การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (ต่อ)...

Post on 08-Sep-2019

6 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (ต่อ)

วงจรการพัฒนาระบบ (SYSTEM DEVELOPMENT LIFE CYCLE)

โดย อ.สมวรร ธนศรีพนิชชัย

1

ระบบสารสนเทศ (INTRODUCTION TO INFORMATION SYSTEM)

ระบบสารสนเทศจะมีอิทธิพลมากต่อวิธีจัดองค์การและกระบวนการ

ด าเนินการในหน้าท่ีต่างๆ ทางธุรกิจ

องค์การต่างๆ ได้พบว่าสามารถใช้ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เพื่อ

ความได้เปรียบในเชิงแข่งขัน

องค์การต่างๆ สามารถใช้ระบบสารสนเทศในการจัดการเพื่อเพิ่มผลผลิต

ผู้บริหารองค์การได้ตระหนักถึงความส าคัญเชิงกลยุทธ์ของการบูรณาการ

ฐานข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และท าการเผยแพร่สารสนเทศขององค์การมาก

ขึ้น

2

ความแตกต่างระหว่างข้อมูลกับสารสนเทศ

ข้อมูล (Data) คือ เหตุการณ์จริงที่เกิดขึ้นประจ าวันในการ

ด าเนินธุรกิจขององค์กร

สารสนเทศ (Information) คือ ข้อมูลที่ผ่านกระบวนการเก็บรวบรวมและเรียบเรียง เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ

ผู้ใช้

3

ชนิดของระบบสารสนเทศ

ระบบการประมวลผลข้อมูล (Transaction Processing Systems: TPS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information Systems:

MIS) ระบบช่วยการตัดสินใจ (DECISION SUPPORT SYSTEM : DSS) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (EXPERT SYSTEM)

4

นักวิเคราะห์ระบบพฒันาการระบบสารสนเทศอยา่งไร

วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)

5

วงจรการพัฒนาระบบ (SYSTEM DEVELOPMENT LIFE CYCLE)

กระบวนการทางความคิด (Logical Process) ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ

เพื่อแก้ปัญหาทางธุรกิจและตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้

ระบบที่จะพัฒนา อาจเริ่มด้วยการพัฒนาระบบใหม่เลยหรือน าระบบเดิมที่มีอยู่

แล้วมาปรับเปลี่ยนให้ดียิ่งขึ้น

ขั้นตอนในวงจรการพัฒนาระบบ ช่วยนักวิเคราะห์ระบบ

สามารถด าเนินการได้อย่างมีแนวทางและเป็นขั้นตอน

สามารถควบคุมระยะเวลาและงบประมาณในการปฏิบัติงานของ

โครงการพัฒนาระบบได้ 6

ระยะของ SDLC

ภายในวงจรนี้จะเป็นขั้นตอนท่ีเป็นล าดับตั้งแต่ต้นจนเสรจ็เรยีบร้อย

แบ่งกระบวนการพัฒนาออกเป็นระยะ (Phase) ได้แก่

p - ระยะการวางแผน (Planning Phase)

- ระยะการวิเคราะห ์(Analysis Phase)

- ระยะการออกแบบ (Design Phase)

- ระยะการสร้างและพัฒนา (Implementation Phase) 7

ขั้นตอนการพัฒนาระบบมีอยู่ด้วยกัน 7 ขั้นตอน

1. ค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection)

2. เริ่มต้นและวางแผนโครงการ (Project Initiating and Planning) 3. วิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 4. ออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) 5. ออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) 6. พัฒนาและติดตั้งระบบ (System Implementation) 7. ซ่อมบ ารุงระบบ (System Maintenance)

8

ภาพแสดงชั้นตอนการพัฒนาระบบสารสนเทศ

9

Project

Identification and Selection

Project

Initiating and Planning

Analysis

Logical Design

Physical Design

Implementation

Maintenance

1. ค้นหาและเลือกสรรโครงการ (PROJECT IDENTIFICATION AND SELECTION)

