มิติใหม ของการหักบัญชีเช็คด วยระบบ...

Post on 20-Mar-2020

4 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

วันทนา เฮงสกุลผูอํานวยการอาวุโส

ฝายการชําระเงินและตราสารหน้ีธนาคารแหงประเทศไทย

มิติใหมของการหักบัญชีเช็คดวยระบบ ICAS

1

1. บทบาทหนาที่ของ ธปท. ดานการชําระเงิน

3. ระบบ Imaged Cheque Clearing and Archive System (ICAS)• นโยบายการพัฒนาระบบ • ขั้นตอนการดําเนินงาน• มาตรฐานเช็คและมาตรฐานภาพเช็ค • การตรวจสอบคุณภาพ (IQA) และความปลอดภัย• แผนดําเนินการ

2

หัวขอการบรรยาย

2. ระบบการหักบัญชีในปจจุบัน (ECS : Electronic Cheque Clearing System)

• ขั้นตอนการดําเนินงาน

1. บทบาทหนาท่ีของ ธปท. ดานการชําระเงิน

3

มาตรา ๘๘ ให ธปท. มีอํานาจกระทํากิจการตาง ๆ เพื่อบรรลุซึ่งวัตถุประสงคตามมาตรา ๗ และอํานาจเชนวาน้ีใหรวมถึงการดําเนินการดังตอไปน้ีดวย

(๖) การจัดต้ังหรือสนับสนุนการจัดต้ังระบบการชําระเงิน

มาตรา ๔๔๗๓ ให ธปท. จัดต้ัง หรือสนับสนุนการจัดต้ังระบบการชําระเงิน ซึ่งรวมถึงระบบการหักบัญชีระหวางสถาบันการเงินและการบริหารจัดการระบบดังกลาว เพื่อใหระบบการชําระเงินเกิดความปลอดภัยตลอดจนดําเนินไปไดดวยดีอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งน้ี ตามหลักเกณฑและเง่ือนไขที่ ธปท. ประกาศกําหนด

2. ระบบการหักบัญชีเช็คระหวางธนาคารในปจจุบัน

4

ระบบการหักบัญชีเช็คในเขต กทม. และปริมณฑล

(Electronic Cheque Clearing System : ECS)(ทราบผลการเรียกเก็บ 1 วันทําการ)

ระบบการหักบัญชีเช็คภายในจังหวัด(ทราบผลการเรียกเก็บ 1 วันทําการ)

ระบบการหักบัญชีเช็คขามจังหวัด (ทราบผลการเรียกเก็บ 3 – 5 วันทําการ)

4

ขอมูลเช็คป 2554

ระบบ ปริมาณ มูลคา (พันลานบาท)

1. ระบบการหักบัญชีเช็คระหวางธนาคารในเขต กทม. และปริมณฑล (ECS)

52,116,130(71%)

31,862(89%)

2. ระบบการหักบัญชีเช็คภายในจังหวัด 14,775,025(20%)

3,508(10%)

3. ระบบการหักบัญชีเช็คขามจังหวัด 6,706,633(9%)

437(1%)

รวม 73,597,788 35,807

5

ลูกคาลูกคา ธนาคารผูสงเรียกเก็บธนาคารผูสงเรียกเก็บ ศูนยหักบัญชีฯศูนยหักบัญชีฯ ธนาคารผูจายธนาคารผูจาย

ขั้นตอนการดําเนินงาน

6

ECS

1

ECS Process

89

เช็คคืน +ใบคืนเช็ค(ลงลายมือช่ือ)

10

แจงผลเช็คคืน Online(Data)

7

สงเรียกเก็บ Online(Data)

2สงเรียกเก็บ Online

(Data)

3

แจงผลเช็คคืน Online(Data)

6

4 5

7

3. ระบบ Imaged Cheque Clearing and Archive System (ICAS)

