ข้อสอบo-net วิชาดนตรี

Post on 29-May-2015

25.911 Views

Category:

Education

2 Downloads

Preview:

Click to see full reader

DESCRIPTION

รวมข้อสอบO-netรายวิชาดนตรี ตั้งแต่ปรการศึกษา2550-2553 พร้อมเฉลยละเอียด

TRANSCRIPT

นางพรนภัส พันธ์เกียรติ ครู วิทยาฐานะ ช านาญการ โรงเรียนบัวเชดวิทยา อ าเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 33

โรงเรียนบัวเชดวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33

อ าเภอบัวเชด จังหวัดสุรินทร์

68. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน 1. Clarinet , Tuba , French Horn 2. Piccolo , Trombone , Trumpet 3. Oboe , Flute , Saxophone 4. Violin , Cello , Bassoon

69. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าว เป็นวงมโหร ี 1. จะเข ้ 2. ซอสามสาย 3. กระจับป่ี 4. ขลุ่ยเพียงออ

73. เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด 1. กรับพวง และ Timpani 2. ปี่ใน และ Flute 3. จะเข้ และ Guitar 4. ซอสามสาย และ Harp

75. เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด 1. ปี่ พิณ โปงลาง แคน และโหวด 2. พิณ สะล้อ โหวด โปงลาง และซึง 3. ร ามะนา ฆ้องคู่ กลองโนรา และพิณ 4. โทนชาตรี ปี่ ตะโพน และฆ้องวง

77. เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านรอ้งเล่นกัน โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า “เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ” 1. เพลงโคราช 2. เพลงซอ 3. เพลงเรือ 4. เพลงอีแซว

55. การผสมวงดนตรีในข้อใดที่เกิดก่อนและหลัง เรียงล าดับตามยุคสมัยประวัติศาสตร์ไทย 1. วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงเครื่องสาย 2. วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงเครื่องสายผสมขิม วงมโหรี 3. วงขับไม้ วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงปี่พาทย์เครื่องห้า 4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน

56. ถ้านักเรียนต้องการประพันธ์เพลงโดยการผสมวงมาตรฐานที่ใช้กันมานาน ควรเป็นวงในข้อใด 1. Violin , violin , viola , cello 2. Violin , trumpet , clarinet , horn 3. Violin , viola , cello , bassoon 4. Violin , violin , oboe , cello

57. บทเพลงในข้อใดที่มีวัตถุประสงค์ในการประพันธ์ เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมในสังคม มิใช่การฟังเพื่อความไพเราะ 1. เพลงพราหมณ์ดีดน้ าเต้า 2. เพลงเดี่ยวพญาโศก 3. เพลงงามแสงเดือน 4. เพลงบุหลันลอยเลื่อน

58. ข้อใดไม่ได้เป็นความแตกต่างของการขับร้องเพลงไทยและเพลงสากล 1. การออกเสียงให้ตรงตามเสียงวรรณยุกต์ 2. การเอื้อนและการหายใจ 3. การร้องคู่เสียงหรือประสานเสียง 4. การสร้างอารมณ์เพลงจากถ้อยค า

59. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการขับร้องเพลงไทย 1. การกระทบเสียง 2. การโหนเสียง 3. การครั่น 4. การควง

29. มารยาทในการชมการแสดงท่ีดีคือขอ้ใด 1. พูดคุยถึงการแสดงฉากต่างๆ เรื่องราวของการแสดงนั้นๆให้กับเพื่อนที่ชมด้วยกันฟังตลอดเวลา 2. พยายามอ่านสูจิบัตรการแสดงในเวลาชมการแสดงเพือ่ให้เข้าใจเรื่องราว 3. ปิดเสียงโทรศัพทแ์ละเครือ่งมือสื่อสารต่าง ๆ และไม่รับโทรศัพท์เด็ดขาดระหว่างชมการแสดง 4. ลุกไปเข้าห้องน้ าระหว่างทีก่ารแสดงอยู่ในช่วงที่ไม่ส าคัญ

