คาร์ล ชมิทท์และฮานนา...

Post on 14-Mar-2020

1 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

คารล์ ชมทิท ์ และฮานนา อาเรนท ์ กบัแนวทางการ ศกึษาเชงิ

ประวตัศิาสตรท์างความคดิ: ปรชัญาการเมอืงกบัการวจิยัทางสงัคมศาสตร ์

Carl Schmitt’s and Hannah Arendt’s Intellectual History: Political Philosophy

and Social Research

ญาเรศ อคัรพฒันานุกลู

บรรยาย มหาวทิยาลยันเรศวร 10 มนีาคม 2558

Outline

การศกึษาเชงิปรชัญาการเมอืงเบือ้งตน้

แนวคดิพืน้ฐานของ Hannah Arendt และ CarlSchmitt

ขอ้เสนอในการศกึษา Hannah Arendt และ Carl Schmitt ตามแนวทาง Intellectual History

วธิกีารศกึษาเชงิปรชัญาเมอืง

การแปลความ (Interpretivism)

interpretative approaches hermeneutic approaches

ศ.19 – 20 เพือ่ตอบโตก้ารครอบง าของ positivism และ the positivist conception of scientific explanation

Positivism

ปฏฐิานนิยมในวทิยาศาสตรธ์รรมชาต ิ(Positivism in the natural science)

- explanation

- วทิยาศาสตรเ์ป็นความจรงิ นอกเหนือไม่ใช่

- ตอ้งพสิจูนไ์ด ้ตรวจสอบได ้(observable, verifiable) (ไม่เชน่น้ันจะกลายเป็น metaphysics)

- คน้หากฎธรรมชาต ิ(ดว้ยการสรา้งสมมตฐิานและตรวจสอบ) เพือ่อธบิายปรากฏการเฉพาะเร ือ่ง (เหต ุ ผล)

Positivism

ปฏฐิานนิยมในสงัคมศาสตร ์(Positivism in the social science)

- ถา้ model ของpositivism ใชไ้ดผ้ลกบัการอธบิายปรากฏการณธ์รรมชาต ิก็ตอ้งใชไ้ดผ้ลกบัการอธบิายปรากฏการณ์

ทางสงัคมดว้ยเชน่กนั

- แนวทางของวทิยาศาสตรธ์รรมชาต ิ‘the principle of naturalism’, ‘unity of the scientific method’

- การสรา้งกฎเพือ่ใชใ้นการอธบิายปรากฏการณเ์ชงิสงัคม ดว้ย

การสรา้งสมมตฐิานและทดสอบ

- ตวัอย่างเชน่ Emile Durkheim, J. B. Watson และB. F. Skinner, และ Charles Merriam

Positivism

พฤตกิรรมศาตรใ์นสงัคมศาสตร ์(Behaviourismor Behaviouralism in the social science)

- การทีน่กัปฏฐิานนิยมปฏเิสธ metaphysics หรอื

non-observation จงึเทา่กบัวจิารณแ์นวคดิ

‘psychologism’ (i.e. ‘human consciousness’ or ‘states of mind’) ดว้ย

- แทนทีด่ว้ยการศกึษาพฤตกิรรม (ภายนอก) ของมนุษย ์

Interpretivism

การท าความเขา้ใจ (understanding) ส าคญักวา่การอธบิาย (explanation)

พยายามคน้หาความหมายของสิง่ทีศ่กึษา

ทัง้นีเ้พราะ การกระท าทางการเมอืงเป็นสิง่ทีเ่ต็มไปดว้ย

ความหมาย (meaningful) เป็นการโตต้อบทีเ่ต็มไปดว้ยความหมายของผูก้ระท าการ ตอ่กจิกรรมตา่งๆ (ทางการเมอืง)ทีเ่ต็มไปดว้ยความหมาย

ใหค้วามส าคญักบัภาษา เพราะการใหค้วามหมายเป็น

องคป์ระกอบหน่ึงของภาษา (language)

