บทที่ 5 : วัจนภาษาล กษณะส าค ญของถ อยค...

Post on 29-Jan-2020

1 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

วจันภาษา

Communication

ความหมายของภาษา

การสื่อสารของมนุษย

วัจนภาษา

การสราง Creation

การแลกเปลีย่น Exchange

ความหมาย Meaning

สัญลักษณ Symbolsถอยคํา ทาทาง รูปราง เสียง การเคลือ่นไหว วัตถุสิ่งของ ความเขาใจ

ความหมายที่ตรงกัน เปนไปตามสิ่งที่ตกลงกันไว

ภาษา หมายถึง ระบบของสัญลักษณซึ่งมีกฏเกณฑในการใชเพื่อใหคนใน

สังคมเดียวกัน สามารถใชสัญลักษณท่ีสรางข้ึนหรือกําหนดข้ึนเหลาน้ัน

เชื่อมโยงกับสิ่งท่ีอางอิงถึงเพื่อเปนสื่อกลางในการสรางความหมายและความ

เขาใจระหวางกัน

สัญลักษณ (Symbols) ที่มนุษยใชสื่อความหมายระหวางกัน

เรียกวา ภาษา (Language)

ความหมายของภาษา

วัจนภาษา

เรียนรู – จัดระบบ - แยกแยะ - สรางความเขาใจ

ภาษา หมายถึง ที่ใชแทนของส่ิงตางๆ ทั้งที่เปนส่ิงมีชีวิต ส่ิงไมมีชีวิตและการ

กระทํา รวมทั้งเปนเครื่องมือสําหรับคิด ส่ือความหมายและส่ือสารระหวาง

บุคคล(จิราภา เต็งไตรรัตน,และคนอื่นๆ,2547)

ภาษา หมายถึง ระบบของสัญลักษณซึ่งกอใหเกิดความหมายรวมกัน

(Gamble & Gamble,2005,p.114)

กําเนิดภาษา กําเนิดภาษาของมนุษย

วัจนภาษา

ไมปรากฏชัดเจนวามนุษยมีภาษาใชเมื่อใด

การออกเสียงพรอมแสดงกิริยาอาการ ของรางกายเพ่ือสรางความเขาใจใน

กิจกรรมตางๆ

การหาสัญลักษณมาเพ่ือทดแทนความหมายตางๆที่มีมากขึ้น ซึ่งภาษากาย

ไมสามารถแสดงไดครบ

การยอมรับความหมายของเสียงและกิริยาที่เกิดขึ้นรวมกัน

การเรียงลําดับ(Sequence) และโครงสราง(Structure)

ภาษาประกอบดวย คํา (Word) ,ศัพท(Vocabulary)

วากยสัมพันธ(Syntax) คือ การวิเคราะหองคประกอบตามโครงสรางของคําและประโยค,

ไวยกรณ(Gramma) cl.

ความสําคัญของภาษา

การใชภาษาเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย คือ

1. เพื่อการรับรูตนเองและความเปนจริงของโลก

2. เพื่อเปนเครื่องมือพาสารและเปนที่เขาใจของคูสื่อสาร

3. ใชภาษาเพื่อการเรียกขาน ตั้งชื่อ การอธิบายความหมายและกําหนดขอบเขตสิ่งที่ตองการสื่อสาร

4. มนุษยใชภาษาในการแสดงปฏิสัมพันธทางสังคมเพื่อรับรูและแลกเปล่ียนความรู ความตองการและอารมณความรูสึกระหวางกัน

5. มนุษยใชภาษาในการสรางความเขาใจสัมพันธระหวางสมาชิก

6. มนุษยใชภาษาในการประเมินสิ่งตางๆ เชน ระดับของภาษาที่ใช ราชาศัพท

7. มนุษยใชภาษาในการกลาวถึงสิ่งตางๆที่นอกเหนือประสบการณของตน

8. มนุษยใชภาษาเปนเครื่องโนมนาวใจใหเกิดการเปล่ียนทัศนคติ ความเชื่อ

9. มนุษยใชภาษาเพื่อสรางความเพลิดเพลินใจ

วัจนภาษา

ลักษณะสําคัญของถอยคําหรือวัจนภาษา

1 . ถ อ ย คํ า ถู ก บั ญ ญั ติ ข้ึ น โ ด ย ไ ร ก ฏ เ ก ณ ฑ แ ต มี ก า ร พั ฒ น า

เชิงความหมาย

นก = นกตอ

วัจนภาษา

นางนกตอ ความหมายถูกขยาย

และมีความซับ ซอนมา ก ข้ึนตอง

อาศัยการศึกษาเรียนรูจึงสามารถ

เขาใจThe Lovebird, just like the Parrotlet

ลักษณะสําคัญของถอยคําหรือวัจนภาษา 2. ถอยคํามีความกํากวม(Ambiguous) ในแงความหมายในตัวเองซึ่งมนุษยแตละคนจะใหความหมายท่ี

