onet เคมี m6

Post on 11-Jul-2015

988 Views

Category:

Education

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

O-net…SCIENCE…

(Part Chemistry)

Create By Kru..0_o Nee..

……เคมี พื้นฐาน……

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 3 ปโตรเลียมบทที่ 4 พอลเิมอรบทที่ 5 สารชีวโมเลกุล

แบบจําลองอะตอม

อนุภาคมูลฐานของอะตอม

การจัดเรียงอิเล็กตรอน

พันธะเคมี

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ

แบบจําลองอะตอม

ดอลตัน

+ - + + - + - +- + - + -

ทอมสัน(หลอดรังสีแคโทด)

+

--

-

-

--

รัทเทอรฟอรด(ยิงอนุภาคแอลฟาไปแผนทองคํา)

+

--

-

-

--

แชดวิก

+ +++

นิวเคลียส = อนุภาคบวก + อนุภาคกลาง หรือ โปรตอน (p) + นิวตรอน (n)

นีลส โบร

P + n

e-

สัญลักษณนิวเคลียรสัญลักษณนิวเคลียร

• สัญลักษณนิวเคลียร บอก

อนุภาคมูลฐานของอะตอมโปรตอน (p) หรือ ประจุบวกอิเล็กตรอน (e-) หรือ ประจุลบ นิวตรอน (n) หรือ ประจุกลาง

สรุป (ตองจํา) A ; เลขมวล = p + n Z ; เลขอะตอม = p

P = e-

n = A - Z

XZ

AP + n = เลขมวล

P = เลขอะตอม

ไอโซโทน

ธาตุตางชนิดกัน

เลขอะตอมตางกัน

เลขมวลตางกัน

นิวตรอนเหมือนกัน

C6

12 N7

13

ไอโซบาร

ธาตุตางชนิดกัน

เลขอะตอมตางกัน

เลขมวลเหมือนกัน

เชน

C6

13N

7

13

N7

ธาตุชนิดเดียวกัน

เลขอะตอมเหมือนกัน

เลขมวลตางกัน

C6

12

เชน

C6

13

ไอโซโทป

คําถาม กับ เปนอะไรกัน ? (…………………………..) N7

14 N7

13 Isotope

IC C12 13

6 6\Isotope p = โปรตอนเทากัน

\IsotoneC N12

6

13

7n = นิวตรอนเทากัน

C N13

6

13

7\Isobar เลขมวลเทากัน

หลักการจํา Isotope Isotone Isobar

\tope

tone

\bar

หรือจําเปนรูปก็ได

ธาตุเหมือนกัน p = โปรตอน = เลขตัวลาง เทากัน

ธาตุตางกัน n = นิวตรอน = บนลบลาง เทากัน

ธาตุตางกัน เลขมวล = เลขตัวบน เทากัน

หมายเหตุ : ขอสอบมักออกเปนตัวเลือก “ขอใดกลาวผิด ขอใดกลาวถูก”

จากสัญลักษณนิวเคลียร จงบอกอนุภาคมูลฐาน

C6

12

28 p = …….

14 e- = ……

n = …...

14

14

14

27 p = …….

13 e- = ……

n = …...

Al13

13

14

40 p = …….

18 e- = ……

n = …...

Ar18

18

22

Si

Cd

Si กับ Al เปนอะไรกัน…. เพราะ..?....^___^

ตอบ ………………………เพราะ……………………..

……………………..……………………..……………………..……………………..