###หนา้ทีข่องนักรฐัศาสตรค์อืการพยายามท าความเขา้ใจความหมายตา่งๆ ของการ

กระท าทางการเมอืง###

Interpretivism

ศ. 19 Classical Hermeneutics เชน่Dilthey and Weber

ศ. 20 Heidegger

Interpretivism

Understanding/Verstehen Action ก็คอื พฤตกิรรมทีเ่ต็มไปดว้ยความหมาย ‘meaningful

behaviour’

สตัวแ์ละสิง่ของแสดงพฤตกิรรม (behave) แตม่นุษยเ์ป็นผูก้ระท า(act) เพราะมนุษยม์ี consciousness, free well, language and morality, etc.

Action เป็นผลผลตขิอง conscious intentions/decisions ของบคุคลซึง่เป็นเจา้ของ intellect and will

เกีย่วขอ้งกบัตวัแสดงทีไ่ม่สามารถสงัเกตได ้ น่ันก็คอื ‘state of mind’

การจะรูไ้ดน้ั้น ไม่สามารถใชว้ธิกีารอธบิายพฤตกิรรมได ้แตต่อ้งใช ้

วธิกีารที ่Dilthey และ Weber เรยีก Verstehen หรอื

understanding

Interpretivism

20th Century Hermeneutics

Action ไม่ไดค้รอบครองความหมายเดยีว หรอืความหมายรวม แต่ขึน้อยู่กบัแตล่ะมุมมอง (a particular perspective) ไม่ให ้ความส าคญักบัการถกู/ผดิของการกระท า

ไม่มคีวามหมาย (meaning) ด ารงอยู่กอ่น, ความหมายไม่ไดถ้กูคน้พบ แตเ่ป็นสิง่ทีถ่กูสรา้งโดยผูต้คีวาม, Action โดยปกตแิลว้จงึไม่มคีวามหมาย จนกระทัง่ผูต้คีวามมาใสค่วามหมายให ้

ใหค้วามส าคญักบัภาษา (language) ในฐานะเคร ือ่งมอืในการสือ่สารความหมาย

ความหมาย Meaning ของ ศ. 19 และ 20

ศ. 19 ความหมายจะถกูคน้พบเมือ่เราเขา้ใจ

แรงผลกัดนัเชงิจติส านึก (conscious motives) และเจตนา (intentions) ของผูก้ระท า

ศ 20 ความหมายเป็นสมบตัขิองภาษา

(language) เราจงึตอ้งเขา้ใจบรบิทเชงิภาษาศาสตรใ์นขณะทีก่ารกระท าทางการเมอืงด ารง

อยู่

ความหมาย

Wittgenstein: the ‘meaning of a term is in its use’

เราทุกคนมรีปูแบบของชวีติเฉพาะแตล่ะคน

‘forms of life’, ภายใต ้ ‘language games’ เฉพาะบุคคล (specific regions of natural language each with their own grammar)

มนุษยแ์ตล่ะคนเลน่ language games ที่

แตกตา่งกนัไป the distinctive grammar of inner speech (tennis without ball)

‘Man is an animal suspended in webs of significance he himself has spun’ (Clifford Geertz)

ภาษา ภาษาเป็นเร ือ่งของสว่นรวม

ไม่ใชส่ว่นบคุคล; เป็นสิง่ที่

เรยีกวา่ ‘inter-subjective’

เป้าหมายของนักวชิาการคอืการ

ตคีวามความหมายระหวา่งบคุคล

น้ัน ‘inter-subjective’ เพือ่เขา้ใจวา่มนัถกู

reconstruct ถกูเนน้ย า้ ถกูดงึกลบัมาใชภ้ายใตก้ารกระท า

เฉพาะทางการเมอืง

(particular political action) อย่างไร

Interpretivism

20th Century Hermeneutics

มุมมองของสงัคมและการเมอืงภายใตแ้นวทางการตคีวามใน

ศตวรรษที ่20 มาจาก individual ไม่ใช ่society เหมอืนอดตี แตส่มัพนัธก์บักลุม่ทางสงัคมระหว่าง

individual และ society ในระดบัเบือ้งตน้ ที่ Kuhn เรยีกวา่ a ‘paradigm’, Althusser a ‘problematic’, Foucault a ‘discourse’, Marx and Marxists an ‘ideology’

