road map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่าน ...road map...

Post on 18-Jan-2020

3 Views

Category:

Documents

0 Downloads

Preview:

Click to see full reader

TRANSCRIPT

Road Map การแก้ปัญหาในภาพรวมถ่านหินทั้งระบบ

เสนอโดย

ดร. บุญรอด สัจจกุลนุกิจ

บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

การประชุมหารือRoad Map ในการแก้ปัญหาถ่านหินในภาพรวม

และการประชาสัมพันธ์เพื่อการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน

11 กันยายน 2558 เหมืองแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย

รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัย

และพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology)

ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย

น าเสนอส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

เสนอโดย

บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

29 ตุลาคม 2556

ประเทศ แนวทางการส่งเสริม

สหภาพยุโรป • ในปี 2020 จะมีการน าเทคโนโลยี CCS มาใช้ได้ในเชิงพาณิชย์• มีมาตรการส่งเสริม Carbon tax และ Emission Trading Scheme (ETS) หรือ Cap and trade

สหรัฐอเมริกา• มีนโยบาย Clean Energy Standard (CES) โดยการผลิตไฟฟ้าของประเทศประมาณ 80% จะต้องมาจาก

พลังงานสะอาดเท่านั้น และโรงไฟฟ้าที่ใช้ถ่านหินจะต้องมีการใช้เทคโนโลยี CCS ด้วย • มีการน ามาตรการ Carbon tax มาใช้ในบางรัฐ เช่น Colorado, California, Maryland เป็นต้น

ญี่ปุ่น• โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ตั้งแต่ปี 2020 จะต้องใช้เทคโนโลยี Integrated Gasification Combined Cycle

(IGCC) และจะมีการน าเทคโนโลยี CCS มาใช้ในเชิงพาณิชย์ภายในปี 2030• มีการใช้มาตรการ Carbon tax โดยมีอัตราประมาณ17$/tCO2

อสสเตรเลีย

• โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่จะต้องใช้เทคโนโลยีอย่างต่ าเป็น Supercritical และ Ultra Supercritical เท่านั้น • มีการก าหนดประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าใหม่ที่ใช้ถ่านหินบิทูมินัสและลิกไนต์ ไม่ต่ ากว่า42% และ 31%• มีการเริ่มใช้ Carbon tax ในปี 2012 โดยได้ก าหนดอัตราภาษีไว้ประมาณ 24 $/tCO2 มีการปรับขึ้นปีละ

ประมาณ 5% จนกว่าจะมีการเริ่มใช้มาตรการ Emission Trading Scheme ดังเช่นในประเทศในสหภาพยุโรปในปี 2015

แนวทางในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในต่างประเทศ

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

แนวทางในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในต่างประเทศ

ประเทศ แนวทางการส่งเสริม

จีน

• โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ทั้งหมดหลังจากปี 2006 ที่มีขนาดมากกว่า 600 MW จะต้องเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยี Supercritical หรือ Ultra supercritical เท่านั้น

• คาดว่าจะมีการประกาศใช้มาตรการเรียกเก็บภาษีจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือ Carbon Tax ในปี 2013

อินเดีย • รัฐใดมีการสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน จะต้องมีสัดส่วนของโรงไฟฟ้าที่ใช้เทคโนโลยี Supercritical ประมาณ 50-60% ของก าลังผลิตไฟฟ้าทั้งหมด

อินโดนีเซีย • รัฐบาลของประเทศอินโดนีเซียตั้งเป้าหมายในการเพิ่มประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าถ่านหินให้เป็น Supercritical

มาเลเซีย • โรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ที่จะสร้างให้แล้วเสร็จในปี 2015 จ านวน 1,000 MW จะต้องใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดขั้นต่ าคือ Supercritical

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

ร่างแผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย

5

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

แผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย6

1. ก าหนดนโยบาย และการก ากับที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล2. สื่อสารและสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องด้านเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด3. วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม 4. พัฒนาองค์กร องค์ความรู้ ข้อมูล และบุคลากร5. เสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศด้านเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

ประเทศไทยมีการพัฒนาใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด มุ่งสู่ Near Zero Emission* และเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ของประเทศ ในปี 2576

1. สร้างความยอมรับจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องโดยเฉพาะชุมชน และให้ความรู้ที่ถูกต้องในการด าเนินกิจการถ่านหิน2. พัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดเพื่อความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ (รักษาสัดส่วนปริมาณการใช้ถ่าน

หินให้อยู่ระหว่าง 20-25%ของพลังงานข้ันต้น)3. พัฒนาแนวทางงานวิจัยเทคโนโลยีถา่นหินละอาด เพื่อสนับสนุนการใช้ให้มีประสิทธิภาพเฉลี่ยเพิม่ขึ้น ไม่น้อยกว่า