เปาหมาย วัตถุประสงค

นโยบายการพัฒนาระบบ ICAS

นโยบายการพัฒนาระบบ ICAS

ลดระยะเวลาการเรียกเก็บเงินตามเช็ค

ขยายเวลาการรับฝากเช็คของลูกคา

ลดความเส่ียงในการขนสงตัวเช็ค

ลดตนทุนของระบบการหักบัญชีเช็ค

ประโยชนที่ลูกคาผูใชเช็คจะไดรับ

นโยบายการพัฒนาระบบ

One–day Clearing

One Cheque Clearing System

One Clearing House

One–day Clearing

One Cheque Clearing System

One Clearing House

1. ทราบผลการเรียกเก็บเงินตามเช็ค ท่ัวประเทศ ไดภายใน 1 วันทําการ

2. ขยายเวลาการรับฝากเช็คท่ีเคานเตอร

1. ทราบผลการเรียกเก็บเงินตามเช็ค ท่ัวประเทศ ไดภายใน 1 วันทําการ

2. ขยายเวลาการรับฝากเช็คท่ีเคานเตอร

8

ป 2544

• สหรัฐอเมริกา• สิงคโปร ฮองกง

• อินเดีย• มาเลเซีย

ป 2547

เยอรมัน

ป 2550 ป 2551

ภูฏาน

การใชระบบการหักบัญชีเช็คดวยภาพเช็คในตางประเทศ

9

ฮองกงฮองกง

ป 2551

ป 2546

Image Archive System(IAS)

ระบบการจัดเก็บภาพเช็ค

Imaged Cheque Clearing System(ICS)

ระบบการหักบัญชีเช็คดวยภาพเช็ค

องคประกอบของระบบ ICAS

Imaged Cheque Clearing and Archive System(ICAS)

ระบบการหักบัญชีเช็คดวยภาพเช็คและระบบการจัดเก็บภาพเช็ค

10

ลูกคาลูกคา ธนาคารผูสงเรียกเก็บธนาคารผูสงเรียกเก็บ ศูนยหักบัญชีฯศูนยหักบัญชีฯ ธนาคารผูจายธนาคารผูจาย

ขั้นตอนการดําเนินงาน

11

ICS

1

ICAS Process

เช็คคืน +ใบแจงผลเช็คคืน(ไมลงลายมือช่ือ)

+เอกสารแจงหักบัญชี (ลงลายมือช่ือ)

6

แจงผลเช็คคืน Online(Data+Imaged)

5

สงเรียกเก็บ Online(Data+Imaged)

2สงเรียกเก็บ Online(Data+Imaged)

3

แจงผลเช็คคืน Online(Data)

4

กราดภาพเช็ค +ตรวจสอบคุณภาพของภาพเช็ค

IAS

เก็บขอมูลและภาพเช็ค 10 ป

12

เปรียบเทียบเอกสารการคืนเช็คระบบ ECS และ ICASระบบ ECS ระบบ ICAS

1. เช็ค 1. เช็ค

2. ใบคืนเช็ค(ธนาคารผูจายเปนผูจัดทํา)

2. ใบแจงผลเช็คคืน(ธนาคารผูสงเรียกเก็บเปนผูจัดทํา ตามขอมูลที่ธนาคารผูจายสงมาให)

3. เอกสารแจงหักบัญชี(ธนาคารผูสงเรียกเก็บเปนผูจัดทํา)

เอกสารประกอบการคืนเช็ค ระบบ ICAS1. ใบแจงผลเช็คคืน (ไมลงลายมือชื่อ)

13

เอกสารประกอบการคืนเช็ค ระบบ ICAS2. เอกสารแจงหักบัญช ี(ลงลายมือชื่อ)

14

มาตรฐานกระดาษที่ใชพิมพเช็คปรับปรุงมาตรฐานกระดาษ ใชกระดาษ CBS1 (London Clearing Banks Paper Specification No. 1)

ประเภท Laser Grade ซึ่งหากมีการแกไขโดยใชนํ้ายาเคมี หรือการขูดขีด จะสามารถตรวจพบได

มาตรฐานเช็คใหมเพื่อรองรับระบบ ICAS

การรักษาความปลอดภัยของเช็คดวยลายนํ้ากลาง• กําหนดใหทุกธนาคารตองมีลายนํ้ากลาง (Common Watermark)

