ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว...

119
ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณี ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา สุกฤตา แคนยุกต ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร .. 2553

Upload: others

Post on 11-Aug-2020

5 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณี

ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา

สุกฤตา แคนยุกต

ภาคนิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร

พ.ศ. 2553

Page 2: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห
Page 3: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

บทคัดยอ

ชื่อภาคนิพนธ : ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน :

ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ชื่อผูเขียน : นางสาวสุกฤตา แคนยกุต ชื่อปริญญา : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนาสังคม) ปการศึกษา : 2553

การศึกษาประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค 2 ประการคือ 1) ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา 2) ศึกษาปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ

กรอบในการประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชพีของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ตัวแปรเกี่ยวกับขอมูลภูมิหลังของผูรับบริการที่นํามาศึกษา ไดแก อายุ ระดับการศึกษา รายได การเขาฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา อาชีพ สําหรับการประเมินผลการใหบริการประเมิน 4 ดาน ไดแก ดานสภาพแวดลอม ดานปจจยันําเขา ดานกระบวนการ และดานผลผลิต ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คอื เด็กและเยาวชนที่อยูที่บานอุเบกขาในชวงเดือนกุมภาพนัธ 2552 ถึง มีนาคม 2552 กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้ไดจากการสุมตัวอยางอยางเปนระบบ (Systematic random Sampling) โดยเลือกเลขคูจากบัญชีรายช่ือของเยาวชนไดเขารับการฝกอบรม ในชวงเดือนกุมภาพันธ 2552 ถึง มีนาคม 2552 ที่ ไดจํานวนทั้งหมด 100 ราย สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คาความถี่ (Frequency) รอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ผลการศึกษา ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ มีอายุ 15 – 17 ป มีภูมิลําเนาเดิมอยูตางจังหวัด สวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนปลาย (ป.5 – ป.6) ไมมีรายไดกอนเขารับการฝกอบรม เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมอาชีพเกินครึ่งตองการมีความรู ความชํานาญเพิ่มเติม

Page 4: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

(2)

ผลการวิเคราะหประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนโดยภาพรวมจัดอยูในระดับดีคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน เมื่อพิจารณาในรายดาน พบวา ทุกดานอยูในระดับดีคอนขางมาก โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอยดังนี้คือ ดานผลผลิต (คาเฉลี่ย = 3.70) ดานกระบวนการ (คาเฉลี่ย = 3.69) และดานสภาพแวดลอม/ดานปจจัยนําเขา (คาเฉลี่ย = 3.67) ขอเสนอแนะมีดังตอไปนี้ 1. ควรมีการศึกษาความตองการ ประเภทของอาชีพที่เยาวชนสนใจฝกอบรม 2. วิทยากรผูใหความรู ควรมีเพียงพอตอผูเขารับการฝกอบรมอาชีพ เพื่อผูอบรมจะไดมีการซักถามไดอยางชัดเจนและครบถวน 3. ควรจัดอาคารที่ใชในการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ใหมีสภาพแวดลอมที่นาเรียนรู เชน สถานที่มีอากาศถายเทไดสะดวก อากาศปลอดโปรง และมีแสงไฟสวางเพียงพอ 4. ควรเพิ่มจํานวนหองน้ํา/สุขาใหเพียงพอและควรใหเยาวชนที่เขารับการฝกอบรมรูจักรักษาความสะอาดของหองน้ํา/สุขา 5. ควรปรับกิจกรรมการพัฒนาจิตใจเพื่อใหเปนที่นาสนใจสําหรับเด็กและเยาวชนมากขึ้น

Page 5: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

ABSTRACT Title of Research Paper : Evaluation on Career Guidance for Child and Youth Service: A

Case Study of Ban Ubekha Juvenile Vocational Training Center for Boy

Author : Miss Sukrita Canyook Degree : Master of Arts (Social Development)

Year : 2010

Two objectives for the study were 1) to evaluate on career guidance for child and youth service: a case study of Ban Ubekha Juvenile Vocational Training Center for Boy and 2) to identify problems and obstacles from training operation. Background of service receiver was age, education, income, career training attended, domicile, and occupation. Four aspects assigned for service evaluation were environment, input factor, process, and output. Population for the study was child and youth staying in Ban Ubekha from February – March 2552 (B.E.).

One hundred child and youth were selected. Systematic random sampling technique was used for sample selection by selected odd number from name list of child and youth who attended training course during February and March 2552 (B.E.). Frequency, percentage, mean, and standard deviation were applied for data analysis. Finding The results found that most of the sample was 15-17 years old, up-country domicile, educated from high school (grade 5-6), have no income before training. More than half of sample gave the reason to attend the training course that they wanted to enhance their knowledge and skills needed.

Page 6: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

(4)

Evaluation results also found that overall operation output was relatively high which the scores average was 3.68 from 5. The scores average for all aspects was in high level which were 3.70, 3.69, and 3.67, for output, process, and environment/ input factor, respectively.

Recommendations

1. Training needs should be surveyed from child and youth. 2. Number of resource person or trainer should be adequate comparing to trainees. 3. Building for training, both theory and practice, should be adjusted for a good environment

such as good flow and clear air and have enough light. 4. Number of rest rooms should be increased sufficiently. Child and youth who attended

the training course should also be trained how to clean and taking care restroom after used. 5. Moral development activities should be adjusted to be more interesting for child and

youth

Page 7: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

กิตติกรรมประกาศ

ภาคนิพนธฉบับนี้สําเร็จสมบูรณ ลุลวงไดดวยดี ดวยความกรุณาอยางดียิ่งจากทาน ผศ.ดร.แตงออน มั่นใจตน ประธานที่ปรึกษาภาคนิพนธที่ไดกรุณาเสียสละเวลาอันมีคายิ่งในการใหความรู คําปรึกษา คําแนะนําที่เปนประโยชน ตรวจทานและแกไขขอบกพรองตางๆ ดวยความเอาใจใสทุกขั้นตอนอยางละเอียด จนทําใหภาคนิพนธสําเร็จไดอยางสมบูรณ นอกจากนี้ผูวิจัยขอขอบคุณ ดร.ทิพวรรณ กิตติวิบูลย และอาจารยสุภา กีรติบุตร กรรมการภาคนิพนธ ที่ไดกรุณาใหคําแนะนําในการปรับปรุงใหมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณอาจารยทั้ง 3 ทานดวยความเคารพอยางยิ่ง ขอขอบพระคุณ อาจารยคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมทุกทานที่ไดใหความรูทั้งทางดานวิชาการและคุณธรรมจริยธรรม ที่มีประโยชนอยางยิ่งในการนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติงานและการดํารงชีวิตประจําวันตอไป

ขอขอบคุณ กลุมตัวอยางทุกทานที่ใหความรวมมือตอบแบบสอบถามและคณะเจาหนาที่ที่ใหความชวยเหลือเปนอยางดีในการเก็บรวบรวมขอมูล ขอขอบคุณ พี่ เพื่อน นอง รวมคณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอมที่คอยเปนกําลังใจ มีสวนชวยสนับสนุนทุกทาน รวมทั้งใหคําแนะนําที่ดีเสมอมา ทายที่สุดนี้ ผูวิจัยขอขอบพระคุณพอ แม พี่ นอง ที่มอบความรัก ใหการสงเสริมสนับสนุน และกําลังใจที่ดีตลอดมา สุกฤตา แคนยุกต กรกฎาคม 2553

Page 8: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

สารบัญ

หนา

บทคัดยอ (1) ABSTRACT (3) กิตติกรรมประกาศ (5) สารบัญ (6) สารบัญตาราง (8) สารบัญแผนภมิู (9) บทท่ี 1 บทนํา 1 1.1 ความเปนมาและความสาํคัญของการศึกษา 1 1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา 2 1.3 ขอบเขตของการศึกษา 3 1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 3 บทท่ี 2 แนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ 4 2.1 แนวคดิทฤษฎี 4 2.1.1 แนวคดิเกี่ยวกับการประเมิน 4 2.1.2 แนวคดิเกี่ยวกับการฝกอบรมอาชีพ 19 2.1.3 แนวคดิเกี่ยวกับการประเมินผลการฝกอบรม 26 2.1.4 แนวคดิเกี่ยวกับการแนะแนวอาชีพ 28 2.1.5 แนวคดิเกี่ยวกับความตองการ 32 2.2 ผลงานวิจยัที่เกีย่วของ 34 2.3 โครงการแนะแนวอาชีพใหเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็ก 46 และเยาวชนและสํานักงานคุมประพฤติ บทท่ี 3 กรอบแนวคิด และวธีิการศึกษา 49 3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา 49 3.1.1 ตัวแปรในการศึกษา 49 3.1.2 นิยามศพัทเชิงปฏิบัติการ 54

Page 9: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

(7)

หนา 3.2 วิธีการศึกษา 57 3.2.1 ประชากรและกลุมตวัอยาง 57 3.2.2 เครื่องมือที่ใชในการศึกษา 58 3.2.3 การเก็บรวบรวมขอมลู 61 3.2.4 การวิเคราะหขอมูล 61 บทท่ี 4 ผลการศึกษา 62 4.1 ขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง 62 4.2 ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชพีของเด็กและเยาวชน 66 4.2.1 การประเมินดานสภาพแวดลอม 67 4.2.2 การประเมินดานปจจยันําเขา 68 4.2.3 การประเมินดานกระบวนการ 72 4.2.4 การประเมินดานผลผลิต 77 4.3 ขอเสนอแนะจากกลุมตัวอยาง 80 บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ 82

5.1 สรุปผลการศึกษา 82 5.2 การอภิปรายผล 87 5.3 ขอเสนอแนะ 90

บรรณานุกรม 91 ภาคผนวก 97 ประวัติผูทําภาคนิพนธ 108

Page 10: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 4.1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจาํแนกตามขอมลูทั่วไป 64 4.2 ประเมินการใหบริการแนะแนวอาชพีของเด็กและเยาวชนโดยภาพรวม 66 4.3 การประเมินดานสภาพแวดลอมโดยภาพรวม 67 4.4 การประเมินดานปจจัยนําเขา 68 4.5 การประเมินปจจยันําเขาดานบุคลากร 69 4.6 การประเมินปจจัยนําเขาดานสถานที่ 70 4.7 การประเมินปจจัยนําเขาดานวัสดุอุปกรณ 71 4.8 การประเมินปจจัยนําเขาดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ 71 4.9 การประเมินดานกระบวนการ 72 4.10 การประเมินกระบวนการดานบุคลากร 73 4.11 การประเมินกระบวนการดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน 74 4.12 การประเมินกระบวนการดานกิจกรรมทั่วไป 74 4.13 การประเมินกระบวนการดานการพัฒนาดานจติใจ 75 4.14 การประเมินกระบวนการดานการพัฒนาสงัคม อารมณ และสติปญญา 76 4.15 การประเมินกระบวนการดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวติ 77 4.16 การประเมินดานผลผลิต 78 4.17 การประเมินผลผลิตดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม 78 4.18 การประเมินผลผลิตดานประโยชนทีไ่ดรับจากการฝกอบรมอาชีพ 79 4.19 การประเมินผลผลิตดานคุณภาพชีวิต 80 4.20 ขอเสนอแนะจากกลุมตัวอยาง 81

Page 11: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

สารบัญแผนภูม ิ แผนภูมิท่ี หนา 2.1 ประเภทของการประเมนิผลโครงการตามชวงเวลาของโครงการ 9 2.2 รูปแบบ Goal or objective attainment model ของ Tyler 11 2.3 รูปแบบการประเมินตาม Model ของ Alkin 14 2.4 รูปแบบจาํลองการประเมินผล Countenance model ของ Stake 15 2.5 รูปแบบการประเมินเกี่ยวกับความสัมพันธและความสอดคลอง 16 2.6 ความสัมพันธระหวางการประเมินกับการตัดสินใจในแบบจําลอง CIPP model 18 2.7 ลําดับขั้นความตองการของมนุษยตามทฤษฎีการจูงใจของ Maslow 34 2.8 กรอบแนวคิดในการศึกษา 50-53

Page 12: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

บทที่ 1

บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของการศึกษา เด็กและเยาวชนที่อยูในวัยเรียนมีจํานวนประมาณ 10 ลานคน (ป 2549) แตยังมีเด็กและเยาวชนกลุมหนึ่งที่ประสบปญหาชีวิตในดานตาง ๆ เชน ดานรางกาย ดานจิตใจ ดานอารมณและพฤติกรรม ดานสังคม ดานสติปญญา ปญหาเหลานี้เปนเหตุใหเด็กและเยาวชนตองตกอยูในสถานการณที่เลวรายอยางยิ่งโดยมีสถานการณ ดังนี้คือ 1. เด็กและเยาวชนถูกละเมิดสิทธิ ไดแก เด็กและเยาวชนถูกทารุณกรรมทางรางกาย จิตใจ ถูกละเมิดทางเพศ ถูกนําไปคาขายขามชาติ การใชแรงงานเด็กและโสเภณีเด็ก 2. เด็กและเยาวชนถูกปลอยละเลย ไดแก เด็กเรรอน ถูกทอดทิ้ง กําพรา โดยที่สวนใหญอาศัยอยูในสลัมหรือชุมชนแออัด และ 3. เด็กและเยาวชนที่ไดรับผลกระทบจากโรคเอดส กลุมเด็กและเยาวชนที่อยูในสถานการณดังกลาวมีโอกาสตกเปนเหยื่อการละเมิดสิทธิทุกประเภท จากสถิติเด็กและเยาวชนที่ถูกดําเนินคดีโดยสถานพินิจฯ กรุงเทพมหานคร (สํารวจป 2551) จํานวน 1,101 คน จําแนกตามฐานความผิดดังนี้ ฐานความผิด 1 ความผิดเกี่ยวกับทรัพย 103 คน (รอยละ 9.4) ฐานความผิด 2 ความผิดเกี่ยวกับชีวิตและรางกาย 32 คน (รอยละ 2.9) ฐานความผิด 3 ความผิดเกี่ยวกับเพศ 20 คน (รอยละ 1.8) ฐานความผิด 4 ความผิดเกี่ยวกับความสงบสุข เสรีภาพ ช่ือเสียง และการปกครอง 5 คน (รอยละ 0.4) ฐานความผิด 5 ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษ 198 คน (รอยละ 18.0) ฐานความผิด 6 ความผิดเกี่ยวกับอาวุธและวัตถุระเบิด 10 คน (รอยละ 0.9) ฐานความผิด 7 ความผิดอ่ืน ๆ 77 คน (รอยละ 7.0) ฐานความผิด 8 หนวยงานไมบันทึก 656 คน (รอยละ 59.6) ปญหาเด็กและเยาวชนที่กระทําความผิดในประเทศไทย รัฐไดใหความสําคัญเปนพิเศษโดยไดกําหนดไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 10 (2550 -2554) ไดคํานึงถึง เด็กและเยาวชนที่อยูในภาวะยากลําบาก ในภาวะที่มีความเปนเมืองมากขึ้น คนไทยตองเผชิญกับความเสี่ยงในดานความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน การเกิดอาชญากรรมยังพบมากขึ้นในกลุม

Page 13: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

2

เด็กและเยาวชน เชน คดีประทุษรายตอทรัพยสิน คดีชีวิตรางกายและเพศเพิ่มขึ้น คดียาเสพติด ซ่ึงเด็กและเยาวชนมีแนวโนมที่จะกระทําความผิดเพิ่มมากขึ้น กระทรวงยุติธรรมมีเปาหมายเพื่อการรักษาดานอารมณและพฤติกรรม ซ่ึงแกไขโดยใหการศึกษาที่ดีทั้งการศึกษาสายสามัญและอาชีพ กอนที่เด็กและเยาวชนจะกลับไปอยูกับครอบครัวหรือชุมชนเพื่อใหเปนผูใหญที่ดีในอนาคต เพื่อชวยกันพัฒนาเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรมจึงไดบูรณาการรวมกับหนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเนนการใหความชวยเหลือในดานการสงเสริมสุขภาพ การศึกษา อาชีพ คุณภาพชีวิต การพิทักษคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชน กรมการจัดหางาน โดยกองสงเสริมการมีงานทํา ในฐานะที่เปนหนวยงานหนึ่งซ่ึงมีหนาที่สงเสริมการมีงานทํา การแนะแนวอาชีพ แนะแนวการศึกษา ทดสอบความพรอมและความถนัดในการประกอบอาชีพ ตลอดจนสงเสริมการประกอบอาชีพอิสระ ไดมีการจัดทําโครงการแนะแนวอาชีพใหเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนและสํานักงานคุมประพฤติขึ้นเพื่อใหเด็กและเยาวชนมีอาชีพ มีรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว ไมหลงการชักจูงไปกระทําความผิด ตลอดจนเพื่อใหมีสภาพความเปนอยูที่ดีขึ้น ดวยเหตุนี้ผูวิจัย จึงมีความสนใจที่จะศึกษาประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา เนื่องจากการดําเนินงานแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนในศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ยังไมเคยมีผูใดทําการศึกษาประเมินผลการแนะแนวอาชีพดังกลาว ผูวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทําการศึกษาประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพในศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา เพื่อตรวจสอบวาผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมตาง ๆ ในการจัดการฝกอบรมอาชีพใหแกผูเขารับการฝกอบรมนั้นบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว ตลอดจนเพื่อนําไปสูการปรับปรุงแกไข และพัฒนาการดําเนินการแนะแนวอาชีพใหมีประสิทธิภาพยิ่ง ๆ ขึ้น

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา วัตถุประสงคของการศึกษา มี 2 ประการ ดังนี้ 1. เพื่อประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา 2. เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ

Page 14: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

3

1.3 ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตดานพื้นที่ ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนในศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา 2. ขอบเขตดานเวลา ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนใน ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ในครั้งนี้เปนการศึกษาตามโครงการในชวงเวลาระหวางเดือนตุลาคม 2551 - กุมภาพันธ 2552 ซ่ึงเปนการประเมินผลหลังจากที่โครงการส้ินสุดลง 3. ขอบเขตดานกลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายที่ศึกษาในครั้งนี้ คือ เด็กและเยาวชนในศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ที่เขารวมโครงการแนะแนวอาชีพใหเด็กและเยาวชน ในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนและสํานักงานคุมประพฤติ

1.4 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ทําใหทราบถึงสภาพแวดลอม ปจจัยนําเขา กระบวนการและผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนในศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา

2. ทําใหทราบถึงปญหาอุปสรรคในการใหบริการแนะแนวอาชีพ ตามโครงการ และแนวทางในการแกไขปญหาที่เหมาะสม อันจะนําไปสูการพัฒนาการฝกอบรมอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

3. เพื่อเปนแนวทางในการปรับปรุงการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน

Page 15: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

บทที่ 2

แนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ

การศึกษาเรื่อง ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณี

ศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ใชแนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ดังตอไปนี้ 2.1 แนวคิดทฤษฎี ในสวนนี้จะนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพประกอบดวย แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมิน แนวคิดเกี่ยวกับการฝกอบรมอาชีพ แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผลการฝกอบรม แนวคิดเกี่ยวกับการแนะแนวอาชีพ และแนวคิดเกี่ยวกับความตองการ ตามลําดับดังตอไปนี้ 2.1.1 แนวคิดเก่ียวกับการประเมิน กระบวนการบริหารที่นับวาสําคัญและจําเปนอยางยิ่ง คือ การประเมินผล (Evaluation) ซ่ึงโดยทั่วไปการประเมินผลจะมีวัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานวาบรรลุเปาหมายมากนอยเพียงใด โดยใชวิธีการหลายอยางที่มีหลักเกณฑตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร การประเมินนั้นเปนวิธีการหนึ่งซึ่งเปนการดําเนินการเพื่อใหทราบถึงผลการบริหารงาน หรือการปฏิบัติงานตามโครงการใด ๆ วาบรรลุเปาหมายหรือไม โดยเปรียบเทียบจากผลงานที่ไดรับตามมาตรฐานที่กําหนด หรือผลที่คาดหมาย หรือปรารถนาจะใหเกิด ทั้งที่มองเห็นดวยตาและไมอาจมองเห็นดวยตาได ผลแหงการประเมินผลจะมีประโยชนในการที่จะบอกใหทราบถึงความสําเร็จหรือลมเหลว ซ่ึงจะเปนบทเรียนและใชเปนแนวทางแกไขทั้งในปจจุบันและอนาคต โดยแนวคิดเกี่ยวกับการประเมิน จะไดกลาวถึง ความหมายของการประเมินจุดมุงหมายของการประเมิน ชนิดของการประเมินโครงการ และรูปแบบจําลองการประเมิน ซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี้

Page 16: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

5

2.1.1.1 ความหมายของการประเมิน ความหมายของคําวา “การประเมิน” นั้นไดมีผูใหความหมายไวหลายทาน ดังนี้ Tyler (1930 อางถึงใน สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ , 2544 : 171) ใหความหมายของการประเมิน คือการเปรียบเทียบพฤติกรรมเฉพาะอยาง (Performance) กับจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรมที่วางไว Cronbach (1963 : 64 อางถึงใน สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 2) ใหความหมายของการประเมินวา เปนการเก็บรวบรวมขอมูลและใชขอมูลนั้นเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ Alkin (1969 : 2 – 9 อางถึงใน ศิริชัย กาญจนวาสี, 2545 : 18 – 19) ไดใหความหมายของการประเมินวาการประเมินเปนกระบวนการของการทําใหเกิดความมั่นใจในการตัดสินใจ ดวยการคัดเลือกขอมูลที่เหมาะสม รวบรวมและวิเคราะห เพื่อจัดทํารายงานสรุปสารสนเทศที่เปนประโยชนตอผูบริหารในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสม Stufflebeam (1971 : 3 อางถึงใน เยาวดี วิบูลยศรี, 2544 : 57) ใหความหมายของการประเมิน คือ กระบวนการของการระบุหรือกําหนดขอมูลที่ตองการ รวมถึงการดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล และนําขอมูลที่จัดเก็บมาแลวนั้น มาจัดทําใหเกิดเปนสารสนเทศที่มีประโยชน เพื่อนําเสนอสําหรับใชเปนทางเลือกในการประกอบการตัดสินใจตอไป สุจิต ศิลารักษ (2535 : 88) ใหความหมายวา การประเมิน หมายถึง การพิจารณาใหคุณคาโครงการที่ไดปฏิบัติตามแผนหรือเปรียบเสมือนกระจกเงาที่จะสองใหเห็นภาพปฏิบัติการ วามีส่ิงใดควรแกไขปรับปรุงอยางไร การประเมินผลเปนกระบวนการใหตัดสินใจคุณคาโครงการโดยอาศัยเกณฑอยางหนึ่งอยางใดเปนหลัก ผลที่ไดจากการประเมินจะชวยเปนเครื่องชี้แนวทางใหกาวตอไปอยางมีประสิทธิภาพ ปุระชัย เปยมสมบูรณ (2538 : 7 – 8) ไดใหความหมายของการวิจัยประเมินผลวา นอกจากจะหมายความรวมถึงการประเมินสภาวะแวดลอม การประเมินปจจัยนําเขา การประเมินกระบวนการ การประเมินผลลัพธและผลกระทบแลว ยังเปนการนําระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตรมาประยุกตใชในการดําเนินงานวิจัยประเมินผลอีกดวย การวิจัยประเมินผลยังไดอาศัยรูปแบบการวิจัย วิธีการเก็บรวบรวมขอมูล และเทคนิคการวิเคราะหขอมูล จากหลักการวิจัยทางสังคมและพฤติกรรมศาสตร เพื่อศึกษาความเปลี่ยนแปลงที่สืบเนื่องมาจากนโยบาย แผนงาน โครงการ วามีความสัมพันธเชิงสาเหตุและผลตอกันหรือไมมี แนวโนมของการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่พึงประสงคหรือไม เพียงใด และระดับใด นิศา ชูโต (2538 : 9) ใหความหมายของการประเมินไววา หมายถึง กิจกรรมการใชกระบวนทางวิทยาศาสตรหรือการใชเทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร เพื่อเก็บรวบรวมขอมูล

Page 17: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

6

การวิเคราะห ความหมายขอเท็จจริงเกี่ยวกับความตองการ การหาแนวทางวิธีการปรับปรุง วิธีการจัดการเกี่ยวกับโครงการและหาผลที่แนใจวาเกิดจากโครงการ เพื่อเปนการเพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพของโครงการใหดียิ่งขึ้น สมหวัง พิธิยานุวัฒน (2544 : 117) ไดใหความหมายของการประเมินไววา หมายถึง การตัดสินคุณคาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรืออีกนัยหนึ่ง การประเมินผลเปนกระบวนการใหไดมาซ่ึงขอสารสนเทศสําหรับตัดสินคุณคาผลผลิต กระบวนการ และจุดมุงหมายของโครงการหรือการประเมินผลคือการเก็บรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูลอยางเปนระบบ เพื่อการตัดสินคุณคาของส่ิงใดสิ่งหนึ่ง สุวิมล ติรกานันท (2545 : 2) ไดใหความหมายของการประเมินวามีลักษณะที่สําคัญ คือ การจัดเก็บขอมูลที่ใชในการดําเนินงานตามโครงการในทุกรูปแบบและทุกขั้นตอน มีการเก็บรวบรวมขอมูลมาทําการวิเคราะห มีการใชขอมูลนั้น เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการ และสารสนเทศที่ไดจากขอมูล สามารถนํามาใชในการปรับปรุง แกไขการดําเนินงานใหมีประสิทธิภาพ ความหมายของ “การประเมิน” มีอยูมากมายทั้งในแงที่มองการประเมินวาเปนการศึกษาสิ่งตาง ๆ โดยใชหลักการทางวิทยาศาสตรหรือใชเทคนิควิจัย (Research – oriented) การประเมินเปนการตรวจสอบการบรรลุเปาหมายหรือวัตถุประสงคที่กําหนดไว (Objectives – oriented) การประเมินเปนการเสนอสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision – oriented) การประเมินการสนองสารสนเทศแกผูเกี่ยวของทั้งหลายดวยการบรรยายอยางลุมลึก (Description – oriented) และการประเมินเปนการตัดสินคุณคาของสิ่งที่ประเมิน (Judgment – oriented) (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2545 : 21 – 22) ซ่ึงความหมายของการประเมินที่แตกตางกันนั้น เปนสิ่งที่นักประเมินดวยกันยังไมสามารถสรุปความหมายไดอยางเปนเอกฉันทไดจนถึงปจจุบัน 2.1.1.2 จุดมุงหมายของการประเมิน Tyler (1930 อางถึงใน สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ, 2544 : 171) มีความเห็นวา จุดมุงหมายของการประเมินนั้น คือ 1) เพื่อตัดสินวาจุดมุงหมายของการศึกษาที่ตั้งไวในรูปของจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรมนั้นประสบผลสําเร็จหรือไม สวนใดที่ประสบผลสําเร็จก็อาจเก็บไวใชไดตอไป แตสวนใดไมประสบผลสําเร็จก็จะไดปรับปรุงแกไขตอไป 2) เพื่อประเมินคาความกาวหนาทางการศึกษาของกลุมประชากรขนาดใหญ เพื่อใหสาธารณชนไดขอมูลที่นาเชื่อถือได ในอันที่จะชวยใหเขาใจปญหาและความตองการ

