นักสืบชายฝั่ง 4 · นักสืบชายฝั่ง 4.0 1....

Post on 28-Jun-2020

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

นักสืบชายฝั่ง 4.0 1. หลักการและเหตุผล

ชีวิตความเป็นอยู่ของเรา จ าเป็นอย่างมากท่ีต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เข้ามาช่วยในการด ารงชีวิต เพราะธรรมชาติเป็นแหล่งส าคัญส าหรับการด ารงชีวิต เราจึงเรียนรู้ที่จะเข้าใจธรรมชาติ อนุรักษ์ และใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์มากที่สุด ในการต่อยอดองค์ความรู้นั้นจะต้องอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Technology and Innovation) เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งจะเป็นกุญแจส าคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และดึงขีดความสามารถ ของนักเรียนโรงเรียนวัดพลา โดยจะต้องได้รับความรู้แบบสหวิทยาหรือการเรียนรู้แบบ STEM (STEM education : วิทยาศาสตร์ Science, เทคโนโลยี Technology, วิศวกรรม Engineering , คณิตศาสตร์ Mathematics) ดังนั้น ในปี 2561 โรงเรียนวัดพลา จึงได้ก าหนดแผนงาน การเรียนรู้แบบ STEM โครงการ วิทยาศาสตร์ทางทะเล โดยเป็นกิจกรรมเพ่ือการอนุรักษ์ทรัพยากรในท้องถิ่นทะเลพลา ประยุกต์โดรนและข้อมูลภูมิสารสนเทศ เพ่ือส ารวจการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล มาสู่การปฏิบัติในโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม ครูผู้สอนมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยตนเองมากข้ึน นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและมีความสุขในการเรียนรู้อย่างแท้จริง

จากที่กล่าวมาโรงเรียนวัดพลาจึงเห็นว่ากจิกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ทางทะเลเป็นกิจกรรมเพ่ือสังคมและ

สิ่งแวดล้อมท่ีควรสนับสนุน เพ่ือเป็นการสร้างจิตส านึกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความสามัคคีให้เกิด

ขึ้นกับนักเรียน

2. วัตถุประสงค์

1.1 เพ่ือส่งเสริมการเรียนการสอนเชิงปฏิบัติ (Active Learning) และบูรณาการสหวิทยาแบบ (STEM)

1.2 เพ่ือจัดท าฐานข้อมูลภูมิสารสนเทศของการเปลี่ยนแปลงชายหาดพลา ในบริเวณพ้ืนที่ใกล้เคียงภาคอุตสาหกรรมมาบตาพุด

1.3 เพ่ือเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นทะเลพลา 3. เป้าหมาย

3.1 เป้าหมายเชิงคุณภาพ

3.1.1 นักเรียนมีนิสัยแสวงหาความความรู้จากแหล่งเรียนรู้ใน

3.1.2 นักเรียนเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อเรียนรู้ร่วมกัน

3.1.3 โรงเรียนจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ท้องถิ่น

3.2 เป้าหมายเชิงปริมาณ

- นักเรียนโรงเรียนวัดพลา จ านวน 514 คน

4. การประเมินผล

ตัวชี้วัดความส าเร็จ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้

ผลผลิต - นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรม

ร้อยละ 100 ผลลัพธ์

- นักเรียนมีความรู้ในเรื่องของวิทยาศาสตร์ทางทะเลเพ่ิมข้ึน - นักเรียนเข้าใจใน

ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น - นักเรียนเรียนรู้ร่วมกันเป้

นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ร่วมกัน

รายชื่อจ านวนนักเรียนที่ร่วมกิจกรรม คะแนนจากใบงาน สรุปผลการส ารวจ ทดลอง สังเกตการท ากิจกรรม ตอบค าถาม การแสดงความคิดเห็นในใบงาน ใบกิจกรรม

ชิ้นงาน ใบงาน กิจกรรม กิจกรรมการส ารวจ ใบงาน ค าถาม ใบงาน ใบกิจกรรม

7. ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ

7.1 นักเรียนรู้จักการท างานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่ม

7.2 นักเรียนแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น

7.3 นักเรียนเข้าใจหลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นเพ่ิมมากขึ้น

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 19 มกราคม 2561 เวลา 16.00 น.

