วิชาปฏิบัติการสัตววิทยา 01423113...

Post on 25-Dec-2019

4 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

วิชาปฏิบัติการสัตววิทยา 01423113

อ.ดร. บุญเสฐียร บุญสูง (อ. โอ)Dr. Boonsatien BoonsoongZoo. 505E-mail: fscibtb@ku.ac.thMSN: bboonsoong@msn.comURL: http://pirun.ku.ac.th/~fscibtb

ประจําภาคปลาย ปการศึกษา 2552ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

คะแนนปฏิบัตกิาร 01423113 (40/100 คะแนน)

สอบกลางภาค 15 คะแนน- Protozoa ถึง Annelida

สอบปลายภาค 15 คะแนน- Mollusca ถึง ระบบประสาทกบ

คะแนนในชั้นเรียน 10 คะแนน- Quiz - รายงานปฏิบัติการ - การเขาชั้นเรียน - โครงกระดูกกบ

Phylum ProtozoaPhylum Protozoa

(Proto = แรก + Zoon = สัตว)(Proto = แรก + Zoon = สัตว)

Phylum Protozoa

อยูใน Kingdom Protista รวมกับสาหรายUnicellular microscopic organismEukaryotic cell มีขนาดเล็ก ดํารงชีวิตแบบตวัเดีย่ว (solitary) หรือ แบบ colonyOrganelle ทําหนาที่เหมือนอวัยวะสัตวชั้นสูงFlagellate Protozoa นาจะเปนตนตระกูลสัตวหลายเซลล ที่อยูอาศัย (habitat) - ตองมีความชื้นเปนปจจัยหลัก

Cell structure1. Plasma membrane

- ลักษณะออนนุม คอนขางเหลว (plasmalemma) เซลลมีรูปรางเปลี่ยนแปลงตามการไหลของ protoplasm เชน Amoeba- ถาหนาและแข็งขึ้นจะเรียกวา pellicle เชน Euglena,Paramecium- บางชนิดอาจมีเปลือกหุม เชน Arcella

Amoeba Euglena Arcella

2. Protoplasm

2.1 Nucleus

- ควบคุมกิจกรรมตางๆ ภายในเซลล

- มีอยางนอย 1 นิวเคลียส

- พวก Ciliate Protozoa มี nucleus 2 ชนิดคือ

(1) macronucleus เกี่ยวของกับการควบคุมกิจกรรม

ตางๆ ในเซลล

(2) micronucleus ควบคุมการสืบพันธุ

macronucleusmicronucleus

Paramecium

2.2 Cytoplasmแบงได 2 สวนคือ

(1) Ectoplasm สวนนอกติด plasmalemma

(2) Endoplasm จะมี organelle ชนิดตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิต

- Plastid ใน Protozoa มี 3 ชนิดคือ

1. Chloroplast มี chlorophyll ชวยในการ สังเคราะหแสง

2. Chromoplast คือ plastid สีอื่นๆ

3. Leucoplast ไมมีสี สะสมแปงPhacusEuglena

AmoebaAmoeba

- Stigma หรือ eye spot คือ จุดตา อาจ มี สี แ ด ง น้ํ า ต า ล หรือไมมีสี ทําหนาที่รับแสง

- Mouth organelle ชองเปดที่ผิวเซลลทําหนาที่เปนทางผานของอาหารคือ Cytostome ถัดเขาไปคือ Cytopharynx ซึ่งสวนปลายจะโปงออกเกิดเปน food vacuole

Euglena

Maryna

eye spot (stigma)

cytostome

- Food vacuole

- Protozoa ที่มี chloroplast จะไมมี food vacuole (holophytic)

- Protozoa ที่สังเคราะหแสงไมได จะไดรับอาหารจากการกิน อาหาร (holozoic) จะมี cytoplasm มาหุม มีการปลอยน้ํายอยออกมายอยอาหารในถุงแลวจึงดูดซึม กากอาหารจะขับถายออกทาง plasmalemma

- saprobic อาหารเปนสารอินทรียละลายน้ํา – 1) diffusion หรือ active transport 2) pinocytosis (cell drinking)

Phagocytosis (cell eating) Pinocytosis (cell drinking)

