ผลการวิเคราะห ข...

23
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ บทที4 ผลการวิเคราะหขอมูล การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลการวิจัย เรื่องยุทธศาสตรการพัฒนาพฤติกรรม ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต กรณีศึกษา : บริษัทควอลิติคารตอนส จํากัด จังหวัดสมุทรปราการ เปนงานวิจัยและพัฒนา โดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ทั้งกอนและหลังการใชยุทธศาสตรโดยมีกรอบการเก็บขอมูล ดังนีขอมูลเชิงปริมาณ จากการใชแบบสอบถามศึกษาขอมูลสวนบุคคล และขอมูลทั่วไปของ พนักงานฝายผลิตในแตละดาน ดานสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน ทัศนคติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานความรูเกี่ยวกับ ความปลอดภัย ในการปฏิบัติงานปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต จํานวน 107 คน ขอมูลเชิงคุณภาพ จากการสนทนากลุมถึงสภาพสาเหตุปญหาพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ที่ไมปลอดภัยและแนวทางการแกไข ผูวิจัยนําขอมูลเชิงปริมาณ และขอมูลเชิงคุณภาพมาวิเคราะหและกําหนดแผนยุทธศาสตร การพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต ประเมินแผนยุทธศาสตรที่ไดและ ประยุกตใชกับกลุมพนักงานฝายผลิต บริษัทควอลิติคารตอนส จํากัด โดยมีผลการวิจัยดังตอไปนี4.1 สถานภาพของประชากรและกลุมตัวอยาง ยุทธศาสตรการพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต กรณีศึกษา : บริษัทควอลิติคารตอนส จํากัด จังหวัดสมุทรปราการ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู ทัศนคติและพฤติกรรมดานความปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต เพื่อศึกษาปญหาการเกิดอุบัติเหตุ จากการปฏิบัติงานของพนักงาน เพื่อสรางยุทธศาสตรการพัฒนาพฤติกรรมของพนักงานฝายผลิต ในดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน โดยการศึกษาขอมูลสวนบุคคล และขอมูลทั่วไปของ พนักงานฝายผลิตในแตละดาน ดานสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน ทัศนคติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ความรูเกี่ยวกับความปลอดภัย

Upload: others

Post on 02-Feb-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลการวิจัย เร่ืองยุทธศาสตรการพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภยัในการปฏิบัติงานของพนกังานฝายผลิต กรณีศึกษา : บริษัทควอลิติ้ คารตอนส จํากัด จังหวดัสมุทรปราการ เปนงานวิจยัและพฒันา โดยใชระเบียบวิธีวจิัยเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ ทั้งกอนและหลังการใชยุทธศาสตรโดยมีกรอบการเก็บขอมูล ดังนี้ ขอมูลเชิงปริมาณ จากการใชแบบสอบถามศกึษาขอมูลสวนบุคคล และขอมูลทั่วไปของพนักงานฝายผลิตในแตละดาน ดานสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมความปลอดภยั ในการปฏิบัติงาน ทัศนคติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานความรูเกีย่วกับ ความปลอดภัยในการปฏิบัติงานปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต จํานวน 107 คน ขอมูลเชิงคุณภาพ จากการสนทนากลุมถึงสภาพสาเหตปุญหาพฤติกรรมการปฏิบัติงาน ที่ไมปลอดภัยและแนวทางการแกไข ผูวิจัยนําขอมลูเชิงปริมาณ และขอมูลเชิงคุณภาพมาวิเคราะหและกําหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลติ ประเมินแผนยุทธศาสตรที่ไดและประยุกตใชกบักลุมพนักงานฝายผลิต บริษัทควอลิติ้ คารตอนส จํากดั โดยมีผลการวิจัยดังตอไปนี้

4.1 สถานภาพของประชากรและกลุมตัวอยาง

ยุทธศาสตรการพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต กรณีศึกษา : บริษัทควอลิติ้ คารตอนส จํากัด จังหวัดสมทุรปราการ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความรู ทัศนคติและพฤติกรรมดานความปลอดภยัของพนักงานฝายผลิต เพือ่ศึกษาปญหาการเกิดอุบัติเหตุจากการปฏิบัตงิานของพนักงาน เพื่อสรางยุทธศาสตรการพัฒนาพฤตกิรรมของพนักงานฝายผลิตในดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน โดยการศึกษาขอมูลสวนบุคคล และขอมูลทั่วไปของพนักงานฝายผลิตในแตละดาน ดานสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมความปลอดภยั ในการปฏิบัติงาน ทัศนคติเกีย่วกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัย

Page 2: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

48

ในการปฏิบัติงาน ปญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานเพื่อนาํผลการศึกษาไปทําการวิเคราะหปจจัยที่มีผลตอการเกิดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงานจากนั้นจดัทํา และนําโครงการพัฒนาไปปฏิบัติเพื่อแกไขปญหาการเกดิอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน

4.2 การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหและการนําเสนอขอมูลในการวิจัย ผูวิจยัไดนําเสนอทั้งรูปแบบของการบรรยายความ และตารางพรอมการบรรยายโดยนําเสนอผลการวิเคราะห ไวเปนหวัขอตามลําดับ คือผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามผลการวิเคราะหขอมูลจากการสนทนากลุมและผลการทดลองใชและประเมนิโครงการพัฒนา 4.2.1 ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม

การดําเนินการสอบถามขอมูล เพื่อใหไดรายละเอยีดเกี่ยวกับขอมูลสวนบุคคลขอมูลการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานฝายผลิตจําแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษาสูงสดุ ประสบการณในทํางาน อวัยวะสวนที่เกดิการบาดเจ็บ ความรุนแรงของอุบัติเหตุ และลักษณะอุบัติเหตุ ปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเกีย่วกับพฤติกรรมความปลอดภยัในการปฏิบัติงานวิเคราะห โดยหา คาความถี่ และรอยละ โดยผลการวิเคราะหขอมูลมีดังนี้

1) ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม (1) ขอมูลสวนบุคคลของพนักงานฝายผลิต

ผลการวิเคราะหขอมูลสวนบุคคลของพนักงานฝายผลิต จําแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณในการทํางาน ดังแสดงในตาราง 3 ตาราง 3 ขอมูลสวนบุคคลของพนักงานฝายผลิต (n = 107)

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละ เพศ ชาย 62 57.90 หญิง 45 42.10

Page 3: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

49

ตาราง 3 (ตอ) ขอมูลสวนบคุคลของพนักงานฝายผลิต (n = 107)

ขอมูลสวนบุคคล จํานวน (คน) รอยละ อายุ 19-24 ป 11 10.30 25-30 ป 22 20.60 31-36 ป 30 28.00 37-42 ป 20 18.70 43-48 ป 10 9.30 49 ป หรือสูงกวา 14 13.10 ระดับการศึกษา ประถมศึกษา 5 4.70 มัธยมศึกษาตอนตน 31 29.00 มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. 44 41.10 อนุปริญญา/ปวส. 15 14.00 ปริญญาตรี 12 11.20 ประสบการณการทํางาน ยังไมถึง 1 ป 3 2.80 ตั้งแต 1 ป ไมเกิน 5 ป 36 33.60 ตั้งแต 5 ป ไมเกิน 10 ป 47 43.90 10 ป หรือสูงกวา 21 19.60