หลักเมตรที่ ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม 1 80 80 100

2 83 -3 97 3 90 -7 90

4 97 -7 83

5 113 -16 67

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมีการลดลง

เรื่อยๆจากเสาต้นแรก แต่ความกว้างของหาดทรายแคบ ท าให้วัดได้เพียง 5 เมตร

เดือน มกราคม

0

100

เดือน มกราคม

เดือน มกราคม

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา 16.00 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 67 67 100

2 55 +13 113 3 56 -1 112

4 48 +8 120

5 54 -6 114 6 57 -3 111

7 60 -3 109

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ า ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายเริ่มมีการสะสมตัว

ขึ้นมาจากเดือนมกราคม ทรายมีปริมาณเยอะขึ้น

เดือน กมุภาพนัธ์

80

100

120

เดือน กุมภาพันธ์

เดือน กมุภาพนัธ์

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 16 มีนาคม 2561 เวลา 15.40 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 60 60 60

2 59 +1 61 3 56 +3 64

4 48 +8 72

5 49 -1 71 6 51 -2 69

7 55 -4 65 8 60 -5 60

9 63 -3 57

10 70 -7 50

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมีการสะสม

เพ่ิมข้ึนจากเสาต้นแรก และเริ่มลดลงจากเสาเมตรที่ 6 ไปเรื่อยๆ

เดือน มีนาคม

0

50

100

เมตร

ที่1

เมตร

ที่2

เมตร

ที่3

เมตร

ที่4

เมตร

ที่5

เมตร

ที่6

เมตร

ที่7

เมตร

ที่8

เมตร

ที่9

เมตร

ที่10

เดือน มีนาคม

เดือน มีนาคม

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 3 เมษายน 2561 เวลา 15.00 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ (cm) เฉลี่ย สะสม

1 57 57 57

2 56 +1 58 3 45 +11 69

4 44 +1 70

5 50 -6 64 6 57 -7 57

7 63 -6 51 8 65 -2 49

9 70 -5 44

10 74 -4 40 11 77 -3 37

12 82 -5 32

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ า ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมีการสะสมเพ่ิมข้ึน

และลดลงเรื่อยๆจนถึงน้ าทะเล

เดือน เมษายน

0

50

100

เดือน เมษายน

เดือน เมษายน

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 25 พฤษภาคม 2561 เวลา 15.00 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 52 52 52

2 53 -1 54 3 53 0 54

4 50 +3 57

5 55 -2 55 6 63 -8 47

7 67 -4 43 8 70 -3 40

9 75 -5 35

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ตั้งแต่เดือน ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมี

การสะสมเพ่ิมข้ึนจากเสาต้นแรกจนถึงเมตรที่ 3 และเริ่มลดลงตั้งแต่เสาต้นที่ 5 จนถึงน้ าทะเล

เดือน พฤษภาคม

0

20

40

60

เดือน พฤษภาคม

เดือน พฤษภาคม

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 29 มิถุนายน 2561 เวลา 16.00 น.

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ตั้งแต่เดือน ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมี

การกัดเซาะลดลงเป็นแนวเอียงเรื่อยๆ

เดือน มิถนุายน

0

50

100

150

เดือน มิถุนายน

เดือน มิถนุายน

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 45 45 100 2 44 +1 101

3 42 +2 103

4 52 -10 93 5 58 -6 87

6 60 -2 85

7 67 -7 78 8 81 -4 74

9 96 -5 69 10 110 -14 55

11 118 -8 47

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 13 กรกฎาคม 2561 เวลา 15.30 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 40 40 100