- Contractile vacuole

- Freshwater Protozoa จะมี contractile vacuole ชวยควบคุมสมดุลของน้ําในเซลล (osmoregulator) รวมทั้งกําจัดของเสียในเซลล (nitrogenous waste)

- Locomotive organelle มี 5 ประเภทดวยกันคือ

1. Pseudopodium เปนสวน protoplasm ที่ยื่นออกไปในทิศทางตางๆ โดยม ีpseudopodium หนึ่งที่นํา และดึงใหสวนอืน่ของเซลลไหลตามไป

PseudopodiaArcella Amoeba

2. Cilia เสนสั้นๆ คลายขนและมีจํานวนมาก โครงสรางภายในเปน microtubule เรียงตัวเปนวงอยูขอบนอก 9 กลุม และตรงกลาง 2 กลุม (9+2=20)

Cilia

3. Flagellum ลักษณะเปนเสนยาวคลายแส จํานวนไมมาก โครงสรางภายในคลายคลึงกับ cilia

4. Tentacle เปลี่ยนแปลงจาก cilia และเสนยาวกวา cilia พบในโปรโตซัวบางชนิดที่ชอบเกาะอยูกับที่

5. Myonema คลายเสนใยกลามเนื้อในการหดตัว อยูใน ectoplasm

Tentacle

Tokophrya

Flagellum

Flagella

การจัดหมวดหมูของ Protozoa

แบงออกเปน 5 subphylum แตเราจะเรียนในปฏิบัติการ 2 subphylum คือ

1. Subphylum Sarcomastigophora

- Superclass Mastigophora

- Superclass Sarcodina

2. Subphylum Ciliophora

1. Subphylum SarcomastigophoraSuperclass MastigophoraFlagellate Protozoa Phytoflagellate คือ โปรโตซัวที่มี flagellum ชวยในการเคลือ่นที่ และมี chloroplast ชวยในการสังเคราะหแสง (รวมทั้งพวกที่มีรูปรางคลาย flagellate protozoa แมจะไมสังเคราะหแสง)Zooflagellate คือ โปรโตซัวที่มี flagellum ชวยในการเคลือ่นที่ แตไมมี chloroplast สวนใหญเปน parasite ตัวอยางเชน Euglena, Phacus, Volvox, Peranema,Trypanosoma

Euglena

Plasma membrane หนา (pellicle) ดานหนาปาน ทายเรียว ปลายดานหนามีชองเปดของ cytostome ซึ่งเปดเขา cytopharynx โดยดานปลายจะโปงออกเรียกวา reservoir ซึ่งที่ฐานเปนจุดกําเนิดของ flagella 2 เสน และมีเพียง 1 เสนที่ยื่นพน cytostome ออกมาใกล reservoir มี contractile vacuole และมี accessory contractile vacuole ลอมรอบ ทําหนาที่รวบรวมน้ําสวนเกินและของเสียและสงตอไปยัง reservoir เพื่อขับออกทาง cytostomeโคนของ cytopharynx มี stigma รับความรูสึกเกี่ยวกับความเขมของแสง

Euglena มี ectoplasm ใส สวน endoplasm มี 1 nucleus อยูคอนไปทางทายเซลลChloroplast สังเคราะหแสง เปน autotrophic organism Paramylum เปนอาหารประเภทแปงที่ไดจากการสังเคราะหแสงแลกเปลี่ยนแกสโดยการแพรผานเยื่อหุมเซลลสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศโดยการแบงตัวตามยาว (longitudinal binary fission) ในธรรมชาติจะแบงตัวใน cyst เมื่อแบงตัวเสร็จแลวจึงออกจาก cyst

