annual report for neqas in clinical microbiology - 1. บทน...

21
รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014 1/21 รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สาขาจุลชีววิทยาคลินิก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 2014 1. บทนา (Introduction) การประเมินคุณภาพโดยองค์กรภายนอก ( External quality assessment) เป็นองค์ประกอบทีสาคัญประการหนึ่งของระบบคุณภาพ ( Quality assurance) เป็นสิ่งบ่งชี้การดาเนินงานที่ผ่านมา ( Retrospective performance) ดังนั้นผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข จาเป็นต้องได้คุณภาพ เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้ผลที่ถูกต้อง ( Correctness) เชื่อถือได้ ( Reliability) อันเกิด ประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรค รักษาโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ ( Efficiency) และเกิดประสิทธิผล (Effectiveness) 2. วัตถุประสงค์ (Objective) เพื่อประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ โดยเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ สมาชิกที่ใช้วัตถุทดสอบชุดเดียวกันทั้งหมด ผลวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการสมาชิกแต่ละแห่ง จะนามา เปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายที่กาหนด (Target values หรือ Assigned values) และรายงานผลสรุปการ ประเมินคุณภาพให้ห้องปฏิบัติการสมาชิกทราบ เพื่อนาไปปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาให้มีคุณภาพต่อไป 3. ผู้ดาเนินแผน (Coordinator) การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สาขาจุลชีววิทยาคลินิก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ดาเนินการโดยนางอัญชลี กิจจะการะ และนางสาวชนากานต์ เลิศประเสริฐ กลุ่มประเมินคุณภาพการตรวจ วิเคราะห์ สานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 88/7 ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวัญ อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ห้องปฏิบัติการสมาชิกหรือผู้สนใจ ทั่วไปสามารถให้ข้อเสนอแนะได้ที่โทรศัพท์หมายเลข 0-2951-0000 ต่อ 99763 โทรสารหมายเลข 0-2951-0000 ต่อ 99764 e-mail address: [email protected] 4. คณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory board) กลุ่มประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ สานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ดาเนินงานภายใต้การให้คาปรึกษา แนะนา สนับสนุนข้อมูลวิชาการด้านต่างๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ทางสถิติ จากคณะกรรมการที่ปรึกษาแผนทดสอบความชานาญด้านชันสูตรสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วยคณบดี คณะเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน จากมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชน ผู้อานวยการศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย นายกสภาเทคนิคการแพทย์ นายกสมาคมเทคนิค การแพทย์แห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสถิติและระบบสารสนเทศจากศูนย์ความเป็นเลิศทางสารสนเทศศาสตร์ชีวเวชและ สาธารณสุข คณะเวชศาสตร์เขตร้อน โดยมีอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นที่ปรึกษา รองอธิบดี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นประธานกรรมการ ผู้อานวยการสานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการและ ผู้ดาเนินงานด้านการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์เป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการตามลาดับ

Upload: others

Post on 23-Jan-2020

4 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

1/21

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สาขาจุลชีววิทยาคลินิก

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 2014

1. บทน า (Introduction) การประเมินคุณภาพโดยองค์กรภายนอก (External quality assessment) เป็นองค์ประกอบที่ส าคัญประการหนึ่งของระบบคุณภาพ (Quality assurance) เป็นสิ่งบ่งชี้การด าเนินงานที่ผ่านมา (Retrospective performance) ดังนั้นผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการชันสูตรสาธารณสุข จ าเป็นต้องได้คุณภาพ เพ่ือให้ผู้ใช้บริการได้ผลที่ถูกต้อง (Correctness) เชื่อถือได้ (Reliability) อันเกิดประโยชน์ต่อการวินิจฉัยโรค รักษาโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และเกิดประสิทธิผล (Effectiveness)

2. วัตถุประสงค์ (Objective) เพ่ือประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ โดยเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการสมาชิกที่ใช้วัตถุทดสอบชุดเดียวกันทั้งหมด ผลวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการสมาชิกแต่ละแห่ง จะน ามาเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายที่ก าหนด (Target values หรือ Assigned values) และรายงานผลสรุปการประเมินคุณภาพให้ห้องปฏิบัติการสมาชิกทราบ เพ่ือน าไปปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาให้มีคุณภาพต่อไป

3. ผู้ด าเนินแผน (Coordinator) การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สาขาจุลชีว วิทยาคลินิก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ด าเนินการโดยนางอัญชลี กิจจะการะ และนางสาวชนากานต์ เลิศประเสริฐ กลุ่มประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เลขที่ 88/7 ถนนติวานนท์ ต าบลตลาดขวัญ อ าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 ห้องปฏิบัติการสมาชิกหรือผู้สนใจทั่วไปสามารถให้ข้อเสนอแนะได้ที่โทรศัพท์หมายเลข 0-2951-0000 ต่อ 99763 โทรสารหมายเลข 0-2951-0000 ต่อ 99764 e-mail address: [email protected]

4. คณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory board) กลุ่มประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ด าเนินงานภายใต้การให้ค าปรึกษา แนะน า สนับสนุนข้อมูลวิชาการด้านต่างๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ทางสถิติ จากคณะกรรมการที่ปรึกษาแผนทดสอบความช านาญด้านชันสูตรสาธารณสุข ซึ่งประกอบด้วยคณบดี คณะเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะเวชศาสตร์เขตร้อน จากมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชน ผู้อ านวยการศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย นายกสภาเทคนิคการแพทย์ นายกสมาคมเทคนิคการแพทย์แห่งประเทศไทย ในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ ผู้เชี่ยวชาญทางด้านสถิติและระบบสารสนเทศจากศูนย์ความเป็นเลิศทางสารสนเทศศาสตร์ชีวเวชและสาธารณสุข คณะเวชศาสตร์เขตร้อน โดยมีอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นที่ปรึกษา รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์เป็นประธานกรรมการ ผู้อ านวยการส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการและ ผู้ด าเนินงานด้านการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์เป็นเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการตามล าดับ

Page 2: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

2/21

5. ชนิดและคุณลักษณะวัตถุทดสอบ (Type & Characteristic of test item) วัตถุทดสอบที่จัดส่งให้สมาชิกและห้องปฏิบัติการกลุ่มน าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ทุกรายการ