แนวทางการศกึษาเชงิปรชัญาเมอืง

Interpretive Approach

Ideological or Conceptual Approach

Historical Approach

Interpretive Approach

Mark Bevir and R.A.W. Rhodes

Focusing on the meanings that shape actions and institutions.

People act on their believe and preference.

We cannot read off people’s beliefs and preferences from objective facts about them such as their social class, race, or institutional position.

Interpretive Approach

However, we can still explain social action by pointing to the conditional and volitional links between beliefs, desires, intentions and actions.

We account for actions, practices and institutions by telling a story about how they came to be as they are and perhaps also about how they are preserved.

Political studies thus rely on a narrative form of explaining which distinguishes from the strictly causal form.

Ideological Approach

Michael Freeden

ความเขา้ใจเกีย่วกบัแนวคดิ

(concept) จะเปลีย่นแปลงไปตามสถานการณท์ีแ่ตกตา่งกนั

อดุมการณต์า่งๆ (ideologies) ท าใหแ้นวคดิ (concept) ซึง่โดยเนือ้แท ้แลว้เป็นสิง่ทีแ่ขง่ขนักนัในสงัคม

กลายเป็นเร ือ่งทีไ่ม่สามารถแขง่ขนัได ้

เพือ่ใหแ้นวคดิรบัใชก้ารตดัสนิใจและการ

แสดงทางการเมอืงของอดุมการณ ์โดย

การจดัวาง concept ตามไวยกรณ์

(grammar) ของตวัเอง

Ideological Approach

Understanding ideologies as decontestingessentially contestable political concepts

เชน่ Liberalism ของ Mill: liberty, individualism, and progress

อดุมการณต์า่งๆ จงึเป็นกลุม่ของแนวคดิทีถ่กูจดักลุม่และเขา้ใจใน

ลกัษณะของการตคีวามใหแ้ตล่ะแนวคดิเกือ้หนุนแนวคดิอืน่ๆ

อดุมการณท์ีแ่ตกตา่งกนัน าไปสูจ่ดุเนน้ของแนวคดิทางการเมอืงที่

แตกตา่งกนั เชน่ liberalism – liberty, Socialism –community

เราจะไม่เขา้ใจอดุมการณ ์หากปราศจากการเขา้ใจแนวคดิทางการเมอืง

ในอดุมการณน้ั์น และปราศจากการเขา้ใจขอ้จ ากดัทีว่า่บางแนวคดิไดถ้กู

ท าใหห้ายไปทัง้จากการบงัคบัเชงิกายภาพและการบงัคบัผ่านความ

คดิเห็นทีห่นักแน่นของสงัคม

Ideological Approach

นักรฐัศาสตรต์อ้งตคีวามหมาย (decode) ของอดุมการณท์ีย่ดึถอืใน

สงัคมออกมาใหไ้ด ้ตอ้งเขา้ใจวา่ประชาชนยดึถอือดุมการณน้ั์นๆ ได ้

อย่างไร และตอ้งเขา้ใจผลทีเ่กดิขึน้ตามมา

Historical Approach

Intellectual History

‘Cambridge School’

‘Conceptual History’

