ËÅÑ¡¡ÒáÊÔ¡ÃÃÁ (principle of crop...

Post on 05-Mar-2020

4 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

บทน ําวิชาหลักการกสิกรรม 1

ค ําอธิบายรายวิชาหลักการเพาะปลูกพืช ความสัมพันธระหวางพืชกับสภาพแวดลอมการปฏิบัติรักษา การอนุรักษพืชและปจจัยทางเศรษฐกิจสังคมที่เกี่ยวของ

Principle + Crop + Productionมีปจจัยหลายอยางมาเกี่ยวของ เศรษฐกิจ + สงัคม ทั้งภายในและภายนอกประเทศเขามาเกี่ยวของ + ผลกระทบจากวิธีการผลิต

“ นกัการผลิตตองรูรอบ ”

น.ส สุภาพร

หลักการกสิกรรม(Principles of Crop Production)

•เกี่ยวของกับอะไรบาง•เกี่ยวของกับใครบาง

•วิทยาการสาขาที่เกี่ยวของ•พัฒนาการ

คืออะไร ทองเพ็งคือใคร

AGRICULTURAL

DISCIPLINES AND

RELATED SCIENCES

สาขาวิชาดานเกษตรศาสตรและวิทยาศาสตรทีเ่กี่ยวของ

+ สาขาการจัดการศัตรูพืช+ สาขาปฐพีศาสตร+ สาขาพัฒนาการเกษตร+ สาขาพืชศาสตร+ สาขาสัตวศาสตร

วิชาการดานเกษตรศาสตรของ

คณะทรัพยากรธรรมชาติ

ตองมคีวามรูพื้นฐานทั่วไปดานวิทยาศาสตรสาขาตางๆ

- ประมง- ปาไม มก.

DEFINITION OF AREAS OFAGRICULTURAL DISCIPLINES

Agriculture- ('agri' L. = field, 'cultura' L.=cultivation)

- the science and technology of growing

and raising plants and animals.

Crop Production -

Crop Husbandry - (husband-man)

1) Forestry

AREAS OF AGRICULTURE

2) Agronomy

3) Horticulture

1) Forestry - วนศาสตร - ปาไม

- the science and technology of

culturing, utilizing and improving forest

trees and their products.

- ex. pulp, resins, oils, etc.

AREAS OFAGRICULTURE

AREAS OFAGRICULTURE

2) Agronomy - พืชไร

- the science and technology of

culturing, utilizing and improving field

crops.

- grain, fiber and forage crops

AREAS OF AGRICULTURE

3) Horticulture - พืชสวน

('hortus' L. = garden, 'cultura' L. =

cultivation)

- the science, technology and art of

culturing, utilizing and improving fruit,

vegetable, flowering and ornamental plants

AREAS OFHORTICULTURE

4) Turf - grasses for lawns, landscapes, sport facilities and

golf courses (in Agronomy in many Universities)

1) Olericulture - vegetable culture and production

2) Pomology - fruit and nut culture and production

3) Ornamental Horticulture - plants grownfor aesthetic uses, improvement of quality of life and ourenvironment, and functional uses (ex: energyconservation).

AREAS OF ORNAMENTALHORTICULTURE

1) Floriculture - flowering and foliage plant culture

and production

4) Landscape Horticulture - exterior and

interior design, construction and maintenance of landscapes

3) Nursery Production - tree, shrub and vine

culture and production

2) Floristry - floral design and retail floristry operation

หลักการ

Principle + Crop + Production

พชืปลูก

การผลิต

ความสํ าคัญและประโยชน1. ความสํ าคัญดานอาหารและเครื่องนุงหม2. ความสํ าคัญดานการเลี้ยงสัตว3. ความสํ าคัญดานเศรษฐกิจ4. ความสํ าคัญทางดานอุตสาหกรรม

Principle + Crop + Production

ทํ าไมตองเรียนวิชานี้?

