การศึกษาในศตวรรษที่ 21...

Post on 01-Nov-2019

2 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

การศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับรูปแบบการเรียนการสอน STEM Education

โดย นางสาวบุษยมาศ แบ่งทิศ

ต าแหน่ง ศึกษานิเทศก์ สพป.แพร่ เขต 1

กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ภาพ กรอบแนวคดิเพือ่การเรยีนรู้ในศตวรรษที ่ 21 (21st Century Learning Framework) (http://www.qlf.or.th/)

3Rs คือ Reding อ่านออก (W) Ritting เขียนได ้ (A) Rithmetice คิดเลขเป็น

8Cs คือ ทักษะที่จ าเป็นในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 1) Critical Thinking 7 & Problem Solving คือ ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา 2) Creativity & Innovation คือทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3) Collaboration, Teamwork & Leadership คือทักษะด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และภาวะผู้น า 4) Cross-cultural Understanding คือ ทักษะด้านความร่วมมือ การท างานเป็นทีม และภาวะผู้น า

5) Communication, Information & Media Literacy คือทักษะทางด้านภาษา ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ 6) Computing & Media Literacy คือ ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ 7) Career & Learning self-reliance ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ 8) Change ทักษะการเปลี่ยนแปลง

2Ls คือ Learning Skills ทักษะการเรียนรู ้ Leadership ภาวะผู้น า

STEM Education

STEM Education เป็นการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการระหว่างวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยอาศัยเนื้อหาสาระความรู้วิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และใช้หลักการ ทางวิศวกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานและน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน

การจัดการเรียนรู้แบบ STEM Education จึงเป็น การเตรียมเยาวชนของชาติที่ไปสูอ่นาคตตามความต้องการ ของประประเทศ เพื่อสร้างบุคลากรของชาติให้มีคุณภาพ และลักษณะที่ก าหนด เช่น สามารถท างานเป็นแรงงานอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการเกษตร อุตสาหกรรมการผลิตเทคโนโลยี อุตสาหกรรมซอฟแวร์ (แอนเิมชั่น) ฯลฯ เป็นต้น

รูปแบบการเรียนการสอน STEM Education

1.) จัดการเรียนการสอน เป็นลักษณะ Project Based Learning เป็นโครงการหรือโครงงาน โดยก าหนดเป็นธีม (Theme) ที่ผ่านการออกแบบการเรียนการสอนให้สอดคล้องยึดกับตัวช้ีวัดของ เนื้อหาสาระในหลักสูตร 3 วิชา โดยโรงเรียนด าเนินการ ปรับตารางเรียน ให้ต่อเนื่อง มีเวลาท ากิจกรรมนอกห้องเรียน เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา และเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง เช่น โครงการ Inspiring science ของ สพฐ. โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของ สสวท.

2.) การจัดการเรียนการสอนเป็นวิชาแบบโปรเจกค์ P-seminar เป็นลักษณะโครงงานเล็ก ๆ ให้เด็กสร้างชิ้นงาน โดยบูรณาการความรู้จากหลายสาระ เป็นช้ินงานใหญ่ทั้งเทอม โดยมีชิ้นงานย่อยๆ ที่จะต้องประกอบกัน หรือเช่ือมโยงสัมพันธ์กันเป็นโครงงานใหญ่ ซึ่งเน้น การพัฒนาทักษะการสื่อสาร ทักษะชีวิต ทักษะการใช้เทคโนโลยีในการสร้างและน าเสนอผลงาน และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และการปลูกฝังจิตวิทยาศาสตร์ โดยให้ผู้เรียนจะต้องมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เช่ือมโยงกับชีวิตจริงที่หลากหลาย สร้างทักษะชีวิตใช้กระบวนการวิจัย และสร้างผลิตภัณฑ์ที่จ าหน่ายได้ เช่น โรงเรียนในประเทศเยอรมัน จัดเป็นวิชาเพิ่มเติม

3.)สร้างเป็นวิชาใหม่ มีตัวชี้วัด วิชา STEM (สสวท.ทดลองสร้างตัวชี้วัด STEM) เช่น โรงเรียน วมว. มี 6 โรงเรียนในประเทศ 4.)จัดท าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม เช่น ของเล่นเชิงวิทยาศาสตร์ (สสวท.) หุ่นยนต์ศึกษา โครงงานวิทยาศาสตร์

top related