ทดสอบจัดเตรียมโดย สถาบันโรคทรวงอก กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้รับการตรวจสอบคุณภาพด้านความเป็นเนื้อเดียวกัน (Homogeneity) ส าหรับวัตถุทดสอบ Gram stain และ Acid fast stain และเพ่ิมการตรวจสอบคุณภาพด้านความบริสุทธิ์ (Purity) และความสามารถมีชีวิต (Viability) ของวัตถุทดสอบส าหรับรายการทดสอบ Bacterial culture and Identification และ Antimicrobial susceptibility testing โดยมีคุณลักษณะวัตถุทดสอบส าหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ตารางที่ 1-4) ตารางท่ี 1 คุณลักษณะของวัตถุทดสอบส าหรับการวินิจฉัยแยกชนิดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial culture and Identification)

ตัวอย่าง ครั้งที่ 1/2557 ครั้งที่ 2/2557 ครั้งที่ 3/2557 A Acinetobacter baumannii Plesiomonas shigelloides Proteus penneri B Enterobacter cloacae Klebsiella oxytoca Enterococcus faecalis

ตารางที่ 2 คุณลักษณะของวัตถุทดสอบส าหรับทดสอบความไวของเชื้อแบคทีเรียต่อสารต้านจุลชีพ (Antimicrobial susceptibility testing)

ตัวอย่าง ครั้งที่ 1/2557 ครั้งที่ 2/2557 ครั้งที่ 3/2557

ตัวอย่าง A Acinetobacter baumannii Plesiomonas shigelloides Proteus penneri

ยาต้านจุลชีพ CTX CIP GM TE SXT AMP C CAZ NOR SXT AMP AmC CIP LVX SXT

ผลทดสอบ R S S S R R S S S S R S S S S ตัวอย่าง B Enterobacter cloacae Klebsiella oxytoca Enterococcus faecalis

ยาต้านจุลชีพ AMP CTX CZ GM SXT AMP TE CZ SXT - AMP GM S TE VA

ผลทดสอบ R R R S R R S R S S S S R S

ค าย่อ : AmC = Amoxycillin-clavulanic acid AMP = Ampicillin C = Chloramphenicol CIP = Ciprofloxacin CZ = Cefazolin NOR = Norfloxacin TE = Tetracycline LVX = Levofloxacin GM = Gentamicin S = Streptomycin VA = Vancomycin CTX = Cefotaxime CAZ = Ceftazidime SXT = Trimethoprim-sulfamethoxazole

Page 3: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

3/21

ตารางที่ 3 คุณลักษณะของวัตถุทดสอบส าหรับการทดสอบการย้อมสีแกรม (Gram stain) และรายงานลักษณะแบคทีเรียด้วยกล้องจุลทรรศน์

ตัวอย่าง คร้ังท่ี 1/2557 คร้ังท่ี 2/2557 คร้ังท่ี 3/2557

A Gram positive diplococci Gram negative coccobacilli

Gram positive bacilli in chinese letter or palisade

(with metachromatic granule)

เตรียมจากเชื้อ Streptococcus pneumoniae Acinetobacter baumannii Corynebacterium striatum

B Gram negative diplococci Gram positive cocci in

irregular cluster, single, pairs and short chains

Gram negative bacilli

เตรียมจากเชื้อ Moraxella catarrhalis Staphylococcus aureus Escherichia coli ATCC 25922

ตารางที่ 4 คุณลักษณะของวัตถุทดสอบส าหรับการย้อมสีทนกรด (Acid fast stain) และรายงานการตรวจหาเชื้อแบคทีเรียทนกรดด้วยกล้องจุลทรรศน์

ตัวอย่าง คร้ังท่ี 1/2557 คร้ังท่ี 2/2557 คร้ังท่ี 3/2557

A AFB 2+ ไม่ประเมินผล AFB 2+

B AFB 3+ AFB 2+ AFB 3+

หมายเหตุ: AFB ครั้งที่ 2/2557 ตัวอย่าง A ไม่ประเมินผล เนื่องจากค่าเป้าหมายเป็น No AFB Observed (No AFB per 100 Fields) แต่บาง Slide อาจพบเชื้อได้ 6. รายการทดสอบและระยะเวลาการจัดส่ง (Test & date of distribution)

ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการจัดส่งวัตถุทดสอบเพ่ือประเมินผลการตรวจวิเคราะห์ในรายการทดสอบ Bacterial culture and Identification Antimicrobial susceptibility testing Gram stain และ Acid fast stain ผู้ด าเนินแผนได้ด าเนินการจัดส่งวัตถุทดสอบและรายงานผลให้ห้องปฏิบัติการสมาชิกทราบในปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 (ตารางที่ 5)

ตารางที่ 5 ก าหนดการจัดส่งวัตถุทดสอบและรายงานผล

ครั้งที ่ ส่งวัตถุทดสอบ รับรายงานผลกลับ ส่งรายงานผล

เบื้องต้น ส่งรายงานผลฉบับ

สมบูรณ์ 1/2557 18 พฤศจิกายน 2556 20 ธันวาคม 2556 27 ธันวาคม 2556 27 มกราคม 2557 2/2557 24 กุมภาพันธ์ 2557 21 มีนาคม 2557 28 มีนาคม 2557 30 เมษายน 2557 3/2557 12 พฤษภาคม 2557 6 มิถุนายน 2557 13 มิถุนายน 2557 15 กรกฎาคม 2557

Page 4: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

4/21

7. การประเมินผลการตรวจวิเคราะห์ (Evaluation) การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สาขาจุลชีววิทยาคลินิก ใช้วิธีการที่แนะน าโดยองค์การอนามัย

โลก โดยเปรียบเทียบผลการตรวจวิเคราะห์ในรายการทดสอบต่างๆ ของห้องปฏิบัติการสมาชิกกับค่าพ้องกลุ่ม ตามหลักเกณฑ์ดังนี้

7.1 ค่าก าหนด (Assigned value) ค่าก าหนดในแต่ละรายการทดสอบได้จากผลการตรวจวิเคราะห์ ที่ค านวณค่าพ้องกลุ่ม (Consensus

mode) จากรายงานผลของสมาชิกท้ังหมด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 แต่ถ้าค่าพ้องกลุ่มมีค่าน้อยกว่าร้อยละ 60 จะใช้ผลของห้องปฏิบัติการกลุ่มน ามาพิจารณาร่วมกับข้อพิจารณาจากผู้ เชี่ยวชาญ (Professional judgement) ผู้จัดการคุณภาพ (QM) และผู้จัดการด้านวิชาการ (TM) ด้วย เพ่ือก าหนดค่า Assigned value หรือพิจารณางดประเมินผล