Page 18: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

7

ทางการศึกษาได และเพื่อใชขอมูลนั้นเปนแนวทางในการที่จะปรับปรุงกระบวนการตามแผนของโครงการ Cronbach (1963 อางถึงใน สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ, 2544 : 175) กลาวถึงจุดมุงหมายของการประเมินผลนั้น อาจแยกได 3 ประการ คือ 1) เพื่อปรับปรุงกระบวนวิชา (Course improvement) เพื่อตัดสินวาอุปกรณการฝกอบรม และวิธีการฝกอบรมลักษณะใดที่นาพึงพอใจ และมีสวนใดที่ดําเนินการอยูแลวตองแกไข 2) เพื่อตัดสินเกี่ยวกับตัวบุคคล (Decision about individual) เชน ในการตัดสินใจ การวางแผน การคัดเลือก หรือการแยกกลุม หรือแจงใหผูอยูในโครงการทราบวาสวนใดที่เขาเดนและสวนใดที่เขาควรตองปรับปรุงแกไข เปนตน 3) เพื่อการตัดสินเกี่ยวกับระเบียบวิธีในการบริหาร (Administrative regulation) เชน เพื่อตัดสินวา ระบบการฝกอบรมของโครงการดีหรือไมเพียงไร และผูฝกสอนแตละคนของโครงการมีประสิทธิภาพดีหรือไมอยางไร เปนตน Scriven (1975 อางถึงใน สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ, 2544 : 181) กลาววา การประเมินผลมีจุดมุงหมายหลักอยู 2 ประการ คือ 1) การประเมินผลความกาวหนา (Formative evaluation) ไดแก การประเมินผลในระหวางที่โครงการกําลังดําเนินอยู เพื่อประโยชนในการปรับปรุงโครงการใหดีขึ้น โดยการใหผลยอนกลับ (feed back) ที่มีประโยชนตอผูประเมินผลโครงการ 2) การประเมินผลสรุป (Summative evaluation) ไดแก การประเมินผลเมื่อโครงการไดส้ินสุดลงเรียบรอยแลว เพื่อประโยชนในการศึกษาคุณคาของโครงการ และเพื่อการพิจารณานําลักษณะที่ดีของโครงการไปใชในสถานการณที่คลายคลึงกันตอไป 2.1.1.3 ชนิดของการประเมินโครงการ การประเมินเปนสิ่งที่ควรทําควบคูไปกับการดําเนินโครงการ นับตั้งแตการเลือกโครงการ การวางแผนโครงการ การดําเนินงานตามโครงการ จนถึงการประเมินผลสุดทายของโครงการ ชนิดของการประเมินจะแตกตางกันไปตามชวงเวลาของการประเมิน (สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 9 – 10) ดังตอไปนี้ 1. Needs assessment หมายถึง การประเมินความตองการขององคกรหรือกลุมสังคมเพื่อนํามาทํานโยบาย แผนงาน หรือโครงการใด ๆ เปนการประเมินกอนเร่ิมทําแผนหรือทําโครงการ

Page 19: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

8

2. Feasibility study หมายถึง การประเมินเพื่อตรวจสอบความเปนไปไดของทางเลือกเพื่อนํามาจัดทําเปนนโยบาย แผนงาน หรือโครงการใด ๆ นิยมประเมินใน 6 ดาน คือ 1) ดานเศรษฐกิจ เปนการพิจารณาคาใชจายที่เกิดขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับผลตอบแทนที่ไดรับ 2) ดานสังคม เปนการพิจารณาวาโครงการหรือแผนงานไมขัดตอวัฒนธรรม ประเพณี และวิถีการดํารงชีวิต ตลอดจนเปนที่ยอมรับของสังคม 3) ดานการเมือง เปนการพิจารณาวาการดําเนินงานจะไมมีขอขัดแยงทางการเมือง หรือไดรับการสนับสนุน 4) ดานบริหาร เปนการพิจารณาถึงขีดความสามารถขององคการที่เกี่ยวของวามีความสามารถที่จะดําเนินการไดหรือไม 5) ดานเทคนิค เปนการพิจารณาถึงความเหมาะสมและความเปนไปไดเกี่ยวกับเทคนิควิธีการที่นํามาใชในการดําเนินงาน 6) ดานสิ่งแวดลอม เปนการพิจารณาวาโครงการหรือแผนงานที่จัดทําขึ้นมีผลตอการทําลายสิ่งแวดลอมหรือไม 3. Context evaluation หมายถึง การประเมินบริบทของโครงการวามีความเหมาะสมประกอบดวยความจําเปนของโครงการ ความตองการโครงการของกลุมเปาหมาย ความเหมาะสมของโครงการตอกลุมเปาหมายและความเหมาะสมตอพื้นที่ดําเนินโครงการ 4. Input evaluation หมายถึง การประเมินความพรอมของสิ่งตาง ๆ ที่ถูกนําเขามารวมในโครงการประกอบดวย บุคลากร งบประมาณ แนวทางการจัดการ วัสดุอุปกรณ 5. Process evaluation หมายถึง การประเมินการปฏิบัติงานตามนโยบาย แผนงาน หรือโครงการวามีความถูกตองเหมาะสมเพียงใด 6. Monitoring หมายถึง การติดตามกํากับงาน เปนการประเมินเพื่อตรวจสอบวาการดําเนินงานเปนไปตามนโยบาย แผนงาน หรือโครงการที่วางไวหรือไม 7. Formative evaluation หมายถึง การประเมินความกาวหนาของโครงการเมื่อดําเนินโครงการไปไดระยะหนึ่ง เพื่อนําผลไปใชแกไขปรับปรุงโครงการ 8. Product evaluation หมายถึง การประเมินผลที่ไดจากโครงการวาเปนไปตามที่คาดหวังหรือไมเพียงใด 9. Summative evaluation หมายถึง การประเมินผลสรุปของโครงการหลังจากส้ินสุดการดําเนินโครงการนั้น เพื่อนําผลไปประกอบการตัดสินใจวา ควรปรับปรุง แกไข สานตอ หรือยุติโครงการ

Page 20: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

9

10. Outcome evaluation หมายถึง การประเมินผลที่เกิดขึ้นจากโครงการทั้งหมด ทั้งที่คาดหวังและที่ไมคาดหวัง 11. Follow – up study หมายถึง การติดตามผลที่เกิดขึ้นจากโครงการเมื่อโครงการสิ้นสุดไปแลว จะมีการติดตามผลเปนระยะ ๆ เพื่อตรวจสอบความคงอยู ความกาวหนาและการพัฒนาอันเปนผลมาจากการไดรับการฝกอบรมตามวัตถุประสงคของโครงการที่กําหนดไว 12. Meta – evaluation หมายถึง การประเมินโครงการประเมินเพื่อตรวจสอบความถูกตองของการประเมิน นิยมใชการประเมินผลผลิต การประเมินผลสรุป และการประเมินผลที่เกิดขึ้น แผนภูมิท่ี 2.1 ประเภทของการประเมินผลโครงการตามชวงเวลาของโครงการ ที่มา : สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 10 2.1.1.4 รูปแบบจําลองการประเมิน รูปแบบจําลองในการประเมินผลโครงการนั้นมีหลายวิธี หลายรูปแบบแตละวิธี แตละรูปแบบนั้นมีแนวคิดทฤษฎี เหตุผลในการประเมินตามความเชื่อและการเรียนรูของแตละบุคคล แตละอาชีพ ซ่ึงเปนไปตามความเหมาะสมกับสภาพและสภาวการณของปญหาที่จะประเมินแตกตางกัน รูปแบบพื้นฐานหลักที่ใชในการประเมินที่สําคัญ ๆ และนิยมใชในการประเมินโครงการทางสังคม ไดแก Tyler (1930). Cronbach (1963), Alkin (1969), Stufflebeam (1971) และ Scriven (1967) เปนตน (สุขุม มูลเมือง, 2530 : 16) โดยหลักการแลวการประเมิน

Page 21: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

10

เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจเปนสวนใหญ สวนรูปแบบการตัดสินใจนั้นเปนการประเมินที่สามารถใหขอมูลและโอกาสทางเลือก เพื่อเปนประโยชนสําหรับดําเนินการตอไปของโครงการนั้น ๆ และรูปแบบจําลองที่นิยมนํามาประยุกตใชกับการประเมินโครงการตาง ๆ ถือเปนแนวทางหรือเปนกรอบแนวคิดที่ชวยใหนักประเมินสามารถกําหนดประเด็นที่ตองการประเมินและกําหนดตัวช้ีวัดไดงายขึ้น แตนักประเมินไมจําเปนตองยึดเปนแนวทางในการประเมินตามแบบจําลองทั้งหมด ผูประเมินสามารถสรางแบบจําลองท่ีเหมาะสมหรือเลือกใชแบบจําลองที่เหมาะสมกับบริบท และเร่ืองที่ประเมินไดโดยสามารถแบงแบบจําลองเปนกลุมใหญ ๆ ได 3 กลุม (สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 41 – 42) คือ 1. Objective based model แบบจําลองในกลุมนี้เปนแบบที่ใหความสําคัญในการเปรียบเทียบผลที่ไดกับวัตถุประสงค นักวิชาการในกลุมนี้ไดแก Tyler (1930) และ Cronbach (1963) 2. Judmental evaluation model แบบจําลองในกลุมนี้เปนแบบที่ใหความสําคัญกับการตัดสินคุณคาของสิ่งที่ถูกประเมิน นักวิชาการกลุมนี้ไดแก Stake (1967) Scriven (1967) และ Provus (1971) 3. Decision – oriented evaluation model เปนแบบจําลองที่มุงผลิตสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ นักวิชาการกลุมนี้ไดแก Stufflebeam (1971) และ Alkin (1969) โดยมีรายละเอียดของแนวคิดที่สําคัญ ๆ ดังนี้ 1) รูปแบบจําลอง Goal or objective attainment model Tyler (1930 อางถึงใน สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ, 2544 : 172) เปนผูที่เริ่มตนบุกเบิกแนวความคิดเห็นเกี่ยวกับการประเมินโครงการ โดยแนวการประเมินผลตามรูปแบบของ Tyler นั้น จะเนนความสําคัญของการประเมิน โดยยึดความสําเร็จของจุดมุงหมายเปนหลัก (Goal or objective attainment model) กลาวคือ ในการประเมินผลนั้นสิ่งสําคัญก็คือผลผลิตจากโครงการ ถาหากวาผลผลิตจากโครงการเปนไปตามวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายแลวก็ประเมินไดวาโครงการนั้นสัมฤทธิผลตามจุดมุงหมายที่วางไว จากจุดมุงหมายของการประเมินโครงการ (แผนภูมิที่ 2.2) จะเห็นวา Tyler ไดจัดระบบวิธีการและการประเมินผล ดังนี้ 1. ตั้งจุดมุงหมายเชิงพฤติกรรมดวยความชัดเจน เฉพาะเจาะจง โดยบงบอกพฤติกรรมที่ตองการวัดไดในภายหลังดวย 2. กําหนดเนื้อหา หรือประสบการณที่ตองใชใหบรรลุตามความมุงหมายที่ตั้งไว

Page 22: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

11

3. เลือกวิธีการที่เหมาะสมในการที่จะทําใหเนื้อหาที่วางไวประสบผลสําเร็จ 4. ประเมินผลโครงการ โดยการตัดสินดวยการทดสอบสัมฤทธิผลในการเรียนหรือฝกอบรม รูปแบบจําลองการประเมินของ Tyler นี้มีจุดออน คือ การมุงเนนที่วัตถุประสงคที่กําหนดไว ทําใหการประเมินขาดสารสนเทศที่เปนประโยชนในดานอื่น ๆ (สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 43) แผนภูมิท่ี 2.2 รูปแบบ Goal or objective attainment model ของ Tyler ที่มา : สุขุม มูลเมือง, 2530 : 15

Page 23: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

12

2) รูปแบบจําลอง Goal and side effect attainment Cronbach (1963 อางถึงใน เยาวดี วิบูลยศรี, 2544 : 32 – 34 และ สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 43) ไดพัฒนารูปแบบการประเมินเพื่อแกไขขอบกพรองในแบบจําลองของ Tyler จุดเนนของแบบจําลองนี้เปนการประเมินเพื่อสรางสารสนเทศในการตัดสินใจเกี่ยวกับการปรับปรุงวิชา การปรับปรุงตัวผูเรียน และการจัดการของโครงการ วิธีการประเมินตามแนวคิดของ Cronbach มี 4 ขั้นตอน คือ 1. การศึกษากระบวนการ (Process studies) จุดมุงหมายการศึกษาถึงสภาวการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการตอบแบบทดสอบ การสังเกต การซักถามในกิจกรรมตาง ๆ สภาวการณที่เกิดขึ้นเหลานี้ สามารถจะนํามาใชเปนขอมูลเพื่อประโยชนในการปรับปรุงโครงการใหดีขึ้น 2. การวัดศักยภาพของผูเรียน (Proficiency measurcment) เปนการวัดเพื่อทดสอบความสามารถของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับคะแนนขอสอบรายขอมากกวาคะแนนรวม เมื่อรูผลรายขอแลวสามารถนําไปปรับปรุงการเรียนการสอนไดตลอดเวลา ซ่ึงตางจาก Tyler ที่เห็นวา คําตอบที่ถูกในแตละขอคือส่ิงที่นักเรียนไดเรียนรูแลว 3. การวัดทัศนคติ (Attitude measurement) จากการสัมภาษณและการใชแบบสอบถาม ถาเปนการถามความคิดเห็นที่ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาตรง ๆ จะไดผลที่นาเชื่อถือไดมากกวา ซ่ึงผลของแบบสอบถามควรดูคาเฉลี่ยทั่ว ๆ ไป แทนที่จะดูรายละเอียดของแตละบุคคล เพื่อทราบถึงความคิดเห็น ทัศนะตอการเรียนการสอนของโครงการ 4. การติดตามผล (Follow – up studies) เปนการติดตามผลการทํางานหรือภาวการณเลือกการฝกอบรมในสาขาตาง ๆ ไดประเมินถึงขอดีและขอจํากัดของสาขาวิชาตาง ๆ วาควรมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงอยางไร เพื่อชวยในการพัฒนาหรือปรับปรุงสาขาวิชานั้น ๆ ตอไป ผูวิจัยพอสรุปแนวความคิดของ Cronbach ไดวา การประเมินผลโครงการนั้นตองการวัดหลาย ๆ ดาน (Mutidimentional studies) ไมเพียงแตการประเมินตามจุดมุงหมายที่กําหนดไวเทานั้นตามแนวคิดของ Tyler แตตองพยายามประเมินผลอื่น ๆ ที่เกิดขึ้น เชน ศักยภาพ ทัศนคติ รวมถึงการติดตามผลของผูเขาฝกอบรม เปนตน 3) แนวความคิดของ Scriven Scriven (1967 อางถึงใน สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ, 2544 : 181) ไดเสนอแนวความคิดในการประเมินผลโครงการวา หนาที่ของการประเมินผลโครงการมี 2 ระดับ คือ

Page 24: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

13

1. ระดับวิธีการ (Methodological level) ไดแก ระดับที่เนนเรื่องจุดมุงหมายของการประเมินผล เพื่อตัดสินคุณคาของโครงการ 2. ระดับการนําไปใช (Sociological or pedagogical level) ไดแก ระดับที่เนนเรื่องบทบาทของโครงการ ประเมินผลเพื่อใชขอมูลอยางพินิจพิจารณา ในการประเมินผลนั้น Scriven แบงวิธีการประเมินผลออกเปน 2 ระดับ ดังนี้ (สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ, 2544 : 182 – 183 และ เยาวดี วิบูลยศรี, 2544 : 36) 1. การประเมินคุณคาภายใน (Intrinsic evaluation) คือ การประเมินคุณคาของเครื่องมือในการเก็บขอมูล จุดมุงหมาย เนื้อหา โครงสราง วิธีการ ตลอดจนทัศนคติของบุคลากร เปนการประเมินผลในระดับ not – operational (ยังไมตองปฏิบัติการ) 2. การประเมินคุณคาปฏิบัติการ (Pay – off evaluation) คือ การตัดสินคุณคาที่เกี่ยวของกับคุณภาพของโครงการ ทฤษฎี หรือส่ิงอื่น ๆ ของโครงการ แตเปนการประเมินในสวนซึ่งเปนผลท่ีมีตอผูรับบริการจากการดําเนินโครงการ หรือผลกระทบ ซ่ึงจัดไดวาการประเมินคุณคาปฏิบัติการของโครงการเปนการอิงเกณฑภายนอก (Extrinsic criteria) พอสรุปไดวา Scriven มีความเห็นวา จุดมุงหมายที่สําคัญของการประเมินผล ไดแก การตัดสินไมใชเพื่อการปรับปรุง 4) รูปแบบจําลอง Center for The Study of Evaluation Approah Alkin (1969 อางถึงใน สุขุม มูลเมือง, 2530 : 23) ไดพัฒนาวิธีการประเมินที่เรียกวา Center for The Study of Evaluation Approah มีแนวความคิดเกี่ยวกับการประเมินผลโครงการวาเปนการประเมินเพื่อการตัดสินใจ โดยแบงการประเมินออกเปน 5 ดาน (สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 47) ดังนี้ 1. การประเมินสภาพของระบบที่เปนอยู (System assessment) เปนการประเมินสภาพทั้งหมดของพื้นที่เปาหมาย โดยนําขอมูลที่ไดมากําหนดขอบเขตของงานและวัตถุประสงคของโครงการ 2. การประเมินเพื่อการวางแผนโครงการ (Program planning evaluation) เปนการประเมินกอนเริ่มโครงการ เปนการพิจารณาเพื่อตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เหมาะสมในการดําเนินการ 3. การประเมินเพื่อการดําเนินโครงการ (Program implementation evaluation) เปนการประเมินในระหวางที่ดําเนินโครงการเพื่อติดตามกํากับงานใหเปนไปตามแผน

Page 25: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

14

4. การประเมินเพื่อการปรับปรุงโครงการ (Program improvement evaluation) เปนการประเมินในระหวางดําเนินโครงการเพื่อนําขอมูลที่ไดมาแกไข ปรับปรุงโครงการ 5. การประเมินเพื่อการยอมรับผลของโครงการ (Program certification evaluation) เปนการประเมินเพื่อศึกษาผลที่ไดจากโครงการ และรวบรวมขอมูลไวเพื่อการปรับปรุง ยกเลิก หรือขยายโครงการ จากแนวคิดการประเมินผลของ Alkin อาจสรุปได ดังนี้ แผนภูมิท่ี 2.3 รูปแบบการประเมินตาม Model ของ Alkin ที่มา : สุขุม มูลเมือง, 2530 : 24 5) รูปแบบจําลอง Countenance model Stake (1967 อางถึงใน สุวิมล ติรกานันท, 2545 : 43) ไดพัฒนารูปแบบการประเมินผล โดยเนนเรื่องการตัดสินใจเปนสําคัญ (Judgement model) เปนการประเมินใน 3 ประเด็นหลัก คือ ปจจัยเบื้องตน การปฏิบัติ และผลลัพธ โดยแบงวิธีการเปน 2 เมตริกซ ประกอบดวยเมตริกซการบรรยายและเมตริกซการตัดสินคุณคา

Page 26: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

15

แผนภูมิท่ี 2.4 รูปแบบจําลองการประเมินผล Countenance model ของ Stake ที่มา : เยาวดี วิบูลยศรี, 2544 : 39 การใชเมตริกซทั้งสองจําเปนตองพิจารณาใน 2 ประเด็น คือ ประเด็นที่หนึ่ง พิจารณาถึงความสัมพันธระหวางปจจัย 3 สวน คือ ปจจัยเบื้องตน (Antecedents) การปฏิบัติ (Transactions) และผลลัพธ (Outcomes) ในการพิจารณาถึงความสัมพันธทั้งสามสวนนี้จะเปนการพิจารณาถึงเรื่องความสัมพันธเชิงเหตุผล (Logical contingency) และความสัมพันธเชิงประจักษ (Empirical contingency) ของปจจัยทั้ง 3 สวน เพื่อสะทอนทัศนะและการตัดสินของผูเกี่ยวของกับการประเมินหรือผูมีสวนไดเสียจากการประเมิน และประเด็นที่สองพิจารณาถึงความสอดคลองระหวางสิ่งที่คาดหวัง (Intents) กับส่ิงที่เกิดขึ้นจริง (Observations) ของปจจัยทั้ง 3 สวนนั้น (แผนภูมิที่ 2.5)

Page 27: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

16

แผนภูมิท่ี 2.5 รูปแบบการประเมินเกี่ยวกับความสัมพันธและความสอดคลอง ที่มา : เยาวดี วิบูลยศรี, 2544 : 42 6) รูปแบบจําลอง CIPP model จากรูปแบบตาง ๆ ที่ใชในการประเมินผลมีรูปแบบของ Stufflebeam (1971 อางถึงใน จําเนียร สุขหลาย และคณะ, 2544 : 223 – 233 และประชุม รอดประเสริฐ, 2542 : 91 – 95) ซ่ึงไดพัฒนาแบบจําลองการประเมินขึ้นในป ค.ศ. 1971 เรียกส้ัน ๆ วา CIPP ซ่ึงยอมาจาก Context, Input, Process และ Product รูปแบบการประเมินโดย CIPP model นั้นมีจุดมุงหมายเพื่อรวบรวมขอมูล และ/หรือสารสนเทศ เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจหาทางเลือกที่เหมาะสม ในการประเมินนั้นมุงประเมินจากสิ่งที่จะประเมิน 4 ประการดวยกัน คือ 1. การประเมินบริบทหรือสภาพแวดลอม (Context evaluation) เปนการประเมินที่มีจุดมุงหมายเพื่อการคนหาเหตุผลในการกําหนดวัตถุประสงคของโครงการ โดยจะเนนในดานความสัมพันธที่เกี่ยวกับสภาพแวดลอม ความตองการ โอกาสตาง ๆ ที่จะเกิดขึ้น และเงื่อนไขที่เปนจริงตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งภายนอกและภายในที่อาจจะมีผลกระทบตอโครงการ รวมทั้งการคาดการณปญหาและวิเคราะหถึงปญหาที่จะเกิดขึ้น และยังชวยใหทราบถึงตัวแปรที่เกี่ยวของและมีความสําคัญสําหรับการบรรลุเปาหมาย การประเมินสภาพแวดลอมทําใหไดมาซึ่ง

Page 28: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

17

การเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงคโดยอาศัยการวินิจฉัย และการจัดเรียงลําดับปญหาใหสอดคลองกับความตองการของที่ประชุมและสถานการณ อาจสรุปไดวา การประเมินสภาพแวดลอมเปนการประเมินเพื่อการวางแผนการตัดสินใจในการกําหนดวัตถุประสงคของโครงการนั่นเอง การประเมินสภาพแวดลอมจําแนกออกไดเปน 2 วิธี คือ 1) การประเมินตามสภาวการณ (Contingency) เปนลักษณะการประเมินที่มุงคนหาพลังหรืออิทธิพลที่อยูภายนอกระบบที่จะสามารถนํามาเพื่อปรับปรุงแกไขระบบใหดีขึ้น เชน คําแนะนํา การประเมินคานิยม เจตคติ สภาวะเศรษฐกิจ สภาวะทางการเมือง ความเปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากรเปนตน และ 2) การประเมินตามความสอดคลอง (Congruence) เปนลักษณะการประเมินที่เปรียบเทียบกันระหวางผลที่เกิดขึ้นจริงกับผลที่คาดหวังวาจะเกิดขึ้นวา มีความสอดคลองหรือมีความแตกตางกัน การประเมินสภาพแวดลอมโดยวิธีนี้เปนการประเมินทั้งระบบ ทั้งนี้เพื่อตองการที่จะดูวาการดําเนินงานโครงการบรรลุตามวัตถุประสงคของโครงการหรือไม และมากนอยเพียงใด เชน ความสัมพันธระหวางแผนกงานตาง ๆ ตารางการปฏิบัติงาน กิจกรรมของแผนกงานตาง ๆ เปนตน 2. การประเมินปจจัยนําเขา (Input evaluation) เปนการประเมินที่มีจุดมุงหมายเพื่อการนําเสนอขอมูลสําหรับการกําหนดถึงวิธีการในการใชทรัพยากรเพื่อใหโครงการบรรลุวัตถุประสงค โดยจะระบุใหทราบถึงลักษณะของขอมูลเบื้องตน ดังนี้ 1) ความสามารถและความรับผิดชอบของบุคลากรในโครงการ 2) กลยุทธหรือยุทธวิธีที่จะทําใหโครงการบรรลุถึงวัตถุประสงค และ 3) รูปแบบเฉพาะของขอมูลที่จะชวยสนับสนุนการนําไปใชของยุทธวิธีที่ไดเลือกสรรแลว ซ่ึงการประเมินปจจัยนําเขานั้นมีลักษณะที่วิเคราะหขอมูลในสวนละเอียดอยางลึกซึ่ง เชน วิธีการดําเนินการ วัสดุอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช ตารางการปฏิบัติงาน สายการบังคับบัญชา บุคลากร และงบประมาณที่เพียงพอและมีคุณภาพเปนอยางดี เปนตน 3. การประเมินกระบวนการ (Process evaluation) เปนการประเมินเพื่อการควบคุมการดําเนินโครงการ ผลของการประเมินจะเปนขอมูลใหผูบริหารโครงการใชปรับปรุงโครงการใหสามารถดําเนินการและบรรลุถึงวัตถุประสงคอยางมีประสิทธิภาพ จุดมุงหมายของการประเมินกระบวนการจําแนกไดเปน 3 ประการ คือ 1) เพื่อตรวจสอบหรือเพื่อคาดคะเนความบกพรองในการดําเนินงานโครงการ 2) เพื่อเสนอขอมูลท่ีจะนําไปสูการตัดสินใจดําเนินโครงการ และ 3) เพื่อดํารงไวซ่ึงการดําเนินโครงการที่เปนไปดวยดี กลาวโดยสรุปอาจกลาวไดวาวิธีการประเมินกระบวนการ ขอมูลของโครงการจะไดรับการแยกแยะโดยละเอียด และการรายงานขอมูลจะถูกนําเสนอตลอดเวลาในระยะสั้น ๆ ของการดําเนินโครงการ ทั้งนี้เพื่อการตัดสินใจปรับปรุงแกไข และการดําเนินงานโครงการที่ถูกตองเหมาะสมและมีประสิทธิภาพตามที่ตองการ

Page 29: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

18

4. การประเมินผลผลิต (Product evaluation) เปนการประเมินที่มีจุดมุงหมาย เชน ผูสําเร็จการฝกอบรม เปนตน เพื่อการพิจารณาตัดสินใจหรือการแสดงความคิดเห็นตอความสําเร็จของโครงการทั้งในขณะที่โครงการกําลังดําเนินงานอยู และเมื่อโครงการไดเสร็จสิ้นลง การประเมินในลักษณะนี้จะเปนการเปรียบเทียบระหวางผลงานที่เกิดขึ้นกับเกณฑหรือมาตรฐานหรือวัตถุประสงคที่ไดกําหนดขึ้นไว โดยวิเคราะหจากสภาพแวดลอมโครงการ (Context) ปจจัยนําเขา (Input) หรือทรัพยากรโครงการ และกระบวนการ (Process) ในการดําเนินโครงการ ซ่ึงกระบวนการทั้ง 3 ลักษณะจะไดจากการรวบรวมและการบันทึกไวโดยละเอียดตั้งแตเร่ิมตนของการดําเนินงานโครงการ จากแนวคิดขางตนพอสรุปได ดังนี้ แผนภูมิท่ี 2.6 ความสัมพันธระหวางการประเมินกับการตัดสินใจในแบบจําลอง CIPP model ที่มา : จําเนียร สุขหลาย และคณะ, 2544 : 233 จากการประมวลรูปแบบ (Model) ตาง ๆ ของการประเมินโครงการ ผูวิจัยไดใชรูปแบบจําลอง CIPP model ของ Stufflebeam สืบเนื่องจากแบบจําลองประเภทนี้ไมเพียงแต

