เครื่องสำอาง อบรม อย. (น้อยเทวราช ปี56)

Post on 16-Nov-2014

175 Views

Category:

Health & Medicine

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

เครื่องสำอางค์ อบรม อย.

TRANSCRIPT

เครื่องส ำอำง การเฝ้าระวังความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์

จัดท าโดย ภก.ชัชวาลย์ เอกอนันต์กุล 1

Contents

4

เครื่องส ำอำง คืออะไร? 1

2

3

5

กำรเลือกซื้อเครื่องส ำอำง

อันตรำยจำกเครื่องส ำอำง

ปกป้องผิวจำกภัยแดด

ป้องกันกำรแพ้ต้องรู้จักวิธีใช้

2

เครื่องส ำอำง คืออะไร?

เครื่องส ำอำง หมำยควำมว่ำ วัตถุที่มุ่งหมำยส ำหรับใช้ทำ ถู นวด โรย พ่น หยอด ใส่ อบ หรือกระท ำด้วยวิธีอื่นใด ต่อส่วนหนึ่งส่วนใดของร่ำงกำย เพื่อควำมสะอำด ควำมสวยงำม หรือ ส่งเสริมให้เกิดควำมสวยงำมและรวมตลอดทั้งเครื่องประทินผิวตำ่งๆ ด้วย แต่ไม่รวมถึงเครื่องประดับและเครื่องแต่งตัวซึ่งเป็นอุปกรณ์ภำยนอกร่ำงกำย

ที่มา: พรบ. เครื่องส าอาง พ.ศ. ๒๕๓๕ 3

อะไรเข้ำข่ำยเป็นเครื่องส ำอำงบ้ำง?

• ครีมทำผิว

• โลชั่นทำผิว

• ครีมกันแดด

• ลิปสติก

• แป้งโรยตัว

• สบู ่

• แชมพ ู

• ครีมนวดผม

• ยำสีฟัน

• น้ ำยำบ้วนปำก

• น้ ำยำดัดผม

• น้ ำยำย้อมผม

• โฟมล้ำงหนำ้

• โฟมโกนหนวด

• ครีมก ำจัดขน

• ผ้ำอนำมัย

• ผ้ำเย็น

• โคลนพอกหนำ้

• สีทำเล็บ

• ฯลฯ

4

ข้อแนะน ำเกี่ยวกับกำรเลือกซื้อเครื่องส ำอำง

1. เลือกซื้อเครื่องส ำอำง จำกแหล่งที่เชื่อถือได้

5

ข้อแนะน ำ (ต่อ)

2. ซื้อเครื่องส ำอำงที่มีฉลำกภำษำไทย ที่ระบุสำระส ำคัญครบถ้วน ชัดเจน ประกอบด้วย

1. ชื่อและชื่อการค้า 2. ชนิดของเครื่องส าอาง 3. ชื่อสารทุกชนิดที่ใช้เป็นส่วนผสม 4. วิธีใช้ 5. ค าเตือน 6. ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้

น าเข้า

7. ปริมาณสุทธิ 8. เลขที่แสดงครั้งทีผ่ลิต 9. เดือนปีที่ผลิต 10. เดือนปีที่หมดอายุ 11. เลขที่ใบรับแจ้ง

6

สำระส ำคัญของฉลำกเครื่องส ำอำง

7

ข้อแนะน ำ (ต่อ)

3. ปฏิบัติตำมวิธีใช้ และใช้ด้วยควำมระมัดระวังตำมค ำเตือนที่ระบุไว้ที่ฉลำกอย่ำงเคร่งครัด

8

ข้อแนะน ำ (ต่อ)

4. หำกใช้เครื่องส ำอำงชนิดใดเป็นครั้งแรก ควรทดสอบกำรแพ้ก่อนใช้

9

ข้อแนะน ำ (ต่อ)

5. หำกใช้เครื่องส ำอำงใดแล้วมีควำมผิดปกติเกิดขึ้น ต้องหยุดใช้ทันที

10

ข้อแนะน ำ (ต่อ)

6. พิจำรณำข้อมูลสำรประกอบที่เป็นส่วนผสมในผลติภัณฑ์อย่ำงละเอียด เพื่อจะได้หลีกเลี่ยงสำรที่ก่อให้เกิดกำรแพ้

11

ข้อแนะน ำ (ต่อ)