7.2 วิธีการให้คะแนน (Scoring method)

7.2.1 Bacterial culture and Identification

7.2.2 Antimicrobial susceptibility testing

7.2.3 Gram stain

การรายงานผล คะแนน รายงาน Genus ถูกต้อง 1.0 รายงาน Species ถูกต้อง 1.0 รายงาน Serotype ถูกต้อง 1.0 รายงานไม่ถูกต้อง 0.0

การรายงานผล คะแนน รายงานตรงค่าเป้าหมาย 2.0 รายงานคลาดเคลื่อนจากค่าเป้าหมายหนึ่งระดับ 1.0 รายงานไม่ตรงค่าเป้าหมาย 0.0

การรายงานผล คะแนน รายงานการติดสี (Staining) รายงานตรงค่าเป้าหมาย 2.0 รายงานไม่ตรงค่าเป้าหมาย 0.0 รายงานรูปร่าง (Morphology) รายงานตรงค่าเป้าหมาย 2.0 ค่าใกล้เคียงท่ีต่างจากค่าเป้าหมาย(เฉพาะรหัส 09-10) 0.0 รายงานไม่ตรงค่าเป้าหมาย 0.0

Page 5: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

5/21

7.2.4 Acid fast stain

7.3 การค านวณคะแนนมาตรฐาน (Standard score calculation) การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สาขาจุลชีววิทยาคลินิก จะประเมินผลการตรวจวิเคราะห์แยกตามรายการทดสอบคือ การวินิจฉัยแยกชนิดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial culture and Identification) การทดสอบความไวของเชื้อแบคทีเรียต่อสารต้านจุลชีพ (Antimicrobial susceptibility testing) การวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียด้วยการย้อมสีแกรม (Gram stain) และการวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียด้วยการย้อมสีทนกรด (Acid fast stain) โดยก าหนดคะแนนเต็มของวัตถุทดสอบแต่ละชนิดเป็นคะแนนเต็มมาตรฐานเท่ากับ 4

คะแนนมาตรฐานที่ห้องปฏิบัติการได้รับ = คะแนนรวมของผลการวิเคราะห์ × 4.0 คะแนนเต็มรวม

7.4 เกณฑ์มาตรฐานยอมรับคุณภาพ (Acceptable range)

ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการก าหนดเกณฑ์การยอมรับคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ของแต่ละรายการทดสอบที่คะแนนมาตรฐานตั้งแต่ 3.0 ขึ้นไป โดยจัดระดับคุณภาพ (Quality Ranking) ดังนี้

คะแนนมาตรฐาน (Standard score) ระดับคุณภาพ (Quality ranking)

4.00 Excellent (ดีเยี่ยม) 3.50 คะแนนมาตรฐาน < 4.00 Good (ดี) 3.00 คะแนนมาตรฐาน < 3.50 Satisfactory (พอใช้)

< 3.0 Unacceptable (ต้องปรับปรุง)

การรายงานผล คะแนน รายงานการติดสีและจ านวน (Grading) รายงานตรงค่าเป้าหมาย 2.0 คลาดเคลื่อนค่าเป้าหมายหนึ่งระดับ 1.5 คลาดเคลื่อนค่าเป้าหมายสองระดับ 1.0 ค่าเป้าหมาย Positive รายงานเป็น Negative (False negative)

0.0

ค่าเป้าหมาย Negative รายงานเป็น Positive (False positive)

-1.0

Page 6: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

6/21

8. การรายงานผล (Scheme report) ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ จัดท าและส่งรายงานผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ให้

ห้องปฏิบัติการสมาชิก ดังนี้ 8.1 รายงานผลเบื้องต้น (Preliminary report) จัดส่งให้กับสมาชิกเพ่ือใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้น

ส าหรับตรวจสอบความถูกต้องของผลการตรวจวิเคราะห์ของสมาชิก หากพบข้อผิดพลาดใด ๆ ห้องปฏิบัติการสมาชิกจะได้ด าเนินการหาสาเหตุและแก้ไขได้ทันทีโดยรายงานผลเบื้องต้นนี้จะด าเนินการจัดส่งให้กับสมาชิกหลัง Closing date แล้ว 1-2 สัปดาห์

8.2 รายงานผลฉบับสมบูรณ์ (Final report) จัดส่งให้กับสมาชิกเพ่ือแสดงผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการแต่ละแห่ง พร้อมทั้งค่า Consensus mode ของแต่ละรายการทดสอบเพ่ือใช้เปรียบเทียบกับผลการตรวจวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการสมาชิก พร้อมทั้งแสดงระดับคุณภาพและคะแนนมาตรฐานของแต่ละห้องปฏิบัติการ

8.3 รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ประจ าปี (Annual report) รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ประจ าปี ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการจะ

ด าเนินการจัดส่งให้ห้องปฏิบัติการสมาชิก หลังเสร็จสิ้นการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ครบ 3 ครั้งในแต่ละปีงบประมาณ เพื่อรายงานภาพรวมผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการสมาชิกทั้งภาครัฐและเอกชนทั่วประเทศแบ่งตามกลุ่มของต้นสังกัด

8.4 การมอบประกาศนียบัตร (Certificate) ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการจะมอบประกาศนียบัตรการรายงานผลกลับอย่างต่อเนื่องให้กับห้องปฏิบัติการสมาชิกที่รายงานผลกลับภายในก าหนดระยะเวลา (Closing date) ครบทั้ง 3 ครั้ง และมอบเกียรติบัตร (Continuous Excellent Quality; CEQ) ให้กับห้องปฏิบัติการที่รายงานผลกลับต่อเนื่องและมีคะแนนมาตรฐานเท่ากับ 4.0 ในทุกรายการทดสอบที่สมัคร

9. จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิก (Participating laboratories) 9.1 จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกที่เข้าร่วมประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ สาขาจุลชีววิทยาคลินิก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 จ านวน 1,060 แห่ง ประกอบด้วย - หน่วยงานภาครัฐสังกัดส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จ านวน 686 แห่ง ได้แก่ ห้องปฏิบัติการโรงพยาบาลศูนย์ (PHRH) 28 แห่ง โรงพยาบาลทั่วไป (PHGH) 49 แห่ง และโรงพยาบาลชุมชน (PHCH) 609 แห่ง