Isotone

อะตอมตางชนิดกันเลขมวลตางเลขอะตอมตางแตนิวตรอนเหมือนกัน

การจัดเรียงอิเล็กตรอน

กฎ 1 : จํานวน e- มีมากที่สุดในแตละระดับพลังงาน = 2n2

ระดับพลังงานชั้นที่ (n) 1 2 3 4 5

จํานวน e- 2 8 18 32 50

กฎ 2 : จํานวน e- (เวเลนซ e-) (ตัวสุดทาย) หามเกิน 8

กฎ 1

กฎ 2

ตัวอยางการจัดเรียงอิเล็กตรอน

Cl =17

2 8 7

Na = 11

2 8 1

Ca =20

2 8 8

I =53

2 8 18

Br =35

2 8 18

2

7

18 7

หมู 1 คาบ 3

หมู 7 คาบ 3

หมู 2 คาบ 4

หมู 7 คาบ 4

หมู 7 คาบ 5

23

35

40

80

127

การจัดเรียงอิเล็กตรอนของไอออน

ขอควรรู เสียอิเล็กตรอน ไอออนบวก

รับอิเล็กตรอน ไอออนลบ

หมายเหตุ โลหะ (ชอบเสีย e-) ไอออนบวก

อโลหะ (ชอบรับ e-) ไอออนลบ

ขอควรรู

หมายเหตุ

รับประจุลบ

เสียประจุลบ

วิธีจํา

เรามักจะพูด

โลหะ อโลหะ

บวก ลบ

หรือจํา โล = บวก , อโล = ลบ

การจัดเรยีงอิเล็กตรอนของไอออน

K+ =

19 2 8 8

Br - =

2 8 18 735

K+ =

192 8 8

Br - =

352 8 18 8

มันเสีย e- ไป 1 ตัวจึงกลายเปนไอออน +1

มันรับ e- มา 1 ตัวจึงกลายเปนไอออน -1

39

80

39

80

การจัดเรยีงอิเล็กตรอนของไอออน

Al3+=

13 2 8 3

O 2-=

2 6

7

8

Al3+

=

132 8

O2-=

8

2 8

มันเสีย e- ไป 3 ตัวจึงกลายเปนไอออน +3

มันรับ e- มา 2 ตัวจึงกลายเปนไอออน -2

27

27

16

16

พันธะเคมี

1) พันธะโคเวเลนต

- เกิดกับ อโลหะ + อโลหะ - เกิดจากการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน (ใหครบ 8 ตามกฎออกเตต)

1) พันธะโคเวเลนต

1) พันธะโคเวเ

- เกิดกับ อโลหะ + โลหะ - อโลหะ (ชอบรับ e- จึงเปนไอออนลบ) , โลหะ (ชอบให e- จึงเปนไอออนบวก) จะเกิดแรงดึงดูดระหวางประจุ - และมีการใชเวเลนซอิเล็กตรอนรวมกัน (ใหครบ 8 ตามกฎออกเตต)

2) พันธะไอออนิก

1) พันธะโคเวเ

- เกิดกับ โลหะ + โลหะ - เวเลนซอิเล็กตรอนอิสระ เคลื่อนที่ไปทั่วทั้งกอนโลหะ และเกิดแรงยึดเหนี่ยวกับไอออนบวกของโลหะ (ลักษณะเหมือนไอออนบวกลอยอยูในทะเลอิเล็กตรอนที่มีประจุลบ) - ทําใหพันธะมีความแข็งแรงมาก

3) พันธะโลหะ

ธาตุ หมู 1 และ หมู 2 เปนโลหะ (นอกนั้นเปนอโลหะ)

Li = ลิ (ลิเทียม)

หมู 1 (โลหะ)

Na = นา (โซเดียม)

K = คา (โพแทสเซียม)

Rb = รู (รูบิเดียม)

Cs = สี (ซเิซียม)

Fr = ฟา (แฟรนเซียม)

Be = บี (เบริลเลียม)

หมู 2 (โลหะ)

Mg = แมก (แมกนีเซียม)

Ca = แคล (แคลเซียม)

Sr = เอสอาร (สรอนเซียม)

Ba = บา (แบเรียม)

Ra = รา (แรเดียม)

ดูวิธีการใชกัน….

NaCl = พันธะไอออนิก (Na เปนโลหะ ,Cl เปนอโลหะ)

H2O = พันธะโคเวเลนต (H และ O เปนอโลหะ)

MgSO3 = พันธะไอออนิก (Mg เปนโลหะ ,S และ O เปนอโลหะ)

KOH = พันธะไอออนิก (K เปนโลหะ ,H และ O เปนอโลหะ)

สรุป พันธะเคมี

ความแข็งแรงของพันธะ

พันธะโลหะ > พันธะไอออนิก > พันธะโคเวเลนต

จุดเดือด-จุดหลอมเหลว พันธะโลหะ > พันธะไอออนิก > พันธะโคเวเลนต

พันธะโลหะ นําไฟฟา-นําความรอน ไมได (ทุกสถานะ)พันธะโคเวเลนต

พันธะไอออน นําไฟฟา-นําความรอนได (เฉพาะที่ละลายน้ําได)พันธะไอออนิก

พันธะโลหะ นําไฟฟา-นําความรอนได (มีสถานะของแข็งเทานั้น)พันธะโลหะ

การเปลี่ยนแปลงของสสาร

น้ําแข็ง น้ํา ไอน้ําละลาย ระเหย

การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ

สาร A + สาร B สาร C

เรียก การเกิดปฏิกิริยาเคมี (โมเลกุลเกิดการชนกัน)