Page 30: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

19

ประเมินวา บรรลุวัตถุประสงคของโครงการหรือไมเทานั้น แตยังคงเปนการประเมินเพื่อใหรายละเอียดตาง ๆ เพื่อชวยในการตัดสินใจเกี่ยวกับโครงการอีกดวย โดยผลการประเมินจะไดทั้งขอดี ขอบกพรอง และประสิทธิภาพของโครงการที่จะประเมินไดเปนอยางดี ซ่ึงนับไดวาเปนการเปดรับขอมูลขาวสารในภาพกวาง ชวยในการตัดสินใจการดําเนินงานของโครงการ ทั้งยังเปนรูปแบบจําลองที่เขาใจงาย สะดวกในการปฏิบัติ สามารถจําแนกรายละเอียดของโครงการไดอยางเหมาะสม มีขั้นตอนของการประเมินที่ชัดเจน ดังนั้น ผูวิจัยจึงนํามาประยุกตใชในการศึกษาประเมินผลโครงการครั้งนี้ 2.1.2 แนวคิดเก่ียวกับการฝกอบรมอาชีพ ปจจุบันมีการฝกอาชีพอยางกวางขวาง โดยหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชนในหนวยงานทั้งหลายนั้นไดมีการจัดฝกอบรมอาชีพหลายรูปแบบตั้งแตการฝกอบรมเฉพาะทางอยางเดียวจนถึงการฝกอาชีพที่แทรกอยูในการฝกแบบอื่น ซ่ึงสวนใหญจัดอยูในรูปการจัดการศกึษานอกระบบโรงเรียน พรอมทั้งมีการปลูกฝงคานิยม คุณภาพชีวิต คุณธรรมจริยธรรม เขาไปในระหวางการฝกอบรมในโครงการ เชน มูลนิธิสวนแกว เปนตน โดยแนวคิดเกี่ยวกับการฝกอบรมอาชีพ จะไดกลาวถึง ความหมายของการฝกอบรม ลักษณะการฝกอบรม การเลือกและพัฒนาอาชีพ การฝกอาชีพ วัตถุประสงคของการฝกอบรมอาชีพ และหลักในการจัดฝกอบรมอาชีพ ซ่ึงมีรายละเอียด ดังนี้ 2.1.2.1 ความหมายของการฝกอบรม การฝกอบรมเปนคําที่เรียกวิธีการหรือกรรมวิธีอยางหนึ่ง ตรงกับคําในภาษาอังกฤษวา Training ผูทรงคุณวุฒิหลายทานไดใหความหมายของการฝกอบรมไวตาง ๆ กัน ดังนี้ Harbison และ Myers (1964 : 2 อางถึงใน นอย ศิริโชติ, 2524 : 3) ไดใหความหมายของการฝกอบรมวา หมายถึง กระบวนการที่จะเพิ่มพูนความรู (Knowledges) ฝกฝมือในการทํางาน (Skills) และความสามารถ (Capacity) ของบุคคลทั้งมวลในสังคมใดสังคมหนึ่ง Flippo (1966 : 268 อางถึงใน นอย ศิริโชติ, 2524 : 3) กลาววา การฝกอบรม คือ กระบวนการของการสรางเสริมเพิ่มพูนความรูและทักษะ หรือความชํานาญใหแกผูปฏิบัติงาน หรือคนงานแตละคนในขอบเขตของการปฏิบัติงานเฉพาะอยาง Beach (1970 : 193 อางถึงใน นอย ศิริโชติ, 2524 : 3) ไดใหความหมายวา การฝกอบรม หมายถึง กระบวนการที่จัดขึ้น เพื่อใหบุคคลไดเรียนรูและมีความ

Page 31: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

20

ชํานาญเพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่ง โดยมุงใหบุคคลรูเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะเพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม (Behavior) ของบุคคลไปในทางที่ตองการ สมพงศ เกษมสิน (2516 : 257) ไดกลาวไววา การฝกอบรม หมายถึง กรรมวิธีตาง ๆ ที่มุงจะเพิ่มพูนความรู ความชํานาญ และประสบการณเพื่อใหทุกคนในหนวยงานใดหนวยงานหนึ่งสามารถปฏิบัติหนาที่ที่อยูในความรับผิดชอบไดดียิ่งขึ้น ภิญโญ สาธร (2517 : 442) ไดใหความหมายของการฝกอบรมวาการฝกอบรม หมายถึง กระบวนการที่มีระเบียบแบบแผน ซ่ึงมุงหมายที่จะพัฒนาบุคลากรใหมีความรู (Knowledges) และความชํานาญ (Skills) เพื่อวัตถุประสงคอยางใดอยางหนึ่ง โดยเฉพาะขององคกรหรือหนวยงานตาง ๆ นอย ศิริโชติ (2524 : 4) ไดใหความหมายของการฝกอบรมวา การฝกอบรมเปนขบวนการอยางหนึ่งที่จัดขึ้น เพื่อเพิ่มพูนความรู (Knowledges) และทักษะ (Skills) ใหแกผูเขารับการอบรม อุทุมพร จามรมาน (2533 : 2) ไดใหความหมายของการฝกอบรมวา คือ กิจกรรมหรือความพยายามที่จะจัดกิจกรรมใหสอดคลองกับความตองการของหนวยงาน เพื่อใหผูเขาอบรมเกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีในเรื่อง ความรู ทัศนคติ และทักษะในการทํางาน เยาวรัตน เรืองสาตรา (2540 : 13) กลาววา การฝกอบรมเปนกระบวนการเรียนรูอยางเปนระบบ และดําเนินการอยางตอเนื่องเปนขั้นตอน โดยมีจุดหมายใหผูเขารับการอบรมเกิดการเปลี่ยนแปลงความรู ทักษะ ทัศนคติ และพฤติกรรม ไปสูเปาหมายที่พึงประสงคตลอดจนสามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใชในการปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ จากความหมายข างตน ผู วิ จั ยพอสรุปไดว า การฝกอบรมเปนกระบวนการที่ดําเนินการไปตามขั้นตอน เพื่อใหความรู ความเขาใจ ทักษะ และทัศนคติ แกผูรับการฝกอบรมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในอาชีพหนาที่การงานที่รับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพควบคูไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งคุณธรรมจริยธรรมดวย 2.1.2.2 ลักษณะการฝกอบรม เริ่ม สงคง (2520 อางถึงใน สุรพล จันทราปตย, 2525 : 4) ไดกลาวถึงลักษณะการฝกอบรมไวดังนี้ 1) เปนการฝกอบรมในเรื่องที่เกี่ยวของกับอาชีพของบุคคลเปาหมายโดยเฉพาะ ซ่ึงอาชีพดังกลาวอาจเปนอาชีพหลักหรืออาชีพบุคคลกลุมเปาหมาย หรือบุคคลกลุมเปาหมายยังไมรูเกี่ยวกับเรื่องที่จัดฝกอบรมเลยก็ได แตเจาหนาที่ผูดําเนินการฝกอบรม อาจ

Page 32: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

21

เปนความสําคัญและจําเปนที่บุคคลควรเรียนรู เพื่อจะไดนําไปทําประโยชนแกบุคคลเปาหมายหรือครอบครัวของเขาเองก็ไดในอนาคต 2) หลักสูตรการฝกอบรม วิชาชีพตองกระชับและรวบรวมเนื้อหาทั้งหมดที่จําเปนตอการเรียนรูหรือตอการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเขาอบรม เพื่อท่ีผูเขารับการอบรมจะไดนําผลที่ไดจากการอบรมไปใชไดจริงใหบังเกิดสัมฤทธิผลโดยการกระทําของเขาเอง 3) สภาพแวดลอมในการฝกอบรม จะตองเอื้ออํานวยตอการเรียนรูของผูเขารับการฝกอบรม และคลายคลึงกับสภาพความเปนจริง ที่ผูเขารับการฝกอบรมจะนําผลไปใชใหมากที่สุด 4) วิทยากรในการฝกอบรม จะตองมีความสามารถในการถายทอด คือรูดานเทคนิคการสอน (How to teach) เปนอยางดี และรูเนื้อหาวิชาในเรื่องที่จะสอน (What to teach) เปนอยางดี โดยมีประสบการณเกี่ยวกับการนําส่ิงที่สอนไปใชดวยจึงจะชวยใหผูเขารับการฝกอบรมเกิดความเชื่อถือ และเชื่อมั่นวาจะไปทําเองไดมากขึ้น 2.1.2.3 การเลือกและการพัฒนาอาชีพ การประกอบอาชีพมีความสําคัญตอการดํารงชีพของมนุษยเปนอันมาก ทั้งนี้ก็เพราะอาชีพไมใชจะสนองตอบความตองการของมนุษยเพียงดานเศรษฐกิจเทานั้น แตยังสนองตอบความตองการดานอื่น ๆ เชน ดานสังคมและดานจิตใจ เปนตน การเลือกและพัฒนาอาชีพจึงมีความสําคัญตอชีวิตของบุคคลมาก ถาบุคคลสามารถเลือกและพัฒนาอาชีพไดเหมาะสม บุคคลนั้นก็มีแนวโนมที่จะประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพมีความเจริญกาวหนาเปนอันมาก ในทางตรงกันขาม ถาบุคคลเลือกอาชีพไดไมเหมาะสม โอกาสที่จะประสบความลมเหลวในการประกอบอาชีพก็มีอยูมากเชนกันและเพื่อใหการวิจัยครอบคลุมมากยิ่งขึ้นจึงไดดําเนินการศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเลือกอาชีพและการพัฒนาอาชีพ (สุวาณี ดิเรกวัฒนะ, 2538 : 45 – 46) การเลือกอาชีพตามความเปนจริง (Realistic Period) เปนระยะที่อยูในชวงวัยของการทํางาน ซ่ึงแบงออกไดเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ขั้นสํารวจอาชีพ (Exploration stage) เปนขั้นที่บุคคลสํารวจอาชีพตาง ๆ เพื่อคนหาอาชีพที่เหมาะสมกับบุคลิกภาพของตัวเอง บุคคลจะทดลองเรียนวิชาการและวิชาชีพในสาขาตาง ๆ ทํากิจกรรมเสริมหลักสูตร ตลอดจนการทดลองทํางานนอกเวลาเรียน โดยเลือกเรียนหรือทํางานเฉพาะที่ตนเองสนใจ 2) ขั้นรวบรวมความคิด (Crystallization stage) เปนขั้นที่บุคคลมีความพรอมที่จะเลือกอาชีพใดอาชีพหนึ่งจากอาชีพที่บุคคลมีความสนใจอยูประมาณสองสามอาชีพ เนื่องจากไดรวบรวมขอมูลและความคิดไวพอสมควร

Page 33: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

22

3) ขั้นตัดสินใจเลือกอาชีพ (Specification stage) เปนขั้นสุดทายของกระบวนการเลือกอาชีพ ในขั้นนี้บุคคลจะตัดสินใจเลือกอาชีพที่เฉพาะเจาะจงอาชีพเดียว เชน ชางไม ชางปูน ชางเหล็ก หรือชางเชื่อม เปนตน Hoppock (1976 อางถึงใน สุวาณี ดิเรกวัฒนะ, 2538 : 47) กลาววาการเลือกและพัฒนาอาชีพตองใชเวลาและตอเนื่องกันจึงจะสามารถตัดสินใจประกอบอาชีพได ดังนั้น จึงไดประยุกตและรวบรวมจากงานวิจัยที่เกี่ยวของมาสรุปเปนประเด็นสําคัญ ดังนี้ 1. บุคคลเลือกอาชีพเพื่อสนองความตองการของตนเอง 2. เมื่อบุคคลเลือกอาชีพใดก็ตามยอมมีความเชื่อวา อาชีพนั้นจะสนองความตองการของเขาไดดีที่สุด 3. ความตองการจะเปนแรงจูงใจใหบุคคลแสดงพฤติกรรมไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งซ่ึงมีอิทธิพลในการเลือกอาชีพ 4. การเลือกอาชีพของบุคคลเริ่มตนเมื่อเกิดความรูสึกวา การประกอบอาชีพนั้นจะชวยตอบสนองความตองการของบุคคลได 5. การเลือกอาชีพของบุคคลจะพัฒนาขึ้นเมื่อสามารถคาดการณลวงหนาไดวา อาชีพอะไรที่ตอบสนองความตองการของเขาไดในอนาคต ทั้งนี้ การเลือกอาชีพตองขึ้นอยูกับการรูจักตนเอง รูจักอาชีพ และความสามารถที่จะคิดอยางมีเหตุผล 6. ขอมูลเกี่ยวกับตนเองมีผลตอการเลือกอาชีพ ทั้งนี้โดยชวยใหบุคคลยอมรับความตองการและการคาดการณลวงหนาวา บุคคลจะประสบความสําเร็จในอาชีพที่เลือกหรือไม 7. ขอมูลเกี่ยวกับอาชีพมีอิทธิพลตอการเลือกอาชีพชวยใหบุคคลไดคนพบอาชีพที่สนองความตองการของเขาไดดีที่สุด และสามารถคาดการณลวงหนาไดวา จะไดรับความพึงพอใจในอาชีพที่ตนเลือกมากนอยเพียงใดเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับอาชีพอ่ืน 8. ความพึงพอใจในงานอาชีพขึ้นอยูกับขอบเขตของงานวาสามารถสนองความตองการของบุคคลไดในขณะนั้น หรือมีแนวโนมที่จะสนองความตองการของบุคคลไดในอนาคต ซ่ึงขึ้นอยูกับสัดสวนสิ่งที่ไดรับและความตองการที่จะไดรับจากอาชีพนั้น 9. ความพึงพอใจในงานอาชีพขึ้นอยูกับวา งานอาชีพนั้นจะสนองความตองการของบุคคลไดดีขึ้น จากแนวคิดของ Hoppock พอจะสรุปไดวา บุคคลสวนมากเลือกและพัฒนาอาชีพเพื่อสนองความตองการของตนเอง และการเลือกอาชีพของบุคคลก็จะพัฒนาทักษะขึ้น

Page 34: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

23

ไปเรื่อย ๆ ทั้งนี้ การเลือกอาชีพก็ตองขึ้นกับการรูจักตัวเอง รูจักอาชีพ และความสามารถที่จะคิดอยางมีเหตุผล Super (1957 อางถึงใน สุวาณี ดิเรกวัฒนะ, 2538 : 45) ไดใหแนวคิดตาง ๆ เกี่ยวกับการเลือกอาชีพ สรุปเปนขอ ๆ ไดดังนี้ 1. คนเรายอมมีความแตกตางกันในเรื่องความสามารถ ความสนใจ และบุคลิกภาพ 2. เนื่องจากคนเรามีคุณสมบัติหลายประการ แตละคนอาจเหมาะสมกับอาชีพตาง ๆ หลายอาชีพก็ได 3. แตละอาชีพยอมตองการผูที่มีคุณสมบัติดานความสามารถ ความในใจ และบุคลิกภาพในลักษณะเดียวกัน 4. คนเราเมื่อมีอายุการทํางานมากขึ้น มีโอกาสใชความสามารถมากขึ้นหรือไมมีโอกาสใชความสามารถเลย ความรูสึกหรือความเขาใจที่มีตอตนเองจะเปลี่ยนแปลงไป วัชรี ทรัพยมี (2523 : 33) กลาวถึงหลักการเลือกอาชีพไวมีสาระสําคัญ ดังนี้ 1. การวิเคราะหตนเอง โดยบุคคลจะวิเคราะหคุณสมบัติตาง ๆ และองคประกอบของตนเอง เชน ความถนัด ความสนใจ ความสามารถ บุคลิกภาพ ฐานะทางเศรษฐกิจ สถานภาพตาง ๆ ในครอบครัว 2. การวิเคราะหอาชีพ โดยบุคคลจะแสวงหาความรูตาง ๆ เกี่ยวกับอาชีพ เชน ลักษณะของอาชีพ และความตองการของตลาดแรงงานเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ 3. การใชวิจารณญาณในการเลือกอาชีพ โดยอาศัยหลักการวิเคราะหตนเอง และการวิเคราะหอาชีพประกอบกัน จะเห็นไดว า ทฤษฎีการ เลือกอาชีพแบบวิ เคราะห ลักษณะและองคประกอบของบุคคลมีแนวความคิดวา การเลือกอาชีพไดรับอิทธิพลจากองคประกอบหลายดาน คือ ความถนัด สติปญญา ความสนใจ คานิยมของบุคคลและชุมชน บุคคลแวดลอม สัมฤทธิผลในการเรียน ครอบครัว บุคลิกภาพและการปรับตัว ตลอดจนถิ่นที่อยู แตละบุคคลอาจไดรับอิทธิพลจากองคประกอบใดองคประกอบหนึ่งมากนอยตางกัน หรืออาจไดรับอิทธิพลจากหลายองคประกอบก็ได

Page 35: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

24

2.1.2.4 การฝกอาชีพ การฝกอาชีพ หมายถึง การฝกเพื่อเพิ่มความรูและความถนัด (Aptitudes) ความชํานาญงาน (Skills) และความสามารถ (Abilities) ของพนักงานที่มีหนาที่ปฏิบัติงานโดยตรง (Operative Employees) กระทําไดในรูปตาง ๆ ดังนี้ (สุวาณี ดิเรกวัฒนะ, 2538 : 41 – 43) 1) การฝกในขณะปฏิบัติงาน (On – the – job training) วิธีนี้นิยมใชกันมาก เพราะไมตองใชเครื่องมือหรือการลงทุนมากนัก แตมีผลตอบแทนในขณะฝกและยังไดผลงานจากคนงานที่ฝกหัดอีกดวย แตหากมีการประเมินผลกันจริง ๆ แลว การฝกเชนนี้จะเปนการฝกที่ไมประหยัดหรือมีประสิทธิภาพมากนัก นอกจากนี้ การฝกนั้นจะมีการเตรียมการและมีการติดตามผลการฝกนั้นดวย 2) การฝกจําลองแบบ (Vestibule training) คือ การฝกอาชีพในชวงระยะเวลาสั้น ๆ ภายใตสภาพการทํางานจริง โดยสรางสถานที่ เครื่องจักรและอุปกรณเลียนแบบของจริง การฝกแบบนี้มีประโยชนที่สามารถฝกคนงานไดครั้งละหลาย ๆ คน โดยใชเวลาไมมากนัก เปนการปองกันการเกิดความเสียหายแกผลผลิต หรือเคร่ืองจักรและอุปกรณ เมื่อคนงานเหลานั้นไดเขามาทํางานแลวจริง ๆ หรือการเกิดความเสียหายนั้นจะนอยกวาที่ไมมีการฝกกอนทํางาน 3) การฝกชางลูกมือ (Apprenticeship training) เปนการฝกหัดลูกมือเพื่อใหเปนชางฝมือ ใชกันมากในการฝกชางประเภทตาง ๆ เชน ชางไม ชางปูน ชางเหล็ก ชางเชื่อม เปนตน การฝกชางฝมือจะตองฝกดวยการปฏิบัติไมใชเรียนแตในหนังสือแลวจะเปนชางฝมือได การฝกชางฝมือจึงมีองคประกอบที่สําคัญ 3 อยาง (เทียน อัชกุล, 2536 : 11) คือ 1) เครื่องมือและเครื่องจักรที่สมบูรณแบบและทันสมัย 2) วัสดุส่ิงของที่จะนํามาใชในการฝก และ 3) ครูฝกที่มีความช่ําชอง เชี่ยวชาญ และมีทักษะ 4) การฝกการปฏิบัติ (Internship training) การฝกแบบนี้ที่รูจักกันมากคือ การฝกภาคปฏิบัติหลังจากสําเร็จภาคทฤษฎีแลวใหปฏิบัติจริงกับสภาพของปญหาและอุปกรณตาง ๆ พรอมทั้งเทคนิคตาง ๆ ดวย เชน ชางไม ชางปูน ชางเหล็ก ชางเชื่อม เปนตน การฝกแบบนี้ดีที่ผูฝกไดความรูทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ชวยใหการทํางานไดผลเร็วข้ึน และปองกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับเครื่องจักรและอุปกรณ แตเปนการฝกที่ตองใชเวลามากทําใหทั้งผูฝกและผูรับการฝกเกิดความเบื่อหนาย

5) การฝกเพื่อเปลี่ยนอาชีพและยกระดับฝมือ (Retraining or upgrading training) หากตลาดแรงงานมีแรงงานมาก แตฝมือยังดอยไมเหมาะกับความตองการของโรงงานอุตสาหกรรม การฝกแบบนี้จะชวยไดมาก เพราะสามารถฝกคนเพื่อเปลี่ยนอาชีพหรือเพิ่มฝมือและความสามารถได

Page 36: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

25

6) การฝกหลักสูตรเรง (Accelerated training) การฝกประเภทนี้สวนใหญรัฐเปนผูดําเนินการโดยฝกผูใหญหรือคนงานไรฝมือใหเปนคนงานกึ่งฝมือหรือคนงานฝมือในระยะเวลาอันสั้น 2.1.2.5 วัตถุประสงคของการฝกอบรมอาชีพ โดยมุงหมายเพื่อใหโอกาสแกบุคคลทั่ว ๆ ไป ในสังคมใหไดรับการพัฒนาฝมือในดานตาง ๆ ตามความสนใจ ความสามารถของผูเขารับการอบรม (นงเยาว ชมพูศรี, 2537 : 25) ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย ใหมีคุณภาพสอดคลองกับความตองการในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและมีปริมาณเพียงพอในสาขาอาชีพตาง ๆ 2) เพื่อแกปญหาการวางงาน การทํางานระดับต่ํา ทั้งทางดานรายไดและเวลาการทํางาน 3) เพื่อเพิ่มโอกาสในการยกระดับฝมือแรงงาน 4) เพื่อสนับสนุนใหมีการถายทอดเทคโนโลยีใหม ๆ และเทคโนโลยีที่เหมาะสมอยางรวดเร็ว 5) เพื่อสรางระบบและกลไกการประสานงานการฝกอาชีพระยะส้ันใหครบวงจรทั้งในหนวยงาน 2.1.2.6 หลักในการจัดฝกอบรมอาชีพ หลักในการจัดฝกอบรมอาชีพที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีลักษณะ (สุวาณี ดิเรกวัฒนะ, 2538 : 43 – 44) ดังนี้ 1) การจัดการฝกอบรมอาชีพจะตองมีเปาหมายพรอมทั้งขั้นตอนและระดับความรู และทักษะที่ผูไดรับการฝกระยะสั้นพึงมีอยางชัดเจนหลังจากไดรับการฝกอบรมแลว 2) การจัดการฝกอบรมอาชีพตองจัดใหครบวงจร กลาวคือ จะตองคํานึงถึงความเปนไปไดสูงในการมีงานทํา อันหมายถึง การประกอบอาชีพสวนตัว หรือการเพิ่มรายไดหรือการเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต และคุณภาพของการผลิตหรือความกาวหนาในอาชีพนั้นดวย 3) การจัดการฝกอบรมอาชีพตองมีลักษณะยืดหยุน ดัดแปลงและปรับปรุงไดเสมอ มีความคลองตัวสูง และเนนใหไดความรู โดยเฉพาะทักษะซึ่งเปนผลของการฝกอบรมใหมากยิ่งขึ้น 4) การจัดการฝกอบรมอาชีพตองมีมาตรการเบื้องตน ในการควบคุมคุณภาพดานทักษะและความรูของผูรับการฝกโดยหนวยงานที่จัดการฝกอบรม

Page 37: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

26

5) การใหบริการการฝกอบรมอาชีพ จะตองคํานึงถึงผูที่ไมมีงานทําเปนกลุมเปาหมายอันดับแรกและผูทํางานระดับต่ําเปนอันดับตอมามากกวาจะจัดบริการเพื่อประดับความรูใหแกผูที่มีงานทําอยูแลว หรือผูที่เพียงตองการความรูพิเศษ แตไมมีแผนการใชความรูดังกลาว ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรมีจํากัด 6) ใหทุกหนวยงานไมวาจะในรูปของมูลนิธิทั้งภาครัฐและเอกชนรวมกันมีบทบาทมากขึ้น ในการจัดการฝกอบรมอาชีพเพื่อใหมีอาชีพโดยเฉพาะในสวนที่ตลาดแรงงานตองการ 7) จัดใหมีการฝกอบรมอาชีพควบคูไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปในตัวดวย 2.1.3 แนวคิดเก่ียวกับการประเมินผลการฝกอบรม มีนักวิชาการหลายทานไดใหรูปแบบหรือวิธีการประเมินผลการฝกอบรมไวหลายทาน แตในที่นี้จะกลาวเพียง 2 ทาน คือ Mercado (1988 : 4 อางถึงใน เยาวรัตน เรืองสาตรา, 2540 : 14 – 15) ไดแบงระดับการประเมินผลออกเปน 4 ระดับ ตามลักษณะขององคประกอบในดานความรู เจตคติ และทักษะ ซ่ึงผูเขารับการฝกอบรมหวังที่จะไดรับจากกิจกรรมฝกอบรม ดังนี้ 1. การประเมินผลดานปฏิกิริยา (Reaction evaluation) การประเมินผลระดับนี้ตองการถามความรูสึก/เจตคติ (Attitude) ของผูเขารับการฝกอบรมตอสวนประกอบตาง ๆ (Components) ในโครงการฝกอบรม เชน เนื้อหาการฝกอบรมแตละเรื่อง วิธีการฝกอบรมและวัสดุอุปกรณประกอบการฝกอบรม และสิ่งที่สนับสนุนในการดําเนินการจัดฝกอบรม เชน อาหาร เครื่องอํานวยความสะดวก ยานพาหนะ การรับสง หองฝกอบรม ฯลฯ 2. การประเมินผลดานการเรียนรู (Learning evaluation) การประเมินผลระดับนี้จะวัดสิ่งที่ผูเขารับการฝกอบรมไดรับในดานความรู เจตคติ และทักษะ (KAS) ในสวนของเจตคติที่วัดนี้แตกตางจากเจตคติในการประเมินดานปฏิกิริยา การประเมินผลเจตคติ (ในดานการเรียนรู) หมายถึง เจตคติที่มีตอการไดรับประโยชนจากความรูและทักษะที่ไดเรียนมาใหม ๆ แตเจตคติในการประเมินผลดานปฏิกิริยา หมายถึง เจตคติที่มีตอสวนประกอบตาง ๆ ในสภาพแวดลอมของการฝกอบรม การประเมินผลการเรียนรูจะชี้ใหเห็นถึงความรู (K) เจตคติ (A) และ/หรือทักษะ (S) ที่ผูเขารับการฝกอบรมไดรับและปจจัยที่จะตองทําใหดียิ่งขึ้น การประเมินผลการเรียนรูสามารถดําเนินการไดทั้งกอนการฝกอบรม ระหวางการฝกอบรม และ/หรือหลังการฝกอบรม

Page 38: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

27

3. การประเมินผลการปฏิบัติ (Performance evaluation) การประเมินผลระดับนี้เพื่อวัดดูวาผูเขารับการฝกอบรมสามารถนําความรู และทักษะที่ไดรับจากการฝกอบรมไปใชปฏิบัติงานไดอยางถูกตองหรือไม ผลที่ไดจากการประเมินนี้จะเปนประโยชนในการปรับปรุงพัฒนาดานทักษะ และเพิ่มความสามารถในการปฏิบัติงานใหแกผู เขารับการฝกอบรม การประเมินผลแบบนี้อาจทําไดระหวางการฝกอบรม แตโดยทั่วไปแลวมักจะทําหลังการฝกอบรม 4. การประเมินผลกระทบ (Impact evaluation) การประเมินผลระดับนี้ เพื่อดูผลที่เกิดขึ้นในภาพรวม (Overall effect) จากการเขาฝกอบรมของผูเขารับการฝกอบรมที่มีตอชุมชนและสังคม โดยปกติแลวผลกระทบสามารถวัดไดในรูปของรายไดตอหัว ผลผลิตพืชโดยเฉลี่ย อัตราเพิ่มของประชากร อัตราการเจริญพันธุ (Fertility rate) ผลผลิตรวมแหงชาติ และตัวช้ีวัดอ่ืน ๆ ของการพัฒนาระดับมหภาค (Macro) Kirkpatrick (1959 : 21 – 26 อางถึงใน วรรณา รัศมิฑัติ, 2535 : 39) ไดใหความเห็นวา การประเมินผลการฝกอบรมนั้นตองประเมินประเด็นตาง ๆ ดังนี้ 1. ประเมินการเรียนรู (Learning) วาผูเขารับการฝกอบรมเกิดการเรียนรูในสิ่งที่ตองการใหเรียนรูตามที่ระบุไวในวัตถุประสงคหลักของโครงการฝกอบรมหรือไม 2. ประเมินปฏิกิริยา (Reaction) หมายถึง ผูเขาอบรมมีปฏิกิริยาตอโครงการ 1.1 ผู เขารับการฝกอบรมเห็นวาหัวขอวิชาตาง ๆ ที่บรรจุไวในหลักสูตรเหมาะสมเพียงพอหรือไม 1.2 ผูเขารับการฝกอบรมเห็นวาการจัดการฝกอบรมครั้งนี้เหมาะสมหรือไม 1.3 ผู เขารับการฝกอบรมเห็นวาโครงการ/หลักสูตรการฝกอบรมนี้ เปนประโยชนตอการปฏิบัติงานของเขาหรือไม 1.4 ผูเขารับการฝกอบรมมีทัศนคติตอการฝกอบรมอยางไร 3. ประเมินพฤติกรรม (Behavior) 3.1 ผูเขารับการฝกอบรม ไดเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางานไปในทางที่ดีขึ้นหรือไม 3.2 ผูเขารับการฝกอบรมไดนําเอาความรูตาง ๆ ที่ไดจากการฝกอบรมครั้งนี้ไปปรับใชในการปฏิบัติงานหรือไม 4. ประเมินผลลัพธ (Outcome or result) วา 4.1 ผลการปฏิบัติงานของผูเขารับการฝกอบรมเปนอยางไร (มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิ่มขึ้นกวาเดิมหรือไม)