30. ในการแสดงงิ้ว สีของเครื่องแต่งกายที่ตัวละครสวมใส่ สามารถบ่งบอกลักษณะนิสัยได้ ดังเช่น ขุนนางที่มีคุณธรรมจะสวมชุดสีแดงหรือสีฟ้า แต่ถ้าเป็นขุนนางที่คดโกง จะสวมชุดสีอะไร 1. สีเขียวเข้ม 2. สีม่วง 3. สีน้ าเงิน 4. สีด า

31. ข้อใดที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงศิลปะการแสดง 1. The Tgar and Carpenter - จันทกินรี 2. The Nut Cracker - รามายณะ (อินโดนีเซีย) 3. คาบกูิ - กถักกฬ ิ4. วายังวอง – มณีปุรี

32. สมัยราชวงศ์ใดของจีนที่ละครหุน่มีความหลากหลายและโดดเด่นเป็นอย่างมาก 1. ราชวงศ์ฮั่น 2. ราชวงศส์ุย 3. ราชวงศ์ถัง 4. ราชวงศซ์่ง

33. นาฏศิลป์อินโดนีเซียแบบใดที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา 1. แบบสุราการต์า 2. แบบซุนดา 3. แบบบาหล ี 4. แบบสุมาตรา

12. การผสมวงดนตรีในข้อใด เรียงล าดับตามยุคสมัยประวัติศาสตร์ไทยถูกต้อง 1. วงดนตรีปี่พาทย์เครื่องห้า วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ ์วงเครื่องสาย 2. วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ ์ วงเครื่องสายผสมขิม วงมโหรี 3. วงบัวลอย วงปี่พาทย์ดึกด าบรรพ์ วงปี่พาทย์เครื่องห้า 4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน

13. บทเพลงใด ประพันธ์เพื่อใช้ประกอบกิจกรรมในสังคม มิใช่การฟังเพื่อความไพเราะ 1. เพลงโหมโรงจอมสุรางค์ 2. เพลงสุดสงวน เถา 3. เพลงขวัญใจดอกไม้ของชาติ 4. เพลงลาวดวงเดือน

14. ในการแสดงเพื่อส่ือถึงบรรยากาศที่สดชื่นรื่นรมย์ ควรใช้เพลงใด 1. เพลงสร้อยสนตัด 2. เพลงมหาฤกษ ์ 3. เพลงสีนวล 4. เพลงนางนาค

15. เอกลักษณ์ส าคัญของการขับร้องเพลงไทยเดิมคืออะไร 1. การใช้ปากและการหายใจ 2. การเอื้อน 3. การตัดเสียงให้กลมกล่อม 4. การผ่อนและการถอนลมหายใจ

16. การใช้เพลงประกอบการแสดงท าให้เกิดอรรถรสด้านใดมากที่สุด 1. อารมณ์สะเทือนใจ 2. ความงดงามตระการตา 3. แสงและสีที่สร้างบรรยากาศ 4. แนวคิดในการสื่อความหมาย

68. เครื่องดนตรีในข้อใดที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน 3. Oboe , Flute , Saxophone

69. ปัจจุบันการผสมวงมโหรี มีเครื่องดนตรีในข้อใดที่แสดงให้เห็นว่าวงดนตรีดังกล่าวเป็นวงมโหรี 2. ซอสามสาย

73. เทคนิคการบรรเลงดนตรีในข้อใดที่มีลักษณะใกล้เคียงกันมากที่สุด 3. จะเข้ และ Guitar

75. เครื่องดนตรีพื้นบ้านในข้อใดที่เป็นเครื่องดนตรีในภูมิภาคเดียวกันทั้งหมด 1. ปี่ พิณ โปงลาง แคน และโหวด

77. เสียงเพลงในข้อใดที่ชาวบ้านร้องเล่นกัน โดยมีลูกคู่ร้องรับช่วงหนึ่งว่า “เอ้า ฮ้า ไฮ้ เชี้ยบ เชี้ยบ เชี๊ยบ” 3. เพลงเรือ

55. การผสมวงดนตรีในข้อใดที่เกิดก่อนและหลัง เรียงล าดับตามยุคสมัย ประวัติศาสตร์ไทย 4. วงขับไม้ วงปี่พาทย์เครื่องห้า วงเครื่องสายผสมออร์แกน