การเปลี่ยนแปลงทางเคมี

บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี

ปฏิกิริยาเคมี

สารตั้งตน + สารตั้งตน ผลิตภัณฑ (สารใหมที่ไมเหมือนเดิม)

จะรูไดไงวาเกิดปฏิกิริยาเคมี ?....

เกิดฟองแกส เกิดตะกอน เปลี่ยนสี เปลี่ยนอุณหภูมิ

จํา โมเลกุลมีการชนกัน จึงเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้น

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

+

สารตั้งตน สารตั้งตน อัตราการเกิดปฏิกิริยา

สรุป : ความเขมขนสารตั้งตนมาก อัตราการเกิดปฏิกิริยามาก

1. ความเขมขนของสารตัง้ตน

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

สรุป : อุณหภูมิสูง อัตราการเกิดปฏิกิริยามาก

2. อุณหภูมิอุณหภูมิสูง

โมเลกุลอุณหภูมิสูงจะวิ่งชนกันมากขึ้น

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

สรุป : พื้นที่ผิวมาก อัตราการเกิดปฏิกิริยามาก

3. พื้นที่ผิวของสาร

รูป รูป A รูป Bรูป B

รูป A และ B มี มวลเทากันรูป A มีอัตราการเกิดปฏิกิริยาสูงกวา B เพราะ พื้นที่ผิวมากกวา

ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริิยาเคมี

4. ตัวเรงปฏิกิริยา และตัวหนวงปฏิกิริยา

A + B Cตัวเรงปฏิกิริยา (catalyst)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา เพิ่มขึ้น

A + B Cตัวหนวงปฏิกิริยา (inhibitor)

อัตราการเกิดปฏิกิริยา ลดลง

เชน เอนไซม

เชน สารกันบูด

ตัวอยางปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน

1. ปฏิกิริยาการเผาไหม

เผาไหมสมบูรณ เผาไหมไมสมบูรณ

มีออกซิเจน เพียงพอ มีออกซิเจน ไมเพียงพอ

ไมมีเขมา มีเขมา

ตัวอยางปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน

เผาไหมไมสมบูรณ มีเขมา , CO2 , CO

เชน การเผาไหมในรถยนต

CO2 + H2O H2CO3 (กรดคารบอนิก) รวมกับน้ําฝน เรียกวา ฝนกรด

CO (แกสคารบอนมอนอกไซด) จับกับ ฮีโมโกลบิน รางกายขาดแกสออกซิเจน

(ปกติฮีโมลโกลบินนํา O2 เขาสูรางกาย แตถูก CO แยงจับเสียกอน

บทที่ 3 ปโตรเลียม

Petroleum ประกอบดวยธาตุ C และ H

Petroleum เกิดจากซากพืช ซากสัตว ทับถมเวลานาน

Petroleum แหลงที่พบ หินดินดาน (ดักดาน)

Petroleum แบงเปน 1) แกสธรรมชาติ

2) น้ํามันดิบ C >>> H > O = S > N

การกลั่นลําดับสวนน้ํามันดิบ

การแยกแกสธรรมชาติ

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

น้ํามันเบนซิน (gasoline)

บอกคุณภาพน้ํามันดวย เลขออกเทน

เชน น้ํามันเบนซิน ออกเทน 91 หมายความวา

ใชไอโซออกเทน (ยิ่งมากยิ่งดี) 91 สวน ใชนอรมอลเฮปเทน 9 สวน

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

หมายเหตุ

ใหสารตะกั่ว (เลิกใช) เรียก น้ํามันไรสารตะกั่ว

อดีต : ใชเตตระเมทิลเลต หรือเตตระเอทิลเลต

ปจจุบัน : ใชเมทิลเทอรเชียรี บิวทิลอีเทอร (MTBE)

จึงมีการเพิ่มคา octane

น้ํามันที่เหมาะกับเครื่องยนตปจจุบัน คือ octane 91 , 95

แตที่กลั่น (กลั่นลําดับสวนจากนํ้ามันดิบ) ได octane ต่ํากวา 75

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

น้ํามันดีเซล (diesel fuel)