จากตาราง 3 พบวา พนกังานฝายผลิต จํานวน 107 คน สวนใหญเปน เพศชาย

จํานวน 62 คน คิดเปนรอยละ 57.90 เพศหญิงจํานวน 45 คน คิดเปนรอยละ 42.10 ชวงอาย ุของพนักงานฝายผลิต พบวา มีอายุระหวาง 31- 36 ปมากที่สุด จํานวน 30 คน คิดเปนรอยละ 28.00 รองลงมาคือมีอายุระหวาง 25-30 ป จํานวน 22 คน คิดเปนรอยละ 20.60 ระดบัการศกึษาสวนใหญ จบการศึกษาชัน้มัธยมศึกษาตอนปลาย / ปวช. จํานวน 44 คน คิดเปนรอยละ 41.10 รองลงมาคือ จบชั้นมัธยมศกึษาตอนตน จํานวน 31 คน คิดเปนรอยละ 29.00 ดานประสบการณการทํางาน พบวา สวนใหญทํางานตั้งแต 5 ปไมเกนิ 10 ป จํานวน 47 คน คิดเปนรอยละ 43.90 รองลงมาคือทํางานตั้งแต 1 ป ไมเกิน 5 ป จํานวน 36 คิดเปนรอยละ 33.60

Page 4: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

50

(2) ขอมูลการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานฝายผลิต ขอมูลการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานฝายผลิต แบงออกเปน การไดรับอุบัติเหตุ อวัยวะสวนทีไ่ดรับอุบัติเหต ุ ความรุนแรงของอุบัติเหตุ และลักษณะอบุัติเหตุ ดังแสดงในตาราง 4 ตาราง 4 การเกิดอุบัติเหตุของพนักงานฝายผลิต (n = 107)

การเกิดอุบัติเหตุของพนักงาน จํานวน (คน) รอยละ การไดรับอุบัตเิหต ุ เคย 107 100 ไมเคย 0 0 อวัยวะสวนทีไ่ดรับอุบัติเหต ุ ตา 5 4.67 นิ้วมือ 79 73.83 แขน 10 9.35 เทาและนิว้เทา 8 7.48 อ่ืน ๆ 5 4.67 ความรุนแรงของอุบัติเหต ุ บาดเจ็บเล็กนอย/ไมตองหยุดงาน 90 84.10 หยุดงานไมเกิน 3 วัน 12 11.20 หยุดงานเกนิ 3 วัน 5 4.70 ลักษณะอุบัติเหต ุ วัตถุบาด 77 71.96 วัตถุพังทลาย/หลนใส 11 10.28 วัตถุกระเดน็เขาตา 5 4.67 วัตถุหนีบ/ดึง 8 7.48 อ่ืน ๆ 6 5.60

จากตาราง 4 พบวา พนักงานฝายผลิตเคยประสบอุบัติเหตุในรอบ 1 ป ทุกคน คิดเปนรอยละ 100 โดยนิ้วมอืเปนอวยัวะทีไ่ดรับการบาดเจ็บจากอุบัตเิหตุมากที่สุด จํานวน 79 คน คิดเปนรอยละ 73.83 รองลงมาคือแขน จํานวน 10 คน คิดเปนรอยละ 9.30 ความรุนแรงของ

Page 5: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

51

อุบัติเหตุจากการบาดเจ็บ พบวา อยูในระดับเล็กนอยไมตองหยุดงานมากที่สุด จํานวน 90 คน คิดเปนรอยละ 84.10 รองลงมาคือหยุดงานไมเกิน 3 วัน จํานวน 12 คน คิดเปนรอยละ 11.20 ลักษณะอุบัติเหตุ พบวา เกิดจากวัตถุบาดมากที่สุด (เชน กระดาษบาดนิ้วมือ) จํานวน 77 คน คิดเปนรอยละ 71.96 รองลงมาคือวัตถุพังทลาย / หลนใส (เชน กระดาษวางบนพาเลทสูงเกินไป) จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 10.28 (2) สภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน

การวิเคราะหขอมูล และนําเสนอผลการวิเคราะหโดยการหาคาเฉล่ีย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังแสดงในตาราง 5

ตาราง 5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน (n = 107)

สภาพแวดลอม ในการปฏิบัติงาน

ตองปรับ ปรุง

พอใช

ดี

ดีมาก

x

S.D.

แปลผล

1. สภาพการจัดพื้นที่ ในการปฏิบัติงาน

6 (5.6)

16 (15.0)

55 (51.4)

30 (28.0)

1.96 .823 พอใช

2. สภาพอุปกรณ เครื่องมือ ที่ใชในการปฏิบัติงาน

8 (9.3)

17 (16.8)

47 (43.9)

32 (29.9)

2.99 .874 ดี

3 การระบายถายเทอากาศ ในพื้นที่ปฏิบตัิงาน

12 (11.2)

15 (14.0)

46 (43.0)

34 (31.8)

2.95 .955 ดี

4. การดูแลรักษาความสะอาดความเปนระเบียบบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน

10 (9.3)

18 (16.8)

47 (43.9)

32 (29.9)

1.92

.992

พอใช

5 สภาพแสงสวางในพื้นที่ปฏิบัติงาน

9 (8.4)

12 (11.2)

48 (44.9)

38 (35.5)

1.93 .898 พอใช

6. สภาวะแวดลอมทางดานเสียงในบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน

7 (6.5)

16 (15.0)

51 (47.7)

33 (30.8)

1.97

.852

พอใช

Page 6: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

52

ตาราง 5 (ตอ) คาเฉลี่ยและสวนเบีย่งเบนมาตรฐาน ของสภาพแวดลอมในการปฏิบตัิงาน (n = 107)

สภาพแวดลอม ในการปฏิบัติงาน

ตองปรับ ปรุง

พอใช

ดี

ดีมาก

x

S.D.

แปลผล

7. สภาพอุปกรณ ปองกันอันตราย สวนบุคคล

8 (7.5)

10 (9.3)

54 (50.5)

35 (32.7)

3.08

.996

ดี

8. การตรวจสอบ ปองกัน การแกไขจุดอนัตราย

20 (18.7)

35 (32.7)

28 (26.2)

24 (22.4)

2.73 .916 ดี

9. สภาพเครื่องจกัรที่ใช ในการปฏิบัติงาน

10 (9.3)

11 (10.3)

51 (47.7)

35 (32.7)

3.04 .900

ดี

หมายเหตุ : ตัวเลขใน ( ) หมายถึง คารอยละ

จากตาราง 5 จะเห็นไดวาในดานสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงาน พบวา พนกังานฝายผลิต มีคาเฉลี่ยคะแนนความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลอยู ในระดบัสูงที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.08 (S.D. = .848) สวนประเด็นทีพ่นักงานฝายผลิต มีคาเฉลี่ยคะแนนความคิดเหน็ต่ําสุดคือการดูแลรักษาความสะอาดความเปนระเบยีบบริเวณพืน้ที่ปฏิบัติงานโดยมคีาเฉลี่ยเทากับ 1.92 (S.D. = .992)

(3) พฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การวิเคราะหขอมูล และนําเสนอผลการวิเคราะหโดยการหาคาเฉลี่ย

และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังแสดงในตาราง 6

Page 7: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

53

ตาราง 6 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน (n = 107)

พฤติกรรมความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน

ไมปฏิบัติเลย

ปฏิบัติบาง คร้ัง

ปฏิบัติบอย คร้ัง

x

S.D.