‘Cambridge School’/History of political thought

นักปรชัญาคลาสสกิไม่ไดเ้พยีงแต่

ถกเถยีงประเด็นนามธรรม หรอื

ค าถามเหนือกาลเวลา แตย่งั

เกีย่วขอ้งกบัการเมอืงทีเ่ป็นจรงิอกี

ดว้ย

หนา้ทีข่องนักประวตัศิาสตรท์าง

ความคดิจงึตอ้งคน้หาวา่นักปรชัญา

เหลา่น้ันตัง้ใจทีจ่ะท าอะไรในงานของ

พวกเขา

เจตนาของผูเ้ขยีน (นักปรชัญา) จงึควรทีจ่ะถกูท าความเขา้ใจในแง่ของ

บรบิททีง่านเขยีนเหลา่น้ันสะทอ้น

ออกมา

‘Cambridge School’/History of political thought ศกึษางานเขยีนในบรบิทเชงิประวตัศิาสตรแ์ละอดุมการณ ์ศกึษาผ่าน

งานเขยีนทีถ่กูใชใ้นชว่งเวลาเดยีวกนั

ประเด็นทีเ่หมอืนหรอืคลา้ยกนั

สว่นหน่ึงของวฒันธรรมทางการเมอืงเดยีวกนั

The contextual inquiry of political language.

ท าความเขา้ใจความคดิของผูเ้ขยีนผ่านบรบิททางประวตัศิาสตรท์ีก่วา้ง

ขึน้ ผ่านประเด็นทีม่กีารถกเถยีงในขณะน้ัน

เพือ่แสดงใหเ้ห็นวา่ผูเ้ขยีนก าลงัท าอะไรผ่านงานเขยีนของเขา มกีาร

เลน่เกมสเ์ชงิภาษาผ่านการ reconstruct แนวคดิอย่างไร หรอืคน้หาเจตนาของผูเ้ขยีนโดยการดวูา่ผูเ้ขยีนน้ันไดจ้ดัการกบัอดุมการณ์