บอกคุณภาพน้ํามันดวย เลขซเีทน

เชน น้ํามันดีเซล ซเีทน 95หมายความวา

ใช ซีเทน (ยิ่งมากยิ่งดี) 95 สวน ใช แอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 5 สวน

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

เชื้อเพลิงทดแทน

แกสโซฮอลล (gasohol , E10)

น้ํามันเบนซิน : เอทานอล 9 : 1

ใชแทนน้ํามันเบนซิน

ไบโอดีเซล (biodiesel)

น้ํามันพืช/น้ํามันสัตว + แอลกอฮอลใช กรด-เบส เรงปฏิกิริยา

ใชแทนน้ํามันดีเซล

เชื้อเพลิงในชีวิตประจําวัน

แกสธรรมชาติ

แกสปโตรเลียมเหลว

แกสหุงตม (LPG)

แกสธรรมชาติอัด (CNG)

รถยนตสวนตัว รถยนตโดยสารประจําทาง

เรียกรถประเภทนี้วา NGV

บทที่ 4 พอลิเมอร (Polymer)

โมเลกุลใหญ เรียกวา พอลเิมอร โมเลกุลเล็ก เรียกวา มอนอเมอร

พอลิเมอร (Polymer) คือ โมเลกุลใหญที่ประกอบดวยโมเลกุลเล็กมารวมกัน

รูปการเกิดพอลเิมอร

มอนอเมอร มอนอเมอร มอนอเมอรมอนอเมอร

polymer

ธรรมชาติ

สังเคราะห

แปง

โปรตีน กรดนิวคลิอิก

ยางพารา (พอลิไอโซปรีน)

เสนใย ยาง พลาสติก

ปฏิกิริยาการเกิดพอลเิมอร เรียกวา polymerization

Copolymer

ชนิดของพอลเิมอร

หลอมเหลวและขึ้นรูป

ใหมได

นํากลับมาใชใหมได

แบบเสน HDPEPPPVC

แบบเสน

แบบกิ่ง LDPEแบบกิ่ง

แบบรางแห เมลามินไมหลอมเหลว

ขึ้นรูปใหมไมได

แบบรางแห

ผลิตภัณฑจากพอลเิมอร

ยางธรรมชาติยางพารา

ยางกัตตาพอลิไอโซปรีน

ยางสังเคราะห ยาง IR , SBR ฯลฯ

ยางธรรมชาติ และยางสังเคราะห ก็มีขอดอย

การปรับปรุงคุณภาพยางธรรมชาติใหดี

เรียกกระบวนการ วัลคาไนเซชัน (vulcanization)

ยางธรรมชาติ + กํามะถัน ยางที่มีคุณภาพดีขึ้น

ยาง

ผลิตภัณฑจากพอลเิมอร

เสนใยธรรมชาติ

เสนใย

เสนใยสังเคราะห

เรยอน

พอลิเอสเทอร

ไนลอน 6,6

ฯลฯ

เซลลูโลส

นุน

ใยมะพราว

ฝาย

สัตว

ขนแกะ

ขนนก

ฯลฯ

ลินิน

ปอ

ฯลฯ

เปลือกไม

บทที่ 5 สารชีวโมเลกุล

2. ไดแซคคาไรด (น้ําตาลโมเลกุลคู)

กลูโคส

ฟรักโตส (ผลไม)

กาแลกโตส (นม)

1. มอนอแซคคาไรด (น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว)

มอลโทส = กลูโคส + กลูโคส

ซูโครส = กลูโคส + ฟลักโทส (น้ําตาลทราย)

แลกโทส = กลูโคส + กาแลกโทส

มอลโทส

ซูโครส

แลกโทส

(องคประกอบ C H O) มี 3 ชนิดคารโบไฮเดรต

ควรจําใหได

น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว(มอนอแซ็คคาไรด)

น้ําตาลโมเลกุลคู(ไดแซ็คคาไรด)

ฟรักโทส

กลูโคส

กาแลกโทส

มอลโทส (กลูโคส + กลูโคส

ซูโครส (ฟรักโทส + กลูโคส)

แลกโทส (กาแลกโทส + กลูโคส)