องค์กรอาจต้องการพัฒนาระบบภายในองค์กรขึ้นมาหลากหลายโครงการ

การมีข้อจ ากัดเรื่องของต้นทุนท่ีใช้ในการพัฒนา

พิจารณาเลือกโครงการที่จะท าให้องค์กรได้รับผลตอบแทนมากที่สุด

10

การพิจารณาเลือกโครงการที่จะท าให้องค์กร

แต่งตั้งกลุ่มบุคคลเพื่อค้นหาโครงการที่เห็นสมควรว่าควรได้รับการ

พัฒนา

ท าการจ าแนกกลุ่มของโครงการให้เป็นหมวดหมู่อย่างมีหลักเกณฑ์

จะท าการเลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด และตรงกับวัตถุประสงค์

(Objective) ขององค์กรในสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด

11

12

ตารางเมตริกซ์ (Matrix Table) 1. ค้นหาโครงการพัฒนาระบบที่เห็นสมควรได้รับการพัฒนา

2. จ าแนกและจัดล าดับโครงการ 3. เลือกโครงการที่เหมาะสมที่สุด

ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและ เทคนิคทีใ่ช้

กิจกรรม

ค้นหาและเลือกสรรโครงการ

2. เริ่มต้นและวางแผนโครงการ (PROJECT INITIATING AND PLANNING)

รวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อเริ่มต้นจัดท าโครงการที่ได้รับอนุมัติ

จัดตั้งทีมงานเพื่อเตรียมการด าเนินงาน

ทีมงานร่วมกันค้นหา สร้างแนวทาง และเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดในการน า

ระบบใหม่มาใช้งาน

วางแผนด าเนินงานโครงการ โดยศึกษาความเป็นไปได้ ก าหนดระยะเวลา

ด าเนินงานแต่ละขั้นตอนและกิจกรรม เพื่อน าเสนอต่อผู้บริหารพิจารณาอนุมัติ

ให้ด าเนินการในขั้นตอนต่อไป

13

14

o เทคนิคการรวบรวมสารสนเทศและข้อเท็จจริง (Fact-Finding and Information Gathering) o เทคนิคการวิเคราะห์ต้นทุนและผลก าไร (Cost-benefit Analysis) o PERT Chart o Gantt Chart

1. เริ่มต้นโครงการ 2. เสนอแนวทางเลือกในการน าระบบใหม่มาใช้งาน

3. วางแผนโครงการ

ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ กิจกรรม

เริ่มต้นและวางแผนโครงการ

3. วิเคราะห์ระบบ (SYSTEM ANALYSIS)

1. ศึกษาขั้นตอนการท างานของระบบเดิม

2. ก าหนดความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ

3. จ าลองแบบขั้นตอนการท างาน

4. อธิบายขั้นตอนการท างานของระบบ

5. จ าลองแบบข้อมูล

15

16

o เทคนิคการรวบรวมสารสนเทศและข้อเท็จจริง (Fact-finding and Information Gathering)

o แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) o แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Diagram)

o พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) o ตัวต้นแบบ (Prototyping) o ผังงานระบบ (System Flowchart) o เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (CASE Tools)

1. ศึกษาขั้นตอนการท างานของระบบเดิม

2. ก าหนดความต้องการในระบบใหม่จากผู้ใช้ระบบ

3. จ าลองแบบขั้นตอนการท างาน 4. อธิบายขั้นตอนการท างานของระบบ

ตัวอย่างแผนภาพ เครื่องมือและเทคนิคที่ใช ้กิจกรรม วิเคราะห์ระบบ

4. ออกแบบเชิงตรรกะ (LOGICAL DESIGN)

ออกแบบลักษณะการท างานของระบบโดยระบุถึงคุณลักษณะของ

อุปกรณ์ที่จะน ามาใช้ ก าหนดลักษณะของรูปแบบรายงานที่เกิดจาก

การท างานของระบบลักษณะของการน าข้อมูลเข้าสู่ระบบและผลลัพธ์ที่

ได้จากระบบ

ขั้นตอนการออกแบบเชิงตรรกะจะสัมพันธ์และเชื่อมโยงกับขั้นตอนการ

วิเคราะห์ระบบเป็นอย่างมาก เนื่องจากอาจจะมีการน าแผนภาพท่ีแสดง

ถึงความต้องการของผู้ใช้ระบบที่ได้จากขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบมาท า