อย่างไร

อย่างไรก็ตาม การใหค้วามหมายขึน้อยู่กบัผูอ้า่น

‘Conceptual History’/History of political thought

ศกึษาโครงสรา้งทางภาษาศาสตร ์

และศพัทท์างการเมอืงและสงัคมใน

เชงิกวา้ง

ศกึษาความหมายทีห่ลากหลายของ

ศพัทเ์ฉพาะตา่งๆ เพือ่ขบัเคลือ่นพลงั

ของภาษาศาสตรใ์นประวตัศิาสตร ์

ไปสูก่ารสรา้งกรอบแนวคดิจาก

ประวตัศิาสตรนี์้

สนใจวา่ความหมายตา่งๆ ของ

ค าศพัทท์างการเมอืงเปิดเผยใหเ้ห็น

กรอบของความคดิเกีย่วกบัเวลา

อย่างไร

‘Conceptual History’/History of political thought

ใหค้วามสนใจวา่แนวคดิตา่งๆ มกีารเปลีย่นแปลงตลอด

ชว่งเวลาทีผ่่านมาอยา่งไร

พยายามทีจ่ะรวมสงัคมเขา้กบัประวตัศิาสตรท์างความคดิ

ดว้ยการสบืคน้การกอ่รปูทางสงัคม การสรา้งรปูแบบของ

รฐัธรรมนูญ และความสมัพนัธร์ะหวา่งกลุม่ และชนช ัน้

ตวัอยา่งเชน่ การเกดิขึน้ของการเมอืงแบบมวลชนในกลาง

ศตวรรษที ่18 ถงึ 19 น าไปสูก่ารสรา้งศพัทเ์กีย่วกบั

ประชาธปิไตยทีเ่ปลีย่นแนวคดิของสงัคมจาก a voluntary association to a universal

ท าไมตอ้ง Schmitt กบั Arendt

ความแตกตา่งในการเขา้ใจ

ความหมายของการเมอืง ซ ึง่

สมัพนัธก์บัความรนุแรง

ประวตัสิว่นตวั

นักปรชัญาเยอรมนั

นาซ ี/ ยวิ

อาเรนทส์ะทอ้นชมทิท ์

ทัง้คูอ่า้งถงึปรชัญากรกีและ

โรมนั

Hannah Arendt

14 ต.ค. 1906 ถงึ 4 ธ.ค. 1975

เกดิ Hanover เสยีชวีติ New York heart attack

1924 เขา้เรยีนที ่Marburg Universityกบั Martin Heidegger

1925 เขา้ฟังการบรรยายของ Edmund Husserl ที ่Freiburg University

1926 เขา้เรยีนที่ Heidelberg University กบัKarl Jaspers

1929 ส าเรจ็วทิยานิพนธป์รญิญาเอกเร ือ่ง Der Liebesbegriff beiAugustin ภายใตท้ีป่รกึษาคอื Jaspers

phenomenological method

Hannah Arendt

1929 แตง่งานกบั Gunther Stern (ญาต ิWalter Benjamin)

1933 ถกูจบัเน่ืองจากงานเขยีนวจิารณช์าตนิิยมและพรรคนาซ ี

หนีไปฝร ัง่เศส และเขา้รว่มท างานกบัองคก์รผูล้ีภ้ยัชาวยวิ จนถงึปี

1939

1936 หย่า และใชช้วีติรว่มกนั Heinrich Blücher (ตอ่มาแตง่งานกนัในปี 1940)

1941 ยา้ยแกมถกูบงัคบั ไปอยู่ New York กบัสามแีละแม่ ซ ึง่ตอ่มา Arendt ไดบ้รรยายอยู่หลายมหาวทิยาลยั เชน่ Princeton, Berkeley, Chicago, เป็น professor ที ่New School for Social Research จนเสยีชวีติในปี 1975

1951

1958

1975

Carl Schmitt

11 ก.ค. 1888 ถงึ 7 เม.ย. 1985

เกดิในครอบครวั Roman Catholic ทีม่เีช ือ้สายมาจากชาว German Eifel ผูซ้ ึง่มาตัง้รกรากอยู่ทีเ่มอืง Plettenberg, Westphalia

ไดร้บัการศกึษาขัน้พืน้ฐานจากโรงเรยีน

Catholic

ศกึษากฎหมายที ่Berlin, Munich,Strasbourg และจบการศกึษาปรญิญาเอกที ่Strasbourg ในปี1910

Carl Schmitt

1916 แตง่งานกบั Pavla Dorotić ในปี 1926 แตง่งานกบั Duška Todorović (มธีดิา 1 คน) ทัง้ 2 เป็นชาว Serbia

1933 เขา้รว่มกบัพรรคนาซี the ‘Crown Jurist’ of National Socialism

The defender of ‘Hitler's extra-judicial killings of political opponents’

1936 (ถกูไล)่ ออกจากการเป็นนักวชิาการดา้นกฎหมาย

หลงัสงครามโลกคร ัง้ที ่2 ถกูเขา้รบัการพจิารณาโทษที่

Nuremberg trial และถกูคมุขงัอยู่เป็นเวลา 8 เดอืน

1946 เดนิทางกลบัไปยงับา้นที ่Plettenberg และแยกตวัออกจาก

วงวชิาการ หนัไปทุ่มเทใหก้บัแนวคดิเกีย่วกบั International Law

1921

1922

1970

1923

1927

1940’s published in 1950’s

1962

Hannah Arendt

(1) Vita ActivaVita

(2) Contemplativa

Hannah Arendt: Vita Activa

Labour - private

Work - private

Action (Politics) -public

Hannah Arendt: Vita Activa

ประเดน็ แนวคดิในกรกี

โบราณ

มุมมองของอา

เรนท ์

ความเหมอืน

Labour ผูห้ญงิและทาสใน

ขอบเขตของครวัเรอืน

(the oikos)Biological life

-การใชก้ าลงัแรงงาน (ทีไ่ม่ใชพ่ลงัแรงงาน)

-Pre-politicalsphere-Necessity and usefulness for public sphereในฐานะเคร ือ่งมอืของ