แปลผล

1 ทานสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลของทาน ในพื้นที่ทีก่ําหนด

65 (60.7)

30 (28.0)

12 (11.2)

1.48 (49.3)

.692 ไมปฏิบัติเลย

2 ทานปฏิบัติตามกฎระเบยีบ ความปลอดภยัในการทํางาน

65 (60.7)

30 (28.0)

12 (11.2)

1.48 (49.3)

.692 ไมปฏิบัติเลย

3 ทานปดเครื่องเพื่อตรวจสอบ เมื่อเครื่องมีเสียงผิดปกต ิ

61 (57.0)

26 (24.3)

20 (18.7)

1.52 (50.6)

.731 ปฏิบัติบางครั้ง

4 ทานไดแกไขจดุอันตรายตาง ๆ ในบริเวณพืน้ที่ปฏิบัติงาน

67 (62.6)

25 (23.4)

15 (14.0)

1.50 (50.0)

.732 ไมปฏิบัติเลย

5 ทานสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลขณะปฏิบัติงาน

65 (60.7)

30 (28.0)

12 (11.2)

1.37 (45.6)

.651 ไมปฏิบัติเลย

6 ทานแจงหัวหนางานหรือ ผูที่เกี่ยวของทราบถึงสถานการณ ที่อาจกอใหเกดิอันตราย ขณะทํางาน

67 (62.6)

25 (23.4)

15 (14.0)

1.50 (50.3)

.732 ปฏิบัติบางครั้ง

7 ทานไมสวมอปุกรณปองกนัอันตรายในการทํางานเพราะ เปนอุปสรรคตอการทํางาน

66 (61.7)

25 (27.1)

15 (11.2)

1.50 (48.3)

.690 ไมปฏิบัติเลย

8 ทานปฏิบัติตามขั้นตอน การทํางานเพือ่ความปลอดภัย

62 (57.9)

25 (23.4)

15 (18.7)

1.61 (53.6)

.786 ปฏิบัติบอยครั้ง

9 ทานปฏิบัติงานตามคูมือมาตรฐานการปฏิบัติงานในแตละพื้นที ่

60 (56.1)

28 (26.2)

15 (17.8)

1.62 (54.0)

.773 ปฏิบัติบอยครั้ง

หมายเหตุ : ตัวเลขใน ( ) หมายถึง คารอยละ

Page 8: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

54

จากตาราง 6 จะเห็นไดวาในดานพฤตกิรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน พนกังานฝายผลิต มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ในประเด็นการปฏิบัติงาน ตามคูมือมาตรฐานการปฏิบตัิงานในแตละพื้นที่สูงที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 1.62 (S.D. = .773) สวนประเด็นที่พนักงานฝายผลิต มีคะแนนเฉลี่ยพฤตกิรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานต่ําสุดคือการสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลขณะปฏิบัติงาน โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 1.37 (S.D. = .651)

(4) ทัศนคติเกีย่วกบัความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน การวิเคราะหขอมูล และนําเสนอผลการวิเคราะหโดยการหาคาเฉลี่ย

และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ดังแสดงในตาราง 7

ตาราง 7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทัศนคติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน (n=107)

ทัศนคติเกีย่วกบัความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน

ไมเห็นดวย

ไมแนใจ

เห็นดวย

x S.D. แปลผล

1. ทานมีความรูสึกวางานดาน ความปลอดภยัเปนสวนหนึง่ ของงานประจาํที่ทําอยู

8 (7.5)

7 (6.5)

92 (86.0)

2.78 .567 ดี

2 ทานมีความเหน็วาการปฏิบตัิงาน ตามวิธีการหรอืข้ันตอนของ การทํางานชวยใหเกิดความปลอดภัย

6 (5.6)

7 (8.4)

92 (86.0)

2.80 .522 ดี

3. ทานมีความเหน็วาการสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลสามารถลดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงานได

8 (7.5)

12 (11.2)

87 (81.3)

2.36

.618

ปานกลาง

4. ทานมีความเหน็วาขณะปฏิบตัิงานตองปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัย

8 (7.5)

10 (9.3)

89 (83.2)

2.43 .790 ปานกลาง

5. ทานมีความเหน็วาการทํางานดานความปลอดภยัคือหัวใจของการปฏิบัติงาน

9 (8.4)

10 (9.3)

88 (82.2)

2.73

.604

ดี

Page 9: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

55

ตาราง 7 (ตอ) คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของทัศนคติเกีย่วกบัความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน (n=107)

ทัศนคติเกีย่วกบัความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน

ไมเห็นดวย

ไมแนใจ

เห็นดวย

x S.D. แปลผล

6. ทานมีความเหน็วาการประชาสัมพันธ ดานความปลอดภัยในหนวยงาน จะทําใหเกดิความปลอดภยั ในการปฏิบัติงาน

5 (4.7)

13 (12.1)

89 (83.2)

2.79

.509

ดี

7. ทานมีความเหน็วา การฝกอบรม การไดรับความรูเพิ่มเติมดานความปลอดภัยจะทาํใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

5 (4.7)

12 (11.2)

90 (84.1)

2.81

.497

ดี

8. ทานมีความเหน็วาการที่มีความรูเกี่ยวกับอุปกรณเครื่องมือที่ใช ในการปฏิบัติงานจะชวยใหเกิด ความปลอดภยัในการปฏิบัติงาน

3 (2.8)

11 (10.3)

93 (86.9)

2.84

.438

ดี

9. ทานมีความเหน็วาควรมกีารใหของขวัญ หรือของที่ระลึกเพือ่เปนการจูงใจใหปฏิบัตงิานดวยความปลอดภัย

8 (7.5)

11 (10.3)

88 (82.2)

2.77

.571

ดี

10. ทานมีความเหน็วาการพฒันาทักษะความ สามารถในการทํางานจะชวยใหเกิดความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

8 (7.5)

12 (11.2)

87 (81.3)

2.72

.592

ดี

11. ทานมีความเหน็วาการจัดนิทรรศการดานความปลอดภัยในการทํางาน จะชวยเพ่ิมความรูดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

3 (2.8)

3 (2.8)

101 (94.4)

2.92

.367 ดี

หมายเหตุ : ตัวเลขใน ( ) หมายถึง คารอยละ

Page 10: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

56

จากตาราง 7 จะเห็นไดวา ในดานทัศนคตเิกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน พบวา พนกังานฝายผลิตมีคะแนนเฉลี่ย ดานทัศนคตเิกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ในประเด็นที่มคีวามเหน็วา การจัดนิทรรศการดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานจะชวยเพิม่ความรูดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานสูงที่สุด โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.92 (S.D. = .367) สวนประเด็นที่พนักงานฝายผลิตมีคะแนนเฉลี่ยทัศนคติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางานต่ําที่สุด คือการมีความเห็นวาการพัฒนาทักษะความสามารถในการปฏิบัติงานจะชวยใหเกดิความปลอดภยัในการปฏิบัติงาน โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 2.72 (S.D. = .592)

(5) ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน ตาราง 8 จํานวนและรอยละของความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน (n = 107)

ตอบผิด ตอบถูก ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน จํานวน(คน) รอยละ จํานวน(คน) รอยละ

1. การเขี่ยเศษกระดาษออกจากเครื่องจักร ไมจําเปนตองปดเครื่อง

12

11.2

95

88.8

2. การดูแลความสะอาดในพื้นที่ที่ทํางาน ความเปนระเบียบเรียบรอยในพื้นที่ทํางานเปนหนาที่ของแมบาน