Euglena

Euglena

Phacus

โครงสรางคลาย Euglena แต Phacus แบนบางและแผกวางคลายใบไม

Phacus

Volvox

ดํารงชีวิตแบบ colony เซลลใน colony แบงหนาที่กันทํางานคือ somatic cell มีหนาที่ในการสังเคราะหอาหาร สวน reproductive cell มหีนาที่ในการสืบพันธุ โดยเซลลจะเรียงฝงตัวที่ผิวกอนวุน (gelatinous matrix) สืบพันธุแบบไมอาศัยเพศโดยการสราง daughter colony ใน colony เดมิ Daughter colony เกดิจากเซลลสืบพันธุแบงตัวเพิ่มจาํนวนแลวจมตัวลงในกอนวุน อาจมีไดหลาย colony

daughter colony

Volvox

การสืบพันธุแบบอาศัยเพศเกิดจาก reproductive cell เจริญเติบโตเปนไขหรืออสุจิ มีการปฏิสนธิขาม colony โดยตัวอสุจิจาก colony เดิมจะเขาปฏิสนธิกับไขใน colony อื่น การสืบพันธุแบบอาศัยเพศมักมีการสรางในชวงใกลแลงZygote มีเปลือกหุม ยอมสีจะติดสีเขมและมีขนาดเล็กกวา daughter colony และยังสามารถแบงตัวเพื่อเพิ่มจํานวนขึ้นกลายเปน daughter colony อยูใน colony เดิม อาศัยในแหลงน้ําที่สะอาด

Zygote

Volvox

Zygote

Volvox

Life cycle of Volvox

Source : Hickman et al (2001)

Peranema

ไมสังเคราะหแสง อาหารสวนใหญคือ Euglena ดานทายลําตัวตัดทูๆ เวลาเคลื่อนที่ flagellum จะชี้ตรงไปขางหนา

Trypanosoma

Zooflagellate เปน parasite ในกระแสเลือด กอใหเกิดโรค sleeping sickness รูปรางคลายใบไม ยาวเรียว ดานหนาเรียวแหลม ดานทายปาน nucleus อยูกลางเซลลFlagellum มีจุดกําเนิดที่ทายเซลลยาวออกไปดานหนา มีเยื่อยึดติดกับเซลล (undulating membrane)

Trypanosoma

Superclass Sarcodina

Plasmalemma บางและกึ่งเหลว เคลื่อนที่ดวย pseudopodium รูปรางจึงไมคงที่เพราะเปลี่ยนแปลง ตามการเกิดเทาเทียม ตัวอยางเชน Amoeba, Arcella, Difflugia, Entamoeba

Amoeba

รูปรางเซลลไมคงที่เพราะเยื่อหุมเซลลเปน plasmalemma เซลลที่ยื่นปูดออกมาคือ pseudopodium ตัวเซลลไมมีสีและโปรงแสง มี contractile vacuole เปนชองใสอยูทายเซลลFood vacuole มีสีตามอาหารที่กินเขาไปEctoplasm ติดกับ plasmalemma ลักษณะใสและบาง สวน

endoplasm จะทึบและมี organelles

Amoeba

Amoeba

Amoeba

Arcella

มีเปลือกหุมเซลลคลายฝาครอบหลอดไฟแบบครึ่งวงกลม มีชองเปดให pseudopodium ยื่นออกมา เปลือกมีสีน้ําตาล อยูตามตะกอนพื้นทองน้ําหรือเกาะตามซากเนาเปอยของพืชบริเวณน้ํานิ่ง

Arcella

Difflugia

มีเปลือกหุมเซลลรูปไข มักมีเม็ดทรายหรือสารตางๆเกาะติดเปลือก ดานลางเปลือกมีชองเปดให pseudopodium ยื่นออกมาได อยูตามพื้นทองน้ําที่มีสารอินทรียหรือวัตถุเนาเปอย

Entamoeba histolytica

เปนอะมีบาที่กอใหเกิดโรคบิด เซลลคลาย Amoeba proteus แตมี pseudopodium นอยกวา เซลลปกติจะอยูในระยะ trophozoite อาศัยอยูที่ผนังลําไส และทําลายเนื้อเยื่อของผนังทําใหเลือดออก เวลาอุจจาระจึงมีมูกเลือดปะปนออกมากับอุจจาระดวย

cyst

2. Subphylum Ciliophora

Ciliate Protozoa มี nucleus 2 ชนิด คือ macronucleus และ micronucleus ตัวอยางเชน Paramecium, Stylonychia, Stentor, Coleps,Epistylis, Euplotes, Vorticella

