - มีการขังหรืออุดตันและมี

การเอ่อล้นของน้ าบริเวณ

รางและท่อระบายน้ า

- มีเศษกิ่งไม้หรือต้นไม้ใหญ่

หักล้มจากแรงลมบริเวณ

สัญจรเป็นปริมาณมาก

- เกิดน้ าไม่ไหลหรือน้ าไหล

ค่อยในระบบการส่งจ่าย

น้ าของมหาวิทยาลัย

ส่วนอาคาร

สถานท่ี

5

ปัจจัยเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง

สาเหตุความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยงก่อนการจัดการ การจัดการความเสี่ยง

วิธีการจัดการความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยงท่ี

ยอมรับได้

สัญญาณเตือนภัย ผู้รับผิดชอบ

L I L x I

3. ความเสถียรของระบบ

ไฟฟ้ าแรงสู งภายใน

มหาวิทยาลัย

O เกิดไฟฟ้าดับจากระบบไฟฟ้าแรงสูง

ขนาด 22 kV ภายในมหาวิทยาลัย

4 3 12 1. เปลี่ยนสายไฟฟ้าแรงสูงจากสายเปลือย

เป็นสายหุ้มฉนวน และเปลี่ยนแปลง

อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีมีประสิทธิภาพต่ า

2. ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันสัตว์เลื้อยคลาน

นก และกระรอก บริเวณเสาไฟฟ้า

3. ตัดต้นไม้ใต้แนวสายไฟฟ้าแรงสูง เพื่อ

ป้องกันกิ่งไม้แตะสายไฟ

การลด

ความเสี่ยง

6

การเกิดไฟฟ้าดับภายใน

มหาวิทยาลัยมีความถี่สูงขึ้น

ส่วนอาคาร

สถานท่ี

4. ความผิดพลาดท่ีเกิด

จากการปฏิบัติงานด้าน

พัสดุของมหาวิทยาลัย

O

1. กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องทางด้าน

พัสดุมีการเปลี่ยนแปลงอย่าง

รวดเร็ว ท าให้ไม่สามารถปฏิบัติ

ได้ทันท่วงที

2. กรอบระยะเวลาในการท างานมี

จ า กั ดท า ให้ ทุ กห น่วย งาน ท่ี

เกี่ยวข้องจะต้องเร่งด าเนินการ

ให้ทันตามท่ีก าหนด ท าให้เกิด

ข้อบกพร่องหรือข้อผิดพลาดใน

บา งจุ ด เ น่ื อ ง จ ากข าดก า ร

ตรวจสอบและการทบทวนอย่าง

ละเอียดรอบคอบ

3 3 9 1. ส่งเจ้าหน้าท่ีท่ีเกี่ยวข้องกับงานพัสดุไป

อบรม รับฟังค าชี้แจง เมื่อหน่วยงาน

ภาครัฐมีการปรับแก้ ไขกฎหมาย ท่ี

เกี่ยวข้อง และให้เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติตาม

อย่างเคร่งครัด

2. ก าชับหน่วยงานท่ีต้องการจัดหาพัสดุ

จัดเตรียมเอกสารการจัดหา รูปแบบ

และ TOR หรือสเปคต่างๆ ให้ถูกต้อง

และควรมีการสอบทานความถูกต้อง

อย่างละเอียดรอบคอบก่อนจัดส่งให้ส่วน

พัสดุด าเนินการ โดยจัดส่งให้ทันตาม

กรอบระยะเวลาท่ีมหาวิทยาลัยก าหนด

การ

ป้องกัน

ความเสี่ยง

6 มีการร้องเรียนเกี่ยวกับการ

ปฏิบัติงานด้านพัสด ุ

ส่วนพัสดุ 6

ปัจจัยเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง

สาเหตุความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยงก่อนการจัดการ การจัดการความเสี่ยง