22

20.6

89

79.4

3. การซอยกระดาษและการรับกระดาษ ควรใหมืออยูหางจากใบมีดอยางนอย 1 ฟุต

18 16.8 85 83.2

4. เครื่องดับเพลิงชนิด A ใชดับเพลิงประเภท กระดาษผาไม

19

17.8 89 82.2

5. การไมสวมถุงมือปองกันอันตราย ขณะทํางานอาจทําใหนิ้ว มือถูกตัด เฉือน บาด ทิ่ม แทง จากวัสดุมีคมได

11 10.3 96 89.7

6. ระดับความดังของเสียง 100 เดซิเบลไมตองใสปล๊ักอุดหูหรืออุปกรณปองกันเสียง

18 16.8 89 83.2

Page 11: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

57

ตาราง 8 (ตอ) จํานวนและรอยละของความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน (n = 107)

ตอบผิด ตอบถูก ความรูเกี่ยวกบัความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน จํานวน(คน) รอยละ จํานวน(คน) รอยละ

7. การกินยาลดน้าํมูกกอนทํางาน 30 นาที จะทําใหไมเกดิอาการงวงซมึ ขณะทํางาน

20 18.7 87 81.3

8. การใชผาเช็ดหนาหรือเศษผาชนิดอื่นปดจมูกขณะปฏิบัติงานไมสามารถกรองฝุน หรือ ส่ิงแปลกปลอมเขาระบบทางเดินหายใจได

17 15.9 90 84.1

9. แวนสายตาหรอืแวนกันแดดเปนแวนตา ที่สามารถทนตอแรงกระแทกหรือปองกันเศษวัสดกุระเด็นเขาตาไดดกีวาแวนตานิรภัย

22 20.6 85 79.4

10. การสวมรองเทาหัวโลหะสามารถปองกันเทาและนิว้เทาจากวัตถุหลนทับการถูกกระแทก หนีบ นิว้เทาได

21 19.6 86 80.4

11. การวางกระดาษบนพาเลท ควรวางในระดับความสูงไมเกนิ 3 เมตร

15 14.0 92 86.0

จากตาราง 8 จะเหน็ไดวาในดานความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติ พบวา

พนักงานฝายผลิต มีความรูในประเด็นการไมสวมถุงมือปองกันอันตรายขณะปฏิบตัิงานอาจทําใหนิ้วมือถูกตัด เฉือน บาด ทิม่ แทง จากวัสดุมีคมไดมากที่สุด (จํานวน 96 คน คิดเปนรอยละ 89.7) รองลงมา คือการตองปดเครื่องกอนเขี่ยเศษกระดาษออกจากเครื่องจักร (จาํนวน 95 คน คิดเปนรอยละ 88.8) และสําหรับประเด็นทีพ่นักงานฝายผลิตมีความรูเกีย่วกับความปลอดภยั ในการปฏิบัติงานต่ําสุด คือประเด็นการดูแลความสะอาดในพืน้ที่ทีป่ฏิบัติงานความเปนระเบยีบเรียบรอยในพืน้ที่ทํางาน (จํานวน 85 คน คิดเปนรอยละ 79.4) และประเดน็เกีย่วกับคณุสมบัติ ของแวนตานิรภัยแวนสายตาหรือแวนกันแดด (จํานวน 85 คน คิดเปนรอยละ 79.4)

Page 12: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

58

(6) ผลวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกบัปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะ สรุปปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเกี่ยวกับความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

จากการศึกษาเรื่องยุทธศาสตรการพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต จํานวน 107 คน พบวามีพนกังานฝายผลิต จํานวน 80 คน คิดเปนรอยละ 85.60 ที่มีการเสนอปญหาอุปสรรค และขอเสนอแนะเกี่ยวกับความปลอดภยัในการปฏิบัติงาน โดยสรุปจากผลการวิจัยไดดงันี้

ก. ปญหาอุปสรรคที่เกี่ยวกับพฤติกรรมความปลอดภยัในการปฏิบัติงานเปนปญหา ที่ทําใหพนักงานฝายผลิตไมสามารถปฏิบัติงานเพื่อใหเกดิความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน พบวา พนักงานฝายผลิต เสนอปญหาและอุปสรรคกลาวโดยสรุปคือ

1) ปญหาอุปสรรคเกี่ยวกับอุปกรณปองกนัความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน พบวามีพนักงานฝายผลิต จํานวน 55 คน คิดเปนรอยละ 58.85 มีอุปสรรคการสวมใสอุปกรณปองกันความปลอดภัย เชน ถุงมือ ผาปดจมูก ปอกแขน แวนตา ปล๊ักอุดหูเวลาสวมใส ขณะปฏิบัติงานรูสึกอึดอัดราํคาญจึงเปนอปุสรรคในการปฏิบัติงานสาเหตุการเกดิอุบตัิเหตุ พบวา เกิดเพราะความประมาทของพนักงานฝายผลิต เพราะคิดวาตวัเองปฏิบัติงานมานานหลายป มีความชํานาญแลวไมจําเปนตองสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายสวนบุคคลจึงทําใหเกิดการบาด เจ็บจากการทํางานเพิ่มมากขึน้

2) ปญหาอุปสรรคเกี่ยวกับชองทางสงสินคามีพื้นที่ตางระดับ พบวา มีพนักงานฝายผลิต จํานวน 25 คน คิดเปนรอยละ 26.75 มีอุปสรรคในการขนยายวตัถุดิบ ไปยังขบวนการผลิตในแตละแผนก ทําใหกระดาษหรือวัตถุดิบหลนจากพาเลทลงมาทับ

3) ปญหาอุปสรรคเกี่ยวกับการวางกระดาษบนพาเลทสูงเกิน พบวา มีพนักงานฝายผลิต จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 8.56 มีอุปสรรคทําใหเคลื่อนยายลําบาก และยังทําใหเกิดอุบัติเหตุจากกระดาษหลนทับ

ข. ขอเสนอแนะ 1) หนวยงานควรมีการสรางหรือสงเสริม ใหพนักงานฝายผลิตมีทัศนคติ

ที่ถูกตองมีจิตสํานึก และใหความสําคัญตอความปลอดภัยในการทํางาน โดยเฉพาะการสวมใสอุปกรณปองกนัอันตราย

2) หนวยงานควรมีการสงเสริมประชาสัมพันธส่ือสารเผยแพรขอมูลขาวสารดานความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น โดยเนนการใหความรูอธิบายใหรูถึงอันตรายที่เกดิขึ้นผลลัพธ และการสูญเสียที่จะเกิดขึน้โดยจะตองปลุกจิตสํานึกใหพนักงานสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการเตือนอันตรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงาน

Page 13: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

59

(7) ผลการทดสอบความสัมพันธคุณลักษณะสวนบุคคลของพนักงานฝายผลิตกับพฤติกรรมความปลอดภัย ผูวิจัยแบงการทดสอบความสัมพันธคุณลักษณะสวนบุคคลของพนักงาน ฝายผลิตกับพฤติกรรมความปลอดภัย แบงออกเปน 2 กลุม โดยจาํแนกตามปจจยัดานบุคคล ประสบการณในการทํางาน โดยผลการทดสอบความสัมพันธ มีดังนี ้ ก. ปจจยัสวนบุคคลที่กับพฤติกรรมความปลอดภัยโดยแบงการทดสอบ ออกเปน 3 ขอยอย ดังนี ้ 1) เพศกบัพฤติกรรมความปลอดภัย ตาราง 9 การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลติ

จําแนกตาม เพศ

เพศ n x S.D. t df P-value ชาย 62 3.24 1.09 1.69 105 0.14 หญิง 45 2.73 1.13

p < 0.05 ผลการวิเคราะหเปรียบเทยีบคาเฉลี่ยของพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลิตจําแนกตาม เพศ พบวา พนักงานฝายผลิตที่มีเพศแตกตางกันมพีฤติกรรมความปลอดภัย ไมแตกตางกัน โดยการทดสอบใชคาสถิติที่ผลการทดสอบไดคา t = 1.69 และคา P-value = 0.14 ดังนั้นเพศจึงเปนปจจยัที่ไมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต 2) อายุกับพฤติกรรมความปลอดภัย ตาราง 10 การวิเคราะหความแปรปรวนของพฤติกรรมปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต

จําแนกตาม อายุ

แหลงความแปรปรวน df S.S. M.S. F Ratio P-value ระหวางกลุม 4 170.43 22.61 0.42 0.79 ภายในกลุม 102 10508.22 81.26 รวม 106 10678.65

p < 0.05

Page 14: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

60

ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของพฤตกิรรมความปลอดภัยของพนกังานฝายผลิตจําแนกตามอายุ พบวา พนักงานฝายผลติที่มีอายุแตกตางกันมีพฤตกิรรมความปลอดภัย ไมแตกตางกัน โดยการทดสอบใชคาสถิติ F ผลการทดสอบไดคา F Ratio = 0.42 และคา P-value = 0.79 ดังนั้น อายุจึงเปนปจจยัที่ไมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัย ของพนักงานฝายผลิต 3) การศึกษากบัพฤติกรรมความปลอดภยั ตาราง 11 การวิเคราะหความแปรปรวนของพฤติกรรมความปลอดภยัของพนักงานฝายผลิต จําแนกตาม ระดบัการศึกษา

แหลงความแปรปรวน df S.S. M.S. F Ratio P-value ระหวางกลุม 4 8.87 2.21 1.00 0.41 ภายในกลุม 102 442.39 2.19 รวม 106 451.26

p < 0.05

ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของพฤตกิรรมความปลอดภัยของพนกังานฝายผลิตจําแนกตามระดับการศึกษา พบวา พนกังานฝายผลิตที่มีระดับการศกึษาแตกตางกนัมีพฤติกรรม ความปลอดภยัไมแตกตางกนั โดยการทดสอบใชคาสถิติ F ผลการทดสอบ ไดคา F Ratio = 1.00 และคา P-value = 0.41 ดังนั้น ระดับการศึกษา จึงเปนปจจัยทีไ่มมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต ข. ประสบการณในการปฏิบัติงานกับพฤติกรรมความปลอดภัย ตาราง 12 การวิเคราะหความแปรปรวนของพฤติกรรมความปลอดภยัของพนักงานฝายผลิต จําแนกตาม ประสบการณในการปฏิบัติงาน

แหลงความแปรปรวน df S.S. M.S. F Ratio P-value ระหวางกลุม 4 4.64 1.42 2.15 0.08 ภายในกลุม 102 100.46 0.66 รวม 106 105.10

p < 0.05

Page 15: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

61

ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต จําแนกตามประสบการณในการทํางาน พบวา พนักงานฝายผลติที่มีประสบการณในการทํางานแตกตางกนั มีการปฏิบัติงานไมแตกตางกนั โดยการทดสอบใชคาสถิติ F ผลการทดสอบไดคา F Ratio = 2.15 และคา P-value = 0.08 ดังนั้น ประสบการณในการทํางานจึงเปนปจจยัที่ไมมผีลตอพฤติกรรมความปลอดภยัของพนักงานฝายผลิต ค. ทัศนคติกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ตาราง 13 การวิเคราะหความแปรปรวนของพฤติกรรมความปลอดภยัของพนักงานฝายผลิต จําแนกตาม ทัศนคติในการปฏบิัติงาน

แหลงความแปรปรวน df S.S. M.S. F Ratio P-value ระหวางกลุม 4 8.67 2.21 0.84 0.41 ภายในกลุม 102 542.39 1.19 รวม 106 551.06

p < 0.05

ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของพฤตกิรรมความปลอดภัยของพนกังานฝายผลิตจําแนกตามทัศนคติในการปฏิบัติงาน พบวา พนกังานฝายผลิตที่มีระดับการศึกษาแตกตางกัน มีพฤติกรรมความปลอดภยัไมแตกตางกัน โดยการทดสอบใชคาสถิติ F ผลการทดสอบไดคา F Ratio = 0.84 และคา P-value = 0.41 ดังนั้นระดบัการศึกษาจึงเปนปจจยัที่ไมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต ง. ความรูกับพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ตาราง 14 การวิเคราะหความแปรปรวนของพฤติกรรมความปลอดภยัของพนักงานฝายผลิต จําแนกตามความรูในการปฏิบัติงาน

แหลงความแปรปรวน df S.S. M.S. F Ratio P-value ระหวางกลุม 4 8.88 2.21 1.00 0.50 ภายในกลุม 102 442.39 2.19 รวม 106 451.27

p < 0.05

Page 16: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

62

ผลการวิเคราะหความแปรปรวนของพฤตกิรรมความปลอดภัยของพนกังานฝายผลิตจําแนกตามความรูในการปฏบิัติงาน พบวา พนักงานฝายผลิตที่มีระดบัการศึกษาแตกตางกัน มีพฤติกรรมความปลอดภยัไมแตกตางกัน โดยการทดสอบใชคาสถิติ F ผลการทดสอบไดคา F Ratio = 1.00 และคา P-value = 0.50 ดังนั้นระดับการศึกษาจงึเปนปจจยัที่ไมมีผลตอพฤติกรรมความปลอดภัยของพนักงานฝายผลิต 2) ผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากการสนทนากลุม ภายหลังการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแบบสอบถามผูวจิัยนําผลที่ไดมากาํหนดเปนแนว ทางการสนทนากลุมกับหวัหนางานแตละแผนก จํานวน 8 คน และผูจัดการฝายผลิต จํานวน 1 คน รวมสมาชิกที่เขารวมประชุมทั้งสิ้นจํานวน 9 คน เมื่อวันศุกรที่ 6 เดือนมกราคม พ.ศ. 2549 ณ หองประชุมเดือนฉาย ในบริษัทควอลิติ้ คารตอนส จํากัด เพื่อหาสาเหตุ และแนวทางการแกไขเนื่องจากหวัหนางานเปนบุคคลที่มีความสําคัญ และเปนผูที่ใกลชิดกับพนักงานฝายผลิตมากที่สุดทั้งนี้ เพื่อสนองนโยบายสนับสนุนกิจกรรมดานความปลอดภัยของหนวยงาน และเปนผูควบคุมดูแลการปฏิบัติงานโดยตรง เพือ่ใชเปนยุทธศาสตรในการพฒันาสําหรับเปนแนวทางใหพนักงานไดนาํความรูที่ไดรับนําไปพัฒนา และประยุกตใชในการปฏิบัติงานประจําวนัไดจริงสาเหตุของปญหาและแนวทางการแกไขปญหา ดังภาพ 7

ภาพ 7 แผนภมูิกางปลาแสดงการเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน

ความเรียบรอยและความสะอาด สภาพแสงสวาง

สภาวะดานเสยีง การปฏิบัติตามกฎระเบียบ

แนวการประชาสัมพันธ

ความสะอาดของพืน้ที่ปฏิบัติงาน

ไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย

ความรู

พื้นฐานแนวคิด อุปกรณและเครื่องมือในการปฏิบัติงาน

ความประมาท

ประสบการณ

วิธีการทํางานที่ถูกตอง

อุบัติเหตุ ขณะปฏิบัติงาน

สภาพแวดลอม ในการปฏิบัติงาน

ความรูเก่ียวกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน

ทัศนคติเก่ียวกับความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน

พฤติกรรมความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน

การสวมใสอุปกรณ สวนบุคคล

Page 17: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

63

จากภาพ 7 การเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงานจะเห็นไดวา เมื่อเกดิอุบัติเหตุจะทําใหเกิดความสูญเสียและความเสียหายเกดิขึ้นมากมาย เพื่อไมใหเกิดความสญูเสียดังกลาวจึงจําเปนตองหามาตรการปองกันเกีย่วกับการเกิดอุบัติเหตจุากการกระทาํที่ไมปลอดภยั เชน เกิดจากสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานปองกัน โดยการดแูลความเรียบรอย และความสะอาดในบริเวณพืน้ที่ที่ปฏิบัติงาน ดานอุปกรณ และเครื่องมือเครื่องใชในการปฏิบัติงาน ดานสภาพแสงสวาง และสภาวะดานเสียง เร่ืองพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน โดยการใหความรูพื้นฐานในการสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล และการปฏิบัติงานตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ควรแนะนําวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกตอง การดูแลความสะอาด ความเรียบรอยบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานใชแนวทางการประชาสัมพันธใหพนักงานฝายผลิตสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน ตาราง 15 ปญหาสาเหตุของพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัยและแนวทางการแกไข

ปญหา สาเหตุ แนวทางการแกไข - การเกดิอุบตัิเหต ุ ในระหวางขณะ ปฏิบัติงาน

- การไมสวมใสอุปกรณ ปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน

- การไมปฏิบตัิตาม กฎระเบยีบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน

- การดูแลความสะอาดความเรียบรอยในบริเวณพืน้ที่ปฏิบัติงาน

- สงเสริมรณรงค การสวมใสอุปกรณปองกนั ความปลอดภยัขณะปฏิบัติงาน

- จัดบอรด / จดันิทรรศการ จดัทําโปสเตอร ความปลอดภัยถึงสาเหตกุารเกิดอุบัติเหตุ และผลเสียหาย/ การสูญเสียตอชีวิตและ

ทรัพยสินพนกังานจะไดตระหนักถึงความปลอดภัยและใหความระมดัระวังมากยิ่งขึ้น

- ประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูลขาวสาร(โดยใชเสียงตามสาย) เพื่อใหความรูกับพนักงาน

- ปลุกจิตสํานึกใหมีทัศนคติทีด่ีและใหความสําคัญตอความปลอดภัยในการทํางานอยางสม่ําเสมอ

- วากลาวตกัเตือน ใหใบเตือนซ่ึงจะนําไปประกอบการพิจารณาการขึน้เงินเดือน

และการใหเงินโบนัสประจําป - แตละแผนกทํากิจกรรม 5 ส. กอนปฏิบัติงาน

30 นาที

Page 18: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

64

ตาราง 15 (ตอ) ปญหาสาเหตุของพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่ไมปลอดภัยและแนวทางการแกไข

ปญหา สาเหตุ แนวทางการแกไข - การเกดิอุบตัิเหต ุ ในระหวางขณะ ปฏิบัติงาน

- ชองทางสงสินคามีพื้นที่ ตางระดับ

- ปรับพื้นที่ตางระดับใหเปนระดับเดียวกนั

จากปญหาและสาเหตุการเกิดอบุัติเหตุจากการสนทนากลุมของหัวหนางานแตละแผนก จํานวน 8 คน ไดมีการนาํเสนอปญหา คือ ปญหาการเกิดอุบัติเหตใุนระหวางขณะปฏิบัติงาน และจัดลําดับความสําคัญจากสาเหตุของปญหาไวเปนลําดับคือ 1) การไมสวมใสอุปกรณปองกนั อันตรายสวนบุคคลขณะปฏิบัติงาน 2) การไมปฏิบัติตามกฎระเบยีบความปลอดภยัในการทํางาน 3) การดูแลความสะอาดความเปนระเบยีบเรียบรอยในบรเิวณพื้นที่ปฏิบตัิงาน 4) ปญหาเกีย่วกับชองทางสงสินคามีพื้นที่ตางระดับ 4.2.2 ผลการวิเคราะหโครงการพัฒนา จากผลการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม พบวา ปญหาความเสี่ยงตอการเกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน ไดแกการไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงานการไมปฏิบตัิตามกฎระเบยีบความปลอดภัย การดูแลความสะอาด ความเปนระเบียบบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน และชองทางสงสินคามีพื้นทีต่างระดับ ในขณะที่การสนทนากลุมพบวาปญหาพฤติกรรมเสี่ยงตอความไมปลอดภัยในการปฏิบัติงาน ผูศึกษาวจิัยไดนําปญหามาสังเคราะห เพื่อใหสามารถระบุโครงการพัฒนาเพื่อนําไปสูการปฏิบัติอยางเปนรูปธรรมซึ่งนับไดวาเปนผลมาจากพนักงานฝายผลติ ไดมีสวนรวมในการใหขอมลูการคนหาปญหา และแนวทางในการแกไขปญหา ไดแก การสงเสริมรณรงคใหพนกังานฝายผลิตสวมใสอุปกรณปองกันอนัตราย เพื่อความปลอดภัยในขณะปฏิบัติงานการจัดสัปดาหความปลอดภยั โดยวิธีการจัดบอรด จดัทําโปสเตอร การประชาสัมพันธเผยแพรขอมูลขาวสาร ดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงานการปลุกจิตสํานึกใหมีทัศนคตทิี่ดี และใหความสําคัญตอความปลอดภัยในการปฏบิัติงานอยางสม่ําเสมอผลลัพธ และการสญูเสียอันเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุในขณะปฏบิัติงานที่จะเกดิขึ้นตอชีวิตและทรัพยสิน

Page 19: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

65

ผูวิจัยไดนําผลที่ไดจากการศกึษาระบุปญหาสาเหตุ และแนวทางแกไขปญหาพฤติกรรมความปลอดภยัในการปฏิบัติงานของพนกังานฝายผลิต คือโครงการพัฒนาความปลอดภัยในการปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิต ผูวิจัยไดนําปญหาสาเหตุ และแนวทางการแกไขปญหาเสนอผูบริหารในเรือ่งของปญหาที่ไดกลาวมาขางตนผูบริหารเห็นดวย และยังใหความสําคัญของปญหาจึงไดดําเนินการโครงการพัฒนาตอไป 4.2.3 ผลการทดลองใชและปรับปรงุโครงการพัฒนา

1) การเตรียมความพรอมในดานตาง ๆ ผูศึกษาวิจยัไดนําผลจากการประชุมแนวทางการสนทนากลุมมาจัดทําโครงการสัปดาหความปลอดภัย โดยการจัดบอรด จดัการทําโปสเตอร การรณรงคประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูลขาวสาร ความรูและวิธีการปฏิบัติปลุกจิตสํานึกทัศนคต ิที่ดีตอการปฏิบัติงาน การสวมใสอุปกรณปองกันอนัตรายขณะปฏิบตัิงาน