Page 39: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

28

4.2 ผลการปฏิบัติงานของผูเขารับการฝกอบรม ไดรับการยอมรับจากบุคคลระดับตาง ๆ ในหนวยงานเพียงใด (จากผูบังคับบัญชา ผูใตบังคับบัญชา และเพื่อนรวมงาน) 4.3 ผูเขารับการฝกอบรมมีความกาวหนาในสายงานเพียงใด

2.1.4 แนวคิดเก่ียวกับการแนะแนวอาชีพ การแนะแนวอาชีพ (Career Guidance) ไดมีผูใหความหมายของการแนะแนวอาชีพไวหลายทาน และที่สําคัญมีดังนี้ “การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) คือ กระบวนการชวยเหลือบุคคลใหมีความสามารถในการเลือกอาชีพ การเตรียมตัวเพื่อประกอบอาชีพ และใหมีความกาวหนาในการประกอบอาชีพนั้น” (สมาคมแนะแนวอาชีพแหงชาติอเมริกัน, 1921 แกไขเพิ่มเติม 1937, อางในสําเนาว ขจรศิลป, 2529 : 8) “การแนะแนวอาชีพเปนกระบวนการชวยเหลือบุคคลใหรูจักตนเอง และไดขอมูลเกี่ยวกับอาชีพ เพื่อจะไดตัดสินใจเลือกอาชีพไดอยางเหมาะสมและประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพที่เลือกนั้น สามารถทําประโยชนใหแกตนเองและประเทศชาติ” (Super 1957, อางในสําเนาว ขจรศิลป, 2529 : 8) การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance) คือ กระบวนการชวยเหลือบุคคลใหสามารถเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเองและเตรียมตัวเพื่อการประกอบอาชีพใหมีความมั่นคงในการทํางานและมีความกาวหนาในอาชีพของตน (Senzaki อางในคูมือแนะแนวอาชีพ กรมการจัดหางาน, 2539 : 3) การแนะแนวอาชีพ (Vocation Guidance) คือ การเลือกอาชีพ การเตรียมตัวประกอบอาชีพ และการที่จะประกอบอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพและกาวหนา (Frank Parsons อางในคูมือการแนะแนวอาชีพ กรมการจัดหางาน, 2539 :3)

2.1.4.1 การแนะแนวอาชีพในประเทศไทย สวัสดิ์ สุวรรณอักษร (2526, อางในอรอนงค ธัญญวัน, 2539 : 5) ไดให

ความหมายดังนี้ การแนะแนวอาชีพเปนกระบวนการหนึ่งในการ 1) ชวยใหบุคคลรูจักและเขาใจตนเองอยางลึกซึ้งทุกดาน คือ สติปญญา

ความสามารถ ความถนัด ความสนใจและอุปนิสัยใจคอวาเหมาะสมกับงานหรืออาชีพใด 2 ) ชวยใหบุคคลรู จักและเข าใจโลกของงานอาชีพต าง ๆ และ

องคประกอบของงาน เชน ลักษณะของงานอาชีพ คุณสมบัติของการประกอบอาชีพ เงินเดือน

Page 40: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

29

หรือรายได ความมั่นคงในงานโอกาสกาวหนาในงาน สภาพปจจุบัน และแนวโนมของตลาดแรงงานในอนาคตสําหรับอาชีพตาง ๆ เหลานี้ เปนตน

3) ชวยใหบุคคลรูจักเลือกและตัดสินใจเลือกงานอาชีพอยางฉลาดถูกตองเหมาะสมกับอัตภาพ

4) ชวยใหบุคคลรูจักตัดสินใจเลือกอยางฉลาดในการเขารับการศึกษาและฝกอบรมในวิชาชีพตาง ๆ

5) ชวยใหบุคคลไดมีโอกาสพัฒนาบุคลิกลักษณะของตนใหเหมาะสมกับงานอาชีพ เชน ความอดทน ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย ความขยันหมั่นเพียร ความตรงตอเวลา ความรวมมือในการทํางาน ฯลฯ

6) ชวยใหบุคคลไดมีโอกาสสัมผัสกับงานอาชีพตาง ๆ ตามความเหมาะสมกับวัย

7) ชวยใหบุคคลสามารถปรับตนใหเขากับงานอาชีพ จนประสบความสําเร็จและมีความสุขในงานอาชีพของตน

2.1.4.2 หลักในการแนะแนวอาชีพ ลักขณา สริวัฒน (2543 : 66 - 68) ไดกลาวถึงหลักในการแนะแนว

อาชีพไววา การดําเนินการในการแนะแนวอาชีพที่มีประสิทธิภาพนั้น ผูดําเนินการมีหลักยึดสําหรับเปนแนวปฏิบัติ ดังตอไปนี้

1) การแนะแนวอาชีพเนนความแตกตางระหวางบุคคล การแนะแนวอาชีพมีหลักการที่จะชวยใหบุคคลเลือกอาชีพและประกอบอาชีพไดเหมาะสมกับแตละบุคคล ฉะนั้นนักแนะแนวจําเปนตองรูจักผูรับบริการแตละคน ตองคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลในดานตาง ๆ เชน ความสามารถ ความถนัด ความสนใจ บุคลิกลักษณะ สุขภาพ และตองชวยใหผูรับบริการรูจักและยอมรับตนเองดวย

2) การแนะแนวอาชีพยึดหลักสิทธิและเสรีภาพของบุคคล นักแนะแนวตระหนักในสิทธิและเสรีภาพของบุคคลในการที่จะเลือกอาชีพของตนเอง นักแนะแนวจะเปนผูชวยใหบุคคลรูจักตนเองและอาชีพดีขึ้นเพื่อผูรับบริการจะไดตัดสินใจเลือกอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยนักแนะแนวจะไมเปนผูทําหนาที่ตัดสินใจใหแกผูรับบริการ

3) การแนะแนวอาชีพเปนกระบวนการตอเนื่อง การที่บุคคลจะเลือกอาชีพไดอยางเหมาะสมเปนกระบวนการพัฒนาการโดยขึ้นกับระดับวุฒิภาวะของบุคคล เนื่องจากการที่จะเลือกอาชีพไดนั้นบุคคลจะตองมีความสามารถใชวิจารณญาณตัดสินใจ โดยอาศัยหลักการวิเคราะหตนเองและวิเคราะหอาชีพประกอบกัน ซ่ึงมิใชส่ิงที่จะกระทํากันไดงาย ๆ ในชวงเวลาอัน

Page 41: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

30

ส้ัน ฉะนั้นการแนะแนวอาชีพตองมีการวางโครงการระยะยาวโดยเริ่มตั้งแตระดับประถมศึกษา และจะตองจัดดําเนินกิจกรรมตาง ๆ เปนขั้น ๆ เพื่อนําไปสูเปาหมายตั้งแตการสงเสริมทัศนคติที่ดีในการประกอบอาชีพสุจริตทั้งหลายจนกระทั่งถึงการวางโครงการแนะแนวอาชีพ เพื่อใหเยาวชนสามารถตัดสินใจเลือกอาชีพไดอยางเหมาะสมและปรับตัวใหมีความสุข มีความกาวหนาในการประกอบอาชีพนั้น

4) การแนะแนวอาชีพเปนส่ิงจําเปนสําหรับเยาวชน เนื่องจากมีอาชีพใหม ๆ เพิ่มขึ้น ฉะนั้นเยาวชนควรจะมีโอกาสไดขอมูลที่ถูกตองเกี่ยวกับอาชีพเหลานั้น ตลอดจนสามารถพินิจพิเคราะหวางโครงการประกอบอาชีพไดเหมาะสมกับตนเอง ซ่ึงการแนะแนวอาชีพจะสนองตอบความตองการนี้ไดเปนอยางดี และสภาพการทํางานในปจจุบันมีการแขงขันกันสูง เนื่องจากจํานวนหนวยงานกับคนทํางานไมสมดุลกัน ฉะนั้นหนวยงานตาง ๆ จึงมีโอกาสที่จะคัดเลือกบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทํางานสูง จะมีความมั่นคงในการทํางานมากกวาคนที่มีประสิทธิภาพในการทํางานต่ํากวา ดังนั้น บุคคลที่ไดรับการศึกษาหรือฝกฝนอาชีพในแขนงที่เหมาะสมกับตนเองยอมมีโอกาสไดรับเลือกเขาทํางานมากกวา และมีแนวโนมที่จะทํางานไดเจริญรุงเรืองตอไป

5) ผูทําหนาที่แนะแนวอาชีพจะตองมีคุณสมบัติของนักแนะแนวที่ดี และไดรับการฝกอบรมมาในทางแนะแนว โดยเฉพาะองคประกอบที่สําคัญอยางหนึ่งของการที่จะทําหนาที่แนะแนวอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพก็คือ ผูทําหนาที่แนะแนวจะตองมีคุณสมบัติครบถวน โดยผานการศึกษาสาขาแนะแนว เปนผูมีประสบการณตลอดจนมีบุคลิกภาพที่เหมาะสม กลาวคือ เปนคนที่มีความจริงใจ มีเมตตา ใจกวาง ยอมรับความคิดเห็นของบุคคลอื่น มีความอบอุน เปนมิตร สุขุม เรียบรอย มีวิจารณญาณที่ดี

6) การเลือกอาชีพและประกอบอาชีพของบุคคลมีความสําคัญตอตัวบุคคล และประเทศชาติถาประชาชนสามารถเลือกและประกอบอาชีพไดอยางเหมาะสม จะนําความเจริญรุงเรืองใหแกตัวเอง และมีผลตอความเจริญรุงเรืองของประเทศชาติดวย

7) ขอมูลเกี่ยวกับอาชีพเปนสิ่งที่จะตองศึกษา นักแนะแนวจะตองใหผูรับบริการไดศึกษาขอมูลเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ เชน ลักษณะงาน สภาพการทํางาน รายได ความมั่นคงของอาชีพ การเตรียมตัวประกอบอาชีพ คุณสมบัติในการประกอบอาชีพ ความตองการของตลาดแรงงาน ตลอดจนการเตรียมตัวสมัครงาน

8) การตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาทั่วไป นักแนะแนวตองชวยใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญของการศึกษาทั่วไปดวย ไมเพียงแตจะเห็นความสําคัญของวิชาการเฉพาะแขนงที่จะไปประกอบอาชีพเทานั้น

Page 42: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

31

9) การตัดสินใจเลือกอาชีพควรมีความยืดหยุน เนื่องจากการวางโครงการประกอบอาชีพไมใชส่ิงที่จะกระทําไดทันที แตเปนกระบวนการตอเนื่องที่จะตองใชเวลาหลายป ความเหมาะสมที่บุคคลจะเลือกอาชีพใดอาจเปลี่ยนแปลงไดตามกาลเวลา เชน ความเคลื่อนไหวของตลาดแรงงานอาจเปลี่ยนแปลง ฉะนั้นการตัดสินใจเลือกอาชีพของบุคคลจึงควรมีความยืดหยุน นอกจากนั้นแตละคนยังอาจมีความเหมาะสมที่จะประกอบอาชีพไดหลายอยางไมจําเปนตองเหมาะกับอาชีพใดอาชีพหนึ่งเทานั้น

10) การแนะแนวอาชีพจะตองคํานึงถึงความตองการดานเศรษฐกิจและโอกาสที่บุคคลจะไดทํางานดวย

11) การแนะแนวอาชีพควรจะมีการประสานงานระหวางโรงเรียนกับหนวยงานภายนอก

12) กิจกรรมแนะแนวอาชีพควรเปนทั้งกิจกรรมที่จัดในหองเรียนและนอกหองเรียน

13) การแนะแนวอาชีพมิไดมีจุดประสงคเพียงการที่จะชวยใหบุคคลเลือกอาชีพไดเทานั้น แตเปนการชวยใหบุคคลมีทัศนคติที่ถูกตองปราศจากอคติ พิจารณาสิ่งตาง ๆ โดยใชเหตุผลตลอดจนมีความรูเกี่ยวกับอาชีพและมีทักษะในการตัดสินใจและการทํางาน

2.1.4.3 หลักในการแนะแนวอาชีพ สมจิตร ธนสุกาญจน (2522, อางในเสาวนีย เกงตรง : 13) ไดกลาวถึง

หลักในการแนะแนวอาชีพ ซ่ึงผูแนะแนวจะชวยเหลือบุคคลได ดังนี้ 1) ไดรูจักและเขาใจคุณลักษณะตาง ๆ ของตนเอง เชน ความสามารถ

ทางสติปญญา ความถนัด ความสนใจ อารมณ ความบกพรองของตนเอง พรอมทั้งสภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว

2) มีความรูอยางแทจริงเกี่ยวกับงานอาชีพตาง ๆ เชน มีอาชีพอะไรบาง ใหประโยชนอยางไรและมีผลเสียอยางใด

3) มีความรูเกี่ยวกับหลักสูตรที่จะศึกษาตอ ฝกฝน หรืออบรมเพื่ออาชีพนั้น 4) บุคคลสามารถนําความรูทั้ง 3 ประการขางตนนั้นมาประกอบการ

ตัดสินใจเลือกอาชีพรวมกับผูแนะแนวและผูปกครองตอไป วัฒนา พัชราวนิช (2531, อางในเสาวนีย เกงตรง : 16) ไดกลาวถึง

วัตถุประสงคเกี่ยวกับการแนะแนวอาชีพสรุปไดดังนี้ 1. ชวยใหบุคคลผูประสบปญหาเกี่ยวกับอาชีพใหสามารถแกปญหาตาง ๆ

ไดดวยตัวเอง เชน การสรางนิสัยในการปฏิบัติงานที่ดี

Page 43: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

32

2 . ช ว ย ใหบุ คคลยอมรับสภาพความ เปนจริ ง เ กี่ ย วกั บความรู ความสามารถ ความสนใจ ความถนัดของตนเอง ในการตัดสินใจเลือกอาชีพ

3. ชวยใหบุคคลรูจักวางเปาหมายในการประกอบอาชีพและดําเนินไปสูเปาหมายที่ตนเองตั้งไว

4. ชวยใหขาวสารตาง ๆ เกี่ยวกับโลกของอาชีพตาง ๆ เพื่อใหเด็กไดมีโอกาสเลือกอาชีพไดถูกตองตรงความสามารถของตนเอง

5. ชวยใหบุคคลไดรับผลสําเร็จในการประกอบอาชีพ อันจะเปนแนวทางไปสูความสําเร็จในชีวิตดวย

Super (1957, อางในเสาวนีย เกงตรง, 2533 : 20) ไดกลาววาการใหคําปรึกษาทางอาชีพเปนกระบวนการชวยเหลือบุคคลใหยอมรับและผสมผสานสวนที่ เปนบุคลิกภาพของตนเองกับบทบาทในโลกของงานอาชีพ ทดสอบภาพพจนของตนเองกับสภาพความเปนจริงของสิ่งแวดลอมภายนอกเพื่อนํามาซึ่งความพึงพอใจสูตนเองและสูสังคม

Morill และ Forest (1970, อางในเสาวนีย เกงตรง, 2533 : 20) ไดกลาวถึงขอบขายของการใหคําปรึกษาดานอาชีพมี 4 ลักษณะ คือ

1. การใหคําปรึกษาเพื่อชวยใหผูขอรับบริการสามารถตัดสินใจเลือกอาชีพได โดยการใหขอมูลที่สําคัญ และการทําใหปญหาของผูรับบริการชัดยิ่งขึ้น

2. การใหคําปรึกษาเพื่อชวยใหผูรับบริการสามารถตัดสินใจเลือกอาชีพได โดยเปนการสรางทักษะในการตัดสินใจใหแกผูมาขอรับบริการ

3. การใหคําปรึกษาที่เนนถึงความสัมพันธระหวางอาชีพของบุคคลกับการดําเนินชีวิตของบุคคล ผูใหบริการจะเนนถึงการตัดสินใจเลือกอาชีพ การวางแผนเพื่อการประกอบอาชีพ การสรางทักษะการตัดสินใจแกปญหาตาง ๆ ที่เกี่ยวกับอาชีพหรือการดําเนินชีวิตที่บุคคลจะตองประสบตลอดชีวิต

4. การใหคําปรึกษาที่เปนการสรางความสามารถเพื่อใหมีความมั่นใจในตัวเอง 2.1.5 แนวคิดเก่ียวกับความตองการ ลําดับขั้นความตองการของมนุษย (Hierarchy of need theory) ทฤษฎีนี้เปนทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมนุษยที่มีช่ือเสียง และเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายมานาน Maslow (1954) ไดตั้งสมมติฐานไววา มนุษยมีความตองการและความตองการของมนุษยไมมีที่ส้ินสุด ความตองการใดไดรับการตอบสนองแลว ความตองการอื่นจะเขา

Page 44: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

33

มาแทนที่ ความตองการที่ไดรับการตอบสนองแลวจะไมเปนสิ่งที่จูงใจอีกตอไป สวนความตองการที่ไมไดรับการตอบสนองจะยังเปนสิ่งจูงใจอยู เมื่อความตองการระดับต่ําไดรับการตอบสนองแลว ความตองการระดับสูงก็จะเรียกรองใหมีการตอบสนองตอไป (Maslow, 1954 อางถึงใน อําไพ อินทรประเสริฐ, 2533 :18) ลําดับขั้นของความตองการของมนุษย 5 ขั้น (Maslow, 1954 อางถึงใน อภิชาต พุทธบุญ, 2542 : 9 – 10) คือ 1. ความตองการทางดานรางกาย (Physiological needs) ความตองการทางดานรางกายเปนความตองการเบื้องตนเพื่อความอยูรอด เชน ความตองการในเรื่องอาหาร น้ํา ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม ยารักษาโรค ความตองการพักผอน และความตองการทางเพศ เปนตน 2. ความตองการความปลอดภัยหรือความมั่นคง (Security or safety needs) ถาหากความตองการทางดานรางกายไดรับการตอบสนองตามสมควรแลว มนุษยจะมีความตองการในขั้นตอไปที่สูงขึ้น คือ ความตองการทางดานความปลอดภัยหรือความมั่นคงตาง ๆ ความตองการทางดานความปลอดภัย จะเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการปองกัน เพื่อใหเกิดความปลอดภัยจากอันตรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับรางกาย ความสูญเสียทางดานเศรษฐกิจ สวนความมั่นคงนั้น หมายถึง ความตองการความมั่นคงในการดํารงชีพ เชน ความมั่นคงในหนาที่การงาน สถานะทางสังคม 3. ความตองการทางดานสังคม (Social or belongingness needs) ภายหลังจากที่ไดรับการสนองในสองขั้นดังกลาวแลว ก็จะมีความตองการสูงขึ้น คือ ความตองการทางสังคมจะเร่ิมเปนสิ่งจูงใจที่สําคัญตอพฤติกรรมของคน ความตองการดานนี้จะเปนความตองการอยูรวมกัน และการไดรับการยอมรับจากบุคคลอื่น 4. ความตองการที่จะมีฐานะเดนในสังคม (Esteem or status needs) ความตองการขั้นตอมาจะเปนความตองการที่ประกอบดวยส่ิงตาง ๆ ดังนี้ คือ ความมั่นใจในตัวเองในเร่ืองความสามารถ ความรู และความสําคัญในตัวของตัวเอง รวมตลอดทั้งความตองการที่จะมีฐานะเดนเทียบกับบุคคลอื่น หรืออยากท่ีจะใหบุคคลอื่นยกยองสรรเสริญในความรับผิดชอบในหนาที่การงาน การดํารงตําแหนงที่สําคัญในองคกร 5. ความตองการที่จะไดรับความสําเร็จในชีวิต (Self – actualization or self – realization) ลําดับขั้นความตองการที่ สูงสุดของมนุษยก็คือ ความตองการที่อยากประสบความสําเร็จในชีวิตตามความนึกคิดหรือความคาดหวัง ทะเยอทะยานใฝฝนที่อยากไดรับผลสําเร็จในสิ่งอันสูงสงในทัศนะของตน

Page 45: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

34

โดย Maslow มีขอสังเกตเกี่ยวกับความตองการของคนที่มีตอพฤติกรรมที่แสดงออกมาจะประกอบไปดวย 2 หลักการ (Maslow, 1954 อางถึงใน อําไพ อินทรประเสริฐ, 2533 : 19 – 20) คือ 1. หลักการแหงความขาดตกบกพรอง (The deficit principle) ความขาดตกบกพรองในชีวิตประจําวันของคนที่ไดรับอยูเสมอ จะทําใหความตองการที่เปนความพอใจของคนไมเปนตัวจูงใจใหเกิดพฤติกรรมในดานอื่น ๆ อีกตอไป คนเหลานี้กลับจะเกิดความพอใจในสภาพที่ตนเปนอยู ยอมรับ และพอใจความขาดแคลนตาง ๆ ในชีวิตโดยถือเปนเรื่องธรรมดา 2. หลักการแหงความเจริญกาวหนา (The progression principle) ลําดับขั้นของความตองการทั้ง 5 ระดับ จะเปนไปตามลําดับที่กําหนดไวจากลําดับต่ําไปลําดับสูง และความตองการของคนในแตละลําดับจะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อความตองการของลําดับที่ต่ํากวาไดรับการตอบสนองจนเกิดความพึงพอใจแลว แผนภูมิท่ี 2.7 ลําดับขั้นความตองการของมนุษยตามทฤษฎีการจูงใจของ Maslow ที่มา : กิตตินันท อรรถบท, 2542 : 52

2.2 ผลงานวิจัยท่ีเก่ียวของ จากการศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ ผูวิจัยไดทําการศึกษาผลงานวิจัยที่เกี่ยวของกับการประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพ ดังนี้

Page 46: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

35

กุสุมา เอมะศิริ (2549 : บทคัดยอ) กลาวไวในรายงานประเมิน เร่ือง การประเมินผลโครงการระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกสและระบบงานจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส วาเพื่อใหระบบงานมีความสมบูรณมากขึ้น และการใชระบบของธุรการ รวมทั้งพนักงานตําแหนงอ่ืนมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ธนาคารควรจัดอบรมพนักงานธุรการใหมีความรูเร่ืองระบบงานใหมากขึ้นจนสามารถไปถายทอดใหพนักงานอื่น ๆ ในสังกัด เขาใจและสามารถคนหาขอมูลท่ีตองการ และควรจัดทําคูมือประกอบการใชงานฉบับยอเพื่อเปนแนวทางใหผูใชเขาใจ กรณีการเสนอบันทึกไปยังฝายจัดการ ควรชี้แจงหรือซักซอม ใหสวนงานปฏิบัติใหถูกตองตามคําชี้แจงของการใชระบบงาน นอกจากนี้ปญหากับเครื่องคอมพิวเตอรมีไมเพียงพอ หรือประสิทธิภาพต่ําจําเปนที่จะตองหาทางแกไขใหสําเร็จลุลวงโดยเร็ว

เพชรา สงวนแสง (2536 : 68 – 70) ศึกษาการประเมินผลหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น สาขาวิชาเครื่องยนตของโรงเรียนฝกอาชีพของกรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบวา 1) ดานบริบท จุดประสงคของหลักสูตรมีความสอดคลองกับปจจัยภายนอกคอนขางนอย สวนสภาพของหลักสูตร สอดคลองกับความตองการของผูเรียน ใหนักศึกษามีความรูและทักษะสามารถนําไปประกอบอาชีพชางเครื่องยนตได สงเสริมใหนักศึกษามีจรรยาบรรณในการประเมินอาชีพคอนขางมาก สวนความเหมาะสมกับสภาพสังคมปจจุบันและการครอบคลุมเนื้อหาวิชาตาง ๆ ในหลักสูตรสอดคลองกับวัตถุประสงค สนองตอความสนใจและความตองการของผูเรียนสามารถนําไปประกอบอาชีพได แตยังคงมีความซ้ําซอนของเนื้อหาวิชาปานกลาง 2) ดานปจจัยเบื้องตน สวนประกอบที่สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนนั้นกลุมอาจารยมีความเห็นวา มีความเพียงพออยูในระดับนอย และส่ิงที่มีนอยที่สุดไมเพียงพอกับความตองการ คือ จํานวนหนังสือทางดานวิชาชางเครื่องยนตในหองสมุด สวนคุณภาพและความสะดวกในการใชบริการของสวนประกอบที่สนับสนุนการเรียนการสอน มีอยูในระดับปานกลาง สําหรับนักศึกษาเห็นวามีความพอเพียงปานกลาง สวนคุณภาพและความสะดวกในการใชบริการอยูในระดับมาก 3) ดานกระบวนการ ทั้งอาจารยและนักศึกษามีความเห็นวากระบวนการเรียนการสอนนั้นมีความเหมาะสมมาก ยกเวนการเชิญผูเชี่ยวชาญใหความรูเพิ่มเติมไดกระทําในระดับนอย สวนในดานการวัดผลประเมินผล อาจารยมีความเห็นวา การเปดโอกาสใหนักศึกษามีสวนรวมในการวางหลักเกณฑการประเมิน การใหนักศึกษาไดประเมินผลการเรียนการสอนของอาจารยไดกระทําคอนขางนอย และการใหนักศึกษาไดมีการประเมินการเรียนของตนเองนั้นไดปฏิบัตินอยที่สุด และ 4) ดานผลผลิต ผูสําเร็จการศึกษามีความเห็นวา เนื้อหาวิชาที่เรียนมีประโยชนมากและเพียงพอกับความตองการปานกลาง ผูสําเร็จการศึกษามีความรูความเขาใจในวิชาชางเครื่องยนตในระดับมาก สวนในเรื่องคุณลักษณะ

Page 47: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

36

ของผูสําเร็จการศึกษา ส่ิงที่มีมากที่สุดคือ การมีจิตใจพรอมที่จะใหบริการผูอ่ืน การยอมรับความผิดพลาดของตนเองและตรงตอเวลา ณัฐธพร เล็กเลิศศิริวงศ (2536 : 59 – 61) ศึกษาการประเมินผลโครงการฝกอบรมเตรียมอาจารยใหญโรงเรียนประถมศึกษาของสถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา ผลการศึกษาพบวา 1) ดานบริบท วัตถุประสงคของโครงการและนโยบายการฝกอบรมของสถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา ความสอดคลองกับความคาดหวังของผูเขารับการฝกอบรม และความสอดคลองระหวางแผนการจัดการฝกอบรมกับงานที่ปฏิบัติจริงมีความสอดคลองกันในระดับมาก 2) ดานปจจัยเบื้องตน ผูเขารับการฝกอบรมและวิทยากรพี่เล้ียง มีความเห็นวา ความพรอมของปจจัยที่ใชในการฝกอบรมมีอยูในระดับมาก ในดานการจัดอาหารใหรับประทานอยูในระดับมาก สําหรับวิชาแผนการพัฒนาการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมแหงชาติ พบวา อยูในระดับปานกลาง 3) ดานกระบวนการ การวางแผนการดําเนินการโครงการฝกอบรม การบรรยายของวิทยากร การใชสถานที่ในการฝกอบรมการประเมินผลการฝกอบรม มีปญหาอยูในระดับนอย และ 4) ดานผลผลิต ผูเขารับการฝกอบรมและวิทยากรพี่เล้ียงเห็นวา สภาพการจัดการฝกอบรมมีความเหมาะสมในระดับมาก และผูเขารับการฝกอบรมโครงการฝกอบรมเตรียมอาจารยใหญ โรงเรียนประถมศึกษามีผลการสอบผานเกณฑที่กําหนดไวทุกคน นลินรัตน วงษสุวรรณ (2536 : 78 – 80) ศึกษาวิจัยเร่ืองประสิทธิผลของโครงการอบรมภาษาอังกฤษระยะสั้นของศูนยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ : ศึกษาเฉพาะกรณี หลักสูตรอบรมครูภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษาตอนตนของป พ.ศ. 2535 ของจังหวัดสมุทรปราการ ผลการศึกษาพบวา 1) ดานบริบท ผูเขารับการฝกอบรมเห็นความสําคัญของโครงการอบรมในระดับปานกลางแตมีความเหมาะสมตอการเรียนการสอนในปจจุบันมาก 2) ดานปจจัยเบื้องตน ปจจัยดานตาง ๆ เชน สถานที่ในการฝกอบรมไดรับการประเมินวาอยูในระดับปานกลางทุก ๆ ดาน 3) ดานกระบวนการ หัวขอในการฝกอบรมมีความเหมาะสมและสอดคลองกับเอกสารมาก กิจกรรมที่ผูรับการอบรมไดรับมอบหมายนาสนใจ และมีประโยชนในระดับปานกลาง ส่ือ/วัสดุที่ใชในการฝกอบรมนาสนใจและมีประโยชนมาก แตความสามารถของวิทยากรในการอธิบายตอบขอซักถามและถายทอดความรูจัดอยูในระดับปานกลาง และ 4) ดานผลผลิต หลังจากฝกอบรมผูเขารับการฝกอบรมนําความรูที่ไดไปใชในการเรียนการสอนนอย ไมสามารถผลิตส่ืออุปกรณการสอนไดเพิ่มขึ้นจากเดิม และความสามารถในการนําความรูที่ไดไปถายทอดกับผูรวมงานไดนอย ประไพศรี สุทธิกิติวรกุล (2536 : 69 – 70) ศึกษาการประเมินโครงการซึ่งเปนการดําเนินงานรวมระหวางสหทัยมูลนิธิและสถานสงเคราะหเด็กออนปากเกร็ด กรมประชาสงเคราะห