15

16

ตัวอยางเช็คมาตรฐานใหม

MICR Code Line

Black & White ใชสําหรับการตรวจสอบขอความที่เขียน

ดวยลายมือรวมถึงลายมือช่ือผูสั่งจาย

มาตรฐานภาพเช็ค (Imaged Cheque Specification)

Grayscaleใชตรวจสอบความเปล่ียนแปลงระดับสีของภาพเช็ค เชน รองรอยการแกไขขอความบนเช็ค

17

การตรวจสอบคุณภาพของภาพเช็ค (IQA)

Image Quality Assurance (IQA) ของระบบ ICAS ประกอบดวย 5 ลักษณะ ดังน้ี

1. Folded or Torn Document Corners (มุมขาด/ถูกพับ)

2. Folded or Torn Document Edges (ขอบขาด/ถูกพับ)

3. Image Too Dark (ภาพมืดเกินไป)

4. Image Too Light (ภาพสวางเกินไป)

5. Excessive Document Skew (ภาพเอียงเกินไป)

18

หมายเหตุ: การตรวจ IQA เปนเพียงการตรวจคุณลักษณะตางๆ ของภาพเช็ค โดยใชเทคโนโลยีเพ่ือชวยกรองในเบื้องตน หลังจากนั้น เจาหนาท่ีของธนาคารจะตรวจสอบความชัดเจนของภาพอีกครั้งหนึ่ง

19

การควบคุมและการรักษาความมั่นคงปลอดภัย1. Authorization มีการจัดการสิทธิ์ตามบทบาทหนาที่ของผูใชงาน (Role-based)

2. End-to-end Data Integrity Control and Non-repudiation

• ใช Hash หรือ Fingerprint ในการยืนยันความถูกตองสมบูรณและไมสามารถปลอมแปลงแกไขภาพเช็ค

• Digital Signature ใชยืนยันวาเอกสารนั้นถูกตอง และระบุตัวตนของผูสง/ผูรับ

3. Network Security เปนเครือขายปดระหวาง ธปท. และธนาคารสมาชิกเทานั้น โดยมีทั้งเครือขายหลักและเครือขายสํารอง และมีการเขารหัสขอมูลที่สงผานเครือขาย

4. มีการจัดเก็บ logs และ audit trail ตาม พรบ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550

• Hashing คือการนําขอมูลไปเขาสูตรคํานวณเพื่อใหไดคา Hash ในระบบ ICAS ผูสงจะสงคา Hashใหผูรับดวย หากผูรับทํา Hashing ภาพเช็คอีกครั้ง แลวไดคา Hash ตรงกับคา Hash ท่ีไดรับจากผูสง หมายความวาภาพเช็คท่ีไดรับไมไดถูกแกไข

• Digital Signature เปนการท่ีผูสงลงลายมือชื่อทางอิเล็กทรอนิกสเพื่อยืนยันความถูกตองของขอมูลท่ีสง ท้ังยังเปนการระบุตัวผูสงเพื่อไมใหปฏิเสธความรับผิดชอบ

Data + ImageData + Image

Control RecordControl Record

Data FileData File

Detail Record 1Detail Record 1Detail Record 2Detail Record 2Detail Record 3Detail Record 3Detail Record 4Detail Record 4Detail Record 5Detail Record 5

Hash 1Hash 1Hash 2Hash 2Hash 3Hash 3Hash 4Hash 4Hash 5Hash 5

Digital Signature Digital Signature Sending BankSending BankHash 1

Hashing(SHA-256)

การใช Hash และ Digital Signature

20

แผนดําเนินการ

ขยายผล ICASไปทั่วประเทศ

21

เร่ิมใชระบบ ICASในเขต

กทม.และปริมณฑล

ป 2555 ป 2555-56

เร่ิมใชระบบ ICAS ในเขตกรุงเทพและปริมณฑล: วันที่ 3 ก.พ. 2555

เร่ิมใชมาตรฐานเช็คใหม

ป 2552

ICAS Process

22

ขอบคุณคะฝายการชําระเงินและตราสารหน้ี

ธนาคารแหงประเทศไทย

E-mail address: ICS@bot.or.thWebsite: www.bot.or.thโทรสาร 0-2282-7718โทรศัพท 0-2283-5055, 0-2283-5034, 0-2283-5083

top related