2) การดําเนนิงานโครงการโดยการใชยุทธศาสตรการพัฒนาดําเนนิโครงการรณรงคประชาสัมพันธเชิญชวนโดยเจาหนาที่ประชาสัมพันธใชเสียงตามสายเผยแพรขอมูลขาวสาร การอุบัติเหตุทีม่ีความรุนแรงที่เกิดจากการปฏิบัติงานที่ทําใหเกิดความเสียหายหรือสูญเสียตอชีวิต และทรัพยสินเพื่อพนักงานจะไดตระหนกัถึงความปลอดภัย และระมดัระวังไมใหเกิดอุบัติเหตุขึ้น กับตนเองและเพื่อนรวมงาน 3) การประเมนิโครงการ ผูศึกษาวจิัยไดดําเนินการประเมินผลโครงการ โดยประเมนิจากสถิติการเกดิอุบัติเหตใุนการทํางานลดลง พบวา พนักงานมีความพอใจและเหน็ดวย กับนโยบายดานความปลอดภัย บริษัทยังไดจัดสรรงบประมาณในดานการจัดหาอุปกรณ ความปลอดภยัการอบรม และการตรวจสุขภาพประจําปใหกับพนักงานฝายผลิตทุกคนจะไดรับ การตรวจสุขภาพประจําป บางคนที่ปฏิบัติงานในภาวะเสี่ยงจะไดรับการตรวจเพิ่มเตมิ เชน การเอกซเรย การตรวจเลือด เปนตน นอกจากนี้บริษัทยังไดมอบหมายใหหวัหนางาน ซ่ึงเปนผูบังคับบัญชาระดับตนกํากับดูแลและจัดประชุมพนักงานกอนเริ่มปฏบิัติงาน เพื่อเพิ่มความรูใหกับพนักงานกอนเริ่มปฏิบัติงาน และหากพนกังานไมปฏิบัติตามจะเชิญมาวากลาวตกัเตือน และทําความเขาใจในเรื่องความปลอดภยั ในการปฏิบัติงานทั้งนี้บริษัทยังไดจัดเจาหนาที่ความปลอดภัย เพื่อชวยในการตรวจสอบการทํางาน เพื่อใหเกิดความปลอดภัยยิ่งขึ้นผลที่ไดจากการดําเนินการในสวนของผูบริหาร พบวา ไดผลเปน ที่พอใจคืออัตราการเกิดอุบตัิเหตุในขณะปฏิบัติงานของพนักงานฝายผลิตทําใหอุบัติเหตุงานลดลง

Page 20: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

66

4) การปรับปรุงโครงการพัฒนา ผูวิจยัไดนําผลการประเมินโครงการและผลจากอัตราการเกิดอบุัติเหตุหลังจากการทดลองใช และปรับปรุงโครงการพัฒนามาเปนแนวทางในการปรับปรุงโครงการทําใหไดปจจัยแหงความสําเร็จที่สงผลใหอุบัติเหตุลดลง ดังนี ้ (1) การดําเนนิการโครงการรณรงคประชาสัมพันธเชิญชวนเผยแพร ขอมูลขาวสาร (2) การจดัสัปดาหความปลอดภัยโดยการรณรงคใหพนกังานมีการสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายเพื่อความปลอดภยัในขณะปฏิบตัิงาน (3) การจัดทําโปสเตอรอุบัติเหตุที่มีความรนุแรงที่เกดิจากการทํางานทีท่ําใหเกิดความเสียหายหรือสูญเสียตอชีวิตและทรัพยสิน (4) การจดัทําแผนพับเกีย่วกบัอุบัติเหตุที่มคีวามรุนแรงทาํใหเกิดความเสียหายหรือสูญเสียตอชีวิตและทรพัยสินพนกังานจะไดตระหนักและระมัดระวังความปลอดภัยเพื่อไมใหเกิดอุบัติเหตุขึน้กับตนเองและเพื่อนรวมงาน

4.2.4 ขั้นตอนการกําหนดโครงการ โครงการพัฒนาถือเปนเครื่องมือที่ใชในการแกไขปญหาการเกดิอุบตัิเหตุในขณะทํางาน

ใหเกิดผลเปนรูปธรรมทําใหพนักงานฝายผลิตเกิดความรวมมือในการปฏิบัติการสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายจากการปฏิบัติงานมากขึน้แตการกําหนดโครงการพฒันาแตละครัง้ตองมีขั้นตอนกระบวนการทีเ่หมาะสม 4.3 ขอสรุปท่ีไดจากการคนพบ

4.3.1 ขอสรุปท่ีไดจากแบบสอบถามและจากการสนทนากลุม

1) ขอสรุปที่ไดจากแบบสอบถาม จากการวิเคราะหขอมูลที่ไดจากแบบสอบถาม พบวา พนักงานฝายผลิตเปน เพศชาย มากที่สุด คิดเปนรอยละ 57.90 มีอายุระหวาง 31- 36 ปมากที่สุด คิดเปนรอยละ 28.00 ระดบัการศึกษา พบวา พนักงานฝายผลิตศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. มากทีสุ่ด คิดเปนรอยละ 41.10 ดานประสบการณการทํางาน พบวา สวนใหญเปนผูที่ทํางานตั้งแต 5-10 ป คิดเปนรอยละ 43.90 การไดรับอุบัตเิหตุ พบวา พนักงานฝายผลติ เคยไดรับอุบัติเหต ุ ขณะปฏิบัติงานทุกคนโดย พบวา นิ้วมือเปนอวัยวะท่ีเกดิการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุมากที่สุด คิดเปนรอยละ 73.80 ความรุนแรงของการเกิดอุบัติเหตุสวนใหญ พบวา การบาดเจ็บเล็กนอย

Page 21: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

67

ไมตองหยดุงานมากที่สุด คดิเปนรอยละ 84.10 ลักษณะอุบัติเหตุทีเ่กดิ พบวา เกดิจากวัตถุบาดมากที่สุด คิดเปนรอยละ 72.00

2 ) ขอสรุปที่ไดจากแนวทางการสนทนากลุม จากการสนทนากลุมหวัหนางานแตละแผนก จํานวน 8 คน หลังจากไดรูสภาพปญหา

จากแบบสอบถามของพนักงานฝายผลิตในดานตาง ๆ พบวา ปญหาการสวมใสอุปกรณปองกนัอันตรายขณะปฏิบัติงาน การไมปฏิบตัิตามกฎระเบยีบความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน การดแูลความสะอาด ความเรียบรอยในพื้นที่ปฏิบตัิงาน และชองทางสงสินคามีพื้นที่ตางระดับมีการเสนอแนะและแนวทางการแกไขมาสรางยทุธศาสตร 4.3.2 ขอสรุปท่ีไดจากแนวทางการใชแผนยุทธศาสตรพฒันาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏบิัตงิาน ทําแผนโครงการพัฒนาความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน การจัดสัปดาห ความปลอดภยัโดยวิธีการจัดบอรดการดําเนินการสงเสริมรณรงค ประชาสัมพันธเผยแพร ขอมูลขาวสารใหความรูดานความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และการปลุกจิตสํานึกใหมีทัศนคติทีด่ีและใหความสําคัญ ตอความปลอดภัยในการทํางานอยางสม่ําเสมอผลลัพธ และการสูญเสียอันเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุในขณะปฏิบัตงิานที่จะเกิดขึน้ตอชีวิต และทรัพยสินเพือ่ไมใหเกิดอุบตัิเหตุขึ้นกับตนเอง และเพื่อนรวมงาน 4.3.3 ขอสรุปท่ีไดจากการทดลองใชยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาพฤติกรรม ความปลอดภยัในการปฏิบัตงิาน การเปรียบเทยีบสถิติการเกิดอุบัติเหตุของพนักงานฝายผลิตผลการวิเคราะห พบวา สถิติการเกิดอบุัติเหตุของพนักงานฝายผลติลดลง ตาราง 16 สถิติการเกิดอุบัตเิหตุของพนักงานฝายผลิต กอนและหลังการใชแผนยุทธศาสตร

