people politic

Post on 03-Jul-2015

4.463 Views

Category:

News & Politics

10 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

(People / Citizen Politic)

ดร.ณรงค์ บุญสวยขวัญ

การเมอืงภาคประชาชน

การเมอืงภาคพลเมือง

สำานักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ์

การเมืองภาคประชาชน การเมืองภาคพลเมือง

พัฒนาการทางการเมอืงภาคประชาชน

ความหมาย

ลักษณะการเมอืงภาคประชาชน

รปูแบบปฏบิัตกิารการเมอืงภาคประชาชน

Quize

พัฒนาการทางการเมืองภาคประชาชน

กรีกโบราณ ประชาธิปไตยทางตรง สมาชกิพลเมือง Polis การเกดิขึน้การเมืองภาคประชาชน กับ ธรรมชาติของสังคม

การสร้างคำาอธิบายวิถชีวีิตของประชาชนท่ามกลาง รัฐออ่น

ส่งผลใหป้ระชาชนสร้างกระบวนการใหด้ำารงชีวติอยู่รอดปลอดภัย

สถาบันทางสังคมเพ่ือความสมบูรณ์ของชวีิต สังคมแข็ง

ดังนั้น พ้ืนท่ีทางการเมือง อยู่ในชมุชนหมู่บ้านทุก ๆ สถานท่ี , บุคคลหรือ

ตัวกระทำาทางการเมือง คนท่ีเป็นพลเมืองและ กิจกรรมทางการเมือง กิจการท่ี

เป็นผลต่อชมุชน เรื่องขยะ ยาเสพติด โจรขโมย วัด ทางนำ้า ฯลฯ

เกิดเพ่ือนบ้าน พรรคพวก โหม(่หมู)่พวกหรือพฤติกรรมกลุ่มคนมากกวา่

ปัจเจกบุคคล ร่วมด้วยช่วยกัน เอื้ออาทร ช่วยเหลือเกื้อกลู อุปถมัป์คำ้าจุน

พัฒนาการทางการเมืองภาคประชาชน

Direct Democracy

ของกรกีโบราณ

พลเมอืงทุกคนมาที่เมอืง Polis มาประชุม ตดัสิน

ทำาเอง

Direct Democracy

ของไทย “บ้าน” เป็นฐาน

ของสังคม มีความเปน็ญาติ

เป็นแรงเกาะเก่ียวกัน พึงตนเอง รฐั

ออ่น

Direct Democracy

พัฒนาการทางการเมืองภาคประชาชน

การเกิดขึ้นมาใหม่ของการเมอืงภาคประชาชนในช่วงประชาธิปไตยปัจจุบัน

สาเหตกุารเกิด ความตีบตันของประชาธิปไตยแบบตัวแทน การทุจริต คุณภาพ ไร้ฝีมือ การต่ืนตัว คำานึงถงึสิทธิเสรภีาพของประชาชนมากขึ้น ปัญหา ความต้องการ มีความซบัซอ้นมากขึ้น

พัฒนาการทางการเมืองภาคประชาชน

ตัวกระทำาทางการเมือง

รัฐ/ราชการ

รฐัเขม้แข็ง

เป้าหมายไม่

สังคมการเมือง

ประชาชนประชาสังคม

เศรษฐกิจตลาด

เปลี่ยนแปลง

สังคมเขม้แข็ง

รบัผิดชอบสังคม คณุภาพสินคา้ รวมกลุ่มผลิต แขง่ขันเตม็ที่

จัดความสัมพันธ์ทางอำานาจใหม่

คนตวัเล็กคนตวัน้อยมสี่วนรว่ม สำานกึ / ตระหนักทางการเมอืง

การเช่ือมโยงเครอืขา่ย

แหลมคม คัน้ทุกฝ่าย การตอ่รอง

การเมอืงแบบธรรมชาติ

การเมอืงประชาธิปไตยแบบมสี่วนร่วม

ประชาธิปไตยทางตรง

ประชาธิปไตยแบบใคร่ครวญปรึกษาหารอื

การเมอืงภาคประชาชน

การเมอืงภาคพลเมือง

การเมอืงบนท้องถนน

การเมอืงชุมชน

การเมอืงใหม่

ความหมาย

คำา

ความหมาย

David Mathewsหลักการไดว้า่• หลักการแหง่การตอบสนอง (Responsibility) คือ

การท่ีการเมืองภาคพลเมอืงเริมต้นท่ีการตอบสนองตัวเขาเอง เมื่อเขาพิจารณาเหน็ปัญหาของเขา จึงจัดการแก้ไขปัญหาเพ่ือตอบสนองตัวของเขา