กจิกรรมทางการเมอืง

แตไ่ม่เกีย่วขอ้งกบั

การเมอืง

-Violence-ไม่ม ีfreedom

Work เกีย่วขอ้งกบัชา่งฝีมอื

และเจา้นาย

craftsman and master

-การใชก้ าลงัแรงงานเพือ่ผลติอะไร

บางอย่าง

-การสรา้งกฎหมายเป็นหน่ึงในนี้

Hannah Arendt: Vita Activa

ประเดน็ แนวคดิในกรกี

โบราณ

มุมมองของอาเรนท ์ ความ

เหมอืน

Action (praxis)

-Greek Polis-พลเมอืงชาย-พืน้ทีข่องการพูดคยุและการใชภ้าษา

-สว่นหน่ึงของ bio-politikos-ผูแ้สดงคอื ‘doer of great deeds and a speaker of great words’

-เป็นเร ือ่งของพืน้ทีก่ารพูดคยุ ถกเถยีง

-Plurality, speak for humanity-ตอ้งแลกดว้ยความไม่แน่นอน พยากรณไ์ม่ได ้

เช ือ่ถอืไม่ได ้

-ทางแกค้อื promiseand forgiveness

-Politicalsphere-freedom

Hannah Arendt: Vita Contemplativa

Hannah Arendt: Vita Activa

Arendt’s critique of modernism

การเกดิขึน้ของ Social ประเด็นสว่นบุคคลรกุรานเขา้มาในพืน้ทีข่องการเมอืง

การเมอืงกลายเป็นเคร ือ่งมอืเพือ่ปกปักษร์กัษา

biological life

ฮอบส ์ – กลไกเพือ่ปกป้องความปลอดภยัใหก้บัสงัคม

การเมอืง

ลอ๊ก – การปกป้องชวีติ ทรพัยส์นิ เสรภีาพ

มารก์ซ ์ - การปลดปลอ่ยแรงงาน

Hannah Arendt: Vita Activa

Arendt’s critique of modernism

สงัคมกลายเป็นครอบครวัขนาดใหญ่ และการเมอืง

กลายเป็นเร ือ่งของแม่บา้นผูด้แูลครอบครวันี้

The ‘unnatural growth of the natural’

สงัคมสมยัใหม่ท าใหก้ารเมอืงขาดการพูดคยุ

(เปรยีบเทยีบกบั Habermas)

กลา่วตาม Pitkin สงัคมสมยัใหม่คอื ‘evil monster from outer space’ ทีท่ าลายความเป็นมนุษยด์ว้ยการลดทอนใหก้ลายเป็นเพยีงหุ่นยนตท์ีต่อบสนองเพยีง

ความตอ้งการสว่นตวั

Hannah Arendt: The Origins of Totalitarianism

Totalitarianism คอืตวัอย่าง

สดุโตง่ของแนวโนม้ในภาวะสงัคม

สมยัใหม่นี้

ในระบบเผด็จการอ านาจนิยม

เบ็ดเสรจ็ ทกุกจิกรรมและทุกปัจเจก

ถกูน าไปสูจ่ดุมุ่งหมายเดยีวกนั และ

กลายเป็นจดุจบ

ในแคมป์ ทกุคนถกูท าใหก้ลายเป็น

สตัว ์ ความสามารถตา่งๆ ในการ

กระท าทางการเมอืงถกูน าออกไป

ฮติเลอร ์ (right wing) และสตาลนิ (left wing) โดยเนือ้แทแ้ลว้ไม่ตา่งกนั

Hannah Arendt: Eichmann in Jerusalem

ในอดตี ระบบทรราชยไ์รซ้ ึง่กฎหมาย

แตร่ะบบเผด็จการอ านาจนิยมเบ็ดเสรจ็

เต็มไปดว้ยกฏหมาย

ใน Nuremberg trialEichmann อา้งวา่ตนเองท าตาม

กฎหมาย แคด่ าเนินการตามค าสัง่

อาเรนดเ์ห็นดว้ย แตศ่าลไม่เห็นดว้ย

สงัคมเผด็จการเบ็ดเสรจ็ ปัจเจกถกูท า

ใหก้ลายเป็นซีล่อ้ของเคร ือ่งจกัร

ด าเนินการตามกฎหมายเฉก

เชน่เดยีวกบัหุ่นยนต ์

Hannah Arendt: Eichmann in Jerusalem

The ‘banality of evil’