Page 48: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

37

เร่ืองการดําเนินงานโครงการสายสัมพันธ ผลการประเมินพบวา 1) ดานสภาพแวดลอมทั่วไป วัตถุประสงคของโครงการมีความสอดคลองกับทฤษฎีทางสังคม หลักสากลทั้งในระดับหนวยงาน ระดับชาติ และระดับนานาชาติ สอดคลองกับความตองการและความคาดหวังของผูที่เกี่ยวของในระดับที่ดี 2) ดานปจจัยเบื้องตน สําหรับการดําเนินงานในระดับปานกลางทําใหไมสามารถสรุปไดวาปจจัยเบื้องตนสามารถเอื้ออํานวยตอการดําเนินงานตามโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพ 3) ดานกระบวนการ โครงการสายสัมพันธมีจุดดอยที่สุด คือ ความแตกตางของรูปแบบดําเนินงานระหวางภาครัฐ ซ่ึงเปนระบบราชการจําตองปฏิบัติตามกฎระเบียบอยางเครงครัด ในขณะที่ภาคเอกชนมีวิธีดําเนินงานที่ยืดหยุน การตัดสินใจจึงมีความคลองตัวกวาขอแตกตางนี้ทําใหเปนอุปสรรคสําคัญในการปฏิบัติงาน และ 4) ดานผลผลิต เมื่อเปรียบเทียบวัตถุประสงคของโครงการกับผลการดําเนินงานการจัดกิจกรรมอาสาสมัคร ทําใหเด็กในสถานสงเคราะหแหงนี้มีพัฒนาการในทางที่ดีขึ้น เจาหนาที่ของสถานสงเคราะห เจาหนาที่สหทัยมูลนิธิ อาสาสมัครมีความพึงพอใจในผลการดําเนินงานตามโครงการในระดับที่ดี นงเยาว ชมพูศรี (2537 : บทคัดยอ) ศึกษาการประเมินผลการฝกอาชีพหลักสูตรเตรียมเขาทํางาน : กรณีศึกษาหลักสูตรเตรียมเขาทํางาน สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานกลาง กรมพัฒนาฝมือแรงงาน พบวา หลักสูตรเตรียมเขาทํางานเปนหลักสูตรที่ดี ชวยใหเยาวชนมีความรูความสามารถในสาขาชางในระยะเวลาอันส้ัน โดยไมเสียคาใชจายใด ๆ ในระหวางเขารับการฝกอาชีพและยังไดรับการฝกภาคปฏิบัติทั้งในสถาบันฯ และในสถานประกอบการเปนหลักสูตรที่เหมาะสมกับความตองการของธุรกิจอุตสาหกรรมขนาดยอม ที่ชวยใหนายจางไดผูชวยชางในระยะเวลาอันสั้น แตมีผูจบการฝกอาชีพตามหลักสูตรมีเพียงรอยละ 50.0 เทานั้น แสดงถึงความสําเร็จในการฝกอาชีพของสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานอยูในระดับต่ํา ในดานการนําความรูที่ไดรับจากการอบรมไปใชประโยชนนั้น มีความเห็นสอดคลองกันทั้งผูเขารับการฝกอาชีพและนายจางในสถานประกอบการ โดยเห็นวาการจัดหลักสูตรสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน สวนปญหาอุปสรรคในการฝกอาชีพของผูเขารับการฝกอาชีพหลักสูตรเตรียมเขาทํางาน ปญหาที่สําคัญคือ ปญหาการออกกลางคันของผูเขารับการฝกอาชีพมีถึงรอยละ 50.0 โดยมีสาเหตุจากการไดงานทํามากที่สุดรอยละ 21.9 ปญหาในดานการประชาสัมพันธการฝกอาชีพยังมีนอยเกินไป ซ่ึงผูเขาฝกสวนใหญรอยละ 57.8 ทราบวามีการฝกอาชีพจากญาติพี่นองและเพื่อน สวนที่ทราบขาวจากสถาบันฯ มีเพียงรอยละ 18.8 และผูเขารับการฝกอาชีพเกือบทั้งหมดไมเคยรูจักสถาบันฯ มากอน นอกจากนี้ ยังมีปญหาในดานวัสดุอุปกรณการฝกอาชีพที่ยังไมทันสมัยมีบางสวนที่ชํารุด ทําใหไมเพียงพอแกการฝกปฏิบัติ

Page 49: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

38

นภพล กาญจนกานนท (2537 : 58 – 60) ศึกษาการประเมินผลการดําเนินงานปองกัน และแกไขปญหาการคาประเวณีตามนโยบายเรงดวนของรัฐบาล เร่ือง การประเมินผลโครงการสรางชีวิตใหมใหสตรีชนบท พ.ศ. 2537 ผลการประเมินพบวา 1) ดานบริบท วัตถุประสงคของโครงการไดรับขอเสนอแนะใหมีการพิจารณาเกี่ยวกับความสามารถในการทดแทนและตอบสนองตอระดับการครองชีพของรายไดที่กลุมเปาหมายไดรับจากอาชีพ ซ่ึงทางราชการจัดใหตามโครงการควรพิจารณาใหความชวยเหลือครอบครัวหรือบุคคลที่อยูเบื้องหลังกลุมเปาหมายซึ่งปจจัยสําคัญในการผลักดันใหมีการประกอบอาชีพคาประเวณีหรือการลอลวงใหไปคาประเวณี แบงแยกประเภทผูเขารับการฝกอบรมโดยใหคํานึงถึงสาเหตุและที่มาของแตละบุคคล ประสานความรวมมือระหวางภาครัฐ เอกชน เพื่อปองกันแกไขปญหาการคาประเวณีอยางเปนระบบ 2) ดานปจจัยนําเขา ควรมีการพิจารณาปรับปรุงเกี่ยวกับระยะเวลาในการฝกอบรมการสํารองงบประมาณเพื่อคาใชจายดานอุปกรณการเรียนการสอน อัตรากําลังของบุคลากรพัฒนาความรูความเขาใจตอการปฏิบัติงานของบุคลากรขั้นตอนที่ยุงยากของระเบียบทางราชการวางแผนการดําเนินงานใหสอดคลองกันระหวางปฏิบัติงานกับสวนกลาง 3) ดานกระบวนการ ควรปรับปรุงเกี่ยวกับหลักเกณฑการวัดผลการฝกอบรมใหมาตรฐานเดียวกัน ปรับปรุงดานคุณภาพและความชํานาญของบุคลากร ปรับปรุงดานประมาณงานใหสอดคลองกับงานประจําและงานตามโครงการเสนอใหหนวยงานตนสังกัดเพื่อความเอาใจใสดูแลชวยเหลือในการแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น ปรับปรุงการจัดบรรยากาศ และประสบการณดานการเรียนการสอนใหมีคุณภาพเพียงพอที่จะพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน และ 4) ดานผลผลิต การดําเนินงานสามารถบรรลุวัตถุประสงคของโครงการไดรอยละ 80 ของดัชนีช้ีวัด แตสวนใหญเปนเรื่องของความพึงพอใจตอการชวยเหลือของทางราชการ สวนที่ไมผานการประเมิน คือ ไมมีวิชาชีพใหเลือกเรียนตามความตองการของผูเรียนโดยการฝกอบรมตามโครงการมีเพียงการฝกตัดเย็บเสื้อผาเปนหลักทุกพื้นที่และการฝกอบรมไมสามารถพัฒนาใหผูเขารับการฝกอบรมมีความรูความเขาใจ และทัศนคติอยางถูกตองตอผลเสียของการคาประเวณีทั้งตอตนเองและสังคม นภพล กาญจนกานนท (2538 : 77 – 78) ศึกษาการประเมินการฝกอบรมวิชาชีพใหแกหญิงโสเภณี : ศึกษาเฉพาะกรณีสถานสงเคราะหหญิงบานนารีสวัสดิ์ อําเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ผลการศึกษาพบวา การเขารับการฝกอบรมอาชีพและวิชาชีพในสถานสงเคราะหหญิงบานนารีสวัสดิ์สอดคลองกับความตองการ และความคาดหวังของผูเขารับการฝกอบรมในระดับคอนขางสูง หนวยงานมีความพรอมและสามารถจัดสรรปจจัยที่จําเปน เชน สถานที่ฝกอบรม ระยะเวลาที่ใชในการฝกอบรม อุปกรณและส่ือการเรียนการสอนวิทยากรดานตาง ๆ และบุคลากรทั่วไปไดอยางเหมาะสมและทั่วถึง ในดานการดําเนินงานฝกอบรมวิทยากร ดานวิชาชีพความรู

Page 50: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

39

ทั่วไปในชีวิตประจําวัน จริยธรรม และอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับสถานสงเคราะหสามารถจัดบรรยากาศการเรียนรู อันไดแก กระบวนการเรียนการสอนของวิทยากรดานตาง ๆ และการวัดความรูและวัดผลไดอยางเหมาะสม ผูเขารับการฝกอบรมมีสัมพันธภาพที่ดีตอกันยอมรับและปฏิบัติตามกฎระเบียบขอบังคับตาง ๆ ในระดับคอนขางสูงผานเกณฑการประเมินอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เมื่อส้ินสุดการฝกอบรมผูที่ผานการอบรมมีทัศนคติในดานบวกตอการเขารับการฝกอบรม และวิชาชีพคาดวาในอนาคตตนเองสามารถที่จะออกไปอยูรวมกับคนในสังคมอยางปกติสุข และสามารถประกอบอาชีพตามที่เรียนมาไดแตสวนใหญกลับไมมั่นใจวารายไดจากการประกอบอาชีพตามที่เรียนจะเพียงพอกับภาระรับผิดชอบทั้งตนเองและครอบครัว นอกจากนี้เมื่อส้ินสุดการฝกอบรมอาชีพ ผูเขารับการฝกอบรมมีแนวโนมที่จะกลับไปประกอบอาชีพเดิมเปนสวนมาก พระมหาทรงชัย สีจันทรอินทร (2538 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง ประสิทธิผลของการบริหารโครงการพัฒนาของวัดสวนแกว : ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการรมโพธ์ิแกว พบวา 1. การบริหารโครงการประสบผลสําเร็จในระดับปานกลางคอนขางสูง ผูที่เขารับการอบรมสวนใหญเปนชาย เห็นวา การอบรมในโครงการของวัดสวนแกวมีประโยชนมากสามารถชวยพัฒนาสภาพความเปนอยูใหดีขึ้น ใหความรู ความสามารถในดานวิชาชีพและเมื่อจบการอบรมแลวสามารถออกไปทํางานตามความตองการของตลาดแรงงานได 2. ปจจัยดานการบริหารโครงการ 1) การทํางานไมคอยเปนระบบ กลาวคือไมมีขั้นตอนการทํางานที่ชัดเจน เชน การสั่งงาน การควบคุม การแบงงาน 2) ความเพียงพอของทรัพยากรการบริหารมีจํานวนนอยในระดับปานกลาง งบประมาณไดจากการขายหนังสือ เทปและผูมีจิตศรัทธา ดานวัสดุอุปกรณในการอบรมนั้นพอเพียงระดับปานกลาง และคุณภาพของวัสดุอุปกรณอยูในสภาพที่พอใชได สถานที่ในการดําเนินโครงการมีความเหมาะสมดี 3) ภาวะผูนําของผูบริหารโครงการมีประสิทธิภาพระดับสูง เพราะชวยกระตุนใหคนทํางานดวยความเต็มใจ และ 4) ความสอดคลองดานหลักสูตรอบรมกับความตองการแรงงาน หลักสูตรมีความเหมาะสมดีทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ครูผูสอนก็มีความรูความสามารถในถายทอด แตการรับสมัครทางโครงการฯ ยังขาดการรวบรวมขอมูลสวนบุคคล การอบรมยังไมมีการจัดแบงกลุมผูเขารับการฝกอาชีพ และการติดตามผูจบการอบรมวาไปประกอบอาชีพมากนอยเพียงใด พระมหามาโนช ศึกษา (2539 : บทคัดยอ) ไดศึกษาเรื่อง พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม : ศึกษาความคิดเห็นของพระสังฆาธิการตอการพัฒนาสังคมของพระพยอม กัลยาโณ จากผลการศึกษาไดแยกออกเปน 2 สวน คือ 1) ผลการศึกษาจากเอกสาร (Documentary research) พบวา แนวความคิดการพัฒนาสังคมตามแนวพระพุทธศาสนานั้น มุงพัฒนาบุคคลในสังคมใหไดรับประโยชน 3 อยาง คือ ประโยชนในปจจุบัน (ทิฎฐธัมมิกัตถะ) ประโยชนในอนาคต

Page 51: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

40

(สัมปรายิกัตถะ) และประโยชนสูงสุด คือ พระนิพพาน (ปรมัตถะ) และการพัฒนาสังคมจะตองเร่ิมพัฒนาจากตัวบุคคลใน 5 ดาน คือ การพัฒนากาย การพัฒนาศีล การพัฒนาจิต การพัฒนาปญญา และการพัฒนาอาชีพ สวนการพัฒนาสังคมของพระพยอม กัลยาโณ มี 3 ดาน คือ ดานการเผยแผธรรมะ ดานการศึกษา และดานการสงเคราะหประชาชน ซ่ึงสอดคลองกับหนาที่ของพระสงฆในการพัฒนาสังคมเปนอยางมาก 2) ผลการศึกษาภาคสนาม (Field research) ดานความคิดเห็นของพระสังฆาธิการตอการพัฒนาสังคมของพระพยอม กัลยาโณ นั้น พระสังฆาธิการสวนใหญเห็นดวยกับการพัฒนาสังคมของพระพยอม กัลยาโณ ในทุก ๆ ดาน กลาวคือ ดานการเผยแผธรรมะ พระสังฆาธิการสวนใหญเห็นวา พระพยอม กัลยาโณ มีความรูมีความสามารถในการเผยแพรธรรมะใหเขาถึงประชาชนดวยวิธีการที่ เหมาะสมกับยุคสมัย ทันโลกทันเหตุการณ สามารถชักจูงใหประชาชนเขาถึงธรรมะไดงาย ดานการศึกษา พระสังฆาธิการสวนใหญเห็นวา พระพยอม กัลยาโณ ไดใหโอกาสทางการศึกษาแกเยาวชนไดพัฒนาคุณภาพชีวิตของเยาวชนใหดีขึ้น จัดไดวาเปนการกระทําที่ถูกตอง และดานการสงเคราะหประชาชนพระสังฆาธิการสวนใหญถึงแมจะไมทราบรายละเอียดเกี่ยวกับโครงการตาง ๆ แตโดยภาพรวมแลวทราบวาพระพยอม กัลยาโณ ไดจัดทําโครงการขึ้นมากมาย และเห็นวาโครงการที่ไดจัดทําขึ้นมานั้นลวนเปนประโยชนตอประชาชนเปนอยางมาก ซ่ึงไมขัดแยงกับหลักธรรมแตอยางใดกับสอดคลองกันมากกวาดวย เยาวรัตน เรืองสาตรา (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาการประเมินผลการฝกอบรมหลักสูตร “การจัดการฟารมโคนม” โครงการพัฒนาการเลี้ยงโคนมในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทย ผลการศึกษาพบวา 1) การนําความรูไปปฏิบัติหลังจากการฝกอบรม ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญมีความรูความเขาใจในการเลี้ยงโคนมมากขึ้น และสามารถนําความรูและทักษะที่ไดจากการฝกอบรมไปปฏิบัติในการเลี้ยงโคนม 2) ผลของการนําความรูไปปฏิบัติ ผูที่นําความรูไปปฏิบัติสวนใหญมีความคิดเห็นวา ผลที่เกิดขึ้นหลังจากการปฏิบัติในแตละดานของการอบรมเกิดผลดีขึ้น และผูเขาอบรมสวนใหญมีความคิดเห็นในภาพรวมของการนําความรูไปปฏิบัติวาเกิดผลดีตอความเขาใจในการเลี้ยงโคนมเปนอันดับแรก รองลงมาไดแก การใหน้ํานม สภาพความสมบูรณของ โคนม สุขภาพโคนม คุณภาพน้ํานม และสภาพแปลงหญา สวนปญหาอุปสรรคที่ผูเขารับการอบรมไมสามารถนําไปปฏิบัติได 1) ขาดปจจัยดานการผลิต ไดแก เงินทุน แรงงาน ที่ดิน วัสดุอุปกรณ 2) เกษตรกรไมเห็นความสําคัญของการปฏิบัติ เพราะเปนเรื่องละเอียดออน 3) เกิดจากสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม และ 4) เกิดจากดานการจัดการของผูเล้ียงโคนมเอง อนุสันต เทียนทอง (2540 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง การประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพ : ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนยฝกอาชีพเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ครบ 36 พรรษา กรมประชาสังเคราะห โดยผูศึกษาไดนําแบบจําลอง CIPP มาประยุกตใชใน

Page 52: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

41

การศึกษา ซ่ึงผลการศึกษาพบวา 1) การประเมินบริบทหรือสภาพแวดลอม วัตถุประสงคของหนวยงานมีความสอดคลองกับความตองการและความคาดหวังของผูสําเร็จการฝกอบรมและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานในศูนยฯ 2) การประเมินปจจัยเบื้องตนหรือปจจัยนําเขา กลุมเจาหนาที่มีความเห็นวาปจจัยที่เอ้ืออํานวยตอการปฏิบัติงานมีความพรอมและความเพียงพอในระดับเหมาะสมปานกลาง ในขณะที่กลุมผูสําเร็จการฝกอบรม มีความเห็นวา การจัดฝกอบรมอาชีพที่ดําเนินการอยู การจัดบริการดานตาง ๆ และการจัดสภาพแวดลอมภายในศูนยฯ มีความพรอมและความเพียงพอในระดับเหมาะสมคอนขางมาก 3) การประเมินผลกระบวนการ กลุมเจาหนาทีม่คีวามเหน็วา กระบวนการฝกอบรม การจัดฝกอบรมตาง ๆ และการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่ศูนยฯ ดําเนินการอยูเหมาะสมคอนขางมาก สวนกลุมผูสําเร็จการฝกอบรมมีความเห็นวา กระบวนการฝกอาชีพ อันไดแก การจัดบรรยากาศในการเรียนการสอน การวัดผลการจัดฝกอบรมตาง ๆ และการจัดกิจรรมที่ศูนยฯ จัดตั้งขึ้นเหมาะสมคอนขางมาก และ 4) การประเมินผลผลิต กลุมเจาหนาที่มีความเห็นวา ผูสําเร็จการฝกอบรมมีความชํานาญและความมั่นใจในวิชาชีพที่ฝกอบรมอยูในระดับเหมาะสมปานกลาง สวนกลุมผูสําเร็จการฝกอบรมมีความเห็นวาความชํานาญและความมั่นใจในวิชาชีพที่ฝกอบรม การนําวิชาชีพไปใชประกอบอาชีพและการมีรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัวอยูในระดับเหมาะสมคอนขางมาก กนิษฐา สุวัตธกุล (2541 : บทคัดยอ) ศึกษาประเมินผลการดําเนินงานโครงการฝกอบรมอาชีพ ของศูนยสงเคราะหและฝกอาชีพสตรีภาคกลาง และเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ วิธีการประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพเปนการนําแบบจําลอง CIPP มาประยุกตใชในการประเมินผล ผลการศึ กษ าพบว า 1 ) ก ารประ เมิ นสภาพแวดล อม สภาพแวดลอมในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง 2) การประเมินปจจัยเบื้องตน ความพอเพียงของทรัพยากรดานตาง ๆ มีความพอเพียงในระดับปานกลาง 3) การประเมินกระบวนการ กระบวนการฝกอบรมอาชีพดานตาง ๆ มีความเหมาะสมในระดับปานกลาง 4) การประเมินผลผลิต มีความเหมาะสมในระดับปานกลางทั้งนี้ผลผลิตของโครงการมีความสอดคลองกับวัตถุประสงคของโครงการ และความคาดหวังของผูสําเร็จการฝกอบรม นอกจากนี้ยังกอใหเกิดผลผลิตทางออมซึ่งไดแก จํานวนผูประกอบอาชีพมีมากขึ้น ลักษณะอาชีพมีความหลากหลาย และจํานวนรายไดเพิ่มขึ้น รวมทั้งคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ตลอดจนชวยลดหรือแกปญหาการวางงาน การอพยพเคลื่อนยายแรงงานและปญหาโสภณี 5) ผลการประเมินความสําเร็จของโครงการฝกอบรมอาชีพ ผลสําเร็จของโครงการฝกอบรมอาชีพในภาพรวม อยูในระดับปานกลาง 6) ปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ ไดแก ดานบุคลากร การขาดความรูความชํานาญ และจํานวนครูผูสอนนอย ดานผูเขารับการฝกอบรมปญหาสําคัญ คือ การลาออกกลางคัน

Page 53: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

42

ของผูเขารับการฝกอบรม ปญหาครอบครัวและการปรับตัว ดานการฝกอบรมอาชีพขาดการนําความรูหรือเทคโนโลยีใหม ๆ มาใชในการฝกอบรม รวมทั้งจํานวนวัสดุอุปกรณนอยและไมทันสมัย พระมหาสิงห สวัสดิ์ผล (2542 : บทคัดยอ) ศึกษาการประเมินผลโครงการฝกอบรมหลักสูตรการพัฒนาจิตใหเกิดปญหาและสันติสุข ซ่ึงเปนโครงการฝกอบรมเพื่อพัฒนาบุคคลใหมีคุณภาพและจริยธรรม เสริมสรางปญญาโดยใชหลักการทางพระพุทธศาสนา จากการศึกษาพบวา 1) ดานปจจัยนําเขา ผูเขาอบรมสวนใหญเปนเพศหญิงมากกวาเพศชาย มีอายุระหวาง 31 – 40 ป จบการศึกษาระดับปริญญาตรี มีสถานภาพโสด บุคลิกภาพราเริงแจมใส เกือบทั้งหมดไมเคยเขารับการอบรมตามหลักสูตรนี้มากอน สาเหตุสําคัญที่ทําใหเขาอบรม คือ อยากทําจิตใจใหสงบและอยากศึกษาธรรมะเพิ่มเติม 2) ดานกระบวนการ ในเรื่องสถานที่ผูเขาอบรมเห็นวามีความพรอมอยูแลว แตควรปรับปรุงในสวนของหองน้ําหองสุขาที่ควรมีกฎระเบียบในการใชรวมกัน ดานวิทยากรผูเขาอบรมสวนใหญเห็นวา มีความรูและไดเตรียมการบรรยายมาอยางดี ทั้งใหความเปนกันเองกับผูเขาอบรม สําหรับเนื้อหาที่บรรยายเปนความรูที่ทันสมัยและมีความเหมาะสมกับระยะเวลาที่บรรยาย สวนระยะเวลาในการอบรมผูเขาอบรมสวนใหญเห็นวา มีความเหมาะสมดีไมนานเกินไปและไมส้ันเกินไป และ 3) ดานผลผลิต ผูเขาอบรมสวนใหญมีความรูสึกปลาบปลื้มปติยินดีและภาคภูมิใจที่ไดเขาอบรมครั้งนี้อยูในระดับมาก นอกจากนั้นแลวยังทําใหมีสติ จิตใจสงบมากขึ้น เกิดความเชื่อในกฎแหงกรรมมากขึ้น รูจักควบคุมอารมณมีเหตุผลในการตัดสินใจมากขึ้นเกิดความเมตตาปรารถนาดีตอผูอ่ืน ตลอดจนทําใหลดความยึดมั่นถือมั่นตัวเอง มีความเขาใจในศาสนามากขึ้น ไมเชื่องมงาย ผูวิจัยไดสรุปวาโครงการนี้ไดมีการจัดปจจัยนําเขาไดอยางเหมาะสม กระบวนการจัดการดําเนินไปดวยความราบรื่น และผลผลิตของโครงการไดผลเปนที่นาพอใจอยางยิ่ง โดยภาพรวมแลวอยูในระดับนาพอใจ กอใหเกิดประโยชนแกผูเขาอบรม สามารถนําความรูที่ไดจากการอบรมไปใชใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาตนเองและการอยูรวมกับคนในสังคมอยางมีความสุข เยาวดี คลังทอง (2542 : บทคัดยอ) ศึกษาประสิทธิผลการฝกอบรมของหลักสูตรพลทหารกองประจําการ : ศึกษากรณี กรมทหารอากาศโยธิน หนวยบัญชาการอากาศโยธินผลการศึกษาตามหลักสูตรพลทหารกองประจําการโดยภาพรวมประสบผลสําเร็จอยูในระดับคอนขางสูง โดยแบงผลการศึกษาประสิทธิผลการฝกอบรมตามหลักสูตรออกเปน 3 ดาน คือ 1) ดานความรูการทหาร พลทหารกองประจําการมีความรูในวิชาทหารอยูในระดับคอนขางต่ํา ซ่ึงความรูวิชาทหารมี 4 วิชา ไดแก วิชาทหารเบื้องตน มีความรูในระดับปานกลางสวนวิชาแบบธรรมเนียมทหาร วิชาปองกันฐานบิน และความสามารถใชอาวุธประจํากาย/ประจํา

Page 54: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

43

หนวย อยูในระดับปานกลางเชนกัน 2) ดานความรูวิชาชีพพลทหารกองประจําการมีความรูอยูในระดับคอนขางสูง และ 3) ดานการนําไปใชประโยชนหรือประกอบอาชีพไดพลทหารกองประจําการความเห็นดังกลาวอยูในระดับคอนขางสูง โดยมีความเห็นประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอยูในระดับสูง และความเห็นนําความรู ทักษะในวิชาชีพไปประกอบอาชีพได อยูในระดับปานกลาง พระธงชัย จูมแกว (2549 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง “การประเมินผลการอบรมโครงการคายคุณธรรมจริยธรรม (คายพุทธบุตร) : กรณีศึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเพชรถนอม เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบวา 1. ลักษณะของกลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 เทาครึ่งเปนเพศหญิงมีอายุ 12 ป ทั้งหมดนับถือศาสนาพุทธ บิดามารดามีอาชีพรับจาง รายไดรวมของผูปกครองตอเดือนเฉลี่ย 5,000-10,000 บาท สวนใหญพักอาศัยอยูกับบิดามารดา การศึกษาของบิดามารดาอยูในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ปวช. หรือ ปวส. และสวนมากเคยเขารับอบรมมากอน 2. ความคิดเห็นตอโครงการคายคุณธรรมจริยธรรม ภาพรวมของการอบรมโครงการคายคุณธรรม มีความเหมาะสมในระดับดีทุกดาน ไดแก ดานปจจัยนําเขา (Input) ดานกระบวนการในการอบรม (Process) และดานผลที่เกิดขึ้นหลังจากการอบรมสิ้นสุดแลว (Output) 2.1 ดานปจจัยนําเขา (Input) มีความเหมาะสมอยูในระดับดี เรียงลําดับความคิดเห็น ไดแก ส่ิงอํานวยความสะดวก สถานที่ และระยะเวลาการอบรม 2.2 ดานกระบวนการอบรม (Process) มีความเหมาะสมอยูในระดับดีเรียงลําดับความคิดเห็น ไดแก พระวิทยากร วิธีการอบรม และเนื้อหาสาระ และกิจกรรมในการอบรม 2.3 ดานผลที่เกิดขึ้นหลังจากการอบรมสิ้นสุดแลว (Output) มีความเหมาะสมอยูในระดับความคิดเห็น ไดแก ประโยชนตอการดํารงชีวิต ประโยชนตอตนเอง ผลที่เกิดจากการฝกอบรมในโครงการและประโยชนตอผูอ่ืน ขอเสนอแนะ 1. สถานที่ในการอบรมและรับประทานอาหาร ควรจะมีขนาดใหญกวานี้หรือจํากัดจํานวนผูเขารับอบรมใหเหมาะสมกับสถานที่ 2. ควรจะเพิ่มระยะเวลาในการอบรมใหมากกวานี้เพราะกระบวนการอบรมเนนการมีสวนรวมของนักเรียนและการฝกปฏิบัติจะทําใหเด็กมีความรูและไดผลจากการฝกอบรมมากขึ้น 3. โรงเรียนควรจัดใหมีการอบรมหลักสูตรดานจริยธรรมแกนักเรียนอยางตอเนื่องเพื่อใหนักเรียนสามารถนําไปใชในชีวิตประจําวันได