- หน่วยงานภาครัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุข นอกส านักงานปลัดกระทรวง (PNPS) จ านวน 53 แห่ง ได้แก่ ห้องปฏิบัติการสังกัดกรมการแพทย์ (DMS) 20 แห่ง กรมควบคุมโรค (DDC) 12 แห่ง กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ (DMSc) 8 แห่ง กรมอนามัย (DH) 8 แห่ง และกรมสุขภาพจิต (DMH) 5 แห่ง

- หน่วยงานภาครัฐนอกกระทรวงสาธารณสุข (GNPH) จ านวน 67 แห่ง ได้แก่ ห้องปฏิบัติการสังกัดกรุงเทพมหานคร กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทยและรัฐวิสาหกิจต่างๆ - หน่วยงานภาคเอกชน (NGPH) จ านวน 254 แห่ง

9.2 จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิก สังกัดกระทรวงสาธารณสุข จ านวน 739 แห่ง ได้แก่ หน่วยงานสังกัดส านักงานปลัดกระทรวง และนอกส านักงานปลัดกระทรวง จ านวน 686 แห่งและ 53 แห่ง โดยแสดงจ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกรายจังหวัดและเขตตรวจราชการ (ตารางที่ 6)

Page 7: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

7/21

ตารางที่ 6 จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกแต่ละเขตตรวจราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

เขต จังหวัด PNPS

53 แห่ง

53 แห่ง

PHRH 28 แห่ง

PHGH 49 แห่ง

PHCH 609 แห่ง

รวม 739 แห่ง

ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร 9 9

01

นนทบุรี 8 3

45 ปทุมธานี 2 1 6 พระนครศรีอยุธยา 1 12 สระบุรี 1 2 1 8

02

ชัยนาท 1 3

22 ลพบุรี 1 1 8 สิงห์บุรี 2 1 อ่างทอง 1 4

03

ฉะเชิงเทรา 1 8

28 ปราจีนบุรี 1 6 สระแก้ว 5 นครนายก 1 1 สมุทรปราการ 1 1 3

04

กาญจนบุรี 2 10

43 นครปฐม 1 1 8 ราชบุรี 2 3 6 สุพรรณบุรี 1 1 8

05

ประจวบคีรีขันธ์ 2 5

20 เพชรบุรี 1 7 สมุทรสาคร 1 สมุทรสงคราม 1 1 2

06

ชุมพร 7

50 สุราษฎร์ธานี 2 1 1 15 นครศรีธรรมราช 1 1 13 พัทลุง 1 8

07

ระนอง 1 3

28 พังงา 2 5 ภูเก็ต 1 2 กระบี่ 4 ตรัง 2 1 7

Page 8: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

8/21

เขต จังหวัด PNPS

53 แห่ง

53 แห่ง

PHRH 28 แห่ง

PHGH 49 แห่ง

PHCH 609 แห่ง

รวม 739 แห่ง

08

สงขลา 1 1 9

41 สตูล 1 5 ปัตตานี 4 ยะลา 1 6 นราธิวาส 2 11

09

จันทบุรี 1 9

33 ชลบุรี 2 2 5 ระยอง 1 8 ตราด 1 4

10

หนองคาย 4

26 เลย 1 11 หนองบัวล าภู 1 4 บึงกาฬ 5

11

นครพนม 1 9

51 มุกดาหาร 6 สกลนคร 1 13 อุดรธานี 2 2 17

12

ร้อยเอ็ด 1 10

55 ขอนแก่น 2 1 20 มหาสารคาม 1 8 กาฬสินธุ์ 12

13

อ านาจเจริญ 1 4

47 ศรีสะเกษ 1 14 ยโสธร 6 อุบลราชธานี 4 1 16

14

สุรินทร์ 1 12

74 นครราชสีมา 1 1 26 บุรีรัมย์ 1 18 ชัยภูมิ 1 13

15

เชียงใหม่ 5 1 19

49 แม่ฮ่องสอน 1 5 ล าปาง 1 1 10 ล าพูน 1 5

Page 9: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

9/21

เขต จังหวัด PNPS

53 แห่ง

53 แห่ง

PHRH 28 แห่ง

PHGH 49 แห่ง

PHCH 609 แห่ง

รวม 739 แห่ง

16

น่าน 1 11

37 พะเยา 1 3 เชียงราย 1 13 แพร่ 1 6

17

ตาก 2 6

45 พิษณุโลก 1 1 6 สุโขทัย 2 7 เพชรบูรณ์ 1 10 อุตรดิตถ ์ 1 8

18

ก าแพงเพชร 8

36 พิจิตร 8 นครสวรรค์ 2 1 10 อุทัยธานี 7

หมายเหตุ: แบ่งเขตตรวจราชการตามค าสั่งกระทรวงสาธารณสุข ที่ 159/2556 ลงวันท่ี 25 มกราคม 2556

Page 10: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

10/21

10. การรายงานผลกลับของสมาชิก (Return Report from Participants) 10.1 ร้อยละการรายงานผลกลับของห้องปฏิบัติการสมาชิกทั้งภาครัฐ และเอกชน จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกรายงานผลกลับภายในระยะเวลาที่ก าหนด (Closing date) ครั้งที่ 1/2557 และครั้งที่ 2/2557 ร้อยละ 93.2 ส่วนครั้งที่ 3/2557 ร้อยละ 92.5 อย่างไรก็ตามห้องปฏิบัติการดังกล่าวรายงานผลต่อเนื่องทั้ง 3 ครั้ง เพียงร้อยละ 84.2 (ตารางที ่7) ตารางท่ี 7 ร้อยละการรายงานผลกลับของห้องปฏิบัติการสมาชิกทั้งภาครัฐ และเอกชน

กลุ่ม ห้องปฏิบัติการ

ร้อยละการรายงานผลกลับ (จ านวนที่รายงานผลกลับ/จ านวนสมาชิก)

คร้ังท่ี 1/2557 คร้ังท่ี 2/2557 คร้ังท่ี 3/2557 รายงานผลต่อเนื่อง 3 คร้ัง

PHRH 92.9

(26/28) 96.4

(27/28) 92.9

(26/28) 82.1

(23/28)

PHGH 93.9

(46/49) 100

(49/49) 100

(49/49) 93.9

(46/49)

PHCH 92.9

(566/609) 92.0

(560/609) 91.6

(558/609) 82.3

(501/609)

PNPS 96.2

(51/53) 94.3

(50/53) 92.5

(49/53) 83.0

(44/53)

GNPH 89.6

(60/67) 95.5

(64/67) 94.0

(63/67) 82.1

(55/67)

NGPH 94.1

(239/254) 93.7

(238/254) 92.9

(236/254) 88.2

(224/254)