10% ของภาพรวมประสิทธิภาพเฉลี่ยเดมิของประเทศ และลดการปลดปล่อยมลพิษ (CO2, NOx, SOx, Particulate) ลง 10% เทียบจาก BAU

4. มีการประกอบกิจการใช้ถ่านหินอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นไปตามก าหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้ และตระหนกัถึงผลกระทบที่มีต่อส่ิงแวดล้อม

วิสัยทัศน์ (Vision)

พันธกิจ (Mission)

เป้าประสงค์ (Objective)

*Emission= CO2, NOx, SOx, Particulate

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย

1. สร้างความเข้าใจกับสังคม หรือสร้างโอกาส ความเชื่อมั่นต่อ

สังคม

2. ก ากับกิจการถ่านหินอย่างเป็นธรรมและโปร่งใส

3. เสริมสร้างแนวทางสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

4. วิจัย พัฒนา เพิ่มการพึ่งพาตนเองและเพิ่มประสิทธิภาพการ

ใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

5. เพิ่มศักยภาพบุคลากร

ในประเทศ

7

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

ก าหนดองค์กรก ากับดูแลการใช้ถ่านหินตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ าที่ชัดเจน

8

หน่วยงาน

ส านักงานนโยบายและแผนพลังงาน (สนพ.)

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.)

กรมธุรกิจพลังงาน (ธพ.)

กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ (ชธ.)

ส านักคณะกรรมการก ากับกิจการพลังงาน (กกพ.)

ก ากับ

นโยบาย

การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ

-

-

กิจการไฟฟ้า

กระทรวงพลังงาน

ส่งเสริม

-

การใช้ CCT

-

AFOC

-

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

9

แผนที่น าทางยุทธศาสตร์ (Strategic RoadMap) แผนพัฒนาการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในภาคอุตสาหกรรม

ของประเทศไทย

พ.ศ. 2557-2561 พ.ศ. 2562-2566 พ.ศ. 2567-2576

วิเคราะห์ ติดตาม ความพึงพอใจ แนวคิดของสังคมส ารวจข้อมูลการใช้ถ่านหินและเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

จัดเวทีสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจในสังคม (สื่อ, พิพิธภัณฑ์, CSR)จรรยาบรรณผู้ประกอบการ

ระบบ PMQA หน่วยงานก ากับและเครือข่ายถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ (ร่วมมือระหว่างประเทศ) แลกเปลี่ยนความรู้ด้านเทคโนโลยี กฎหมายและนโยบาย

พัฒนาบุคลากรอย่างมืออาชีพ

1 ก าหนดหน่วยงานรับผิดชอบ2 ปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง3 แผนการใช้เทคโนโลยีถ่านหิน สะอาดเชิงลึก4 แผนวิจัยเพ่ิมประสิทธิภาพพลังงานและ

สิ่งแวดล้อม5 ส ารวจและฐานข้อมูล (ธุรกิจถ่านหิน ต้นน้ า-

ปลายน้ า)ภาคอุตสาหกรรม(พลังงาน เศรษฐศาสตร์ สังคม สิ่งแวดล้อม สุขภาพ)

6 ก าหนดมาตรฐานความปลอดภัยและประสิทธิภาพพลังงาน(ต้นน้ าถึงปลายน้ า),code of ethics, CoC, CoP

7 หลักสูตรธุรกิจเทคโนโลยีถ่านหินมืออาชีพ8 ศูนย์ความเป็นเลิศ (วิจัย องค์ความรู้)9 Coal One Stop Service1 0 สานเสวนาประชาชน 1 1 สมาคมธุรกิจถ่านหิน1 2 กองทุนเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด1 3 สร้าง Trust ต่อสังคม1 4 ASEAN/Thailand Energy Awards

1 พัฒนาช่องทาง/โครงสร้าง การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน

2 องค์กรร่วมก ากับโดยชุมชน3 แผนฉุกเฉิน4 แผนการสื่อสารต่อชุมชน5 ระบบ monitor การใช้ถ่านหิน

(สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ) ต่อเนิ่อง โดยชุมชน

6 วิเคราะห์การใช้และการขยายตัวเทคโนโลยีถ่านหินสะอาดเพื่อเพ่ิมศักยภาพการแข่งขัน

7 มาตรการสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานและสิ่งแวดล้อม (ปรับปรุงคุณภาพการด าเนินงาน&เทคโนโลย)ี

1 ระบบ M&V2 Product champion3 มาตรการสนับสนุนการลงทุนการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด4 มาตรการส่งเสริมการผลิตเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด5 Benchmarking Near Zero Emission และความมั่นคงด้านพลังงาน6 มาตรฐานการประกอบวิชาชีพถ่านหินและเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

Strategic R&D Roadmap

2556 - 2560 2571- 25762566 - 25702561 - 2565

เทคโนโลยี

องค์กร/กฎหมาย

สังคม

ข้อมูล/ติดตาม

•หน่วยงานก ากับ•ประสานกฎหมายที่มีให้ใช้งานได้

• จัดท าแผนการติดตามการใช้ถ่านหินทุกมิติและระบบ M&V & Indicators•พัฒนาเครือข่ายระบบฐานข้อมูล