อาเรนดใ์หเ้หตผุลวา่ Eichmann ไม่ไดด้ าเนินการใน

ฐานะผูช้ าระลา้งยวิ (ไม่ไดซ้าดสิต)์ เขาแคด่ าเนินการตามทีห่วัหนา้บอก

นอกจากนี ้หากพพิากษาวา่ Eichmann มคีวามผดิ หวัหนา้ของกลุม่ยวิก็ไม่ตา่งจากผูฆ่้าลา้งเผ่าพนัธุ ์ซ ึง่แยกไม่

ออกระหวา่งหลกัการส าคญัของการเมอืงและความส าคญั

ของ action จากสงัคม

Natural Law Vs. Positive Law

Hannah Arendt: On Revolution

Revolution ในฐานะของแนวคดิ making ทีเ่ขา้มาอยู่ในพืน้ทีส่าธารณะ

constituent power in the context of the French Revolution

การสรา้งสิง่ใหม่

อาเรนดว์จิารณว์า่เป็นเพยีงการเปลีย่น

sovereign king ใหเ้ป็น sovereign nation / popular sovereignty

นอกจากนี ้ยงัไม่ท าตาม constitutional law ดว้ยการสรา้งกฎหมายใหม่ โดยอา้งว่า nation ก็คอื law ในตวัเอง

Hannah Arendt: On Revolution

ทา้ยทีส่ดุ constituent assemblies ไม่มอี านาจเพยีงพอในการการนัตอี านาจในการตรากฎหมาย

ทางแกค้อืกลบัไปหา natural law แตก็่ไม่การนัตอียูด่ ีเพราะเป็นเพยีงการแทนทีอ่ านาจดว้ยประชาธปิไตย ซึง่อาจ

เกดิเผด็จการเสยีงขา้งมาก natural law ไม่ไดเ้ป็นของชมุชนการเมอืง

ในขณะที ่American Revolution ไดอ้ านาจมาจากประชาชนทัง้หมด และโดยเนือ้แทแ้ลว้ไม่ใชส่ิง่ใหม่

Hannah Arendt: Civil Disobedience

แสดงใหเ้ห็น freedom ในสงัคมสมยัใหม่

Carl Schmitt: The Concept of the Political

“the concept of the state presupposes the concept of the political”

องคก์ารทางสงัคมทีแ่สดงออกซึง่การ

แบ่ง มติร และ ศตัรู

“a machine or an organism, a person or an institution, a society or a community, an enterprise or a beehive, or perhaps even a basic procedural order“.

Carl Schmitt: The Concept of the Political

รฐัแบบองคร์วม ในฐานะผูแ้บ่งแยกมติรและศตัรู

ตรงขา้มกบั liberalism

ตรงขา้มกบักจิกรรมของปัจเจกในพืน้ทีส่ว่นบคุคล (private sphere) เชน่เร ือ่งเศรษฐกจิ ศาสนา วฒันธรรม การศกึษา กฎหมาย

และวทิยาศาสตร ์

ไม่ใชเ่ร ือ่งของความด ีความช ัว่ ความสวย ความน่ารงัเกยีจ

วจิารณเ์สรนิียม ท าใหไ้ม่มมีติรและศตัร ูทกุอย่างกลายเป็นกลาง

วจิารณพ์หนิุยม (plurality) ท าใหก้ารสมาคมกลายเป็นมติรทัง้หมด ขาดการแบ่งแยกมติรและศตัรู