กล ู ฟรัก กา มอล ซู แลก

พบในผนังเซลลพืช

รางกายมนุษยยอยไมได ชวยกระตุนการขับถาย (กากใย)

สัตวกินพืชยอยได

เซลลูโลส

กลูโคส (จากแปง) ในเลือดมาก

เก็บที่ตับและกลามเนื้อเอาออกมาใชยามจําเปน

ไกลโคเจน

พบที่ตับและกลามเนื้อ

รางกายกินแปงเยอะ

รางกายเปลี่ยน กลูโคส เปน ไกลโคเจน

แปง (Starch)3. พอลีแซคคาไรด (น้ําตาลโมเลกุลใหญ)

การทดสอบคารโบไฮเดรต

กรดเชน กลูโคส + สารละลายเบเนดิกต ตะกอนสีแดงอิฐ มอนอแซคคาไรด

กลูโคส

สารละลายเบเนดิกต

เกิดตะกอนสีแดงอิฐ

เชน ซูโครส กลูโคส + ฟลักโตสตม กรด

ไดแซคคาไรด มอนอแซคคาไรดไดแซคคาไรด ตม กรด

กลูโคส + ฟลักโตส

สารละลายเบเนดิกต

ตะกอนสีแดงอิฐ

ซูโครสกลูโคส ฟลักโตส

กรด สารละลายเบเนดิกต

เกิดตะกอนสีแดงอิฐ

นักเรียนคิดวา ถานําซูโครสไปทดสอบดวยสารละลายเบเนดิกตเลย (โดยไมตม) จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม ??? อยางไร

แปง + สารละลายไออโอดีน มวงน้ําเงินพอลิแซคคาไรด

แปงง

ไอโอดีน

แปงสีมวงอมน้ําเงิน

ลิพิด (ไขมันและน้ํามัน)

เกิดจาก กรดไขมัน + กลีเซอรอล3 โมเลกุล 1 โมเลกุล

ลิพิด (ไขมันและน้ํามัน)

พันธะคู

การทดสอบวาเปนกรดไขมันอิ่มตัวหรือไมอิ่มตัว หยดสารละลายไอโอดีน ถาเปนกรดไขมันไมอิ่มตัว พันธะคูจะดูดจับไอโอดีนไว

ยิ่งพันธะคูมีมาก (กรดไขมันไมอิ่มตัวสูง) จํานวนหยดไอโอดีนยิ่งมาก

ขอควรรู

รวมตัวกับคอเลสเตอรอล

เกิดเปนไขมันอุดตันผนังหลอดเลือด

กรดไขมัน น้ํามันสัตวกรดไขมันอิ่มตัว(พันธะเด่ียว)

เกิดสารใหมที่มีกลิ่นเหม็นหืน

เติมวิตามิน Eชะลอ/ยับยั้งเหม็นหืน

แกสออกซิเจนเขาทําปฏิกิริยาที่พันธะคู

น้ํามันพืช

กรดไขมันไมอิ่มตัว(พันธะคู)

โปรตีน

หนวยยอย คือ กรดอะมิโน (จัดเปนพอลิเมอร)

กรดอะมิโน กรดอะมิโน กรดอะมิโน กรดอะมิโน

พันธะเพปไทด พันธะเพปไทด พันธะเพปไทด

การทดสอบโปรตีน

เกิดสีมวงอมชมพู (เรียก การทดสอบไบยเูร็ต)

ใชสารละลายคอปเปอร (II) ซัลเฟต (เบส)

กรด- เบส

ความรอน

โลหะหนัก

เปนตน

การแปลงสภาพโปรตีน

กรดนิวคลิอิก

พบในนิวเคลียส พบในนิวเคลียส/ไซโทพลาสซึม

เปนสารพันธุกรรม (เก็บขอมูล) สังเคราะหโปรตีนในเซลล

Deoxy ribonucleic acid(DNA)

Ribonucleic acid(RNA)

เปรียบเทียบลักษณะ RNA และ DNA

RNA DNA

ทุกสิ่งทุกอยาง…เกิดขึ้นไดเพราะตัวเรา…มิใชใครอื่น…

คนอ่ืนเปนไดเพียงผูแนะนํา…แตคนที่ตองทํา…คือตัวของเราเอง

ขอเพียงอยา…ทอหาก…ทําไมได…

ยังไง…ตองพยายาม…

top related