รวม 93.2

(988/1,060) 93.2

(988/1,060) 92.5

(981/1,060) 84.2

(893/1,060) 10.2 ร้อยละการรายงานผลกลับของห้องปฏิบัติการสมาชิก สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ห้องปฏิบัติการสมาชิกในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท้ังส่วนกลางและ 18 เขตตรวจราชการ จ านวน 739 แห่ง รายงานผลกลับเพ่ือประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ในภาพรวม ครั้งที่ 1/2557 ร้อยละ 86.5 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกรายงานผลกลับร้อยละ 93.2 ครั้งที่ 2/2557 ร้อยละ 81.8 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกรายงานผลกลับร้อยละ 92.8 ครั้งที่ 3/2557 ร้อยละ 81.8 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกรายงานผลกลับร้อยละ 92.3 และห้องปฏิบัติการสมาชิกรายงานผลกลับต่อเนื่องทั้ง 3 ครั้ง ร้อยละ 70.3 ถึงร้อยละ 91.5 โดยเฉลี่ยสมาชิกรายงานผลกลับต่อเนื่องร้อยละ 83.1 (ตารางที ่8)

Page 11: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

11/21

ตารางท่ี 8 ร้อยละการรายงานผลกลับของห้องปฏิบัติการสมาชิกภาครัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุข แต่ละเขตตรวจราชการ

เขต

ร้อยละการรายงานผลกลับ (จ านวนที่รายงานผลกลับ/จ านวนสมาชิก)

คร้ังท่ี 1/2557 คร้ังท่ี 2/2557 คร้ังท่ี 3/2557 รายงานผลต่อเนื่อง 3 คร้ัง

ส่วนกลาง 100 (9/9) 100 (9/9) 88.9 (8/9) 88.9 (8/9)

1 88.9 (40/45) 95.6 (43/45) 91.1 (41/45) 75.6 (34/45)

2 95.5 (21/22) 86.4 (19/22) 81.8 (18/22) 77.3 (17/22)

3 89.3 (25/28) 92.9 (26/28) 92.9 (26/28) 82.1 (23/28)

4 93.0 (40/43) 90.7 (39/43) 93.0 (40/43) 86.0 (37/43)

5 95.0 (19/20) 95.0 (19/20) 95.0 (19/20) 90.0 (18/20)

6 90.0 (45/50) 100 (50/50) 96.0 (48/50) 86.0 (43/50)

7 89.3 (25/28) 92.9 (26/28) 92.6 (26/28) 85.7 (24/28)

8 95.1 (39/41) 90.2 (37/41) 92.7 (38/41) 80.5 (33/41)

9 97.0 (32/33) 81.8 (27/33) 84.8 (28/33) 72.7 (24/33)

10 96.2 (25/26) 96.2 (25/26) 96.2 (25/26) 88.5 (23/26)

11 90.2 (46/51) 94.1 (48/51) 92.2 (47/51) 86.3 (44/51)

12 98.2 (54/55) 94.5 (52/55) 94.5 (52/55) 89.1 (49/55)

13 100 (47/47) 93.6 (44/47) 95.7 (45/47) 91.5 (43/47)

14 86.5 (64/74) 91.9 (68/74) 87.8 (65/74) 70.3 (52/74)

15 95.9 (47/49) 87.8 (43/49) 91.8 (45/49) 81.6 (40/49)

16 94.6 (35/37) 91.9 (34/37) 91.9 (34/37) 89.2 (33/37)

17 93.3 (42/45) 97.8 (44/45) 100 (45/45) 91.1 (41/45)

18 94.4 (34/36) 91.7 (33/36) 88.9 (32/36) 77.8 (28/36)

รวม 93.2 (689/739) 92.8 (686/739) 92.3 (682/739) 83.1 (614/739)

Page 12: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

12/21

11. ผลการประเมิน (Performance Evaluation Data) 11.1 ผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการสมาชิกทั้งภาครัฐและเอกชน

ห้องปฏิบัติการสมาชิกที่รายงานผลกลับส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ภายในระยะเวลาที่ก าหนด ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ที่ระดับคะแนนไม่ต่ ากว่า 3.0 แบ่งกลุ่มตามสังกัดห้องปฏิบัติการและรายการทดสอบ (ตารางที่ 9-10)

11.1.1 รายการทดสอบการวินิจฉัยแยกชนิดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial culture and identification) ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 1/2557 2/2557 และ 3/2557 ร้อยละ 93.2 90.0 และ 88.1 ตามล าดับ

11.1.2 รายการทดสอบความไวของเชื้อแบคทีเรียต่อสารต้านจุลชีพ (Antimicrobial susceptibility testing) ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 1/2557 2/2557 และ 3/2557 ร้อยละ 95.5 97.8 และ 93.4 ตามล าดับ 11.1.3 รายการทดสอบการวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียด้วยการย้อมสีแกรม (Gram stain)

ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 1/2557 2/2557 และ 3/2557 ร้อยละ 64.4 72.2 และ 75.7 ตามล าดับ 11.1.4 รายการทดสอบการวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียด้วยการย้อมสีทนกรด (Acid fast stain)

ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 1/2557 2/2557 และ 3/2557 ร้อยละ 96.0 96.7 และ 97.2 ตามล าดับ

ตารางที่ 9 ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ รายการทดสอบ Bacterial culture and identification และ Antimicrobial susceptibility testing

กลุ่ม ห้องปฏิบัติการ

จ านวนสมาชกิ (แห่ง)

ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชกิที่ผ่านเกณฑ์ (จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกทีผ่่านเกณฑ์/จ านวนที่รายงานผลกลับ)

Bacterial culture and identification Antimicrobial susceptibility testing 1/2557 2/2557 3/2557 1/2557 2/2557 3/2557

PHRH 25 95.7

(22/23) 96.0

(24/25) 91.7

(22/24) 100

(23/23) 100

(25/25) 95.8

(23/24)

PHGH 49 93.5

(43/46) 93.9

(46/49) 89.8

(44/49) 95.7

(44/46) 100

(49/49) 95.9

(47/49)

PHCH 37 87.5

(28/32) 84.8

(28/33) 80.6

(25/31) 96.9

(31/32) 100

(33/33) 87.1

(27/31)

PNPS 20 88.9

(16/18) 90.0

(18/20) 89.5

(17/19) 88.9

(16/18) 90.0

(18/20) 89.5

(17/19)