Page 55: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

44

4. ผูบริหารโรงเรียนควรสนับสนุนใหพระภิกษุสามเณรเขาไปอบรมและใหความรูดานพระพุทธศาสนาในโรงเรียนมากยิ่งขึ้น เพื่อใหนักเรียนไดใกลชิดกับหลักธรรมพระพุทธศาสนา พระวิรัต หนูแกว (2546 : บทคัดยอ) ไดทําการประเมินผลการดําเนินงานโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน วัดแหลมทราย อําเภอเมือง จังหวัดสงขลาโดยมีวัตถุประสงคของการศึกษาคือ 1) เพื่อประเมินความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน 2) เพื่อประเมินประสิทธิผลการดําเนินงานโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน 3) เพื่อประเมินกระบวนการดําเนินงานโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา ครั้งนี้ประกอบดวยเยาวชนที่เขารวมโครงการบรรพชา ในป พ.ศ. 2545 ตอเนื่องป พ.ศ. 2546 จํานวน 150 คน และผูปฏิบัติงานโครงการบรรพชาจํานวน 40 คน ผลการศึกษา พบวา ความพึงพอใจของเยาวชนที่ไดเขารวมโครงการโดยภาพรวมอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ย = 2.24) ดานความพึงพอใจของผูปฏิบัติงานโครงการโดยภาพรวมอยูในระดับมาก (คาเฉลี่ย = 2.38) ดานประสิทธิผลของโครงการพบวา โครงการมีประสิทธิผลในระดับสูง เรื่องทัศนคติตอหลักธรรม มีประสิทธผลระดับคอนขางสูงในเรื่อง พฤติกรรมตอบิดามารดา และความรับผิดชอบ และพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งเสพติดและการใชเวลาวาง ดานกระบวนการดําเนินงานโครงการ มีการวางแผนโดยผูปฏิบัติงานมีสวนรวม มีการกํากับติดตามงาน แอนนา อาษา (2542 : บทคัดยอ) ไดทําการประเมินผลโครงการฝกอบรมหลักสูตรวิทยากรฝกอบรม รุนที่ 32 ของสํานักฝกอบรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร โดยประชากรที่ใชศึกษา ไดแก ขาราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจที่เขารับการฝกอบรมในหลักสูตรวิทยากรฝกอบรม รุนที่ 32 จํานวน 27 คน ผลการศึกษาพบวา ลักษณะและภูมิหลังของผูเขารับการฝกอบรม ผูเขารับการฝกอบรมสวนใหญเปนเพศหญิง มีอายุระหวาง 30 - 40 ป มากที่สุด สวนใหญจบการศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาที่จบมากที่สุด คือ สาขาวิชานิติศาสตรบัณฑิต และบริหารธุรการ ประสบการณการทํางานในตําแหนงปจจุบันมีระดับตําแหนงอยูระหวาง ซี 5 - ซี 6 และมีอายุสวนใหญ 1 - 5 ป งานที่รับผิดชอบสวนใหญจะเกี่ยวของกับหลักสูตรวิทยากรฝกอบรมโดยตรงและผู เขารับการฝกอบรมสวนใหญจะไม เคยผานการฝกอบรมลักษณะนี้มากอน ประสิทธิผลดานผลที่ไดรับจากการฝกอบรม โดยรวมมีประสิทธิผลคอนขางมาก คือ ผูเขารับการฝกอบรมไดรับความรูคอนขางมาก ผลการประเมินดานปจจัยนําเขา ดานเนื้อหาวิชา ดานความสามารถและความเหมาะสมของวิทยากร ดานเจาหนาที่ที่เกี่ยวของมีความเหมาะสมมาก ดานโสตทัศนูปกรณ มีความเหมาะสมคอนขางมาก และดานสถานที่และระยะเวลาในการจัดอบรม หองอบรม มีแสงสวาง การถายเทอากาศ และความสะดวกอยูในระดับเหมาะสมคอนขางสูง

Page 56: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

45

บุญมี ภิญูศักดิ์ (2540 : บทดคัดยอ) ศึกษาเรื่องประสิทธิผลโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาหมูบานในเขตชนบทยากจน (กศ.พช.) : เฉพาะกรณีอําเภอชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ มีวัตถุประสงคเพื่อประเมินผลการดําเนินงานโครงการเชิงระบบ ผลการศึกษาพบวา ดานปจจัยนําเขา ผูมีประสบการณในโรงเรียนมากคือ ผูบริหารโรงเรียนกับครูผูรับผิดชอบโครงการ ความพรอมดานทรัพยากรมีปญหา ขาดครูผูมีความรูความสามารถ ขาดงบประมาณ วัสดุอุปกรณ และสถานที่ดําเนินการ สวนใหญครูผูรับผิดชอบโครงการมีความรูความเขาใจโครงการ กศ.พช. ดานกระบวนการในการดําเนินการโรงเรียนเกือบทั้งหมดมีการสํารวจสภาพปญหาเตรียมบุคลากร กําหนดภารกิจ และติดตามผลการทํางาน ผูปกครองนักเรียนสวนมากไดใหความรวมมือเปนอยางดี การประเมินผลงาน โครงการ กศ.พช. สงผลใหชีวิตความเปนอยูของผูปกครองนักเรียนดีขึ้นกวาเดิมและบุคลากรทุกฝายเห็นตรงกันวาโครงการ กศ.พช. ประสบความสําเร็จตามจุดมุงหมาย เพราะบุคลากรเกือบทั้งหมดมีความเห็นตรงกันวาควรดําเนินการโครงการนี้ตอไป เสนห โสดาวิชิต (2543 : บทคัดยอ) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอประสิทธิผลในการดําเนินงานของกลุมเกษตรกร ศึกษากรณี กลุมเกษตรกรทําสวนทุงตวัด อําเภอละแม จังหวัดชุมพร พบวา ประสิทธิผลในการดําเนินงานของกลุมเกษตรกร ภาพรวมอยูในระดับปานกลาง และดานความสอดคลองในวัตถุประสงค และเปาหมายระหวางสมาชิกกับกลุมอยูในระดับสูง และความสามารถตอบสนองความตองการของสมาชิกดานรายไดอยูในระดับปานกลาง มีลักษณะพื้นฐานการดําเนินงานทั้ง 4 เรื่องตอไปนี้ในระดับปานกลาง คือ 1) ความรู ความเขาใจในหลักการดําเนินงานกลุม 2) การไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานของรัฐ เอกชนและผูนําชุมชน 3) การไดรับขอมูลขาวสารจากกลุม และสื่อตาง ๆ 4) การไดประสานงานกับกลุมอื่น ๆ จากภายนอกเปนปจจัยที่มีผลตอประสิทธิผลการดําเนินงานของกลุมเกษตรกรทําสวนทุงตวัด อําเภอละแม จังหวัดชุมพร สุรัตน ศรียันต (2541 : บทคัดยอ) ไดศึกษาถึงปจจัยที่มีอิทธิพลตอความสําเร็จในการดําเนินงานโครงการปรับโครงสรางและระบบการผลิตการเกษตรของเกษตรกร อําเภอน้ําเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ ผลการศึกษาพบวา การไดรับการฝกอบรมของเกษตรกรและการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของมีอิทธิพลตอความสําเร็จในการดําเนินงานของโครงการ สําหรับปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงาน พบวา เกษตรกรขาดแหลงน้ําเพื่อการเกษตร สินเชื่อไมเพียงพอตอการดําเนินกิจกรรม ขาดความรูความเขาใจในขั้นตอนตาง ๆ ปญหาโรคและแมลงศัตรูพืช ราคาผลผลิตตกต่ํา ตลอดทั้งปจจัยการผลิตไดรับลาชาไมทันตอฤดูกาลและไมไดมาตรฐานเทาที่ควร

Page 57: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

46

เยาวดี คลังทอง (2542 : บทคัดยอ) ไดทําการวิจัยประเมินผลการฝกอบรมหลักสูตรพลทหารกองประจําการ กรมทหารอากาศโยธิน หนวยบัญชาการอากาศโยธิน พบวา ประสบผลสําเร็จคอนขางสูง โดยแบงผลการศึกษาได 3 ดาน คือ 1. ความรูดานการทหาร 1) วิชาทหารเบื้องตน มีความรูอยูในระดับปานกลาง 2) วิชาแบบธรรมเนียมทหาร วิชาปองกันฐานบินและความสามารถใชอาวุธประจํากาย/ประจําหนวย มีความรูอยูในระดับคอนขางตต่ํา 2. ความรูดานวิชาชีพ มีความรูในระดับคอนขางสูง (หลักสูตรฝกอาชีพระยะสั้น) 3. ดานการนําไปใชประโยชนหรือประกอบอาชีพได ทหารมีความคิดเห็นสอดคลองอยูในระดับคอนขางสูง และมีขอเสนอแนะ 1) ควรปรับปรุงดานกระบวนการเรียนการสอนในสวนของวิธีการ เทคนิคและการใชส่ือประกอบ 2) ควรปรับปรุงเวลาใหสอดคลองกับเนื้อหาของวิชาที่สอน ทั้งนี้ตองเหมาะสมกับระดับความรูของผูรับการอบรม 3) ควรจัดการอบรมครูฝกใหรูจักปรับปรุงเทคนิคและวิธีการสอนเพื่อใหถายทอดไดดีขึ้น 4) ควรจัดหาวัสดุอุปกรณและเครื่องชวยฝกใหเพียงพอ

2.3 โครงการแนะแนวอาชีพใหเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็ก และเยาวชน และสํานักงานคุมประพฤติ

กระทรวงยุติธรรมมีเปาหมายเพื่อการรักษาดานอารมณและพฤติกรรม ซ่ึงแกไขโดยใหการศึกษาที่ดีทั้งการศึกษาสายสามัญและอาชีพ กอนที่เด็กและเยาวชนจะกลับไปอยูกับครอบครัวหรือชุมชนเพื่อใหเปนผูใหญที่ดีในอนาคต เพื่อชวยกันพัฒนาเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรมจึงไดบูรณาการรวมกับหนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชน โดยเนนการใหความชวยเหลือในดานการสงเสริมสุขภาพ การศึกษา อาชีพ คุณภาพชีวิต การพิทักษคุมครองสิทธิเด็กและเยาวชน กรมการจัดหางาน โดยกองสงเสริมการมีงานทํา ในฐานะที่เปนหนวยงานหนึ่งซ่ึงมีหนาที่สงเสริมการมีงานทํา การแนะแนวอาชีพ แนะแนวการศึกษา ทดสอบความพรอมและความถนัดในการประกอบอาชีพ ตลอดจนสงเสริมการประกอบอาชีพอิสระ ไดมีการจัดทําโครงการแนะแนวอาชีพในเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนและสํานักงานคุมประพฤติขึ้นเพื่อใหเด็กและเยาวชนมีอาชีพ มีรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว ไมหลงการชักจูงไปกระทําความผิด ตลอดจนเพื่อใหมีสภาพความเปนอยูที่ดีขึ้น

Page 58: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

47

2.3.1 วัตถุประสงค 1. เพื่อใหเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน และสํานักงานคุมประพฤติที่ถูกคุมความประพฤติ สามารถวิเคราะหโอกาสในดานขอมูลขาวสารตลาด แรงงานไดดวยตนเอง 2. เพื่อพัฒนาใหเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน และสํานักงานคุมประพฤติที่ถูกคุมประพฤติ ไดมีความกระตือรือรนในการพัฒนาตนเองดานอาชีพและการศึกษา 3. เพื่อใหเด็กและเยาวชนในสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน และสํานักงานคุมประพฤติที่ถูกคุมประพฤติ สามารถวางแผนการประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอไดตรงตามความรู ความสามารถ ความถนัด คานิยม และทักษะของตนเอง และสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน

2.3.2 วิธีดําเนินการ 2.3.2.1 แนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชน 1) บริการแนะแนวอาชีพโดยใหขอมูลขาวสารตลาดแรงงานแกเด็กและเยาวชน 2) ติดตอประสานงานกับหนวยงานที่ เกี่ยวของในการเขารวมจัดนิทรรศการและเปนวิทยากรบรรยายใหความรู 3) ติดตอประสานงานเชิญวิทยากรมาสาธิตการประกอบอาชีพอิสระ รวมทั้งการเชิญบุคคลผูประสบความสําเร็จในอาชีพมาเปนวิทยากร 4) ดําเนินการแนะแนวอาชีพ การทดสอบความถนัดทางอาชีพ 2.3.2.2 จัดหางานใหเด็กและเยาวชน 1) ติดตอขอขอมูลเด็กและเยาวชนของสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน และสํานักงานคุมประพฤติ ไดแก จํานวน เพศ วุฒิการศึกษา ภูมิลําเนา 2) ประสานงานนายจาง เพื่อหาตําแหนงงานวาง 3) จัดทําขอมูลขาวสารตําแหนงวางงานใหสถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชน และสํานักงานคุมประพฤติ เพื่อแจงใหเด็กและเยาวชนที่ไดรับการปลอยตัวทราบและไปติดตอสมัครงานกับหนวยงานของกรมการจัดหางานดวยตนเอง

Page 59: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

48

2.3.3 ผลท่ีคาดวาจะไดรับ 1. ทําใหเด็กและเยาวชนมีงานทํา 2. เด็กและเยาวชนมีความรู ความเขาใจในงานอาชีพและสามารถเลือกประกอบอาชีพตามความรูความสามารถ และความสนใจของตนเอง 3. เด็กและเยาวชนจะมีขวัญ และกําลังใจในการอยูรวมกับสังคมโดยทั่วไป 4. ปองกันมิใหเด็กและเยาวชนหันกลับไปกระทําความผิดซ้ําอีก

Page 60: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

บทที่ 3

กรอบแนวคดิ และวิธีการศึกษา

การศึกษาครั้งนี้เปนประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา โดยวิเคราะหประเมินผลจากการรวบรวมขอมูลที่เกี่ยวของจากแหลงตาง ๆ ภายใตกรอบแนวคิดทฤษฎีที่ใชในการศึกษา จึงกําหนดแนวทางและขั้นตอนการประเมินผลได ดังนี้

3.1 กรอบแนวคิดในการศึกษา

3.1.1 ตัวแปรในการศึกษา 3.1.1.1 ตัวแปรขอมูลทั่วไป คือ ขอมูลท่ัวไปของเดก็และเยาวชนในศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขาที่ใชในการประเมนิครั้งนี้ประกอบดวย อายุ ภูมิลําเนา ระดับการศึกษา รายได การฝกอบรมอาชีพที่เคยไดรับ การฝกอบรมอาชีพที่ไดรับ ประโยชนที่ไดรับจากการแนะแนวอาชพี 3.1.1.2 ตัวแปรที่ใชในการประเมิน การศึกษาในครั้งนี้ประเมินใน 4 ดาน ไดแก ดานการประเมินสภาพแวดลอม ดานการประเมินปจจัยนําเขา ดานการประเมินกระบวนการ และดานการประเมินผลผลิต ดานสภาพแวดลอม ตัวแปรที่นํามาศึกษา คือ วัตถุประสงคของโครงการ ไดแก การแกปญหาสังคม การลดปญหาการวางงาน การสรางโอกาสในการทํางาน การสรางแรงงานที่มีคุณภาพควบคูคุณธรรม การนําหลักธรรมไปประยุกตใช ความตองการฝกอาชีพ การมีอาชีพติดตัวและการหางานทํา ความคาดหวังในการประกอบอาชีพ หลักสูตรตรงกับความตองการ ดานปจจัยนําเขา ตัวแปรที่นํามาศึกษา ไดแก ดานบุคลากร คือ ความพอเพียงของครูผูสอน ความรูความสามารถของครูผูสอน การรับฟงความคิดเห็นของผูเขารับการฝกอบรม การใหความยุติธรรม ความเขาใจงายในการสอน ความชัดเจนในการสอน ดานสถานที่ คือ ความพอเพียงของสถานที่ ความพอเพียงของแสงสวาง ความเปนระเบียบ ความกวางขวางและการมีอากาศถายเท ดานวัสดุอุปกรณ คือ ความเพียงพอของวัสดุอุปกรณ ความเปนระเบียบในการเก็บวัสดุอุปกรณ ความเปนระบบของการเบิกวัสดุอุปกรณ ดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ คือ ความพอเพียงของที่พักอาศัย ความพอเพียงของอาหาร ความพอเพียงของการรักษาพยาบาล ความพอเพียงของหองน้ํา/สุขา

Page 61: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

50

ดานกระบวนการ ตัวแปรที่นํามาศึกษา ไดแก ดานบุคลากร คือ ความเหมาะสมของวิธีการถายทอดความรู ความเหมาะสมของการใชเทคนิคใหม ๆในการสอน ความเหมาะสมในการบรรยายควบคูกับการใหปฏิบัติจริง ความเหมาะสมในการเปดโอกาสใหซักถาม การสอนใหรูจักประหยัดรูคุณคาของวัสดุและอุปกรณ ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน คือ การนําความรูไปประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน ดานกิจกรรมทั่วไป คือ กิจกรรมดานกีฬาชวยเชื่อมความสามัคคี ความเหมาะสมของการประชุม การมีการจัดกิจกรรมทําความสะอาดสถานที่ ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต คือ การพัฒนาดานจิตใจ ไดแก ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม ความสามารถในการนําความรูไปปรับใช ความสามารถควบคุมอารมณ การพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา ไดแก การมีผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพ ประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรม การเปดโอกาสใหผูดอยโอกาสมีวิชาชีพ การพัฒนาเสริมสรางทักษะและประสบการณชีวิต ไดแก ความรูที่ไดรับเปนประโยชนในการปรับใชกับชีวิตประจําวัน ประโยชนที่ไดรับจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถพัฒนาฝมือดานอาชีพและคุณธรรม ดานผลผลิต ตัวแปรที่นํามาศึกษา ไดแก ดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม คือ การเพิ่มความรูความชํานาญ การเพิ่มเทคนิคและทักษะ การมีความมั่นใจในอาชีพเพิ่ม ความมั่นใจในการประกอบอาชีพ ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ คือ การเกิดความรูในอาชีพเพิ่ม การมีรายไดเพิ่ม การไดรับการยอมรับ การเปนประโยชนตอการดํารงชีวิต ดานคุณภาพชีวิต คือ การเพิ่มความสามารถในการปรับตัวเขากับสังคม การเพิ่มรายไดจากการประกอบอาชีพ การนําหลักธรรมไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน

ตัวแปรขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง

ขอมูลท่ัวไป 1. อายุ 2. ภูมิลําเนา 3. ระดับการศกึษา 4. รายได 5. เคยเขาฝกอบรมอาชีพ 6. อาชีพ

แผนภูมิท่ี 2.8 กรอบแนวคิดในการศึกษา

Page 62: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

51

ตัวแปรที่ใชในการประเมิน ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรม เด็ก และเยาวชนชายบานอุเบกขา ประเมิน 4 ดาน คือ 1. ดานสภาพแวดลอม 2. ดานปจจยันําเขา 3. ดานกระบวนการ 4. ดานผลผลิต 1. ดานสภาพแวดลอม 1.1 วัตถุประสงคของโครงการ การแกปญหาสังคม การลดปญหาการวางงาน การสรางโอกาสในการทํางาน การสรางแรงงานที่มีคุณภาพควบคูคุณธรรม การนําหลักธรรมไปประยุกตใช ความตองการฝกอาชีพ การมีอาชีพติดตัวและการหางานทํา ความคาดหวังในการประกอบอาชีพ หลักสูตรตรงกับความตองการ 2. ดานปจจยันําเขา

2.1 ดานบุคคลากร ความพอเพียงของครูผูสอน ความรูความสามารถของครูผูสอน

การรับฟงความคิดเห็นของผูเขารับการฝกอบรม การใหความยตุิธรรม

ความเขาใจงายในการสอน ความชัดเจนในการสอน

2.2 ดานสถานที่ ความพอเพยีงของสถานที่

ความพอเพยีงของแสงสวาง ความเปนระเบียบ ความกวางขวางและการมีอากาศถายเท

แผนภูมิท่ี 2.8 (ตอ) กรอบแนวคิดในการศึกษา

Page 63: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

52

2.3 ดานวัสดุอุปกรณ ความเพียงพอของวัสดุอุปกรณ ความเปนระเบียบในการเก็บวัสดุอุปกรณ ความเปนระบบของการเบิกวัสดุอุปกรณ

2.4 ดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ ความพอเพียงของที่พักอาศัย ความพอเพียงของอาหาร ความพอเพียงของการรักษาพยาบาล ความพอเพียงของหองน้ํา/สุขา

3. ดานกระบวนการ 3.1 ดานบุคคลากร ความเหมาะสมของวิธีการถายทอดความรู ความเหมาะสมของการใชเทคนิคใหม ๆในการสอน ความเหมาะสมในการบรรยายควบคูกับการใหปฏิบัติจริง ความเหมาะสมในการเปดโอกาสใหซักถาม การสอนใหรูจกัประหยัดรูคณุคาของวัสดแุละอุปกรณ

3.2 ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน การนําความรูไปประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน

3.3 ดานกิจกรรมทั่วไป กิจกรรมดานกีฬาชวยเชื่อมความสามัคคี

ความเหมาะสมของการประชุม การมีการจัดกจิกรรมทําความสะอาดสถานที่

แผนภูมิท่ี 2.8 (ตอ) กรอบแนวคิดในการศึกษา

Page 64: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

53

3.4 ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต

การพัฒนาดานจิตใจ ประโยชนที่ไดรับจากกิจกรรม ความสามารถในการนําความรูไปปรับใช ความสามารถควบคุมอารมณ การพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา การมีผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพ ประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรม การเปดโอกาสใหผูดอยโอกาสมีวิชาชีพ การพัฒนาเสรมิสรางทักษะและประสบการณชีวิต ความรูที่ไดรับเปนประโยชนในการปรับใชกับชีวิตประจําวัน ประโยชนที่ไดรับจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถพัฒนาฝมือดานอาชีพและคุณธรรม 4. ดานผลผลิต 4.1 ดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม การเพิ่มความรูความชํานาญ การเพิ่มเทคนคิและทักษะ การมีความมั่นใจในอาชีพเพิม่ ความมั่นใจในการประกอบอาชีพ 4.2 ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ การเกิดความรูในอาชีพเพิ่ม การมีรายไดเพิม่ การไดรับการยอมรับ การเปนประโยชนตอการดาํรงชีวิต 4.3 ดานคณุภาพชวีิต การเพิ่มความสามารถในการปรับตัวเขากบัสังคม การเพิ่มรายไดจากการประกอบอาชีพ การนําหลักธรรมไปประยุกตใชในชวีิตประจําวัน แผนภูมิท่ี 2.8 (ตอ) กรอบแนวคิดในการศึกษา

Page 65: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

54

3.1.2 นิยามศัพทเชิงปฏิบัติการ

เพื่อใหเกิดความชัดเจนในการประเมิน ผูวิจัยไดใหความหมายนิยามศัพทปฏิบัติการ ดังนี้ การประเมิน หมายถึง การรวบรวมขอมูลและ/หรือสารสนเทศ เพื่อนําไปใชในการตัดสินใจหาทางเลือกที่เหมาะสม โดยมุงประเมินผลจากสิ่งที่จะประเมิน 4 ประการดวยกัน คือ 1) การประเมินบริบทหรือสภาพแวดลอม 2) การประเมินปจจัยนําเขา 3) การประเมินกระบวนการ และ 4) การประเมินผลผลิต การฝกอบรม หมายถึง กระบวนการดําเนินการฝกอบรมอาชีพ เพื่อใหความรูความเขาใจ ทักษะ และทัศนคติ แกผูเขารับการฝกอบรมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในอาชีพ หนาที่การงานที่รับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพควบคูไปกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตทั้งคุณธรรมจริยธรรม การประเมินผลโครงการการฝกอบรมอาชีพ หมายถึง การประเมินดานสภาพแวดลอม การประเมินดานปจจัยนําเขา การประเมินดานกระบวนการ และการประเมินดานผลผลิต การประเมินสภาพแวดลอม หมายถึง การประเมินวัตถุประสงคของโครงการตลอดจนความตองการและความคาดหวังของผูเขารับการฝกอบรมอาชีพในโครงการ เพื่อประเมินความสอดคลองของสภาพแวดลอม 1. วัตถุประสงคของโครงการ หมายถึง จุดมุงหมายของโครงการเพื่อการแกปญหาสังคม การลดปญหาการวางงาน การสรางโอกาสใหผูดอยโอกาสในการทํางาน การสรางแรงงานที่มีคุณภาพควบคูคุณธรรม การนําหลักธรรมไปประยุกตใชในการดํารงชีวิตของผูเขารับการฝกอบรม ความตองการฝกอาชีพ การมีอาชีพติดตัวและการหางานทํา ความคาดหวังในการประกอบอาชีพ และหลักสูตรตรงกับความตองการ การประเมินปจจัยนําเขา หมายถึง การประเมินปจจัยที่ใชในการดําเนินการฝกอบรมอาชีพ ในเรื่องความพอเพียงของทรัพยากรดานตาง ๆ ที่ใชในการฝกอบรมอาชีพ ในที่นี้จะเปนการประเมินปจจัยนําเขาใน 4 ดาน คือ 1. ดานบุคลากร หมายถึง ความพอเพียงของครู ผูสอน ความรู ความสามารถของครูผูสอน การรับฟงความคิดเห็นของผูเขาเขารับการฝกอบรม การใหความยุติธรรม ความเขาใจงายในการสอน และความชัดเจนในการสอน

Page 66: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

55

2. ดานสถานที่ หมายถึง ความพอเพียงของสถานที่ที่ใชในการอบรม ความพอเพียงของแสงสวาง ความเปนระเบียบ ความกวางขวางและการมีอากาศถายเทไดสะดวก 3. ดานวัสดุอุปกรณ หมายถึง ความพอเพียงของวัสดุอุปกรณ ความเปนระเบียบในการเก็บวัสดุอุปกรณ และความเปนระบบของการเบิกวัสดุอุปกรณ 4. ดานสิ่งอํานวยการความสะดวกและสวัสดิการ หมายถึง ความพอเพียงดานที่พักอาศัย ความพอเพียงของอาหาร ความพอเพียงของการรักษาพยาบาล และความพอเพียงของหองน้ํา/สุขา การประเมินกระบวนการ หมายถึง การประเมินกระบวนการในการดําเนินการฝกอบรมอาชีพ ในเรื่องความเหมาะสมของกระบวนการฝกอบรมอาชีพดานตาง ๆ ในที่นี้จะแยกประเมินออกเปน 4 ดาน คือ 1. ดานบุคลากร หมายถึง ความเหมาะสมของวิธีการถายทอดความรู ความเหมาะสมของการใชเทคนิคใหม ๆ ในการสอน ความเหมาะสมในการบรรยายควบคูกับการใหปฏิบัติจริง ความเหมาะสมในการเปดโอกาสใหซักถาม รวมถึงการสอนใหรูจักประหยัดและใชวัสดุอุปกรณ 2. ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน หมายถึง ผูที่เขารับการฝกอบรมสามารถนําความรูไปประกอบอาชีพ การเพิ่มรายได รวมถึงการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน 3. ดานกิจกรรมทั่วไป หมายถึง การจัดกิจกรรมดานกีฬาชวยเชื่อมความสามัคคี ความเหมาะสมของการประชุม ตลอดจนการมีการจัดกิจกรรมทําความสะอาดสถานที่ 4. ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูเขารับการฝกอบรม ซ่ึงจะแยกเปน การพัฒนาดานจิตใจ การพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา และการพัฒนาเสริมสรางทักษะและประสบการณชีวิต การพัฒนาด านจิตใจ หมายถึง ประโยชนที่ ได รับจากกิจกรรม ความสามารถในการนําความรูไปปรับ และความสามารถในการควบคุมอารมณ การพัฒนาดานสังคม อารมณ และสติปญญา หมายถึง การมีผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพ ประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรม และการเปดโอกาสใหผูดอยโอกาสมีวิชาชีพ การพัฒนาดานการเสริมสรางทักษะและประสบการณชีวิต หมายถึง ความรูที่ได รับเปนประโยชนในการปรับใชกับชีวิตประจําวัน ประโยชนที่ได รับจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น สามารถพัฒนาฝมือดานอาชีพและคุณธรรม