56. ถ้านักเรียนต้องการประพันธ์เพลงโดยการผสมวงมาตรฐานที่ใช้กันมานาน ควรเป็นวงในข้อใด 1. Violin , violin , viola , cello การแสดงดนตรีคลาสสกิจะใชเ้ครือ่งดนตร ี4 กลุ่ม กลุ่มแรก คือ เครื่องสาย (String) แบ่งออกเป็น ไวโอลิน วิโอล่า เชลโล 57. บทเพลงในข้อใดที่มีวัตถุประสงค์ในการประพันธ์ เพ่ือใช้ประกอบกิจกรรมในสังคมมิใช่การฟังเพ่ือความไพเราะ 3. เพลงงามแสงเดือน

58. ข้อใดไม่ได้เป็นความแตกต่างของการขับร้องเพลงไทยและเพลงสาก 4. การสร้างอารมณ์เพลงจากถ้อยค า 59. ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการขับร้องเพลงไทย 4. การควง การครั่น คือ วิธีการท าให้เสียงขับร้องสั่นสะเทือนภายในล าคอ เพ่ือให้เกิดความไพเราะในการขับร้อง การกระทบเสียง คือ การเอื้อนท านองสูงต่ าในสองพยางค์สุดท้าย โดยใช้เสียงที่สั้นกว่าปกติหรือรวบท านองเอื้อน การโหน คือ วิธีการร้องด้วยลีลาที่ต่อเนื่องจากเสียงสูงไปหาเสียงต่ า หรือเสียงต่ าไปหาเสียงสูง เพ่ือช่วยให้การขับร้องมีความไพเราะนุ่มนวลยิ่งขึ้น

29. มารยาทในการชมการแสดงที่ดีคือข้อใด 3. ปิดเสียงโทรศัพท์และเครื่องมือสื่อสารต่าง ๆ และไม่รับโทรศัพท์เด็ดขาดระหว่างชมการแสดง ปิดเสียงโทรศัพท์และเครื่องมือสื่อสารต่าง และไม่รับโทรศัพท์เด็ดขาดระหว่างชมการแสดง มารยาทในการชมการแสดงที่ดีนั้นผู้เข้าชมไม่ควรพูดคุยหรือวิจารณ์การแสดงขณะที่มีการท าการแสดงอยู่ และควรอ่านสูจิบัตรเพื่อท าความเข้าใจกับรายการการแสดงก่อนการแสดงเริ่ม ไม่ควรพุดคุยโทรศัพท์หรือลุกไปเข้าห้องน้ าขณะมีการแสดงอยู่ เนื่องจากจะรบกวนผู้ชมรอบข้างและท าลายสมาธิของผู้แสดงซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นมารยาทสากลที่ผู้ชมการแสดงทุกท่านควรปฏิบัติ

30. ในการแสดงงิ้ว สีของเครือ่งแต่งกายทีต่ัวละครสวมใส่ สามารถบ่งบอกลักษณะนิสัยได้ ดังเช่น ขุนนางที่มีคุณธรรมจะสวมชุดสีแดงหรอืสีฟ้า แต่ถ้าเป็นขุนนางทีค่ดโกง จะสวมชุดสีอะไร 4. สีด า สีที่ใช้ในการแสดงงิว้นั้นจะบ่งบอกถึงวัยวุฒิ อุปนิสัย และต าแหน่งของบุคคลนั้น ดังนั้นผู้ที่แสดงเปน็ขุนนางผูค้ดโกง จึงควรแต่งกายด้วยสีด า เนื่องจากสีด าเป็นสีที่แสดงถึงชายที่โหดเหี้ยม ก้าวร้าว 1. สีเขียวเข้ม หมายถึง ชายที่มีคุณธรรม 2. สีม่วง เป็นสีของตัวละครที่วาดหนา้ 3. สีน้ าเงิน เป็นสีของผูท้ี่มียศสูง