Paramecium

เยื่อหุมเซลลแบบ pellicle ดานหนามน ทายเรียว ดานขางเวาเปนแองรองปาก (oral groove) ซึ่งมี cilia ยาวกวา cilia ที่ตัวเซลล ถัดจาก oral groove คือ buccal cavity ซึ่งมี cilia 4 แถบ ตอนทาย buccal cavity มีชอง cytostome เปดเขา cytopharynx ซึ่งตอนปลายโปงออกเปน food vacuole ซึ่งจะหลุดออกและไหลวนไปขางหนาแลววนกลับลงมา กากอาหารขับออกทาง cytoproct ซึ่งต่ําลงมาจาก cytopharynx

ectoplasm มี trichocyst ภายในมีสารพิษ ถาถูกกระตุนจะพุง trichocyst ออกมาmacronucleus คลายเมล็ดถั่วอยูกลางเซลล ควบคุมการทํางานของเซลล สามารถสืบพันธุแบบ amitosis micronucleus มีหนาที่เกี่ยวกับการสืบพันธุ รูปรางทรงกลมและมักอยูในสวนเวาของ macronucleus contractile vacuole มี 2 ถุงที่ดานหนาและดานทายของเซลล เปรียบเสมือนไตสัตวชั้นสูง แลกเปลี่ยนแกสโดยการแพรผาน pellicle สืบพันธุแบบไมอาศัยเพศโดยการแบงเซลลตามขวาง (transverse binary fission) สืบพันธุแบบอาศัยเพศโดย conjugation

Paramecium

trichocyst

Transverse binary fission

Conjugation

Coleps

เซลลคลายถังเหลาโบราณ (barrel-shaped) เยื่อหุมเซลลแข็ง เปนแผนเรียงตัวเปนแถวตามยาวและขวาง พบในน้ําจืด โดยเฉพาะน้ําที่กําลังเริ่มเนาเสีย

Coleps

Stentor

เซลลยาวคลายปากแตร มี cilia หนาแนนที่ขอบปากแตรและกระจายทั่วไปของตัวเซลล ปลายเซลลดานที่เล็กเรียวใชเปนที่ยึดเกาะmacronucleus เปนแถบยาวเรียงตัวตอกันคลายลูกปด

(bead-shape) กิน blue-green algae เปนอาหาร

Stentor

Stentor

Vorticella

เซลลคลายกระดิ่งหงาย มี cilia อยูที่ขอบเซลลดานบน เซลลด านลางมีกานยาวใชยึดเกาะ มี myoneme ทําใหสามารถยืดหดไดmacronucleus เปนแถบยาวโคงขนาดใหญ ชอบอยูบริเวณเดียวกันเปนกลุมๆ พบไดในน้ําจืดที่มีซากเนาเปอย ตามรากจอกแหน เปนตน

Vorticella

Vorticella

Vorticella

Epistylis

โครงสรางเซลลคลาย Vorticella แตมีการแตกแขนงของกานแบบคู (dichotomous branching) โดยไมไดขาดจากกัน ทําใหเกิดเปน colony ในก านไมมี myoneme ดั ง นั้นก านจึงหดไม ได หดไดเฉพาะตัวเซลลเทานั้น

Epistylis

Stylonychia

เซลลรูปไข ยาวเรียวตอนทาย มีการรวมตัวของ cilia เปนแทงขนแข็งที่เรียกวา cirri อยูทางดานทองของเซลล ดานขางลําตัวตามขอบเซลลมี cirri เรียงอยูและมี cirri ดานทายลําตัว 3 แทง

conjugation

Stylonychiacerri

Euplotes

เซลลรูปไข แตไมมี cirri ตามขอบเซลล ตอนทายเซลลมี cirri ยาวพนตัวเซลลและมี 4 แทง (Stylonychia มี 3 แทง)

Euplotes

งานที่ตองทําวันนี้

1. ดูสไลดถาวรของ Protozoa ชนดิตางๆ

2. ศึกษา Protozoa จากแหลงน้ําตางๆ

- Paramecium

- Vorticella

- Euglena

- Phacus

การวาดภาพจากกลองจุลทรรศน การเขียนชื่อวิทยาศาสตร

top related