Hobbes’s Leviathan and two issues of legitimacy: protection and obedience

ความเป็นไปไดข้องความรนุแรงในความเป็นการเมอืง

Carl Schmitt: The Concept of the Political

Modernism แบบ Liberalism ท าให ้เสน้แบ่งระหวา่งรฐัและสงัคมหายไป

ในสงัคมเสรนิียม State ถกูลดทอนอ านาจกลายเป็นรองSociety (เปรยีบเทยีบกบัอาเรนด)์

กลายเป็น neutralisation และ depoliticalisation

The Age of Neutralizations and Depoliticizations (1929)

การเปลีย่นแปลงของเทวนิยมไปสูส่งัคมสมยัใหม่ ตัง้แต ่ศ.17: การยดึถอื metaphysics, แนวคดิแบบ deistic, การท าใหเ้ป็นเร ือ่งของทางโลก และการพฒันาเทคโนโลยี

สงัคมกลายเป็น ‘neutral domain’ สนัตสิขุ ขาดการแบ่งศตัร ูขาดการโตเ้ถยีง ขาดความเป็นการเมอืง

Carl Schmitt: Political Theology

Sovereign “is he who decides on the exception”

แนวคดิเร ือ่ง Sovereign โยงเขา้กบัแนวคดิเร ือ่งความเป็นการเมอืง –---รฐัซ ึง่เป็นผูแ้บ่งแยกมติรและศตัร ูเป็นผู ้

ตดัสนิสภาวการณท์ีถ่กูยกเวน้/ฉุกเฉิน

Decisionism

อ านาจในการตดัสนิใจอยู่เหนือกฎหมาย

ตอ้งเป็นอ านาจสงูสดุ ทีไ่ม่ถกูจ ากดัดว้ย

กฎ หรอืระเบยีบใดๆ

Carl Schmitt: Political Theology

เป็นอ านาจพเิศษอยู่เหนือกฎหมายทีด่ ารงอยู่ แตอ่ านาจพเิศษนี้

ยงัคงอยู่ในระบบกฎหมาย extralegal ไม่ใช ่illegal

ชมดิทย์กตวัอย่างมาตรา 48 ของ Weimar Constitution(1919) และมาตรา 14 ของ the French Charter (1815) ตวัอย่างแรก บญัญตัวิา่รฐัสภาสามารถควบคุมการใช ้อ านาจไม่จ ากดัในกรณีพเิศษไดจ้ากการประกาศของ

ประธานาธบิด ีตวัอย่างที ่2 กลา่วถงึ individual state ทีไ่ม่

สามารถประกาศสภาวการณพ์เิศษได ้ถอืวา่ไม่ไดค้มุอ านาจรฐั

น้ันอกีตอ่ไป

Carl Schmitt: Political Theology

“All significant concepts of the modern theory of the state are secularised theological concepts”

แนวคดิแบบ Theism และ Monotheism

Carl Schmitt: Roman Catholicism and Political Form

ความเป็นการเมอืงในองคก์ร

ศาสนา

Roman Catholicism ในฐานะ political actor

วจิารณก์ารสรา้งพนัธมติร

ของ Roman Catholicism กบั Industrial Capitalism (เศรษฐกจิในการเมอืง = liberalism)

Carl Schmitt: Theory of Partisan

Conventional Enmity

Real Enmity

Absolute Enmity

Carl Schmitt: Dictatorship

Commissarial Dictatorship: ‘the constituted power’

Sovereign Dictatorship: ‘the constituent power’ (people power)

Support state of exception and Idea of

Sovereignty? -Andreas Kalyvas

Carl Schmitt: The Nomos of the Earth

Appropriation, distribution/division and production

Land

Sea

Space/Air

Toward to Intellectual History

กรกี – idealism

Greek Polis

Political way of life

โรมนั – realism

Roman Dictatorship

Roman Empire

top related