31. ข้อใดที่มีความสัมพันธ์กันในเชิงศิลปะการแสดง 1. The Tgar and Carpenter – จันทกินร ีThe Tgar and Carpenter – จันทกินร ี ลักษณะของการแสดงต่างๆ สามารถแบ่งแยกได้ดังนี้ 1. The Tgar and Carpenter ละคร – จันทกินรี เป็นละครดึกด าบรรพ์ 2. The Nut Cracker คือ นาฏศิลป์ตะวันตก, บัลเลต ์- รามายณะ (อินโดนีเซีย) เป็นการแสดงละครคล้ายโขนของไทย แบ่งเป็นตอนๆ 3. คาบูกิ คือ ละครแบบญี่ปุ่น – กถักกฬ ิคือ นาฏศิลป์อินเดีย 4. วายังวอง เป็นการเชิดหุ่นมักพบในแถบประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย – มณีปุรี เป็นนาฏศิลป์อินเดีย ถ้าพิจารณาจากตัวเลือกทั้งหมดจะเห็นได้ว่าการแสดงในข้อต่างๆ เป็นการแสดงที่มีความแตกต่างกันแต่มีการแสดงในตัวเลือกที่ 1 เท่านั้นที่เป็นการแสดงในรูปแบบเดียวกันนั่นคือ รูปแบบของละคร

32. สมัยราชวงศ์ใดของจีนที่ละครหุ่นมีความหลากหลายและโดดเด่นเป็นอย่างมาก 4. ราชวงศ์ซ่ง ละครหุ่นของจีน เป็นศิลปะการแสดงที่มีมาอย่างยาวนานสืบค้นได้ถึงช่วงยุคราชวงศ์ฮั่น (พ.ศ.337-763) แต่ในช่วงราชวงศ์ซ่ง (พ.ศ.1503-1822) หุ่นได้มีวิวัฒนาการอย่างโดดเด่น ดังนี้ 1. เนื้อเรื่องมีความหลากหลายมากขึ้นโดยแสดงประกอบผู้เล่าเรื่อง 2. หุ่นมีหลายประเภท เช่น หุ่นสาย หุ่นน้ า หุ่นมนุษย์ เป็นต้น 3. ทักษะการเชิดหุ่นท าให้หุ่นมีลักษณะเหมือนกัน 4. มีการใช้เชือกและเหล็ก หรือโลหะมาประกอบการท าหุ่นเป็นครั้งแรก ข้อ 1 สมัยราชวงศ์ฮั่นก าเนิดหุ่นเงาและพัฒนาให้เคลื่อนไหวด้วยกลไกมาก ขึ้น ก าเนิดสถาบันคีตศิลป์ ข้อ 2 สมัยราชวงศ์สุย มีการปรับปรุงละครหุ่นให้สามารถเคลื่อนไหวได้ตาม ความต้องการของผู้เชิด มีโรงละคร ข้อ 3 สมัยราชวงศ์ถังก าเนิดสถาบันการแสดงท้ังชายและหญิง

33. นาฏศิลป์อินโดนีเซียแบบใดที่ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา 4. แบบสุมาตรา นาฏศิลป์อินโดนีเซียแบบบาหลี ก่อก าเนิดจากการผสมผสานดัดแปลงระหว่างความเชื่อของฮินดูแบบอินเดียกับการนับถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ิของชาวพื้นเมืองบาหลี หล่อล้อมขึ้นมาเป็นศาสนาฮินดูในแบบของบาหลี โดยการแสดงจะมีลีลาที่เร้าใจและมีชีวิตชีวา โดยการแสดงแบบทุกชุดมีความเก่ียวข้องกับศาสนาและใช้แสดงประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเป็นส่วนใหญ่ ข้อ 1 นาฏศิลป์แบบสุราการต์ามีลักษณะแบบราชส านักคล้ายแบบยอร์ก ยาการต์า ไม่นิยมใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ข้อ 2 นาฏศิลป์แบบซุนดาคล้ายแบบยอร์กยาการต์า จะเน้นการใช้ผ้า ไม่ นิยมใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ข้อ 4 นาฏศิลป์แบบสุมาตราจะเน้นการแสดงนิทานชาวบ้านและราชส านัก ไม่นิยมใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา

top related