•ศึกษาการสร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน• วิเคราะห์และพัฒนาช่องทางการมีส่วนร่วม•จัดท าคู่มือการเลือกเทคโนโลยีตลอดวงจรชีวิตถ่านหิน

• เพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน้ า (CWM, mini PC ,CFB, simulation)•ปรับปรุงหม้อไอน้ าที่มอียู่ (fouling,

slagging, corrosion)• พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือ (storage,

transport, capture emission, cleaning)• ศึกษาความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้

เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)• ศึกษาการใช้ประโยชน์จากฝุ่นผงถ่านหินและ

by product

•จัดท ากฎหมายถ่านหินตลอดวงจรที่เป็นธรรม

•Benchmarking Near Zero Emission และความมั่นคงด้านพลังงาน•ทบทวนระบบ M&V & Indicators

สร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน สร้างความเขม้แขง็ให้

ชุมชนในการก ากับดูแล

ขยายขนาดและเพิ่มประสิทธิภาพ− เพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน้ า

(CWM, mini PC ,CFB, simulation)− ปรับปรุงหม้อไอน้ าที่มีอยู่ (fouling, slagging,

corrosion)− พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือ (storage,

transport, capture emission, cleaning)•ทบทวนความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้

เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)• ศึกษาเทคโนโลยี advance CCT, SPC,

USPC

•ทบทวนกฎหมายถา่นหินตลอดวงจรที่เป็นธรรม

•ทบทวนระบบ M&V & Indicators

•สร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน

ขยายขนาดและเพิ่มประสิทธิภาพ−เพิ่มประสิทธิภาพหม้อไอน้ า − (CWM, mini PC ,CFB,

simulation)

• ทบทวนความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)• ศึกษาเทคโนโลยี IGCC, CCS

•ทบทวนกฎหมายถา่นหินตลอดวงจรที่เป็นธรรม

•ทบทวนระบบ M&V & Indicators

•สร้างความยอมรับและปัญหาการต่อต้านจากชุมชนและประชาชน

• ทบทวนความคุ้มค่าและผลกระทบการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาดในสาขาอุตสาหกรรมย่อย (MEP, HEP, CoP etc.)

นโยบาย/มาตรการ

• ศึกษา Best Available Technology และการลงทุนถ่านหินตลอดวงจรชีวิตถา่นหิน• ศึกษามาตรการสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพ

หม้อไอน้ า คุณภาพถ่านหินและเทคโนโลยี emission และสุขภาพ

• ติดตาม Best Available Technology• ปรับปรุงมาตรการสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพ

หม้อไอน้ า คุณภาพถ่านหินและเทคโนโลยี emission และสุขภาพ

• ศึกษา Best Available Technology• ปรับปรุงมาตรการสนับสนุน

• ศึกษา Best Available Technology• ปรับปรุงมาตรการสนับสนุน

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

สรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย

• ประเทศไทยยังมีความจ าเป็นในการพัฒนาใช้ถ่านหิน เพื่อความมั่นคงทางด้านพลังงานของประเทศ

• กระทรวงพลังงานควรพิจารณาหน่วยงานรับผิดชอบ (เจ้าภาพ) ที่ชัดเจน เพื่อก าหนดนโยบาย ทิศทางการส่งเสริม และการก ากับเพื่อให้ธุรกิจถ่านหินพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบาย รับผิดชอบและเป็นที่ยอมรับจากสังคม

• ควรมีการพัฒนากฎหมายเพื่อก ากับและส่งเสริมการใช้ถ่านหิน

• ควรมีการศึกษารายละเอียดเทคโนโลยีที่เหมาะสมและความคุ้มค่าในการก าหนด Code of practiceCode of conduct ของธุรกิจถ่านหิน (ขนาดเล็ก กลาง ใหญ่) ตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า

• ควรมีกองทุนเพื่อสนับสนุนการพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด

• ควรมีการศึกษาเพื่อก าหนดมาตรการส่งเสริมให้ผู้ประกอบการในการลงทุนเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด เช่น มาตรการลดหย่อนภาษี มาตรการ Carbon tax เป็นต้น

• ควรมีการพัฒนาและจัดท าฐานข้อมูล ระบบการติดตามในประเทศตั้งแต่ต้นน้ าจนถึงปลายน้ า

11

การประชุมรับทราบรายงานฉบับสมบูรณ์โครงการการศึกษาศักยภาพและจัดท าแผนที่น าทางวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Technology) ในภาคอุตสาหกรรมของประเทศไทย (30 ส.ค. 56)

ขอบคุณครับ

Energy Security and Policy Research Group (ESPR)

Email: espr.jgsee@gmail.com

top related