แตกตางกัน เชน “ฉันจะไปดูหนังกับเพื่อนสองคน” กับ “ฉันจะไปดูหนังกับเพื่อนอีกสองคน” เกิดความสับสนวา

จะซื้อต๋ัวกี่ใบ?

- คําท่ีมีความหมายกํากวม เปล่ียนไปจากเดิม เชน ชะนี เกง เกรียน หรือคําท่ีถูกทอนเสียงใหสั้นหรือ

เพี้ยนไป (ดูไดจาก http://th.wikipedia.org/ภาษาวิบัต)ิ เชน มวาก, ตะเอง

3. ถอยคํามีลักษณะเปนนามธรรม(Abstract) ซึ่ง คือ สิ่งท่ีไมมีรูป คือ รูไมไดทางตา หู จมูก ล้ิน กาย รูไดเฉพาะ

ทางใจเทาน้ัน, คูกับ รูปธรรม

เชน ความรัก แสดงออกไดจาการกิริยา การกระทําและสัญญะ

ความเขาใจ แสดงออกไดดวย กิริยาอาการ การบรรยายดวยภาษาพูดและเขียน

4. ถอยคํามีความเกี่ยวของผูกพันกับวัฒนธรรม(Culture) เชน ระบบชนชั้นหรือความเทาเทียมตามรูปแบบการ

ปกครอง (ฉัน เธอ, กู มึง ขาพเจา ทาน, I YOU) เสี่ยว= เพื่อน= เชย บานนอก

5. ความหมายของถอยคําขึน้อยูกับบริบท(Context)ท่ีแวดลอมถอยคําน้ัน

เชน “นากิน” = เปนอาหารนารับประทาน หรือ ผูหญิงมักใชพูด “อยากมีความสัมพันธลึกซึ้งดวย”

วัจนภาษา

1. มนุษยใชถอยคําเพื่อการเรียนรู อธิบาย/ถายทอด

2. เพื่อประเมินปรากฏการณรอบตัว

3. เพื่อจัดระบบของประสบการณ

4. เพื่อสรางความคิดและจินตนาการถึงสิ่งท่ีไมเคยรูจักมากอน

5. เพื่อสะทอนภาพความเปนตัวตน

6. เพื่อเรียนรูและกําหนดรูปแบบความสัมพนัธและปฏิสัมพันธ

ระหวางกัน

วัจนภาษา

ลักษณะสําคัญของวจันภาษา

1. ความคลายคลึงของวัจนภาษาและอวัจนภาษา

1.1 วัจนภาษาและอวัจนภาษาเปนสัญลักษณซึ่งมีลักษณะสําคัญรวมกัน

ความกํากวม (Ambiguous)

ความเปนนามธรรม (Abstract)

บัญญัติข้ึนโดยไรกฏเกณฑ (Arbitrary)