GNPH 30 100

(28/28) 79.3

(23/29) 85.7

(24/28) 92.9

(26/28) 100

(29/29) 92.9

(26/28)

NGPH 82 93.2

(69/74) 92.0

(69/75) 89.3

(67/75) 95.9

(71/74) 96.0

(72/75) 94.7

(71/75)

รวม 243 93.2

(206/221) 90.0

(208/231) 88.1

(199/226) 95.5

(211/221) 97.8

(226/231) 93.4

(211/226)

Page 13: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

13/21

ตารางท่ี 10 ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ รายการทดสอบ Gram stain และ Acid fast stain

กลุ่ม ห้องปฏิบัติการ

จ านวนสมาชกิ (แห่ง)

ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชกิที่ผ่านเกณฑ์ (จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกทีผ่่านเกณฑ์/จ านวนที่รายงานผลกลับ)

Gram stain Acid fast stain 1/2557 2/2557 3/2557 1/2557 2/2557 3/2557

PHRH 28 80.8

(21/26) 88.9

(24/27) 96.2

(25/26) 96.2

(25/26) 96.3

(26/27) 96.2

(25/26)

PHGH 49 76.1

(35/46) 87.8

(43/49) 91.8

(45/49) 100

(46/46) 98.0

(48/49) 100

(49/49)

PHCH 609 58.1

(329/566) 68.2

(382/560) 72.4

(404/558) 98.1

(555/566) 98.0

(549/560) 99.3

(554/558)

PNPS 53 64.0

(32/50) 69.4

(34/49) 81.3

(39/48) 78.0

(39/50) 87.8

(43/49) 81.3

(39/48)

GNPH 67 78.3

(47/60) 87.5

(56/64) 81.0

(51/63) 93.3

(56/60) 98.4

(63/64) 93.7

(59/63)

NGPH 254 72.0

(172/239) 73.1

(174/238) 75.4

(178/236) 95.0

(227/239) 94.5

(225/238) 96.2

(227/236)

รวม 1,060 64.4

(636/987) 72.2

(713/987) 75.7

(742/980) 96.0

(948/987) 96.7

(954/987) 97.2

(953/980)

11.2 ผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการสมาชิก สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตามเขตตรวจราชการ (ตารางที่ 11-12)

11.2.1 รายการทดสอบการวินิจฉัยแยกชนิดเชื้อแบคทีเรีย (Bacterial culture and identification) - ครั้งที่ 1/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 60.0 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑร์้อยละ 90.8

- ครั้งที่ 2/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 71.4 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 91.3

- ครั้งที่ 3/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 60.0 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 87.8

11.2.2 รายการทดสอบความไวของเชื้อแบคทีเรียต่อสารต้านจุลชีพ (Antimicrobial susceptibility testing)

- ครั้งที่ 1/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 80.0 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 95.0

- ครั้งที่ 2/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 83.3 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 98.4

- ครั้งที่ 3/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 62.5 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 92.7

Page 14: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

14/21

11.2.3 รายการทดสอบการวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียด้วยการย้อมสีแกรม (Gram stain) - ครั้งที่ 1/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่

ร้อยละ 52.0 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60.5 - ครั้งที่ 2/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่

ร้อยละ 52.6 ถึงร้อยละ 88.9 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70.7 - ครั้งที่ 3/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่

ร้อยละ 60.0 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 75.4 11.2.4 รายการทดสอบการวินิจฉัยเชื้อแบคทีเรียด้วยการย้อมสีทนกรด (Acid fast stain)

- ครั้งที่ 1/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 87.8 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 96.5

- ครั้งที่ 2/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 90.9 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 97.2

- ครั้งที่ 3/2557 ห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ตั้งแต่ร้อยละ 94.7 ถึงร้อยละ 100 โดยเฉลี่ยสมาชิกผ่านเกณฑ์ร้อยละ 97.9

Page 15: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

15/21

ตารางที่ 11 ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชิกแต่ละเขตตรวจราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ รายการทดสอบ Bacterial culture and identification และ Antimicrobial susceptibility testing

เขต จ านวนสมาชกิ (แห่ง)

ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชกิที่ผ่านเกณฑ์ (จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกทีผ่่านเกณฑ์/จ านวนที่รายงานผลกลับ)

Bacterial culture and identification Antimicrobial susceptibility testing 1/2557 2/2557 3/2557 1/2557 2/2557 3/2557

ส่วนกลาง 7 100 (7/7) 100 (7/7) 100 (6/6) 100 (7/7) 100 (7/7) 100 (6/6)

1 11 88.9 (8/9) 72.7 (8/11) 90.9 (10/11) 100 (9/9) 90.9 (10/11) 100 (11/11)

2 7 100 (7/7) 100 (7/7) 71.4 (5/7) 85.7 (6/7) 100 (7/7) 85.7 (6/7)

3 5 60.0 (3/5) 100 (5/5) 100 (5/5) 80.0 (4/5) 100 (5/5) 100 (5/5)

4 10 80.0 (8/10) 100 (10/10) 100 (10/10) 100 (10/10) 100 (10/10) 100 (10/10)

5 7 100 (7/7) 100 (7/7) 100 (7/7) 85.7 (6/7) 100 (7/7) 85.7 (6/7)

6 6 100 (5/5) 100 (6/6) 60.0 (3/5) 100 (5/5) 100 (6/6) 100 (5/5)

7 6 100 (6/6) 100 (6/6) 66.7 (4/6) 83.3 (5/6) 83.3 (5/6) 83.3 (5/6)

8 5 100 (5/5) 100 (5/5) 100 (5/5) 100 (5/5) 100 (5/5) 100 (5/5)

9 7 100 (6/6) 85.7 (6/7) 83.3 (5/6) 100 (6/6) 100 (7/7) 100 (6/6)

10 4 100 (4/4) 100 (4/4) 75.0 (3/4) 100 (4/4) 100 (4/4) 100 (4/4)

11 6 100 (5/5) 100 (5/5) 80.0 (4/5) 80.0 (4/5) 100 (5/5) 100 (5/5)

12 8 85.7 (6/7) 71.4 (5/7) 100 (7/7) 100 (7/7) 100 (7/7) 85.7 (6/7)

13 3 100 (3/3) 100 (3/3) 100 (3/3) 100 (3/3) 100 (3/3) 100 (3/3)

14 8 75.0 (6/8) 87.5 (7/8) 71.4 (5/7) 87.5 (7/8) 100 (8/8) 85.7 (6/7)