2 41 -1 99 3 40 +1 101

4 45 -5 96

5 65 -20 76 6 70 -5 71

7 79 -9 62 8 84 -5 57

9 90 -6 51

10 92 -2 49 11 100 -8 41

12 110 -10 31

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมีการทับถม

เป็นจ านวนมากและเริ่มลดลงที่เมตรท่ี 5

เดือน กรกฎาคม

0

100

200

เดือน กรกฎาคม

เดือน กรกฎาคม

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 24 สิงหาคม 2561 เวลา 16.00 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 55 55 100

2 56 -1 99 3 75 -19 118

4 80 -5 113

5 75 +5 118 6 72 +3 121

7 86 -6 115 8 90 -4 111

9 96 -6 105

10 105 -9 96 11 108 -3 93

12 108 0 93

13 126 -18 75

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมีการสะสม

เพ่ิมข้ึนจากเสาต้นแรก และเริ่มลดลงจากเสาเมตรที่ 10

เดือน สิงหาคม

0

100

200

เมตร

ที่1

เมตร

ที่2

เมตร

ที่3

เมตร

ที่4

เมตร

ที่5

เมตร

ที่6

เมตร

ที่7

เมตร

ที่8

เมตร

ที่9

เมตร

ที่10

เมตร

ที่11

เมตร

ที่12

เมตร

ที่13

เดือน สิงหาคม

เดือน สิงหาคม

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 28 กันยายน 2560 เวลา 15.00 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 40 40 100

2 42 -2 98 3 43 -1 97

4 56 -13 84

5 80 -24 60 6 82 -2 58

7 75 +7 65 8 73 +2 67

9 79 -6 61

10 84 -5 56 11 91 -7 49

12 100 -9 40

13 111 -11 29

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ตั้งแต่เดือน ผลปรากฏว่า ปริมาณทราย

เริ่มมีการกัดเซาะ ลดลงจากเดือนสิงหาคม

เดือน กนัยายน

0

50

100

เมตร

ที่1

เมตร

ที่2

เมตร

ที่3

เมตร

ที่4

เมตร

ที่5

เมตร

ที่6

เมตร

ที่7

เมตร

ที่8

เมตร

ที่9

เมตร

ที่10

เมตร

ที่11

เมตร

ที่12

เมตร

ที่13

เดือน กันยายน

เดือน กนัยายน

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 12 ตุลาคม 2561 เวลา 16.00 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 55 55 100

2 58 -3 97 3 40 +18 115

4 57 -17 98

5 65 -8 90 6 80 -15 75

7 88 -8 67 8 101 -13 54

9 122 -11 43

10 136 -14 29

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ตั้งแต่เดือน ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมี

การสะสมเป็นแนวเส้นตรงและเริ่มกัดเซาะจากเมตรที่ 4 จนถึงน้ าทะเล

เดือน ตลุาคม

0

50

100

150

เดือน ตุลาคม

เดือน ตลุาคม

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

วันที่ 16 พฤศจิกายน 2560 เวลา 15.30 น.

หลักท่ี ระยะที่วัดได้ เฉลี่ย สะสม

1 75 75 100

2 86 -11 89 3 90 -4 85

4 113 -23 62

5 117 -4 58 6 127 -10 48

สรุป จากข้อมูลที่ได้ เส้นกราฟแสดงข้อมูลปริมาณความสูง ต่ า ของทราย วัดจากระดับแนวชายฝั่งถึง

ระดับน้ าทะเล โดยการใช้เสาปักระยะห่างกัน 1 เมตร จนถึงน้ าทะเล ตั้งแต่เดือน ผลปรากฏว่า ปริมาณทรายมี

การกัดเซาะจากเมตรที่ 3 จนถึงน้ าทะเล

แบบบันทึกการการวัดความลาดเอียง

สถานที่ หาดพลา

เดือน ธันวาคม 2561 เวลา ไม่ได้ท าการวัดเนื่องจากน้ าทะเลขึ้นสูง ไม่สามารถท าการวัดความลาดเอียงได้

เดือน พฤศจิกายน

0

50

100

เดือน พฤศจกิายน

เดือน พฤศจิกายน

ภาพกิจกรรม

top related