พืชปลูก(Crop Plants)

ความหมายของคํ าวาพืชปลูกพืชปลูกมีอะไรบาง แหลงผลิตพืชปลูก

ระบบและวิธีการจํ าแนก

กาแฟขนมปง

CLASSICAL GUIDELINES FORPLACEMENT OF A CROP IN

HORTICULTURE, AGRONOMY ORFORESTRY

3) Tradition or Custom - example sweet vs.

field corn, or tobacco

1) Intensity of Production - example

strawberries vs.cotton

2) Purpose Crop is Grown - example oak

or pecan trees in forest vs. landscape

พืชไรกับพืชสวน(Field Crops VS Horticulture Crops)

วิธีปฏิบัติ : ความประณีต กับ ไมประณีต

ขนาดพื้นที่ : ขนาด เล็ก ใหญ

จุดประสงคของการปลูก : หากปลกูเปนอาหารหลัก

ส ําหรับสัตว-มนษุย จดัวาเปนพืชไร

สภาวะการผลิตอาหารของโลก

สภาวะการผลิตอาหารของโลก

• ทฤษฏีอาหารของ Malthus (MulthusthianTheory)–การเพิม่ของอาหารมีลักษณะการเพิ่มแบบอนุกรมเลขคณิต(Arithmetic Progression)

–การเพิม่ของประชากรมีลักษณะการเพิ่มแบบอนุกรมเรขาคณิต (Geometric Progression)

ลักษณะของการเตบิโตของประชากร

โลกในชวงหาศตวรรษ

ลักษณะของการเตบิโตของประชากร

โลกในชวงหาศตวรรษ

ลักษณะการปริโภคอาหารของประเทศตางๆ ใน

6 ประเทศ

Fruits,vegetables legumesand nutsCereal

Starch staples

Sugars and sweets

Meat,fish eggs and milk

Fats and oils

สหรัฐเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุน เปร ู กัวนา อนิเดีย

C

Su STFr

M

Fa

C

MFrSu

Fa

ST

แคลอรี

ประเทศเจริญ บริโภคเนื้อมากสวนประเทศยากจนบริโภค ธัญพืชเมาก

(สินคาแปรรูป กับ ไมแปรรูป

ทํ าไม?

อาหารแปงอื่นๆ

1. ตองผลิตอาหารใหไดมากขึ้นโดย– 1.1 เพิม่พื้นที่การปลูก– 1.2 การเพิ่มจํ านวนการปลกูพืชในพื้นที่เดียว(Multiple

Cropping)- Sequential Cropping - Intercropping- Relay cropping - Ratoon Cropping

– 1.3 ใชเทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

คนเพิ่มอาหารตองเพิ่ม-ทํ าอยางไร?

1.3 เทคโนโลยี่การผลิตพืช

การใหนํ้ า การใหปุย

การควบคุมโรคและแมลง

สารกํ าจัดวัชพืช

การเขตกรรม

ความหนาแนนในการปลูก

พันธุพืชใหม

การปลูกพืชหมุนเวียน

สารควบคุมการเจริญเติบโต

1.3 เทคโนโลยี่การผลิตพืชพนัธุพืชใหม New Varietyการเขตกรรม Cultural Practicesการปลูกพืชหมุนเวียน Crop rotationการใหนํ้ าพรอมปุย Fertigationความหนาแนนในการปลูก Plant densityสารควบคุมการเจริญเติบโต Plant Growth Regulatorsสารกํ าจัดวัชพืช Plant Herbicidesการควบคมุโรคและแมลง Pest and Disease Controls

ความสํ าคัญของนักวิชาการดานพืชศาสตร• ป พ.ศ. 2388 เกิดโรคที่เรียกวา “โรคไหมกอนเก็บเกี่ยว( Late blight)”

ของมันฝรั่ง ในประเทศไอแลนดทํ าใหประชากรประเทศนี้ เกิดอดอยากลมตายและยายถิ่นฐานนับลานคน– สาเหตุ เกิดจาก Phytophthora infestans

• โรคที่เกิดขึ้นกับขาวสาลีและธัญญพืชอื่นๆ มาตั้งแตโบราณ คือ โรคราสนิม(Stem rust)