• หลักแหง่ความสามารถ (Capacity) คือการเริ่มต้นท่ีท่ีพลเมืองตระหนักในความเป็นชมุชนและดึงเอาพลังในชมุชนมาจัดการสร้างระบบบริการในชมุชนผ่านองค์กรของชมุชน

• หลักแหง่อำานาจ (Power) การเมืองภาคพลเมืองสนใจอำานาจและการใชอ้ำานาจท่ีเป็นจริงอนัหมายถงึอำานาจของพลเมืองเอง ท่ีริ่เริ่มเอง ใหก้ารนิยามความหมายเอง มิใชก่ารเพ่ิมอำานาจท่ีมาจากแหล่งอำานาจอื่นๆ

ความหมาย

David Mathews• หลักแหง่ความสัมพันธ์ (Relationships) เป็นการ

พิจารณาการแสดงออกเชิงอำานาจ ท่ีสร้างความสัมพันธ์ผา่นกระบวนการแก้ปัญหา โดยการแก้ไขปัญหานั้นมักจะต้องปฏิบัติการความสัมพันธ์ผา่นสองฝา่ย คือ ความสัมพันธ์กับราชการและหน่วยทางธุรกิจ โดยจะต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนการ กลไก บทบาทความสัมพันธ์ระหวา่งราชการ ธุรกิจกบัพลเมือง

• หลักแหง่เจตจำานงทางการเมอืงและประโยชน์ทางการเมอืง (Political Will and Interest) นั้นคือทรัพยากรในชมุชนเป็นเจตจำานงของสาธารณะท่ีเป็นผลประโยชน์ของชมุชนอันส่งผลใหเ้กิดความผกูพันของพลเมืองท่ีต้องดำาเนินการร่วมกันจนสามารถควบคุมได้ เพราะทรัพยากรนี้เป็นทำาใหช้มุชนสามารถริ่เริ่มให้เป็นเจตจำานงทางการเมืองและประโยชน์ทางการเมืองของชมุชน โดยการสร้างความสมัครใจ แรงจูงใจและประโยชน์ใหเ้กิดขึ้นต่อพลเมือง

ความหมาย

David Mathews• หลักแหง่การกระทำาหรอืการลงมอืปฏิบัต ิ(Action)

ปกติแล้วเจตจำานงสาธารณะหรือทางการเมืองมักจะไม่เชือ่มโยงหรือมักจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้นต้องมีความพยายามท่ีจะจัดการแยกลักษณะของการแยกออกเป็นส่วนเสี้ยวของสังคมผา่นการประสานงานเพ่ือร่วมมือและสร้างความรับผดิชอบร่วมกัน

ความหมาย

David MathewsCapacity

CitizenPoliticPower

Political Will and Interest Action

Responsibility

Relationships

ความหมายประเวศ วะสี

• “การเมืองภาคพลเมือง” หมายถงึ พลเมืองมีส่วนร่วมในการกำาหนดนโยบายสาธารณะในการวางแผนและขบัเคลื่อนการพัฒนาและในการตรวจสอบการใช้อำานาจรัฐทุกระดับ

นฤมล ทับจุมพล• อธิบายวา่ "การเมืองภาคประชาชน คือ การท่ีประชาชน

ทุกกลุม่สามารถเขา้มีส่วนรว่มในกระบวนการทางการเมืองในระดับต่างๆ ได้อย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน

ความหมายธีรยุทธ บุญมี

รวบรวมในความหมายท่ีพ้องกัน (1) การเมอืงภาคปริมณฑลสาธารณะ (public sphere) มุ่งสร้างพ้ืนท่ี เวที กลไกส่วนกลาง ซึง่ไม่ใช่รัฐสภาท่ีจะถกเถยีงสร้างประเด็นต่างๆ ขยายสิทธิอำานาจต่างๆ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคม (2) การเมอืงภาคประชาสังคม (civil society) หรอืการเมืองภาคพลเมอืง(citizen politics) ซึง่มุ่งร่วมแขง่ขันของบุคคล องค์กรต่างๆ ในสังคมท่ีจะถกเถยีงและบรรลุขอ้ตกลงในประเด็นปัญหาต่างๆ หรือผลักดันบางประเด็นให้เป็นนโยบายของรัฐ (3) การเมอืงภาคประชาชน (people’s politics) หรอืขบวนการทางสังคมใหม ่(new social movements) ซึง่มุ่งเคลื่อนไหวสร้างจติสำานึกคนในประเด็นผลประโยชน์ร่วมของมนุษยชาติ อันได้แก่ สภาพแวดลอ้มโลก การควบคุมทุนการเงินโลก หรือการคัดค้านโลกาภิวตัน์ การเคารพอำานาจสิทธิในวถิีชวีติตัวตนของชมุชน บุคคล

ความหมายชัยอนันต์ สมุทวณิช

• ไมเ่น้น “คำา” แต่มีแนวคิดท่ีมีความหมายพ้องหรือสัมพันธ์การเมืองภาคประชาชน คือ “การเมอืงแบบธรรมชาต”ิ เป็นกระบวนการการดำาเนินชีวิตที่เปน็วิถีชีวติจริงท่ีอยู่ภายใต้การครอบซอ้นของการเมืองเชงิสถาบันหรือการเมืองแบบทางการ

• การเมอืงแบบธรรมชาตหิรอืการเมืองเชิงอนัตกิริยาเปน็การเมอืงในชุมชนการเมืองเล็กๆ ท่ีมีแบบแผนชวีติการเมืองท่ีสำาคัญคือ “ความร่วมมอื” และ “ความขดัแย้ง” เกี่ยวกับการใชท้รัพยากรท่ีมีตลอดมา สาระชวีิตของชมุชนการเมืองนี้จึงเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในชมุชนการเมืองด้วยความร่วมมือและความขดัแย้งจากความสัมพันธ์ของสมาชกิ เพียงแต่ว่าชุมชนการเมืองเล็กๆท่ีไม่หางไกลจากศูนย์อำานาจทางการเมืองของรัฐ แต่อำานาจรัฐก็ไม่มีความหมายต่อสภาพชวีิตของผูค้นในชุมชนมากนักเพราะเป็นวถิท่ีีสมาชกิต้องพ่ึงตนและจัดการตนเองได้ พร้อมๆกับการท่ีสามารถจำาแนกระหว่างการยอมรับอำานาจรัฐท่ีมาด้วยสภาพบังคับ เชิญชวน แนะนำา กับอำานาจของตนเองเพ่ือการดำารงอยู่อย่างมีความสุข

ความหมายเสกสรรค์ ประเสรฐิกุลใหน้ิยามการเมืองภาคประชาชน คือ การเคลื่อนไหวอย่างมีจิตสำานึกทางการเมืองของกลุ่มประชาชนเพ่ือลดฐานการครอบงำาของรัฐ รวมท้ังเพ่ือโอนอำานาจบางส่วนมาใหป้ระชาชนเพ่ือใชดู้แลชวีิตตนเองโดยตรง

ความหมายอรรถจักร ์สัตยานุรกัษ์

• “การเมืองภาคประชาชน คือ การเสริมพลังจากภาคสังคม โดยมีด 3 หลักการ

ประการแรก ยึดศักด์ิศรีในความเป็นมนุษย์ ความเป็นคนเท่ากนั

ประการที่สอง มีความเป็นอิสระโดยสัมพัทธ์จากรัฐและทุน นั้นคือ มีการเคลื่อนไหวบนผลประโยชน์ของผูย้ากไร้ ไร้รัฐ ไร้ทุน เป็นตัวต้ัง มใิชก่ารเคลือ่นไหวเพ่ือผลประโยชน์ของรัฐและทุน

ประการที่สาม มีการเคารพเอกภาพทางศีลธรรมระหวา่งเป้าหมายและวิธีการ นั่นคือ การรณรงค์ต้องสอดคล้องระหวา่งเป้าหมายท่ีมีศักด์ิศรีและทิศทางการรณรงค์ท่ีเป็นอิสระ