7. เมื่อใช้เครื่องส ำอำงเสร็จแล้ว ต้องปิดฝำให้สนิทเพื่อป้องกันกำรปนเปื้อนจำกฝุ่นละออง สิ่งสกปรก หรือเชื้อโรคต่ำง ๆ

12

ค ำแนะน ำ (ต่อ)

8. เก็บเครื่องส ำอำงไว้ในที่แห้งและเย็น อย่ำเก็บในที่ร้อนหรือแสงแดดส่องถึง และที่ส ำคัญต้องเก็บเครื่องส ำอำงให้พ้นมือเด็ก

13

ค ำแนะน ำ (ต่อ)

9. อย่ำใช้เครื่องส ำอำงร่วมกับผู้อื่น หรือทดลองใช้เครื่องส ำอำงตัวอย่ำง (Testers) ตำมร้ำนค้ำ เพรำะอำจมีกำรแพร่กระจำยของเชื้อโรคได้

14

ค ำแนะน ำ (ต่อ)

10.ใช้เครื่องส ำอำงด้วยควำมระมัดระวัง อย่ำประมำท เพรำะอำจเกิดอันตรำย เช่น กำรแต่งหน้ำขณะอยู่ในรถ

15

อันตรำยจำกเครื่องส ำอำง

มี

อันตรำยจำกผลิตภัณฑ ์

16

อันตรำยจำกเครื่องส ำอำง (ต่อ)

กำรใช้ผิดวิธี

17

อันตรำยจำกเครื่องส ำอำง (ต่อ)

จำกผู้บริโภคเอง

18

อำกำรไม่พึงประสงค์จำกเครื่องส ำอำง

1. กำรระคำยเคือง (Irritation) เป็นปฏิกิริยาที่เกดิขึ้นเมื่อ ร่างกายสัมผัสกับสารที่ก่อให้เกิดการระคายเคือง (Irritants) ความรุนแรงจะขึ้นอยูก่ับ

• ควำมเข้มข้นของสำร

• ระยะเวลำที่สำรสัมผัสกับผิว

19

อำกำรไม่พึงประสงค์จำกเครื่องส ำอำง

2. กำรแพ้ (Allergy) เป็นปฏิกิริยาที่ซับซ้อนเกี่ยวกับภูมิคุ้มกัน ของร่างกายของแต่ละคน การแพ้ซึ่งเป็นเรื่องเฉพาะบุคคล โดยสารที่พบว่าก่อให้เกิดการแพ้ได้บ่อยคือ

• สำรแต่งกลิ่นหอม (fragrance/perfume)

• สำรกันเสีย (preservative)

• สำรป้องกนัแสงแดด (sunscreen)

20

อันตรำยจำกเครื่องส ำอำง

มหันตภัย ครีมหน้ำขำว

21

สำรอันตรำยห้ำมใช้ในครีมหน้ำขำว

ไฮโดรควโินน

เกิดกำรแพ้ ระคำยเคือง เป็นจุดด่ำงขำว

เกิดฝ้ำถำวร

ผิวหน้ำด ำ

22

สำรอันตรำยห้ำมใช้ในครีมหน้ำขำว

ปรอทแอมโมเนยี

เกิดกำรแพ ้

เกิดผื่นแดง ผิวหน้ำด ำ ผิวบำงลง พิษปรอทสะสม

ไตอักเสบ

23

สำรอันตรำยห้ำมใช้ในครีมหน้ำขำว

กรดวิตำมินเอ

หรอืกรดเรทโินอิก

ท ำให้หน้ำแดง เกิดกำรอักเสบ

ผิวหน้ำลอกรุนแรง เปน็อนัตรำยตอ่ทำรกในครรภ ์

24

ปกป้องผวิจำกภัยแดด

25

ปกป้องผิวจำกภัยแดด

ข้อเท็จจริงที่ควรรู ้

1. ประสิทธิภำพในกำรป้องกันแสงแดดของสำรป้องกันแสงแดดที่อยูใ่นครีมกันแดด สำมำรถพิจำรณำจำก

• ค่ำ SPF (Sun Protection Factor) บอกถึงกำรป้องกันรังสี UVB

• ค่ำ PFA (Protection factor for UV - A) บอกถึงกำรป้องกันรังสี UVA

26

ปกป้องผิวจำกภัยแดด

2. ค่ำ SPF จะบ่งบอกให้ทรำบว่ำ ผิวหนังจะถูกแสงแดดได้นำนแค่ไหน ผิวถึงจะไม่ไหม้เช่น ถ้ำปกติบุคคลนั้นโดนแสงแดดได้นำนเป็นเวลำ10 นำที แล้วผิวไหม้ เมื่อทำครีมกันแดดที่มีค่ำ SPF 15 แล้วจะป้องกันผิวไหม้แดดเป็นเวลำนำน 15 เทำ่ เมื่อเทียบกับตอนไม่ได้ทำ ซึ่งก็คือ 150 นำที