Page 67: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

56

การประเมินผลผลิต หมายถึง การประเมินผลที่เกิดขึ้นจากการฝกอบรมอาชีพทั้งดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ และดานคุณภาพชีวิต 1. ดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม หมายถึง การเพิ่มความรูความชํานาญ การเพิ่มเทคนิคและทักษะ การมีความมั่นใจในอาชีพเพิ่ม ตลอดจนความมั่นใจในการประกอบอาชีพ 2. ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ หมายถึง การเกิดความรูในอาชีพเพิ่ม การมีรายไดเพิ่ม การไดรับการยอมรับ และการเปนประโยชนตอการดํารงชีวิต 3. ดานคุณภาพชีวิต หมายถึง การเพิ่มความสามารถในการปรับตัวเขากับสังคม การเพิ่มรายไดจากการประกอบอาชีพ และการนําหลักธรรมไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน รายได หมายถึง รายไดที่ผูเขารับการฝกอบรมไดรับกอนและขณะที่ฝกอบรมอาชีพในโครงการ ผูเขารับการฝกอบรม หมายถึง บุคคลที่มีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ 1. ขยันและรักงาน มีความรับผิดชอบ 2. อดทนและหนักแนนตอความยากลําบากในการทํางาน 3. ซ่ือสัตยตอการทํางาน ทั้งตนเองและผูอ่ืน 4. รักความสะอาด ไมกอปญหากับบุคคลใด ๆ 5. ตองปราศจากอบายมุข ส่ิงเสพติดตาง ๆ 6. ไมจํากัดอายุ ฐานะ ความรู เชื้อชาติ 7. มีอุดมการณ มีความคิดสรางสรรรค อาชีพที่ฝกอบรม หมายถึง อาชีพที่เปดฝกอบรมในโครงการแนะแนวอาชีพ เชน การทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง การทํากวยเตี๋ยวราดหนาหมูหมัก การทําพวงกุญแจลูกปด การเพนทกระเปา การกัดลายกระจก การทําปายหินออน การเพนทรองเทาผาใบ เปนตน อาชีพที่เคยฝกอบรม หมายถึง อาชีพที่ผูเขารับการฝกอบรมเคยผานการฝกอบรมมาแลว เชน การทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง การทํากวยเตี๋ยวราดหนาหมูหมัก การทําพวงกุญแจลูกปด การเพนทกระเปา การกัดลายกระจก การทําปายหินออน การเพนทรองเทาผาใบ ในอาชีพใดอาชีพหนึ่งหรือหลายอาชีพที่ผานมา เปนตน

Page 68: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

57

3.2 วิธีการศึกษา

3.2.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง 3.2.1.1 ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ไดกําหนดขอบเขตของประชากรที่ศึกษา (Unit of analysis) คือ ผูเขารับการแนะแนวอาชีพ การฝกอบรมอาชีพของเด็กและเยาวชนในศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ในรอบ 1 ป ประมาณจํานวน 200 คน 3.2.1.2 กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ เปนการสุมตัวอยางแบบเปนระบบ (Systematic random sampling) จากผูเขารับการฝกอบรมอาชีพใน 7 อาชีพ เพื่อใหกลุมตัวอยางมีลักษณะเปนตั วแทนที่ ดี ของประชากร โดยใหทุกหนวยมี โอกาสเข ามา เปนตั วแทน (Representative) อยางเทาเทียมกันคิดเปนรอยละ 50 ของประชากรทั้งหมด 200 คน (ตารางที่ 3.2) ที่เขารับการฝกอบรมในโครงการแนะแนวอาชีพบานอุเบกขา จํานวน 100 คน สุมอยางเปนระบบโดยใชบัญชีรายช่ือที่เปนเลขคู ตารางที่ 3.2 จํานวนกลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษา อาชีพ ประชากร กลุมตัวอยาง รอยละ การทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง 28 14 50.0 การทํากวยเตี๋ยวราดหนาหมูหมัก 29 15 50.0 การทําพวงกุญแจลูกปด 28 14 50.0 การเพนทกระเปา 28 14 50.0 การกัดลายกระจก 29 15 50.0 การทําปายหินออน 29 14 50.0 การเพนทรองเทาผาใบ 29 14 50.0 รวม 200 100

3.2.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการศึกษา เครื่องมือที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ ไดใชแบบสอบถาม (Questionnaire) เปนเครื่องมือสอบถามเกี่ยวกับการประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพ ซ่ึงการสรางแบบสอบถามโดยอาศัยแนวคิดทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของเปนหลักในการสราง เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของการศึกษา โดยลักษณะของเครื่องมือแบงออกเปน 6 สวน ดังนี้

Page 69: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

58

สวนท่ี 1 ขอมูลท่ัวไปของผูเขารับการฝกอบรม จํานวน 11 ขอ ประกอบดวยขอคําถามเกี่ยวกับ อายุ ภูมิลําเนาเดิม ระดับการศึกษาที่จบสูงสุด รายได เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมอาชีพ ที่ เคยไดรับการฝกอบรมอาชีพ การอบรมอาชีพปจจุบัน รายไดตอเดือน ประโยชนที่ไดรับจากการแนะแนวอาชีพ ส่ิงที่ไดรับจากการแนะแนวอาชีพอิสระ เปนคําถามแบบเลือกรายการ (Check list) จํานวน 9 ขอ และคําถามแบบปลายเปด (Open - ended) จํานวน 2 ขอ สวนท่ี 2 ขอมูลเกี่ยวกับสภาพแวดลอม ประเมินโดยผูวิจัยเอง จํานวน 9 ขอ ประกอบดวยวัตถุประสงคของโครงการ ความตองการและความคาดหวังของผูเขารับการฝกอบรม โดยมาตรวัดการประเมินสภาพแวดลอมเปนแบบเชิงประเมินคา (Rating scale) 5 ระดับ ซ่ึงมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับความสอดคลอง คะแนน มาก 5 คอนขางมาก 4 ปานกลาง 3 คอนขางนอย 2 นอย 1 สวนท่ี 3 ขอมูลเกี่ยวกับปจจัยนําเขา จํานวน 18 ขอ ประกอบดวย บุคคลากร สถานที่ วัสดุอุปกรณ ส่ิงอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ โดยมาตรวัดการประเมินสภาพแวดลอมเปนแบบเชิงประเมินคา (Rating scale) 5 ระดับ ซ่ึงมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับความสอดคลอง คะแนน มาก 5 คอนขางมาก 4 ปานกลาง 3 คอนขางนอย 2 นอย 1

Page 70: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

59

สวนท่ี 4 ขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการฝกอบรม จํานวน 20 ขอ ประกอบดวย บุคลากร การฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน กิจกรรมทั่วไป การพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยมาตรวัดการประเมินสภาพแวดลอมเปนแบบเชิงประเมินคา (Rating scale) 5 ระดับ ซ่ึงมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับความสอดคลอง คะแนน มาก 5 คอนขางมาก 4 ปานกลาง 3 คอนขางนอย 2 นอย 1 สวนท่ี 5 ขอมูลเกี่ยวกับผลผลิต จํานวน 11 ขอ ประกอบดวย ความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม ประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรม คุณภาพชีวิต โดยมาตรวัดการประเมินสภาพแวดลอมเปนแบบเชิงประเมินคา (Rating scale) 5 ระดับ ซ่ึงมีเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ ระดับความสอดคลอง คะแนน มาก 5 คอนขางมาก 4 ปานกลาง 3 คอนขางนอย 2 นอย 1 สวนท่ี 6 ขอมูลเกี่ยวปญหาและอุปสรรคในการฝกอบรมอาชีพ จํานวน 4 ขอ ประกอบดวย ดานบุคลากร ดานอาคารสถานที่ ดานวัสดุอุปกรณ/เครื่องมือเครื่องใช และดานสิ่งอํานวยความสะดวก พรอมขอเสนอแนะในแตละดาน ซ่ึงเปนคําถามแบบปลายเปด (Open - ended) 3.2.2.1 เกณฑการประเมินผลโครงการ เกณฑการประเมินด านสภาพแวดลอม ด านปจจัยนํ า เข า ดานกระบวนการ และดานผลผลิต โดยแบงเกณฑคาเฉลี่ยประเมินผลโครงการตามระดับรายดาน และภาพรวมของโครงการ ออกเปน 5 ระดับ ดังนี้

Page 71: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

60

คะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.00 - 1.80 หมายถึง ระดับต่ํา คะแนนเฉลี่ยระหวาง 1.81 - 2.61 หมายถึง ระดับคอนขางต่ํา คะแนนเฉลี่ยระหวาง 2.62 - 3.42 หมายถึง ระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ยระหวาง 3.43 - 4.23 หมายถึง ระดับคอนขางมาก คะแนนเฉลี่ยระหวาง 4.24 - 5.00 หมายถึง ระดับมาก 3.2.2.2 การทดสอบคุณภาพเครื่องมือ 1) การหาคาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) โดยนําแบบสอบถามที่สรางขึ้นใหอาจารยที่ปรึกษาตรวจสอบ วาแบบสอบถามมีความครบถวนสมบูรณตามแนวคิดทฤษฎีหรือไม จากนั้นนําแบบสอบถามมาปรับปรุงแกไข เสร็จแลวนําไปทดลองใช (Try out) กับผูเขาฝกอบรมอาชีพที่บานอุเบกขา จํานวน 30 คน เพื่อตรวจสอบคุณภาพ ปรับปรุง คัดเลือกขอคําถามที่ดีตอไป 2) การหาคาความเชื่อมั่น (Reliability) โดยทดสอบหาคาความสอดคลองภายใน (Internal consistency) ดวยวิธีหาคาสัมประสิทธิ์แอลฟาของ Cronbach (Cronbach ‘s alpha coefficient) ซ่ึงเปนการพิจารณาภาพรวมของขอคําถามทั้งมาตรวัด ดังปรากฏผลคาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบวัดการประเมินตามรูปแบบ CIPP model ดังนี้ ตัวแปรการประเมิน คาความเชื่อมั่น การประเมินสภาพแวดลอม = 0.853 การประเมินปจจัยนําเขา = 0.807 การประเมินกระบวนการ = 0.819 การประเมินผลผลิต = 0.793 การประเมินโดยภาพรวมทั้ง 4 ดาน = 0.856 3.2.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูล หลังจากที่ ผู ศึกษาไดทํ าการปรับปรุ งแกไขแบบสอบถามใหมีความสมบูรณครบถวนทั้งเนื้อหาใหมีคุณภาพแลว จึงไดดําเนินการติดตอประสานงานกับบานอุเบกขาเพื่อทําการเก็บขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูลใชวิธีการใหกลุมตัวอยางกรอกแบบสอบถาม

Page 72: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

61

3.2.4 การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูล ผูศึกษาไดนําแบบสอบถามมาบรรณาธิกรขอมูล (Data processing) และวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรมคอมพิวเตอรสําเร็จรูป SPSS for Windows (Statistical Package for the Social Sciences) สถิติที่ใชในการวิ เคราะหขอมูลคร้ังนี้ คือ สถิติ เชิงพรรณา (Descriptive Statistics) ไดแก คาความถี่ (Frequency) รอยละ (Percentage) และคาเฉลี่ย (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)

Page 73: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

บทที่ 4

ผลการศึกษา การศึกษาประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา คร้ังนี้ ผูวิจัยขอนําเสนอผลการศึกษาดังมีรายละเอียดดังนี้ วิเคราะหขอมูลทั่วไปของกลุมตัวอยาง ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน ซ่ึงมี 4 ดาน คือ การประเมินดานสภาพแวดลอม การประเมินดานปจจัยนําเขา การประเมินดานกระบวนการ และการประเมินดานผลผลิต และขอเสนอแนะจากกลุมตัวอยาง

4.1 ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง จากการศึกษาขอมูลทั่วไป ไดแก อายุ ภูมิลําเนาเดิม ระดับการศึกษาที่จบสูงสุด รายได เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมอาชีพ การฝกอบรมอาชีพที่เคยไดรับ การอบรมอาชีพปจจุบัน รายไดตอเดือน หลังจากไดรับการแนะแนวอาชีพ ประโยชนจากการแนะแนวอาชีพที่คาดวาจะไดรับ ส่ิงที่ไดรับจากการแนะแนวอาชีพอิสระ ประชากรกลุมตัวอยางที่ศึกษาครั้งนี้มีทั้งหมด 100 ตัวอยาง อายุของกลุมตัวอยาง รอยละ 64.0 อายุ 15 – 17 ป รองลงมารอยละ 36.0 อายุ 12 – 14 ป สําหรับภูมิลําเนากลุมตัวอยาง 1 ใน 3 รอยละ 33.0 มีภูมิลําเนาเดิมตางจังหวัด รองลงมา รอยละ 30.0 มีภูมิลําเนาเดิมกรุงเทพมหานคร รอยละ 25.0 ภูมิลําเนาเดิมสมุทรปราการ และนอยที่สุด รอยละ 12.0 ภูมิลําเนาเดิมนนทบุรี ในดานการศึกษากลุมตัวอยาง รอยละ 46.0 มีการศึกษาประถมศึกษาตอนปลาย (ป.5 - ป.6) รองลงมา รอยละ 35.0 มีการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน (ม.1 - ม.3) รอยละ 10.0 มีการศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) และรอยละ 9.0 มีการศึกษาประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.4) ในดานรายไดกอนเขารับการฝกอบรม ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 75.0 ไมมีรายไดกอนเขารับการฝกอบรม และรอยละ 25.0 มีรายได 200 - 300 บาท/ตอวันกอนเขารับการฝกอบรม เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมอาชีพ จากการใหกลุมตัวอยางตอบไดหลายคําตอบ ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางรอยละ 57.0 ตองการมีความรู ความชํานาญเพิ่มเติม รองลงมา

Page 74: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

63

รอยละ 50.0 ตองการฝกอาชีพเพื่อไปประกอบอาชีพเสริม รอยละ 48.0 ตองการฝกอาชีพเพื่อมีรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว และรอยละ 28.0 ระบุวาไมมีงานทํา ดานหลักสูตรที่เคยไดรับการฝกอบรม จากการใหกลุมตัวอยางตอบไดหลายคําตอบ ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยาง 1 ใน 3 รอยละ 42.0 เคยฝกอบรมการเพนทกระเปา รองลงมา รอยละ 35.0 เคยฝกอบรมการกัดลายกระจก รอยละ 29.0 เคยฝกอบรมการทําพวงกุญแจลูกปด รอยละ 27.0 เคยฝกอบรมการเพนทรองเทาผาใบ รอยละ 21.0 เคยฝกอบรมการทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง รอยละ 20.0 เคยฝกอบรมการทําปายหินออน และนอยที่สุด รอยละ 16.0 เคยฝกอบรมการทํากวยเตี๋ยวราดหนาหมูหมัก สวนการอบรมที่ไดรับในครั้งนี้กลุมตัวอยางรอยละ 15.0 อบรมอาชีพการกัดลายกระจกและอบรมการทํากวยเตี่ยวราดหนาหมูหมัก รอยละ 14.0 อบรมอาชีพการทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง/การทําพวงกุญแจลูกปด/การเพนทรองเทาผาใบ/การเพนทกระเปา/การทําปายหินออน สําหรับรายไดปจจุบันกลุมตัวอยาง สวนใหญ รอยละ 82.0 ไมมีรายไดตอเดือน รอยละ 14.0 มีรายไดตอเดือนเพียงพอ และรอยละ 1.0 มีรายไดตอเดือนไมเพียงพอ หลังจากไดรับการแนะแนวอาชีพกลุมตัวอยางเกือบทั้งหมด รอยละ 98.0 ทานไดรับความรูและแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ เพิ่ม และมีเพียงรอยละ 2.0 ไมไดรับความรูและแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น การไดรับประโยชนจากการแนะแนวอาชีพกลุมตัวอยางเกือบทั้งหมด รอยละ 92.0 ไดรับประโยชนมาก มีเพียง รอยละ 7.0 ที่ไดรับประโยชนนอยจากการแนะแนวอาชีพ มีเพียง 1 คนที่ไมไดรับประโยชนจากการแนะแนวอาชีพ สําหรับการไดรับการแนะแนวอาชีพตรงตามความตองการนั้นกลุมตัวอยาง สวนใหญ รอยละ 89.0 ไดรับตรงตามความตองการ มีเพียงรอยละ 11.0 ที่ไดรับไมตรงตามความตองการ

Page 75: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

64

ตารางที่ 4.1 จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลท่ัวไป ขอมูลท่ัวไป จํานวน รอยละ

(n=100) 100.0

อายุ

อายุ 12 – 14 ป 36 36.0

อายุ 15 – 17 ป 64 64.0

ภูมิลําเนาเดิม

กรุงเทพมหานคร 30 30.0

สมุทรปราการ 25 25.0

นนทบุรี 12 12.0

ตางจังหวัด 33 33.0

ระดับการศึกษา

ประถมศึกษาตอนตน (ป.1 - ป.4) 9 9.0

ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.5 - ป.6) 46 46.0

มัธยมศึกษาตอนตน (ม.1 - ม.3) 35 35.0

มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - ม.6) 10 10.0

รายไดที่ทานไดรับกอนเขารับการฝกอบรม

ไมมีรายได 75 75.0

มีรายได 200 – 300 บาท/ตอวัน 25 25.0

เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมอาชีพ (ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ)

ไมมีงานทํา 28 28.0

ตองการฝกอาชีพเพื่อมีรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว 48 48.0

ตองการมีความรู ความชํานาญเพิ่มเติม 57 57.0

ตองการฝกอาชีพเพื่อไปประกอบอาชีพเสริม 50 50.0

Page 76: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

65

ตารางที่ 4.1 (ตอ) จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลท่ัวไป ขอมูลท่ัวไป จํานวน รอยละ

(n=100) 100.0

ทานเคยเขาฝกอบรมอาชีพ (ตอบไดมากกวา 1 คําตอบ)

การทําทองหยบิ ทองหยอด ฝอยทอง 21 21.0

การทําพวงกุญแจลูกปด 29 29.0

การกัดลายกระจก 35 35.0

การเพนทรองเทาผาใบ 27 27.0

การทํากวยเตีย๋วราดหนาหมหูมัก 16 16.0

การเพนทกระเปา 42 42.0

การทําปายหนิออน 20 20.0

ขณะนี้ทานกําลังอบรมอาชีพ

การทําทองหยบิ ทองหยอด ฝอยทอง 14 14.0

การทําพวงกุญแจลูกปด 14 14.0

การกัดลายกระจก 15 15.0

การเพนทรองเทาผาใบ 14 14.0

การทํากวยเตีย๋วราดหนาหมหูมัก 15 15.0

การเพนทกระเปา 14 14.0

การทําปายหนิออน 14 14.0

รายไดตอเดือน ที่ทานไดรับจากการเขารวมฝกอบรมอาชีพในโครงการ

ไมมีรายได 82 82.0

ไมเพียงพอ 4 4.0

เพียงพอ 14 14.0

หลังจากไดรับการแนะแนวอาชีพ ทานไดรับความรูและแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ

เพิ่ม 98 98.0

ไมเพิ่ม 2 2.0

Page 77: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

66

ตารางที่ 4.1 (ตอ) จํานวนและรอยละของกลุมตัวอยางจําแนกตามขอมูลท่ัวไป ขอมูลท่ัวไป จํานวน รอยละ

(n=100) 100.0

ทานคิดวาทานไดรับประโยชนจากการแนะแนวอาชพี

ไมไดรับประโยชน 1 1.0

ไดรับประโยชนนอย 7 7.0

ไดรับประโยชนมาก 92 92.0

ส่ิงที่ทานไดจาการแนะแนวอาชีพอิสระ ตรงกับความคาดหวังหรือความตองการของทานหรือไม

ตรง 89 89.0

ไมตรง 11 11.0 4.2 ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชพีของเด็กและเยาวชน จากการประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนโดยภาพรวม (ตารางที่ 4.2) พบวา การใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน อยูในระดับ คอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 3.68 จากคะแนนเต็ม 5) เมื่อพิจารณารายดาน พบวา การใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนในทุกดานอยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกันโดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ ดานผลผลิต (คาเฉลี่ย = 3.70) ดานกระบวนการ(คาเฉลี่ย = 3.69) ดานสภาพแวดลอม/ดานปจจัยนําเขา (คาเฉลี่ย = 3.67) ตารางที่ 4.2 ประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนโดยภาพรวม

ประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน

x s.d. ระดับการใหบริการ

ดานสภาพแวดลอม 3.67 0.60 คอนขางมาก

ดานปจจยันําเขา 3.67 0.59 คอนขางมาก

ดานกระบวนการ 3.69 0.60 คอนขางมาก

ดานผลผลิต 3.70 0.57 คอนขางมาก

รวม 3.68 0.50 คอนขางมาก

Page 78: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

67

4.2.1 การประเมินดานสภาพแวดลอม จากการประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนดานสภาพแวดลอม วัตถุประสงคโครงการ (ตารางที่ 4.3) พบวา อยูในระดับคอนขางมากมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.67 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนในแตละขอพบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สรางโอกาสใหผูดอยโอกาสในการทํางานได โดยมี (คาเฉลี่ย = 3.96) การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถลดปญหาการวางงานได (คาเฉลี่ย = 3.88) การนําหลักธรรมที่ไดเรียนรูจากโครงการฯ ไปใชประโยชนในการดํารงชีวิตได/การมีความตองการฝกอบรมอาชีพ (คาเฉลี่ย = 3.75) การฝกอบรมอาชีพจะชวยใหทานมีอาชีพติดตัวและหางานงายขึ้น (คาเฉล่ีย = 3.69) การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถแกปญหาสังคมได (คาเฉลี่ย = 3.64) ความคาดหวังวา ทานจะนําวิชาชีพที่ฝกอบรมไปประกอบอาชีพเล้ียงตนเองและครอบครัวได (คาเฉลี่ย = 3.61) การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถสรางแรงงานที่มีคุณภาพควบคูคุณธรรมสูตลาดแรงงานได (คาเฉล่ีย = 3.55) นอกจากนั้นอยูใน ระดับปานกลาง แผนกที่เปดฝกอบรมตรงกับความตองการของทาน (คาเฉลี่ย = 3.26) ตารางที่ 4.3 การประเมินดานสภาพแวดลอมโดยภาพรวม

ดานสภาพแวดลอม x s.d. ระดับการใหบริการ

1. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถ แกปญหาสงัคมได

3.64 0.81 คอนขางมาก

2. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถลด ปญหาการวางงานได

3.86 0.88 คอนขางมาก

3. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สรางโอกาส ใหผูดอยโอกาสในการทํางานได

3.96 0.78 คอนขางมาก

4. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถสราง แรงงานที่มีคุณภาพควบคูคุณธรรมสูตลาดแรงงานได

3.55 0.91 คอนขางมาก

5. การนําหลักธรรมที่ไดเรียนรูจากโครงการฯ ไปใช ประโยชนในการดํารงชีวติได

3.75 0.80 คอนขางมาก

Page 79: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

68

ตารางที่ 4.3 (ตอ)

ดานสภาพแวดลอม x s.d. ระดับการใหบริการ

6. การมีความตองการฝกอบรมอาชีพ 3.75 0.91 คอนขางมาก 7. การฝกอบรมอาชีพจะชวยใหทานมีอาชพีติดตัว และหางานงายขึ้น

3.69 1.00 คอนขางมาก

8. ความคาดหวังวา ทานจะนําวิชาชีพที่ฝกอบรมไป ประกอบอาชีพเล้ียงตนเองและครอบครัวได

3.61 1.05 คอนขางมาก

9. แผนกที่เปดฝกอบรมตรงกับความตองการของทาน 3.26 1.00 ปานกลาง

รวม 3.67 0.60 คอนขางมาก 4.2.2 การประเมินดานปจจัยนําเขา จากการประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนดานปจจัยนําเขา (ตารางที่ 4.4) พบวา ดานปจจัยนําเขาในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 3.67 จากคะแนนเต็ม 5) เมื่อพิจารณารายดาน พบวา ดานปจจัยนําเขาในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก เชนเดียวกันโดยเรียงลําดับเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ ดานบุคคล (คาเฉลี่ย = 3.86) ดานวัสดุอุปกรณ (คาเฉลี่ย = 3.68) ดานสถานที่ (คาเฉลี่ย = 3.67) และดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ (คาเฉลี่ย = 3.48) ตารางที่ 4.4 การประเมินดานปจจัยนาํเขา

ดานปจจัยนําเขา x s.d. ระดับการใหบริการ

ดานบุคลากร 3.86 0.60 คอนขางมาก

ดานสถานที่ 3.67 0.74 คอนขางมาก

ดานวัสดุอุปกรณ 3.68 0.71 คอนขางมาก

ดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ 3.48 0.86 คอนขางมาก

รวม 3.67 0.59 คอนขางมาก

Page 80: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

69

4.2.2.1 ดานบุคลากร เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยปจจัยนําเขาดานบุคลากร (ตารางที่ 4.5) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.86 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานบุคลากรในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ ครูผูสอนมีขั้นตอนในการฝกปฏิบัติชัดเจน โดยมี (คาเฉลี่ย = 4.07) ครูผูสอนมีวิธีการสอน/แนะนําดวยเทคนิควิธีที่เขาใจงายตอการเรียนรู (คาเฉลี่ย = 3.97) ครูผูสอนใหความยุติธรรมแกผูรับการฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.96) ครูผูสอนรับฟงความคิดเห็นของผูเขารับการฝกอบรม และแกขอสงสัยแกผูฝกอบรมได (คาเฉลี่ย = 3.89) ความรูความสามารถของครูผูสอนในแผนกที่ใหการฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.86) สําหรับ ความพอเพียงของครูผูสอนในแผนก มีผลอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย = 3.40) ตารางที่ 4.5 การประเมินปจจัยนําเขาดานบุคลากร

ดานบุคลากร x s.d. ระดับการใหบริการ

1. ความพอเพยีงของครูผูสอนในแผนกแตละแผนก 3.40 0.75 ปานกลาง 2. ความรูความสามารถของครูผูสอนในแผนกที่ให การฝกอบรม

3.86 0.79 คอนขางมาก

3. ครูผูสอนรับฟงความคิดเห็นของผูเขารับการ ฝกอบรม และแกขอสงสัยแกผูฝกอบรมได 3.89 0.89 คอนขางมาก

4. ครูผูสอนใหความยุติธรรมแกผูรับการฝกอบรม 3.96 0.86 คอนขางมาก 5. ครูผูสอนมีวิธีการสอน/แนะนําดวยเทคนิควิธีที ่ เขาใจงายตอการเรียนรู