การแปลง เพื่อให้ได้ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบ (System Design Specification) 17

18

o แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) o แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Diagram)

o พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) o ตัวต้นแบบ (Prototyping) o เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (CASE Tools)

1. ออกแบบแบบฟอร์มข้อมูลและรายงาน (Form/Report)

2. ออกแบบ User Interface 3. ออกแบบฐานข้อมูลในระดับตรรกะ

ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ กิจกรรม

ออกแบบเชิงตรรกะ

5. ออกแบบเชิงกายภาพ (PHYSICAL DESIGN)

ระบุถึงลักษณะการท างานของระบบทางภายภาพหรือทางเทคนิค โดย

ระบุถึงคุณลักษณะของอุปกรณ์ที่จะน ามาใช้ เทคโนโลยี โปรแกรม

ภาษาที่จะน ามาเขียนโปรแกรม ฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการ และระบบ

เครือข่ายที่เหมาะสมกับระบบ

สิ่งที่ได้จากขั้นตอนการออกแบบทางกายภาพภาพจะเป็นข้อมูลเฉพาะ

ของการออกแบบ (System Design Specification) เพื่อส่งมอบให้กับโปรแกรมเมอร์

19

20

o แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram) o แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Diagram)

o พจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) o ตัวต้นแบบ (Prototyping) o เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ (CASE Tools)

1. ออกแบบฐานข้อมูลในระดับกายภาพ

2. ออกแบบ Application

ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ กิจกรรม

ออกแบบเชิงกายภาพ

6. พัฒนาและติดตั้งระบบ (SYSTEM IMPLEMENTATION)

1. เขียนโปรแกรม (Coding) 2. ทดสอบโปรแกรม (Testing) 3. ติดตั้งระบบ (Installation) 4. จัดท าเอกสาร (Documentation) 5. ฝึกอบรม (Training) 6. บริการให้ความช่วยเหลือหลังการติดตั้ง (Support)

21

22

o โปรแกรมช่วยสอน (Computer Aid Instruction: CAI)

o ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อการฝึกอบรม (Computer-based Training: CBT)

o ระบบการฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-based Training: WBT)

o โปรแกรมแก้ไขข้อผิดพลาด (Debugging Program)

1. เขียนโปรแกรม (Coding) 2. ทดสอบโปรแกรม (Testing) 3. ติดต้ังระบบ (Installation) 4. จัดท าเอกสาร (Documentation) 5. ฝึกอบรม (Training) 6. บริการให้ความช่วยเหลือหลังการติดตั้ง

(Support)

ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคที่ใช ้กิจกรรม

พัฒนาและติดตั้งระบบ

7. ซ่อมบ ารุงระบบ (SYSTEM MAINTENANCE)

ผู้ใช้ระบบอาจจะพบกับปัญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากความไม่คุ้นเคยกับ

ระบบใหม่และค้นพบวิธีการแก้ไขปัญหานั้น

ปัญหาท่ีผู้ใช้ระบบค้นพบระหว่างการด าเนินงาน เป็นผลดีในการท าให้

ระบบใหม่มีประสิทธิภาพ

1. เก็บรวบรวมค าร้องขอให้ปรับปรุงระบบ

2. วิเคราะห์ข้อมูลค าร้องขอเพื่อการปรับปรุง

3. ออกแบบการท างานที่ต้องการปรับปรุง

4. ปรับปรุงระบบ 23

24

o แบบฟอร์มแจ้งข้อผิดพลาดของระบบ 1. เก็บรวบรวมค าร้องขอให้ปรับปรุงระบบ

2. วิเคราะห์ข้อมูลค าร้องขอเพื่อการปรับปรุง

3. ออกแบบการท างานที่ต้องการปรับปรุง

4. ปรับปรุงระบบ

ตัวอย่างแผนภาพเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ กิจกรรม

ซ่อมบ ารุงระบบ

25

ค าถาม

top related