ระยะเวลำในกำรกันแดด = ค่ำSPF x 10 นำท ี

27

ปกป้องผิวจำกภัยแดด

3. ค่ำ SPF สูงมำก ก็เท่ำกับมีสำรป้องกันแสงแดดที่มีควำมเข้มข้นสูง เมื่อใช้อำจเกิดกำรระคำยเคืองต่อผิวได้มำกกว่ำครีมกันแดดที่มีค่ำ SPF ต่ ำ จึงต้องระมัดระวังในกำรใช้เพิ่มขึ้น

28

ปกป้องผิวจำกภัยแดด

4. ข้อควำม PA+ PA++ PA+++ ที่ปรำกฏบนฉลำกครมีกันแดด จะช่วยบ่งบอกระดับของกำรป้องกันรังสียูวเีอ ดังนี้

ระดับกำรป้องกันรังสี UVA

ควำมหมำย

PA+ ค่ำที่ป้องกันรังสี ยูวีเอ ได้ต่ ำ มีค่ำ PFA น้อยกว่ำหรือเท่ำกับ 4 เท่ำ

PA++ ค่ำที่ป้องกันรังสี ยูวีเอ ได้ปำนกลำง มีค่ำ PFA เท่ำกับ4-8 เท่ำ

PA+++ ค่ำที่ป้องกันรังสี ยูวีเอ สูง มีค่ำ PFA มำกกว่ำ 8 เท่ำ

29

ปกป้องผิวจำกภัยแดด

5. กำรใช้ครีมกันแดดอำจท ำให้เกิดกำรระคำยเคือง หรือ กำรแพ้ซึ่งจะเป็นมำกขณะถูกแดด ดังนั้นเพื่อเพิ่มควำม ปลอดภัย ควรทดสอบกำรแพ้ก่อนใช้

30

ปกป้องผิวจำกภัยแดด

6. ควรทำก่อนออกแดดอยำ่งน้อย 30 นำที ยกเว้นบริเวณรอบดวงตำและรอบริมฝีปำก และควรทำซ้ ำบ่อย ๆ

7. กรณแีต่งหน้ำให้เริ่มจำกกำรทำครีมบ ำรุงผิว เมื่อครีมบ ำรุงผิวดูดซึมเข้ำสู่ผิวหน้ำแล้ว จึงทำครีมกันแดดรอให้แห้งแล้วจึงทำแป้ง แต่งหน้ำตำมปกติ

31

ป้องกันกำรแพ้ต้องรู้จักใช้เครื่องส ำอำง

1. อ่ำนฉลำกให้ละเอียด และพิจำรณำส่วนประกอบ เพื่อเลี่ยงกำรได้รับสำรที่ก่อกำรแพ้

2. ก่อนใช้เครื่องส ำอำงที่ไม่เคยใช้มำก่อน ต้องทดสอบกำรแพ้กับท้องแขนตนเอง ก่อนน ำมำใช้

3. ใช้และเก็บเครื่องส ำอำงให้ถูกวิธี ปฏิบัติตำมค ำแนะน ำ และค ำเตือนบนฉลำกอย่ำงเคร่งครัด

32

อย.น้อย รู้แล้ว บอกต่อ

1. แมว้่าเครือ่งส าอางที่ผสมสารอันตราย อาจเห็นผลของการเปลี่ยนแปลงในระยะแรกที่ช่วยให้ผิวดูขาวใสขึ้น แต่เมื่อใช้ไประยะหนึ่ง อาจท าให้เกิดอาการแพ้จนหน้าเสียโฉมได้

2. ปลอดภยัไว้กอ่น โดยตรวจสอบรายชื่อเครื่องส าอางอันตราย ได้ที่กลุ่มควบคุมเครื่องส าอาง เว็บไซต์ www.fda.moph.go.th ที่ “เครื่องส าอางอันตราย”

3. พบเห็นแหล่งผลิตหรือจ าหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องส าอางที่ผิดกฎหมาย สามารถร้องเรียนได้ที่ สายด่วน อย. 1556

33

Thank You! ค ำถำม?

34

top related