• การคนพบ สารกํ าจัดวัชพืชตาง เชน 2,4-D และสารกํ าจัดวัชพืชอื่นๆ• การคนพบพันธุขาว ขาวโพด ขาวสาลี ฝาย และ อื่นๆ ในยุคตางๆ

2.การหาแหลงอาหารอื่นๆทดแทน

อาหารและยา -เชน หวับุก (คอนยัคขุ-ญี่ปุน) ใชบริโภคเปนอาหารมีเสนใยอาหารสูง ไมมีไขมัน แคลอรี่ตํ่ า “สารกลโูคแมนแนน” ในหวับุกสามารถดูดซับนํ้ าไดดี พองตัวเปนวุนไดถึง30-50 เทาชวยใหอุจจาระนิ่ม ถายคลอง

พัฒนาจากสวนเหลือใชของพืชปลูกมาปรับใชประโยชนเชนขี้เลื่อยไมยาง ฟางขาว กากทะลายปาลม ลํ าตนหมอน ใชเพาะเห็ดเปนตน

พัฒนาอาหารจากสาหรายหรือพืชชั้นตํ่ าอื่นเชนยีสต หรือการทํ าฟารมในทะเล - สาหราย สไปรูลินา

จุลินทรีย

Sun

ผูผลิต สตัวกินพืช

Herbivorous

สตัวกินสัตว 1

Carnivorous

สตัวกินสัตว2

SecondaryCarnivorousProducer

Light energyPhoto synthesis Respiration

หวงโซอาหาร(Food Chain)แรธาตุอาหาร

การถายทอดพลังงานในระบบนิเวศน

จุลินทรีย

Heat Energy

แรธาตุในดิน

มนษุย สิง่มชีวีิตตองกินอาหารเพื่ออยู

การ กสกิรรม กับ ระบบนิเวศน

ตัวอยางบาน(นิเวศน)ของกวางในภาพ

กิน

ถาย

เคลื่อนยาย

เปลี่ยนแปลง1

2

ระบบนิเวศน• นิเวศวิทยา(Ecology)

– Oikos = บาน หรือ ที่อยูอาศัย Ology = การศึกษา– หมายถึงการศึกษาถึงความสัมพันธของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอม

• ระบบนิเวศ(Ecosystem)– หมายถึงระบบที่มีความสัมพันธซึ่งกันและกันระหวางกลุมสิ่งมีชวีติดวยกัน และระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งที่ไมมีชีวิตในแหลงที่อยู ซึ่งทํ าใหเกิดการโยกยายถายเทสสารและพลังงานเปนวัฎจักรหรือเขียนไดวา

– ระบบนิเวศ = กลุมสิ่งมีชีวิต + แหลงที่อยู

ความหมายของคํ าบางคํ า เกษตรศาสตร (Agricultural Science) เกษตรกรรม (Agriculture) กสิกรรม (Crop Husbandry) วิชาพืชไร (Agronomy) วิชาพืชสวน (Horticulture) พืชกสิกรรม (Crop plants) พืชไร (Field Crops) พืชสวน (Horticulture Crops)

อาน: นคร ณ ลํ าปาง.2527.หลักการผลิตพืช. ภาควิพื ชไ ร ค ณ ะ เ ก ษ ต รมหาวิทยาลัยเชียงใหม.

เปนงานที่เกี่ยวของกับ พืชกลุมตางๆ คือพืชสวน พืชไร ปาไม เราเรียน ศกึษา เพราะมีความสํ าคัญตอปจจัยสี่ เปนงานที่สงผลตอ เศรษฐกิจ สังคม อุตสาหกรรม ความเปนอยู(ระบบนิเวศน)ของมนุษย และสิ่งแวดลอม ความรูทางพืชศาสตรชวยใหมนุษยสามารถแกไขปญหาตางๆ ท ําใหโลกมีความมั่นคงทางดานอาหาร ยารกัษาโรค พลังงาน ตลอดทั้งความเปนอยูดานตางๆทํ าใหคุณภาพชีวิตดีขึ้น(

สรุป การกสิกรรม

top related