กอนพัฒนา หลังพัฒนา สาเหตุของการบาดเจ็บ

การเกิดอุบัติเหต ุ การเกิดอุบัติเหต ุผลสรุป

อัตราการลดอุบัติเหตุ(%)

1. เครื่องจักร 7 2 ลดลง 71.43 2. กระดาษหลนทับ 16 3 ลดลง 81.25 3. กระดาษบาดตา 3 0 ลดลง 100.00 4. กระดาษบาดนิ้วมือ 444 65 ลดลง 85.36 5. กระดาษบาดแขน 22 2 ลดลง 90.91

(ที่มา : บริษัทควอลิติ้ คารตอนส จํากัด, 2549, หนา 21)

Page 22: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

68

จากตาราง 16 สถิติการเกิดอุบัติเหตุกอน และหลังดาํเนินการพัฒนาพฤติกรรม ความปลอดภยัในการปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตร พบวา สถิติการเกิดอุบัติเหตขุองพนักงาน ฝายผลติลดลงเฉลี่ยรอยละ 85.97 จากการทดลองการใชแผนยุทธศาสตร เพื่อการพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน พบวา การสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคลขณะปฏิบัติงาน การไมปฏิบัติตามกฎระเบยีบความปลอดภัยในการปฏบิัติงาน การดูแลความสะอาด ความเรยีบรอยในบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงาน และชองทางสงสินคามีพื้นที่ตางระดับ 4 ประเด็นทีก่ลาวมาขางตนผลการประเมินเปนที่นาพอใจหลังจากการใชแผนยุทธศาสตร พบวา พนักงานฝายผลิตไดนําความรูแนวคดิจากการจัดทําโครงการพัฒนามาประยุกตใชในการทํางานประจําวันไดจริง และมีจิตสํานึก มีทัศนคติ ที่ดีและใหความสําคัญตอความปลอดภัยในการปฏิบัติงานอยางสม่ําเสมอ สุดทายจากการสังเกตของผูวิจัย พบวา พฤติกรรมในการปฏิบตัิงานของพนกังานฝายผลิตภายหลังจัดทําโครงการพัฒนาพนักงานฝายผลิตมีพฤติกรรมกิริยาทาทางเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึน้ ซ่ึงเห็นไดจากพนักงาน ฝายผลิตใหความรวมมือ ในการสวมใสอุปกรณปองกันอนัตรายสวนบุคคลในการปฏิบัติตามกฎระเบยีบความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน และการดูแลความสะอาดเรียบรอยในบริเวณพืน้ที่ปฏิบัติงานทําใหเห็นไดวาแผนยุทธศาสตรที่สรางขึ้นมีประสิทธิภาพในดานการพัฒนาพฤติกรรมความปลอดภยัของพนักงานฝายผลิตดีขึ้น ซึ่งรับรูไดจากสถิติการเกิดอบุัติเหตุในการทํางานลดลง การปรับปรุงโครงการพัฒนาปรับปรุงสภาพแวดลอมในการปฏิบัติงานควรมีแนวทาง การแกไขปรับปรุงโดยการปรับระดับพื้นตางระดับปรับใหเปนระดับเดยีวกันและยังเปนการปองกนั การเกิดอุบัติเหตุจากกระดาษหลนทับ และทําใหวัตถุดบิเสียหาย ดานความเปนระเบียบบริเวณพืน้ที่ปฏิบัติงานควรจัดกิจกรรมสงเสริมคุณภาพ และกิจกรรมสงเสริมความปลอดภัยเชนกจิกรรม 5 ส. ในแตละแผนก เชน การจดัเรียงพาเลทใหอยูในลักษณะพรอมใชงานกระดาษแตละเกรดแตละขนาด แตละลอนควรจัดใหเปนระเบียบและการวางพาเลทชิ้นงาน หรือวัตถุดิบควรใหอยูในกรอบหรอื พื้นที่ที่กําหนดใหโดยมีหวัหนางานเปนแกนนําในการดําเนินกจิกรรมของแตละแผนกและคอยใหคําแนะนําในดานการปฏิบัติงานที่ถูกตองแกพนักงานฝายผลิตทุกคน การสวมใสอุปกรณปองกันอันตราย ขณะปฏิบัติงานควรมีการรณรงคประชาสัมพันธ เผยแพรขอมูลขาวสาร (แผนพับ) จดัทําโปสเตอรอุบัติเหตุที่มีความรนุแรงทําใหเกดิความเสียหาย หรือสูญเสียตอชีวิต และทรัพยสินพนักงานจะไดตระหนกัและระมัดระวังความปลอดภัย เพื่อไมใหเกิดอุบัตเิหตเุกิดขึ้นกับตนเอง และเพื่อนรวมงาน การไมปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการปฏิบัติงานควรมีบทลงโทษ เมื่อไมยอมปฏบิัติตามกฎระเบียบ หรือขอบังคับหรือนโยบายของทางบริษัทจะตองลงโทษ

Page 23: ผลการวิเคราะห ข ูลอมthesis.rru.ac.th/files/pdf/1201073347บทที่ 4.pdf · มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

69

สรุป ผลการพัฒนาความปลอดภัยในการปฏิบัติงานและผลการประเมินยุทธศาสตร ภาพ 8 ผลการประเมินยุทธศาสตร

ปญหา ยุทธศาสตร ผลการประเมินยุทธศาสตร

การไมสวมใสอุปกรณปองกันอันตรายขณะปฏิบัติงาน

- จัดบอรด - สงเสริมรณรงค - ประชาสัมพันธ - ปลุกจิตสํานึกใหมี

ทัศนคติที่ด ี

สถิติการเกิดอบุัติเหตุลดลง

การไมปฏิบัติตามกฎระเบยีบความปลอดภัยในการทํางาน

- ตักเตือนดวยวาจา ลงโทษ(ใหใบเตือน) สงผลถึงเรื่องเงินเดือนโบนัส

พนักงานฝายผลิตปฏิบัติตามกฎระเบยีบมากขึ้น

การดูแลรักษาความสะอาดความเรียบรอยในบริเวณพืน้ที่

- จัดกิจกรรม 5 ส. ความสะอาด ความเปนระเบียบบริเวณพืน้ที่ปฏิบัติงานในแตละแผนกดขีึ้น

ชองทางสงสินคา ชิ้นงานมีพื้นทีต่างระดับ

- ปรับพื้นที่ตางระดับใหเปนระดับเดียวกัน

มีความคลองตัว สะดวกในการขนยายมากขึ้น และลดการอุบตัิเหต ุ