วัจนภาษา

วัจนภาษาและอวัจนภาษา

1.2 วัจนภาษาและอวัจนภาษาเปนสัญลักษณท่ีบุคคลในสังคยอมรับวา

สามารถสื่อความหมายและความเขาใจระหวางกันได

1.3 วัจนภาษาและอวัจนภาษาเปนสัญลักษณซึ่งเกี่ยวกับประเพณีและ

วัฒนธรรม

1.4 วัจนภาษาและอวัจนภาษาอาจเกิดข้ึนดวยความต้ังใจ/ไมต้ังใจ

เชน ถอนใจ หวาดวิตก

วัจนภาษา

วัจนภาษาและอวัจนภาษา

2. ความแตกตางระหวางวัจนภาษาและอวัจนภาษา

2.1 อวัจนภาษามีนํ้าหนักความนาเชื่อถือและเปนจริงมากกวา เชน

ทาทางจากการแสดงในละครหรือภาพยนตร

2.2 ชองทางในการสื่อความหมายของอวัจนภาษาหลากหลายกวา

มีเคตร่ืองมือในการนําเสนอท่ีหลากหลาย

2.3 การสื่อสารโดยใชวัจนภาษาจะสิ้นสุดเมื่อผูพูดพูดจบ / อานจบ

วัจนภาษา

วัจนภาษาและอวัจนภาษา

วัจนภาษา

วัจนภาษาและอวัจนภาษา

3. การใชวัจนภาษาและอวัจนภาษา

3.1 ใชอวัจนภาษาเพื่อซ้ําความหมายของวัจนภาษาใหหนักแนน

ชัดเจนยิ่งข้ึน เชน การพูด กับการแสดงละคร ภาพยนตร

3.2 ใชอวัจนภาษาแทนวัจนภาษา

3.3 ใชอวัจนภาษาเพื่อขยายความเพิ่มเติม

3.4 ใชอวัจนภาษาเพื่อเนนย้ําความหมายของวัจนภาษา

3.5 ใชอวัจนภาษาเพื่อควบคุมปฏิสัมพันธของคูสื่อสารในกระบวนการ

สื่อสาร

3.6 การใชอวัจนภาษาซึ่งมีความหมายขัดแยงกับวัจนภาษา

วัจนภาษาและความหมาย

2 . โ อ ก เ ด น แ ล ะ ริ ช า ร ด

ความหมายของภาษาเกิด

จากความสัมพันธระหวาง

ถอยคํา (words)

ความคิด(thought)

วัตถุ(things)

วัจนภาษา

นก

สัญลักษณ /

ถอยคํา

(Symbol or word)

ความคิด

(thought)

สิ่งของ หรือ สิ่งท่ี

อางอิงถึง

(thing or referent)

1. แนวคิดทฤษฎีการอางอิง (Referential

Theory) มนุษยเรียนรูความหมายของ

ถ อ ย คํ า โ ด ย โ ย ง เ ข า กั บ วั ต ถุ แ ล ะ

ประสบการณ

สรุปลักษณะของความหมาย

1. ความหมายอยูที่ตัวบุคคลไมใชในถอยคํา

2. ความหมายของมนุษยมากมายเกินกวาจะแทน/สื่อได

ครบถวนดวยถอยคํา/ทาทาง/สัญลักษณตาง ๆ

3. ความหมายมีลักษณะเฉพาะและแตกตางกันไปตามบุคคล

และสถานการณ

4. ความหมายเปลี่ยนแปลงไปตามปริบททางการสื่อสารที่

แตกตางกัน

วัจนภาษา

5. ความหมายมีหลายประเภท

5.1 ความหมายโดยตรง/โดยอรรถ(Denotative Meaning) เชน

5.2 ความหมายโดยนัยหรือความหมายเฉพาะตัว(Connotative Meaning)

5.2.1 ความหมายประกอบอารมณ(Emotional Meaning) มีคําท่ีแสดงอารมณ ความรูสึก เชน “เธอสวยนักนะ”...

5.2.2 ความหมายหลายนัย(Meaningful Meaning) เชน คําท่ีมีความหมายพองเสียงตามบริบท เชน ยอ ลูกยอ ยกยอ

5.2.3 ความหมายเกี่ยวเน่ืองกับสถานการณ(Situational Meaning) “อยาทําขอย” “ชวยจับที”

วัจนภาษา

5.3 ความหมายตามโครงสรางทางภาษา(Structural Meaning) เชน

ไกขัน ขันนํ้า เร่ืองขัน

5.4 ความหมายตามอรรถาธิบาย(Contextual Meaning) เชน “ทอง

ทะเลดูชางเงียบเหงา ไรคู เสียงคลื่นเหมือนเสียงของลมหายใจ”

5.5 ความหมายท่ีเปนรูปธรรม(Concreteness Meaning) เชน “ไก

จิกเด็กตาย เด็กตายบนปากโอง”

5.6 ความหมายท่ีเปนนามธรรม(Abstraction Meaning) เชน เน้ือ

เพลง “จะอยูอยางจงรัก จะตายอยางภักดี”