15 9 87.5 (7/8) 75.0 (6/8) 75.0 (6/8) 100 (8/8) 100 (8/8) 62.5 (5/8)

16 7 66.7 (4/6) 83.3 (5/6) 100 (6/6) 100 (6/6) 100 (6/6) 83.3 (5/6)

17 12 100 (10/10) 91.7 (11/12) 91.7 (11/12) 100 (10/10) 100 (12/12) 100 (12/12)

18 3 100 (2/2) 100 (3/3) 100 (3/3) 100 (2/2) 100 (3/3) 100 (3/3)

รวม 131 90.8

(109/120) 91.3

(116/127) 87.8

(108/123) 95.0

(114/120) 98.4

(125/127) 92.7

(114/123)

Page 16: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

16/21

ตารางท่ี 12 ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชิกแต่ละเขตตรวจราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ รายการทดสอบ Gram stain และ Acid fast stain

เขต จ านวนสมาชกิ (แห่ง)

ร้อยละห้องปฏิบัติการสมาชกิที่ผ่านเกณฑ ์(จ านวนห้องปฏิบัติการสมาชิกทีผ่่านเกณฑ์/จ านวนที่รายงานผลกลับ)

Gram stain Acid fast stain 1/2557 2/2557 3/2557 1/2557 2/2557 3/2557

ส่วนกลาง 9 100 (9/9) 88.9 (8/9) 100 (8/8) 100 (9/9) 100 (9/9) 100 (8/8)

1 45 60.9 (25/41) 86.0 (37/43) 80.5 (33/41) 87.8 (36/41) 93.0 (40/43) 95.1 (39/41)

2 22 66.7 (14/21) 52.6 (10/19) 72.2 (13/18) 100 (21/21) 100 (19/19) 100 (18/18)

3 28 64.0 (16/25) 76.9 (20/26) 73.1 (19/26) 92.0 (23/25) 100 (26/26) 100 (26/26)

4 43 67.5 (27/40) 76.9 (30/39) 82.5 (33/40) 95.0 (38/40) 94.9 (37/39) 97.5 (39/40)

5 20 78.9 ( 15/19) 73.7 (14/19) 94.7 (18/19) 94.7 (18/19) 100 (19/19) 94.7 (18/19)

6 50 55.6 (25/45) 58.0 (29/50) 68.8 (33/48) 97.8 (44/45) 100 (50/50) 97.9 (47/48)

7 28 75.0 (18/24) 76.0 (19/25) 72.0 (18/25) 100 (24/24) 100 (25/25) 100 (25/25)

8 41 61.5 (24/39) 70.3 (26/37) 73.7 (28/38) 94.9 (37/39) 94.6 (35/37) 97.4 (37/38)

9 33 59.4 (19/32) 85.2 (23/27) 85.7 (24/28) 96.9 (31/32) 96.3 (26/27) 100 (28/28)

10 26 52.0 (13/25) 76.0 (19/25) 60.0 (15/25) 96.0 (24/25) 100 (25/25) 96.0 (24/25)

11 51 60.9 (28/46) 68.8 (33/48) 72.3 (34/47) 97.8 (45/46) 97.9 (47/48) 97.9 (46/47)

12 55 46.3 (25/54) 63.5 (33/52) 61.5 (32/52) 98.1 (53/54) 100 (52/52) 98.1 (51/52)

13 47 59.6 (28/47) 70.5 (31/44) 66.7 (30/45) 97.9 (46/47) 90.9 (40/44) 97.8 (44/45)

14 74 56.3 (36/64) 63.2 (43/68) 86.2 (56/65) 96.9 (62/64) 95.6 (65/68) 96.9 (63/65)

15 49 48.9 (23/47) 65.1 (28/43) 77.8 (35/45) 97.9 (46/47) 100 (43/43) 97.8 (44/45)

16 37 60.0 (21/35) 79.4 (27/34) 73.5 (25/34) 91.4 (32/35) 94.1 (32/34) 100 (34/34)

17 45 61.9 (26/42) 70.5 (31/44) 77.8 (35/45) 100 (42/42) 100 (44/44) 100 (45/45)

18 36 73.5 (25/34) 69.7 (23/33) 75.0 (24/32) 100 (34/34) 97.0 (32/33) 96.9 (31/32)

รวม 739 60.5

(417/689) 70.7

(484/685) 75.4

(513/680) 96.5

(665/689) 97.2

(666/685) 97.9

(667/681)

Page 17: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

17/21

12. วิจารณ์และสรุปผล (Discussion & Conclusion) ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ด าเนินการประเมินคุณภาพการตรวจ

วิเคราะห์ สาขาจุลชีววิทยาคลินิก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 โดยจัดส่งวัตถุทดสอบปีละ 3 รอบ ให้กับห้องปฏิบัติการสมาชิก 1,060 แห่ง เป็นหน่วยงานภาครัฐ 806 แห่ง และภาคเอกชน 254 แห่ ง ห้องปฏิบัติการสมาชิกรายงานผลการตรวจวิเคราะห์กลับส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการภายในระยะเวลาที่ก าหนดครั้งที่ 1/2557 และ ครั้งที่ 2/2557 ร้อยละ 93.2 ครั้งที่ 3/2557 ร้อยละ 92.5 และรายงานผลต่อเนื่อง 3 ครั้ง ร้อยละ 84.2 ตามล าดับ (ตารางที่ 7) ห้องปฏิบัติการสมาชิกประมาณร้อยละ 7 ที่รายงานผลช้าและ/หรือไม่มีการติดตามการส่งผลทางโทรสาร ท าให้ไม่ได้รับการประเมินผลและไม่มีข้อมูลที่จะน าไปพัฒนาให้เกิดประโยชน์แกห่้องปฏิบัติการสมาชิก

ผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ รายการทดสอบ Bacterial culture and identification ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการจัดส่งวัตถุทดสอบให้กับสมาชิก จ านวน 243 แห่ง มีห้องปฏิบัติการสมาชิกรายงานผลการตรวจวิเคราะห์กลับภายในระยะเวลาที่ก าหนดและผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ผ่านเกณฑ์ในครั้งที่ 1/2557 ร้อยละ 93.2 ครั้งที่ 2/2557 ร้อยละ 90.0 และครั้งที่ 3/2557 ร้อยละ 88.1 โดยภาพรวมห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินฯมากกว่าร้อยละ 80 ส าหรับการทดสอบ Antimicrobial susceptibility testing ผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์ในครั้งที่ 1/2557 2/2557 และ 3/2557 ร้อยละ 95.5 97.8 และ 93.4 ตามล าดับ ห้องปฏิบัติการสมาชิกส่วนใหญ่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯมากกว่าร้อยละ 90 (ตารางที่ 9)

ผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ รายการทดสอบ Gram stain ของห้องปฏิบัติการสมาชิกจ านวน 1,060 แห่ง มีห้องปฏิบัติการสมาชิกรายงานผลการวิเคราะห์กลับภายในระยะเวลาที่ก าหนดและผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ผ่านเกณฑ์ ในครั้งที่ 1/2557 ร้อยละ 64.4 ครั้งที่ 2/2557 ร้อยละ 72.2 และครั้งที่ 3/2557 ร้อยละ 75.7 ห้องปฏิบัติการสมาชิกโดยรวมผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ไม่ถึงร้อยละ 80 กลุ่มท่ีมีคะแนนน้อยที่สุดคือโรงพยาบาลชุมชน ซึ่งมีผลการประเมินฯผ่านเกณฑ์ในครั้งที่ 1/2557 ร้อยละ 58.1 ครั้งที่ 2/2557 ร้อยละ 68.2 และครั้งที่ 3/2557 ร้อยละ 72.4 (ตารางที่ 10) วัตถุตัวอย่างที่สมาชิกมีคะแนนการประเมินฯน้อยที่สุดคือครั้งที่ 2/2557 วัตถุทดสอบเป็น Gram negative coccobacilli ซึ่งเตรียมจากเชื้อ Acinetobacter baumannii สมาชิกผ่านเกณฑ์เพียงร้อยละ 8.5 แบ่งเป็นรายงานการติดสีผิดร้อยละ 20.8 รายงานรูปร่างผิดร้อยละ 91.4 โดยรายงานรูปร่างเป็น diplococci ร้อยละ 68.1 รายงานรูปร่างเป็น cocci in irregular cluster, single, pairs and short chains ร้อยละ 17.3 และรายงานรูปร่างอ่ืนๆ ร้อยละ 6.0 จะเห็นได้ว่าข้อผิดพลาดในการรายงานผล Gram stain มาจากการดูรูปร่างลักษณะของเชื้อแบคทีเรียและการอ่านผลการย้อมสีแกรมไม่ตรงกับค่าเป้าหมาย ซึ่งการฝึกฝนดูรูปร่างของเชื้อแบคทีเรียอย่างต่อเนื่องสม่ าเสมอ พร้อมทั้งเรียนรู้เทคนิคการย้อมสีแกรมจะช่วยเพ่ิมความช านาญและประสบการณ์ในการย้อมสีและรายงานผล Gram stain เพ่ิมข้ึนได ้

ส าหรับรายการทดสอบ Acid fast stain ผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ผ่านเกณฑ์ ในครั้งที่ 1/2557 ร้อยละ 96.0 ครั้งที่ 2/2557 ร้อยละ 96.7 และครั้งที่ 3/2557 ร้อยละ 97.2 โดยภาพรวมห้องปฏิบัติการสมาชิกผ่านเกณฑ์การประเมินฯ มากกว่าร้อยละ 90 (ตารางที่ 10) การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ครั้งที่ 2/2557 วัตถุทดสอบ AFB-A งดประเมินผล เนื่องจากค่าเป้าหมายเป็น Negative แต่สมาชิกรายงานผลเป็น 1-9 AFB per 100 fields ร้อยละ 21.3 รายงานเป็น Positive 1+

Page 18: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

18/21

ร้อยละ 1.7 และรายงานเป็น Positive 2+ และ Positive 3+ ร้อยละ 0.2 ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการจึงไม่ท าการประเมินผลคุณภาพการตรวจวิเคราะห์วัตถุทดสอบดังกล่าว

การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นกิจกรรมคุณภาพที่มีขึ้นเพียงปีละ 3 ครั้ง อีกทั้งวัตถุทดสอบก็มีจ านวนและความหลากหลายไม่มาก อันเนื่องมาจากข้อจ ากัดในการจัดหาวัตถุทดสอบ อย่างไรก็ตามผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ก็ช่วยสะท้อนถึงคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ของห้องปฏิบัติการ และเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากกิจกรรมนี้ สมาชิกควรด าเนินการทดสอบให้เสมือนเป็นสิ่งส่งตรวจของผู้ป่วยในการตรวจวิเคราะห์ปกติในห้องปฏิบัติการ ตรวจสอบผลและรายงานผลกลับตามก าหนดเวลาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ควรต้องทบทวนรายงานผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์เพ่ือน าไปพัฒนางานของห้องปฏิบัติการให้มีคุณภาพต่อไป

13. กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement)

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สาขาจุลชีววิทยาคลินิก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ฉบับนี้ ส าเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีจากการอนุเคราะห์ของคุณอัญชลี กิจจะการะ ข้าราชการบ านาญ ซึ่งได้กรุณาเป็นผู้จัดเตรียมข้อมูล จัดท าเอกสารฉบับร่าง ตลอดจนเป็นผู้ให้ค าปรึกษาในการจัดท าจนส าเร็จสมบูรณ์ กลุ่มประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ ขอขอบพระคุณ คุณอัญชลี กิจจะการะ มา ณ ที่นี้

Page 19: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

19/21

ภาคผนวก (Annex)

ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาแผนทดสอบความช านาญ ด้านชันสูตรสาธารณสุข

Page 20: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

20/21

Page 21: Annual report for NEQAS in Clinical Microbiology - 1. บทน าblqs.dmsc.moph.go.th/assets/eqa/AnnualReportBio2557.pdf · Annual report for National External Quality Assessment

รายงานสรุปผลการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 Annual report for National External Quality Assessment Scheme in Clinical Microbiology - 2014

21/21

รายนามผู้ปฏิบัติงาน

กลุ่มประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ส านักมาตรฐานห้องปฏิบัตกิาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2557

1. นางสาวสุภาวัลย ์ ปิยรัตนวรสกุล 2. นางอัญชลี กิจจะการะ 3. นางสาวอาริดา กล่อมเกลี้ยง 4. นางสาวนัฐกาญจน์ ละเอียดดี 5. นางสาวชนากานต์ เลิศประเสริฐ 6. นางสาวพัชรี บุญสิทธิ์ 7. นางสาววิลัยวรรณ แก่นยิ่ง 8. นางกันยรัตน์ สุริโย 9. นายสกล แก้วนนท์ 10. นายตัน แป้นทอง 11. นายสุนันท์ สนธิระ