วิธีการจัดการความเสี่ยง

ระดับความเสี่ยงท่ี

ยอมรับได้

สัญญาณเตือนภัย ผู้รับผิดชอบ

L I L x I

3. ผู้ ใช้งานมีความต้องการพัสดุ

เพื่อให้ ได้พัสดุตรงตามความ

ต้องการมากท่ีสุด ท าให้เกิดการ

แก้ไข ปรับ ลด เปลี่ยนแปลง ซ่ึง

ในบางครั้งอาจท าให้การปฏิบัติ

ขัดกับระเบียบได ้

5. ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ

ภาพลักษณ์ท่ีเกิดจาก

ก า ร ร้ อ ง เ รี ย นก า ร

ใ ห้ บ ริ ก า ร ข อ ง

โ ร ง พ ย า บ า ล

มหาวิทยาลัย

IM

ก ร ะ บ ว น ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ข อ ง

โรงพยาบาลไม่ ได้ เป็นไปตาม ท่ี

ผู้ รับบริการคาดหวัง ไว้ และเกิด

ความผิดพลาดในกระบวนการ

ให้บริการ

3 4 12 1. จัดกระบวนการสื่อสารกับผู้รับบริการ

ในแต่ละกระบวนการ

2. ก าหนดแนวทางการปฏิบัติงานในแต่ละ

กระบวนการตามมาตรฐานวิชาชีพ

การ

ป้องกัน

ความเสี่ยง

6

- ผู้รับบริการไม่พึงพอใจ

การให้บริการ

- มีการรายงาน Incident

Report เ รื่ อ ง ก า ร ไ ม่

ปฏิบัติ ต ามแนวทาง ท่ี

ก าหนดไว้

โรงพยาบาล

มทส.

6. การเกิด โรคระบาด

ภายในมหาวิทยาลัย

HS

ไม่สามารถควบคุมการระบาดของ

โรคภายในมหาวิทยาลัยได้

2 4 8 1. จัดระบบการเฝ้าระวังโรคระบาด

2. ท าการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ ให้

นักศึกษาและบุคคลากรของมหาวิทยาลัย

ทราบแนวทางการป้องกันโรค

การ

ป้องกัน

ความเสี่ยง

6

ตรวจพบการเจ็บป่วยของ

นักศึกษาและบุคคลากรมี

ปริมาณมาก

โรงพยาบาล

มทส.

7

8

3. ปฏิทินการบริหารความเสี่ยง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

การบริหารฯ

ในไตรมาสที ่1 และ 2

การบริหารความเสีย่ง

ประจ าปงีบประมาณ พ.ศ. 2559

การบริหารฯ

ในไตรมาสที ่3 และ 4

ตุลาคม 58 คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย

ทบทวนกระบวนการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย

จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้คณะท างานบริหารความเสี่ยงประจ าหน่วยงาน

คณะท างานบริหารความเสี่ยงประจ าหน่วยงาน จัดท ารายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน และแผนการบริหารความเสี่ยง

ระดับหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

คณะท างานกลั่นกรองฯ ยกร่างรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน และแผนการบริหารความเสี่ยง

ระดับมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 โดยรวบรวมศึกษาวิเคราะห์ สรุปข้อมูลจากรายงานฯ ระดับหน่วยงาน

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย

อนุมัติแผนการบริหารความเสี่ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย

พิจารณากลั่นกรองค าขอเงินงบประมาณในการด าเนินการตามแผนการบริหารความเสี่ยง

ระดับมหาวิทยาลัย เพื่อจัดท าค าของบประมาณมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

หน่วยตรวจสอบภายใน

ติดตาม ประเมินผลการด าเนินการตามแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน

และแผนการบริหารความเสี่ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ทุกหน่วยงานในมหาวิทยาลัย

และ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย

น าเสนอแผนการบริหารความเสี่ยง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงาน และสภามหาวิทยาลัย

งานสภามหาวิทยาลัย คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงาน

สอบทานระบบควบคุมภายใน ระบบการบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (ตลุาคม 59)

น าเสนอรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัย

น าเสนอรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 (พฤศจกิายน 59)

พฤศจิกายน 58

ธันวาคม 58

กุมภาพันธ์ 59

มีนาคม 59

กันยายน 59

เมษายน 59

เมษายน-กันยายน 59

มหาวิทยาลัย

รายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน และรายงานผลการประเมินการควบคุมภายใน

ระดับมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 แก่คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (ธันวาคม 59)

9

ภาคผนวก

10

ภาคผนวก ก

โครงการอบรมการบรหิารจัดการด้านความเสี่ยง

11

1. โครงการอบรมหลักสูตร “การบริหารความเสี่ยงของมหาวิทยาลัย University Risk Management : URM” เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2557 ณ ห้องสุรนารี สุรสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ซึ่งได้เชิญ อาจารย์โภไคย ศรีรัตโนภาส ผู้อ านวยการศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีผู้เข้าร่วมอบรมรวมทั้งสิ้น 115 คน ประกอบด้วย ระดับบริหาร 6 คน ระดับปฏิบัติการ 109 คน

12

13

14

2. โครงการอบรมหลักสูตร “การจัดท าแผนการปรับปรุงการควบคุมภายในและแผนงบประมาณ ระดับหน่วยงาน ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559”

เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2557 ณ ห้องประชุมสารนิเทศ อาคารบริหาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี ซึ่งได้เชิญ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เผด็จ เผ่าละออ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายบริหาร กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และคุณศราวุธ ป้อมสินทรัพย์ หัวหน้าส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มาเป็นวิทยากร มีผู้เข้าร่วมอบรมรวม 34 หน่วยงาน จ านวนผู้เข้ารับอบรมรวมทั้งสิ้น 58 คน

15

16

17

ภาคผนวก ข

จ านวนปัจจัยเสี่ยง จ าแนกตามประเภทความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559

18

จ านวนปัจจัยเสี่ยง จ าแนกตามประเภทความเสี่ยง ระดับหน่วยงาน

ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เปรียบเทียบก่อน-หลังกิจกรรมควบคุม

ประเภทความเสี่ยง

จ านวนปัจจัยเสี่ยง

จ านวนปัจจัยเสี่ยง แยกตามระดับความเสี่ยง

จ านวนปัจจัยเสี่ยง แยกตามระดับความเสี่ยง

ก่อน-กิจกรรมควบคุม หลัง-กิจกรรมควบคุม L M H E L M H E

ST - - - - - - - - -

F 5 - 1 1 3 - 4 - 1

O 5 - 2 2 1 2 2 1 -

IM 3 - 2 - 1 1 1 1 -

HS 10 1 4 2 3 3 3 2 2

S 1 - - 1 - 1 - - -

ICT 3 - 1 1 1 1 - 2 -

C - - - - - - - - -

G - - - - - - - - -

รวม 27 1 10 7 9 8 10 6 3

หมายเหตุ: ปัจจัยเสี่ยงหลัง-กิจกรรมควบคุมที่มีระดับความเสี่ยงยังคงสูงอยู่ (ขอบเขตพ้ืนที่ High Risk (H)

และ Extreme Risk (E)) จักต้องด าเนินการจัดท าแผนการบริหารความเสี่ยงระดับหน่วยงานต่อไป

ค าอธิบายตัวย่อ

ขอบเขตพื้นที่ ช่วงของผลการประเมิน (L x I)

ความหมาย

E = Extreme Risk H = High Risk M = Medium Risk L = Low Risk

15 - 25 8 - 12 4 - 6 1 - 3

ตกพ้ืนที่ซึ่งมหาวิทยาลัยต้องมีแผนการบริหารความเสี่ยงเร่งด่วน ตกพ้ืนที่ซึ่งมหาวิทยาลัยต้องมีแผนการบริหารความเสี่ยง อยู่พื้นที่ซึ่งยอมรับความเสี่ยงได้ อยู่พื้นที่ซึ่งยอมรับความเสี่ยงได้

19

ภาคผนวก ค

ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนาร ี

20

21

22

ภาคผนวก ง

ค าสั่งแต่งตั้งคณะท างานกลั่นกรองรายงานแผนการปรับปรุงการควบคุมภายใน

และแผนการบริหารความเสี่ยงมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

23

24

25