วัจนภาษา

5. ความหมายมีหลายประเภท

สิ่งจํากัดขอบเขตของความหมาย

1. ถูกจํากัดโดยคําประเภทท่ีข้ึนกับวิจารณญาณของบุคคล

2. ถูกจํากัดโดยการท่ีมนุษยไมสามารถเขาใจความหมายท้ังหมดของ

ถอยคําได

3. ถูกจํากัดโดยสรุปเอาเองวาสิ่งท่ีตนเขาใจเปนสิ่งท่ีคนอื่นเขาใจ

4. ถูกจํากัดดวยคําพูดท่ีวาเห็นคร้ังเดียวก็รูทะลุปรุโปรง

5. ถูกจํากัดโดยชองวางของความหมายระหวางผูสงสารและผูรับสาร

วัจนภาษา

***

อุปสรรคท่ีเกิดจากการใชวัจนภาษา

1. ความหมายของภาษาเปลี่ยนไปตามกาลเวลา

2. ความหมายของภาษาแตกตางไปตามชนกลุมยอย

3. การใชภาษาเปนพฤติกรรมท่ีสรางสรรคและซับซอนแตกตางไปตามแตละบุคคล

3.1 การใชวจันภาษาเพ่ือส่ือความหมายถึงส่ิงตาง ๆ

ในเชิงการประเมินแบบสุดโตง(Polarization) เชน ใชคําวา ดี เลว ช่ัว ถูก ผิด โง

3.2 การใชวัจนภาษาซ่ึงทําใหคูสื่อสารพลาดความหมายที่ฝายหน่ึงพยายามสื่อใหอีกฝายรับรู(Bypassing)

3.2.1 ใชถอยคําเดียวกันแตแปลตางกัน

3.2.2 ใชถอยคําตางกันแตตองการสื่อความหมาย

อยางเดียวกัน

3.2.3 ใหความสําคัญแกวัจนภาษามากกวาสิ่งที่

วัจนภาษาน้ันอางอิงถึง (Intensional Orientation) เชน ตัดสินซ้ือสินคาจากคําโฆษณาและราคาแพง เพราะเห็นวาตองดีกวา

วัจนภาษา

อุปสรรคที่เกิดจากการใชวัจนภาษา

3.2.4 การใชวัจนภาษาซึ่งกอใหเกิดความสับสน

ระหวางความจริงและความคิดเห็น (Fact-Inference Confusion)

3.2.5 การใชวัจนภาษาเพื่อแสดงวาตนเองรูหมด

(Allness)

3.2.6 การใชวัจนภาษาในการอธิบายสิ่งรอบตัวและ

ยึดมั่น โดยไมคํานึงถึงความเปลี่ยนแปลง

“ความหมายไมไดอยูท่ีถอยคํา ความอยูท่ีตัวบุคคล”

(Meanings are not in word ; meaning are in people)

วัจนภาษา

การพัฒนาทักษะในการใชวัจนภาษา

1. ควรศึกษาลักษณะสําคัญของวัจนภาษาใหเขาใจอยางถองแท

2. สิ่งท่ีวัจนภาษาอางอิงถึงอาจแตกตางจากความเปนจริงของสิ่งท่ี

อางถึง

3. การเสริมสรางศักยภาพการสื่อสารโดยใชวัจนภาษา

3.1 ควรประเมินทักษะในการใชวัจนภาษาดานการพูด การฟง

การเขียนและการอานอยางสม่ําเสมอ

วัจนภาษา

3.2 วัตถุประสงคของการสื่อสารคือ การสรางการรับรูรวมกัน

ระหวางคูสื่อสาร ควรคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ตอไปน้ี

3.2.1 ใหถอยคําท่ีสอดคลองและเหมาะสมกับวัตถุประสงค

และบริบทของการสื่อสาร

3.2.2 เลือกใชถอยคําโดยคํานึงถึงภูมิหลัง ประสบการณ

ทัศนคติ ความเชื่อ และบรรทัดฐานทางสังคม

3.2.3 ใชถอยคําท่ีสื่อความหมายไดชัดเจน

3.2.4 หลีกเลี่ยงการใชถอยคําท่ีกอใหเกิดความรูสึกไมดี

วัจนภาษา

3.2.5 ใชถอยคําท่ีมีความเปนรูปธรรม

3.2.6 ใชการเปรียบเทียบใหเห็นความคลายคลึง

3.3 ควรเคารพความคิด ความเปนตัวตนของคูสื่อสาร

4. ในการแปลความหมายของภาษาควรคํานึงถึงปริบทแวดลอมการ

สื่อสาร ความแตกตางดานภูมิหลัง ดานประเพณีวัฒนธรรมและการ

เปลีย่นแปลงตามกาลเวลา

วัจนภาษา

top related