ความหมายการเมืองภาคประชาชน การเมืองภาคพลมือง

ความหมาย ความหมายเชงิทฤษฎีของการเมืองภาคพลเมือง

วฒันธรรมชมุชนกจิกรรมอาสาสมัครกลุ่มรากหญ้าหรือคนชั้นล่างการเคลื่อนไหวทางสังคมใหม่ประชาสังคม

ลักษณะของการเมืองภาคพลเมืองประวติัการเมืองภาคประชาชน รูปแบบความสัมพันธ์กับการเมืองเชงิสถาบันหรือรัฐ

ลักษณะการเมืองภาคประชาชน

ประการแรก เป็นการกระทำาในลกัษณะของกลุ่มคน โดยใชพ้ื้นท่ีทางสังคม

วฒันธรรมเป็นเครื่องมือ ประการที่สอง ยุทธศาสตร์สำาคัญของการเคลื่อนไหวทางสังคมใหม ่คือให้

ความสำาคัญต่อขบวนการ (Movement) ประการที่สาม ขบวนการทางสังคมใหค้วามสนใจในการเป็นปฏิปักษ์ต่อค่านิยม

ทางวัตถุประการที่สี ่การเคลื่อนไหวมักแสดงออกหรือมรีูปแบบการสร้างอัตลกัษณข์อง

กลุม่ต่างๆ ประการที่หา้ เป้าหมายของการเคลื่อนไหวเป็นการอทุรหรือร้องทุกขใ์นเชงิ

สาธารณะ

ลักษณะการเมืองภาคประชาชน

เพ่ิมตัวกระทำาทางการเมือง (ผูแ้ทน)การตัดสินใจทางการเมือง สารธารณะ (ผูแ้ทน)ยังดำาเนินกจิกรรมหรือเคลื่อนไหวภายใต้สถาบันทางการเมือง (ผูแ้ทน พรรค รัฐสภา ขา้ราชการ องค์การของรัฐ)ทิศทางการเคลื่อนไหว

รอ้งทุกข ์ ตรวจสอบการใช้อำานาจ ประท้วงวพิากษ์วิจารณ์

ลักษณะการเมืองภาคประชาชน

รวดเรว็ ประสิทธิภาพ เน้นความต้องการของผูน้ำา ใชอ้ำานาจของกฎหมาย เพ่ิม

ลด ใชท้รัพยากรมาก คนมาก

เงินมาก เงื่อนไข/ตัวต้ัง/อา้ง ใช ้“ภาษา” แข่งขัน เน้น

“ชยัชนะ”

ลักษณะการเมืองแบบสถาบันการเมืองภาคประชาชน

รอบคอบอ รอบด้าน นิยามปัญหา

ความต้องการของพลเมือง อำานาจแบบใหม่ท่ีอยู่ใน

ชมุชน ใช้เจตจำานง “ประโยชน์

สาธารณะ” ขดีความสามารถของสมาชกิ ความสัมพันธ์ ปฏิสัมพันธ์

ลักษณะการเมืองภาคประชาชน

เอกภาพ ผูน้ำา รับผดิชอบต่อประเด็น

สาธารณะ ใหข้อ้มูลสารสนเทศ ประสานงาน เริ่มเนื้อหาจากปรากฏการณ์ ประชาชนเป็นผู้รับการ

สงเคราะห์

ลักษณะการเมืองแบบสถาบันการเมืองภาคประชาชน

หลากหลาย ทุกคนรับผดิชอบทุกกิจกรรม ใหก้ารเรยีนรู้ ทักษะ ร่วมกันทำา เสริมกันและกัน เริ่มท่ี พ้ืนท่ีสาธารณะ ประชาชนพิจารณาเอง ด้วย

ตนเอง

ลักษณะการเมืองภาคประชาชน

การนิยามปรากฏการณ์ในสังคมการเมืองของสมาชิกท่ีเป็นพลเมืองเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ของประชาชนในสังคมการเมือง เป็นธรรมชาติในชวีิตจรงิและสัมพันธ์กับอำานาจต่างๆมากมาย เพียงแต่ไม่เน้นการแย่งชิงอำานาจหรือตำาแหน่งทางการเมือง แต่ต้องการร่วมคิด ตัดสินใจ

• เนน้สิทธิ หน้าที่ของประชาชน พลเมอืง โดยเน้นว่าอำานาจการเมอืงเป็นของประชาชน จึงเป็นสิทธิของประชาชนที่ตัง้ใจ D/M ในการคดัคา้นและสนบัสนุนรัฐบาล รวมถึงการปฏบิัตหืน้าที่ในการสรา้งความสุขในสังคมการเมอืง

ลักษณะการเมืองภาคประชาชน

ลักษณะที่น่าสนใจ

ความเป็นพลเมือง

กลุ่มองค์กร

เครือขา่ย พื้นที่สาธารณะ

รูปแบบปฏิบัติการการเมืองภาคประชาชน

รูปแบบปฏิบัติการการเมืองภาคประชาชนเชิงบวก

ประชามติ ประชาพิจารณ์ประชาคม

เคารพผู้บังคบับัญชาเป็นคนดี

สัมมาชีพ ตอ้งรบัรูก้ฏหมายยอมรบัอำานาจของรฐั

เลือกตัง้ เสียภาษีเข้าร่วมกิจกรรมของราชการ

รูปแบบปฏิบัติการการเมืองภาคประชาชน

รูปแบบปฏบัิติการเชิงลบ

อารยะขดัขืน

การทำาแทน

การขัดขวางหรอืต่อตา้น

การท้าทายหรือเผชิญหน้า

รูปแบบปฏิบัติการการเมืองภาคประชาชน

การทำาแทนดำาเนินในกจิกรรมหรอืกิจการใดๆท่ีเป็นภารกิจหน้าท่ีของรัฐหรือราชการ โดยรัฐหรือราชการสมยอม นิ่งเฉย

• ไมเ่ปลี่ยนระเบียบ กฎหมาย นโยบาย แต่แสดงออกในเชงิสัญญลักษณท่ี์สนับสนุนรัฐหรือราชการ

• พยายามล็อบบี้ ขยายบทบาทในการดำาเนินการตามภารกิจของรฐัหรือราชการมากขึ้น

รูปแบบปฏิบัติการการเมืองภาคประชาชน

การท้าทายหรอืการเผชิญหน้าแสดงออกในเชงิสัญลกัษณ์ถงึการไม่เห็นด้วยกับกฎหมาย นโยบายและการปฏบิัติของรัฐหรือราชการ

• ปฏิบัติการท้าทายท่ีเป็นรูปธรรม เชน่ ชุมนุมประท้วง การยื่นหนังสือ ปิดถนน โน้มน้าวชกัจูง แสดงความคิดเหน็และวิพากษ์วจิารณ์เปิดเผย เสนอองค์ความรู้ใหม่ๆ หรือใชป้ระเพณีวฒันธรรม ขึ้นมาโต้แย้ง

รูปแบบปฏิบัติการการเมืองภาคประชาชน

การขัดขวางหรือต่อต้านแสดงออกโดย ชดัเจนด้วยการสร้างความวุ่นวาย ไม่ให้รัฐหรือราชการลงมือปฏิบัติ ไม่ใหร้ัฐกระทำากจิกรรม

• สร้างหรือกระทำาขึ้นมาแขง่ขัน

• ปฏิบัติท่ีสวนทางกับกฎหมาย นโยบายหรือแนวปฏิบัติของราชการ

รูปแบบปฏิบัติการการเมืองภาคประชาชน

ทำาแทน

ท้าทาย

ปฏิบัติจริง

วาทกรรม

รัฐกลุ่มองคก์

รขบวนก

าร

กลุ่มองคก์

รขบวนก

าร

QUIZE

Quize 2การเมืองภาคประชาชนกับการเมืองในเชงิอัตกิริยา เหมือน หรือแตกต่างกนัอย่างไร อธิบายอย่างกระชบั

Quize 3• จงยกตัวอย่างพ้ืนท่ีสาธารณะหมายถึงอะไรบ้าง แล้วมี

อยู่อย่างไรใน มวล.

ดร.ณรงค์ บุญสวยขวัญ

สำานักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลกัษณ์

top related