3.97 0.78 คอนขางมาก

6. ครูผูสอนมีขั้นตอนในการฝกปฏิบัติชัดเจน 4.07 0.98 คอนขางมาก

รวม 3.86 0.60 คอนขางมาก

Page 81: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

70

4.2.2.2 ดานสถานที่ เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยปจจัยนําเขาดานสถานที่ (ตารางที่ 4.6) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.67 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานสถานที่ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ หองฝกอบรมมีแสงสวางพอเพียง โดยมี (คาเฉลี่ย = 3.91) ภายในหองฝกอบรมจัดวางสิ่งของเปนระเบียบเรียบรอย (คาเฉลี่ย = 3.72) หองที่ทําการฝกอบรมกวางขวางอากาศถายเทไดสะดวก เหมาะที่จะทําการเรียนรู (คาเฉลี่ย = 3.67) สําหรับความเหมาะสมของขนาดหองที่ใชในการอบรม มีผลอยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย = 3.37) ตารางที่ 4.6 การประเมินปจจัยนําเขาดานสถานที่

ดานสถานที่ x s.d. ระดับการใหบริการ

1. ความเหมาะสมของขนาดหองที่ใชในการอบรม 3.37 0.88 ปานกลาง

2. หองฝกอบรมมีแสงสวางพอเพียง 3.91 0.91 คอนขางมาก 3. ภายในหองฝกอบรมจัดวางสิ่งของเปนระเบียบ เรียบรอย

3.72 1.01 คอนขางมาก

4. หองที่ทําการฝกอบรมกวางขวางอากาศถายเทได สะดวก เหมาะที่จะทําการเรียนรู

3.67 1.08 คอนขางมาก

รวม 3.67 0.74 คอนขางมาก

4.2.2.3 ดานวัสดุอุปกรณ เมื่อพิจารณาคาเฉล่ียปจจัยนําเขาดานวัสดุอุปกรณ (ตารางที่ 4.7) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานวัสดุอุปกรณในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ มีการเก็บวัสดุอุปกรณอยางเปนระเบียบ โดยมี (คาเฉลี่ย = 3.83) วัสดุอุปกรณที่ใชในการฝกอบรมพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.63) มีการเบิกวัสดุอุปกรณเปนระบบ (คาเฉลี่ย = 3.59)

Page 82: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

71

ตารางที่ 4.7 การประเมินปจจัยนําเขาดานวัสดุอุปกรณ

ดานวัสดุอุปกรณ x s.d. ระดับการใหบริการ

1. วัสดุอุปกรณที่ใชในการฝกอบรมพอเพียง 3.63 0.93 คอนขางมาก

2. มีการเก็บวสัดุอุปกรณอยางเปนระเบยีบ 3.83 0.82 คอนขางมาก

3. มีการเบิกวสัดุอุปกรณเปนระบบ 3.59 0.94 คอนขางมาก

รวม 3.68 0.71 คอนขางมาก 4.2.2.4 ดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยปจจัยนําเขาดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ (ตารางที่ 4.8) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.48 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ การใหบริการดานที่พักอาศัยพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.65) การใหบริการดานอาหารพอเพียง (คาเฉลี่ย 3.59) นอกจากนั้นอยูในระดับปานกลาง ใน 2 ประเด็น คือ การใหบริการดานการรักษาพยาบาลพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.41) หองน้ํา/สุขามีพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.27) ตารางที่ 4.8 การประเมินปจจัยนําเขาดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ

ดานสิง่อํานวยความสะดวกและสวัสดิการ x s.d. ระดับการใหบริการ

1. การใหบริการดานที่พักอาศัยพอเพยีง 3.65 0.90 คอนขางมาก

2. การใหบริการดานอาหารพอเพียง 3.59 1.04 คอนขางมาก

3. การใหบริการดานการรักษาพยาบาลพอเพียง 3.41 1.06 ปานกลาง

4. หองน้ํา/สุขามีพอเพียง 3.27 1.21 ปานกลาง

รวม 3.48 0.86 คอนขางมาก

Page 83: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

72

4.2.3 การประเมินดานกระบวนการ จากการประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนดานกระบวนการ (ตารางที่ 4.9) พบวา ดานกระบวนการในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 3.69 จากคะแนนเต็ม 5) เมื่อพิจารณาในรายดาน พบวา ดานกระบวนการในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก เชนเดียวกันโดยเรียงลําดับเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังนี้คือ ดานบุคลากร (คาเฉลี่ย = 3.93) ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน (คาเฉลี่ย = 3.81) ดานกิจกรรมทั่วไป (คาเฉลี่ย = 3.71) ดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา (คาเฉลี่ย = 3.70) ดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต (คาเฉลี่ย = 3.65) ยกเวนดานการพัฒนาดานจิตใจ อยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย = 3.48) ตารางที่ 4.9 การประเมินดานกระบวนการ

ดานกระบวนการ x s.d. ระดับการใหบริการ

ดานบุคลากร 3.93 0.73 คอนขางมาก

ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน 3.81 0.71 คอนขางมาก

ดานกิจกรรมทั่วไป 3.71 0.80 คอนขางมาก

ดานการพัฒนาดานจิตใจ 3.38 1.05 ปานกลาง

ดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา 3.70 0.70 คอนขางมาก

ดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวติ 3.65 0.70 คอนขางมาก

รวม 3.69 0.60 คอนขางมาก 4.2.3.1 ดานบุคลากร เมื่อพิจารณาคาเฉล่ียกระบวนการ ในดานบุคลากร (ตารางที่ 4.10) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.93 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานบุคลากรในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ วิธีการถายทอดความรูของครูผูสอนเหมาะสมโดยมี (คาเฉลี่ย = 4.05) ครูผูสอนนําเทคนิคใหมๆ มาใชในการสอนอยางเหมาะสม (คาเฉลี่ย = 3.96) ครูผูสอน สอนใหรูจักประหยัดและใชวัสดุอุปกรณอยางมีคา

Page 84: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

73

(คาเฉลี่ย = 3.94) ครูผูสอนมีการบรรยายควบคูไปกับการใหผูฝกลงมือปฏิบัติจริงอยางเหมาะสม/ครูผูสอนเปดโอกาสใหซักถามพรอมทั้งตอบขอสงสัยนั้นไดอยางละเอียดชัดเจนไดเหมาะสม (คาเฉลี่ย = 3.86) ตารางที่ 4.10 การประเมินกระบวนการดานบุคลากร

ดานบุคลากร x s.d. ระดับการใหบริการ

1. วิธีการถายทอดความรูของครูผูสอนเหมาะสม 4.05 0.82 คอนขางมาก 2. ครูผูสอนนําเทคนิคใหมๆ มาใชในการสอนอยาง เหมาะสม

3.96 0.92 คอนขางมาก

3. ครูผูสอนมีการบรรยายควบคูไปกับการใหผูฝก ลงมือปฏิบัติจริงอยางเหมาะสม

3.86 0.92 คอนขางมาก

4. ครูผูสอนเปดโอกาสใหซักถามพรอมทั้งตอบขอ สงสัยนั้นไดอยางละเอยีดชัดเจนไดเหมาะสม

3.86 0.94 คอนขางมาก

5. ครูผูสอน สอนใหรูจกัประหยัดและใชวสัดุอุปกรณ อยางมีคา

3.94 0.87 คอนขางมาก

รวม 3.93 0.73 คอนขางมาก 4.2.3.2 ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยกระบวนการดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน (ตารางที่ 4.11) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก ในทุกประเด็นโดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.81 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ การเขาฝกอบรมอาชีพทําใหทานมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน เชน มีความรับผิดชอบ ขยัน เห็นคุณคาของวัสดุอุปกรณเปนตน มากขึ้น (คาเฉลี่ย = 3.89) แผนกที่ฝกอบรมสามารถนําไปประกอบอาชีพไดงาย (คาเฉลี่ย = 3.79) เมื่อฝกอบรมเสร็จ ทานสามารถเพิ่มรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว (คาเฉลี่ย = 3.74)

Page 85: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

74

ตารางที่ 4.11 การประเมินกระบวนการดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน

ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน x s.d. ระดับการใหบริการ

1. แผนกที่ฝกอบรมสามารถนําไปประกอบอาชีพได งาย

3.79 0.82 คอนขางมาก

2. เมื่อฝกอบรมเสร็จ ทานสามารถเพิ่มรายไดเล้ียง ตนเองและครอบครัว

3.74 0.94 คอนขางมาก

3. การเขาฝกอบรมอาชีพทําใหทานมีการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน เชน มีความ รับผิดชอบ ขยัน เหน็คุณคาของวัสดุอุปกรณเปนตน มากขึ้น

3.89 0.93 คอนขางมาก

รวม 3.81 0.71 คอนขางมาก

4.2.3.3 ดานกิจกรรมท่ัวไป

เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยกระบวนการดานกิจกรรมทั่วไป (ตารางที่ 4.12) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.71 เมื่อพิจารณาคาเฉล่ียดานกิจกรรมทั่วไป ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ การจัดกิจกรรมดานกีฬาชวยใหทานไดรับความสนุกสนานและเชื่อมความสามัคคี (คาเฉลี่ย = 3.85) มีการจัดกิจกรรมทําความสะอาดอาคารสถานที่ฝกอบรม ที่พักอาศัย หองน้ําสุขา (คาเฉลี่ย = 3.75) ทางโครงการมีการประชุมปรึกษาหารือระหวางผูเขารับการฝกอบรมกับเจาหนาที่โครงการอยางเหมาะสม (คาเฉลี่ย = 3.54)

ตารางที่ 4.12 การประเมินกระบวนการดานกิจกรรมท่ัวไป

ดานกิจกรรมท่ัวไป x s.d. ระดับการใหบริการ

1. การจัดกจิกรรมดานกีฬาชวยใหทานไดรับ ความสนุกสนานและเชื่อมความสามัคคี

3.85 1.10 คอนขางมาก

2. ทางโครงการมีการประชุมปรึกษาหารือระหวางผู เขารับการฝกอบรมกับเจาหนาที่โครงการอยาง เหมาะสม

3.54 0.91 คอนขางมาก

Page 86: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

75

ตารางที่ 4.12 (ตอ) การประเมินกระบวนการดานกิจกรรมท่ัวไป

ดานกิจกรรมท่ัวไป x s.d. ระดับการใหบริการ

3. มีการจัดกจิกรรมทําความสะอาดอาคารสถานที่ ฝกอบรม ที่พักอาศัย หองน้ําสุขา

3.75 1.08 คอนขางมาก

รวม 3.71 0.80 คอนขางมาก 4.2.3.4 ดานการพัฒนาดานจิตใจ เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยกระบวนการดานการพัฒนาดานจิตใจ (ตารางที่ 4.13) พบวา อยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.38 เมื่อพิจารณาคาเฉล่ียดานการพัฒนาดานจิตใจในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉล่ียจากมากไปนอยไดดังนี้คือ เมื่อทานไดรับการพัฒนาดานจิตใจจากโครงการฯ ทานสามารถควบคุมอารมณ มีความสุขุมรอบคอบโดยมี (คาเฉลี่ย = 3.51) ทานสามารถนําความรูจากการฝกอบรมจริยธรรมไปปรับใชในการดํารงชีวิต (คาเฉลี่ย = 3.42) นอกจากนั้นอยูใน ระดับปานกลาง ทานไดรับประโยชนจากกิจกรรมการพัฒนาจิตใจ เชน การนั่งสมาธิ การสวดมนต การฟงเทศน (คาเฉลี่ย = 3.22) ตารางที่ 4.13 การประเมินกระบวนการดานการพัฒนาดานจิตใจ

ดานการพฒันาดานจติใจ x s.d. ระดับการใหบริการ

1. ทานไดรับประโยชนจากกิจกรรมการพฒันาจิตใจ เชน การนั่งสมาธิ การสวดมนต การฟงเทศน

3.22 1.23 ปานกลาง

2. ทานสามารถนําความรูจากการฝกอบรมจริยธรรม ไปปรับใชในการดํารงชีวติ

3.42 1.15 ปานกลาง

3. เมื่อทานไดรับการพัฒนาดานจิตใจจากโครงการฯ ทานสามารถควบคุมอารมณ มีความสุขุมรอบคอบ

3.51 1.18 คอนขางมาก

รวม 3.38 1.05 ปานกลาง

Page 87: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

76

4.2.3.5 ดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยกระบวนการดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา (ตารางที่ 4.14) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.70 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ การฝกอบรมเปนประโยชนอยางยิ่งในการเปดโอกาสใหผูดอยโอกาสทางการศึกษาไดมีวิชาชีพ/พัฒนาอาชีพที่ตนเองสนใจ (คาเฉลี่ย = 3.87) ทานไดรับประโชนจากการอบรมพัฒนาชีวิตในเรื่องเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย การมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอเพื่อนรวมงาน (คาเฉลี่ย = 3.69) การอบรมมีผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพของทาน (คาเฉลี่ย = 3.55) ตารางที่ 4.14 การประเมินกระบวนการดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา

ดานการพฒันาสังคม อารมณ และสติปญญา x s.d. ระดับการใหบริการ

1. การอบรมมีผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพของทาน 3.55 0.95 คอนขางมาก 2. ทานไดรับประโชนจากการอบรมพัฒนาชีวิตในเรื่อง เกี่ยวกับ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย การมี มนุษยสัมพนัธที่ดีตอเพื่อนรวมงาน

3.69 0.96 คอนขางมาก

3. การฝกอบรมเปนประโยชนอยางยิ่งในการเปด โอกาสใหผูดอยโอกาสทางการศึกษาไดมีวิชาชีพ/ พัฒนาอาชพีที่ตนเองสนใจ

3.87 0.91 คอนขางมาก

รวม 3.70 0.70 คอนขางมาก 4.2.3.6 ดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยกระบวนการดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต (ตารางที่ 4.15) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.65 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ การจัดอบรมทักษะและประสบการณชีวิตในสังคม ทานไดรับความรูที่เปนประโยชนในการปรับใชกับชีวิตประจําวันของตัวทานเอง (คาเฉลี่ย

Page 88: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

77

= 3.72) ทานไดรับประโยชนจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนรวมฝกอบรมระหวางเขารับการฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.62) การจัดอบรมอาชีพควบคูคุณธรรมทําใหทานสามารถพัฒนาฝมือดานวิชาการอาชีพและคุณธรรมของตัวทานเอง (คาเฉลี่ย = 3.60) ตารางที่ 4.15 การประเมินกระบวนการดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต

ดานการพฒันาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต x s.d. ระดับการใหบริการ

1. การจัดอบรมทักษะและประสบการณชีวิตในสังคม ทานไดรับความรูที่เปนประโยชนในการปรับใช กับชีวิตประจําวันของตวัทานเอง

3.72 0.89 คอนขางมาก

2. ทานไดรับประโยชนจากการแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นกับเพื่อนรวมฝกอบรมระหวางเขารับการ ฝกอบรม

3.62 0.84 คอนขางมาก

3. การจัดอบรมอาชีพควบคูคุณธรรมทําใหทาน สามารถพัฒนาฝมือดานวชิาการอาชีพและคุณธรรม ของตัวทานเอง

3.60 0.90 คอนขางมาก

รวม 3.65 0.70 คอนขางมาก

4.2.4 การประเมินดานผลผลิต จากการประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนดานผลผลิต (ตารางที่ 4.16) พบวา ดานผลผลิตในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 3.70 จากคะแนนเต็ม 5) เมื่อพิจารณาภาพรายดาน พบวา ดานผลผลิตในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก เชนเดียวกันโดยเรียงลําดับเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังนี้คือ ดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.84) ดานคุณภาพชีวิต (คาเฉล่ีย = 3.66) ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ (คาเฉลี่ย = 3.56)

Page 89: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

78

ตารางที่ 4.16 การประเมินดานผลผลิต

ดานผลผลิต x s.d. ระดับการใหบริการ

ดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม 3.84 0.72 คอนขางมาก

ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ 3.56 0.69 คอนขางมาก

ดานคุณภาพชวีิต 3.66 0.76 คอนขางมาก

รวม 3.70 0.57 คอนขางมาก

4.2.4.1 การประเมินผลผลิตดานความรูความชํานาญในอาชีพท่ีฝกอบรม

เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยผลผลิตดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม (ตารางที่ 4.17) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.84 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีเทคนิคและทักษะในอาชีพเพิ่มขึ้นจากเดิม (คาเฉลี่ย = 3.87) เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีความมั่นใจในอาชีพที่ฝกอบรมเพิ่มขึ้นจากเดิม (คาเฉลี่ย = 3.84) เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีความรูความชํานาญเพิ่มขึ้นจากเดิม (คาเฉลี่ย = 3.82) เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมั่นใจในการประกอบอาชีพ (คาเฉลี่ย = 3.81)

ตารางที่ 4.17 การประเมินผลผลิตดานความรูความชํานาญในอาชีพท่ีฝกอบรม

ดานความรูความชํานาญในอาชีพท่ีฝกอบรม x s.d. ระดับการใหบริการ

1. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีความรูความ ชํานาญเพิ่มขึ้นจากเดิม

3.82 0.88 คอนขางมาก

2. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมเีทคนิคและ ทักษะในอาชีพเพิ่มขึ้นจากเดิม

3.87 0.85 คอนขางมาก

3. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีความมั่นใจใน อาชีพที่ฝกอบรมเพิ่มขึ้นจากเดิม

3.84 0.90 คอนขางมาก

4. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมัน่ใจในการ ประกอบอาชีพ

3.81 0.88 คอนขางมาก

รวม 3.84 0.72 คอนขางมาก

Page 90: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

79

4.2.4.2 ดานประโยชนท่ีไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยผลผลิตดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ (ตารางที่ 4.18) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.56 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจากโครงการฯ ทําใหเกิดความรูในวิชาชีพที่ฝกเพิ่มขึ้น (คาเฉลี่ย = 3.91) นอกจากการฝกอบรมอาชีพแลวทางโครงการยังอบรมความรูดานอื่น ๆ ที่เปนประโยชนตอการทํางานและการดํารงชีวิต เชน การฝกอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต การปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมทางสังคม เปนตน (คาเฉลี่ย = 3.61) เมื่อผานการฝกอบรม ไดรับการยอมรับจากบุคคลอื่น ๆ ดานความสามารถในวิชาชีพที่ฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.53) นอกจากนั้นอยูใน ระดับปานกลาง เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจากโครงการฯ ทําใหทานมีรายไดเพิ่มขึ้น (คาเฉลี่ย = 3.19) ตารางที่ 4.18 การประเมินผลผลิตดานประโยชนท่ีไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ

ดานประโยชนท่ีไดรับจากการฝกอบรมอาชพี x s.d. ระดับการใหบริการ

1. เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจากโครงการฯ ทําให เกิดความรูในวิชาชีพที่ฝกเพิ่มขึ้น

3.91 0.84 คอนขางมาก

2. เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจากโครงการฯ ทําให ทานมีรายไดเพิ่มขึ้น

3.19 1.14 ปานกลาง

3. เมื่อผานการฝกอบรม ไดรับการยอมรับจากบุคคล อ่ืน ๆ ดานความสามารถในวิชาชีพที่ฝกอบรม

3.53 0.88 คอนขางมาก

4. นอกจากการฝกอบรมอาชีพแลวทางโครงการยัง อบรมความรูดานอื่น ๆ ที่เปนประโยชนตอการ ทํางานและการดํารงชีวิต เชน การฝกอบรมพัฒนา คุณภาพชวีติ การปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม ทางสังคม เปนตน

3.61 0.84 คอนขางมาก

รวม 3.56 0.69 คอนขางมาก

Page 91: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

80

4.2.4.3 ดานประโยชนท่ีไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยผลผลิตดานคุณภาพชีวิต (ตารางที่ 4.19) พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานคุณภาพชีวิต ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดยคาเฉลี่ยจากมากไปนอยไดดังนี้คือ การเขารวมโครงการฯ สามารถนําหลักธรรมไปประโยชนใชกับชีวิตประจําวัน (คาเฉลี่ย = 3.78) การเขารวมโครงการฯ เพิ่มรายไดจากการประกอบอาชีพ ทําใหสามารถชวยเหลือครอบครัวได (คาเฉลี่ย = 3.65) การเขารวมโครงการฯ เพิ่มความสามารถในการปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมทางสังคมในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิต (คาเฉลี่ย = 3.55) ตารางที่ 4.19 การประเมินผลผลิตดานคุณภาพชีวิต

ดานคณุภาพชวีิต x s.d. ระดับการใหบริการ

1. การเขารวมโครงการฯ เพิม่ความสามารถในการ ปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอมทางสังคมในการ ประกอบอาชีพและการดํารงชีวิต

3.55 0.85 คอนขางมาก

2. การเขารวมโครงการฯ เพิม่รายไดจากการประกอบ อาชีพ ทําใหสามารถชวยเหลือครอบครัวได

3.65 0.91 คอนขางมาก

3. การเขารวมโครงการฯ สามารถนําหลักธรรมไป ประโยชนใชกับชีวิตประจําวัน

3.78 1.03 คอนขางมาก

รวม 3.66 0.76 คอนขางมาก

4.3 ขอเสนอแนะจากกลุมตัวอยาง จากการใหกลุมตัวอยางตอบขอเสนอแนะจากคําถามปลายเปด (ตารางที่ 4.20) แยกตามความตองการของเยาวชนที่ตองการใหมีการปรับปรุงกระบวนการการใหบริการในการฝกอบรมวิชาชีพ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผล ในการใหความพึงพอใจของเยาวชนผูเขารับการฝกอบรมมากที่สุด โดยมีผูตอบคําถามปลายเปดทั้งสิ้น 58 คําตอบ ผูวิจัยไดจัดเรียงคําตอบจาก

Page 92: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

81

มากไปหานอย ดังนี้คือ รอยละ 20.7 เห็นวาการบรรยายควรเอาใจใสใหมากกวานี้ ไมใชมาแลวสอนใหมันจบ ๆไป รอยละ 19.0 เห็นวาควรเพิ่มวัสดุอุปกรณใหเพียงพอในการอบรม รอยละ 15.5 เทากัน เห็นวาควรมีส่ิงอํานวยความสะดวกโดยนําเทคโนโลยีมาใชใหมากกวานี้ และการจัดสถานที่อบรมควรมีอากาศถายเทไดสะดวก ตลอดจนทางเดินควรมีแสงสวางใหเพียงพอ รอยละ13.8 เห็นวา วิทยากรที่มาบรรยายควรมีผูชวยจํานวนมากกวานี้เพื่อใหเพียงพอตอการใหคําแนะนําแกผูเขาอบรม ตารางที่ 4.20 ขอเสนอแนะจากกลุมตัวอยาง

ขอเสนอแนะ จํานวนคําตอบ รอยละของผูตอบ

(n=58) 100.0 1. การบรรยายควรเอาใจใสใหมากกวานี ้ ไมใช มาแลวสอนใหมนัจบ ๆ ไป

12 20.7

2. ขอใหเพิ่มวสัดุอุปกรณใหเพียงพอในการอบรม 11 19.0

3. ส่ิงอํานวยความสะดวกควรนําเทคโนโลยีมาใชให มากกวานี ้

9 15.5

4. ควรจัดสถานที่อบรมที่มีอากาศถายเทไดสะดวก 9 15.5

5. ทางเดินควรมีแสงสวางใหเพียงพอ 9 15.5

6. วิทยากรที่มาบรรยายควรมีผูชวยจํานวนมากกวานี ้ 8 13.8

Page 93: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การศึกษาประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ซ่ึงไดผานกระบวนการวิจัยตามหลักวิชาการเพื่อจะไดนําผลการวิเคราะหวิจัยมาเพื่อปรับปรุงกระบวนการทํางานใหเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สําหรับการแกไขกระบวนการทํางานขององคกรตอไป ซึ่งผูวิจัยขอสรุปสาระสําคัญของบทนี้ออกมาเปน 3 สวนดังนี้ สวนที่ 1 บทสรุป สวนที่ 2 การอภิปรายผลการวิจัย และสวนที่ 3 ขอเสนอแนะ ดังนี้

5.1 สรุปผลการศึกษา การศึกษาความคิดเห็นของเด็กและเยาวชนศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา มีวัตถุประสงคเพื่อ 1) เพื่อประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา 2) เพื่อศึกษาปญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ 3) เพื่อนําผลที่ไดจากการศึกษาไปปรับปรุงการดําเนินงานตอไป กรอบในการศึกษาเรื่องประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ตัวแปรที่นํามาศึกษาคือ ขอมูลภูมิหลังของผูรับบริการไดแก อายุ ระดับการศึกษา รายได เคยเขาฝกอบรมอาชีพ ภูมิลําเนา อาชีพ ตัวแปรการประเมิน ดานการประเมินสภาพแวดลอม ดานการประเมินปจจัยนําเขา ดานการประเมินกระบวนการ และดานการประเมินผลผลิต ประชากรที่ใชในการวิจัยคร้ังนี้คือ เด็กและเยาวชนบานอุเบกขา กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยสุมตัวอยางเปนระบบโดยใชบัญชีรายช่ือท่ีเปนเลขคู เร่ิมตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2552 ถึง มีนาคม 2552 ที่เยาวชนไดเขารับการฝกอบรม ไดจํานวนทั้งหมด 100 ราย

Page 94: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

83

1. ขอมูลท่ัวไปของกลุมตัวอยาง ผลการศึกษาพบวา กลุมตัวอยางสวนใหญ รอยละ 64.0 อายุ 15 – 17 ป รอยละ 33.0 มีภูมิลําเนาเดิมตางจังหวัด รองลงมา รอยละ 30.0 มีภูมิลําเนาเดิม รอยละ 46.0 ระดับการศึกษาประถมศึกษาตอนปลาย (ป.5 – ป.6) รองลงมา รอยละ 35.0 ระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนตน (ม.1 – ม.3) สวนใหญ รอยละ 75.0 ไมมีรายไดกอนเขารับการฝกอบรม รองลงมา รอยละ 25.0 มีรายได 200 - 300 บาท/ตอวันกอนเขารับการฝกอบรม เกินครึ่ง รอยละ 57. 0 เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมอาชีพ ตองการมีความรู ความชํานาญเพิ่มเติม รองลงมา รอยละ 50.0 เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมตองการฝกอาชีพเพื่อไปประกอบอาชีพเสริม รอยละ 42.0 เคยฝกอบรมการเพนทกระเปา รองลงมา รอยละ 35.0 เคยฝกอบรมการกัดลายกระจก สวนใหญ รอยละ 15.0 กําลังอบรมอาชีพการกัดลายกระจก/การทํากวยเตี่ยวราดหนาหมูหมัก รองลงมา รอยละ 14.0 กําลังอบรมอาชีพการทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง/การทําพวงกุญแจลูกปด/การเพนทรองเทาผาใบ/การเพนทกระเปา/การทําปายหินออน สวนใหญ รอยละ 82.0 ไมมีรายไดตอเดือน รองลงมา รอยละ 14.0 มีรายไดตอเดือนเพียงพอ สวนใหญ รอยละ 98.0 หลังจากไดรับการแนะแนวอาชีพ ทานไดรับความรูและแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ เพิ่ม รองลงมา รอยละ 2.0 หลังจากไดรับการแนะแนวอาชีพ ทานไดรับความรูและแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ ไมเพิ่ม สวนใหญ รอยละ 92. 0 ไดรับประโยชนมากจากการแนะแนวอาชีพ รองลงมา รอยละ 7.0 ไดรับประโยชนนอยจากการแนะแนว สวนใหญ รอยละ 89.0 ส่ิงที่ไดจากการแนะแนวอาชีพ ตรง รองลงมา รอยละ 11.0 ส่ิงที่ไดจากการแนะแนวอาชีพ ไมตรง 2. ประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน ผลการวิเคราะหประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนโดยภาพรวม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 อยูในระดับ คอนขางมาก เมื่อพิจารณาภาพรายดาน พบวา ประเมินการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนในทุกดานอยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกันโดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังนี้คือ ดานผลผลิต (คาเฉลี่ย = 3.70) ดานกระบวนการ(คาเฉลี่ย = 3.69) ดานสภาพแวดลอม/ดานปจจัยนําเขา (คาเฉลี่ย = 3.67) ดานสภาพแวดลอม ผลการศึกษาวัตถุประสงคโครงการ พบวา อยูในระดับคอนขางมากมีคาเฉลี่ย = 3.67 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชนในแตละขอพบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สรางโอกาสใหผูดอยโอกาสในการทํางานได โดยมี (คาเฉลี่ย = 3.96) การเขาฝกอบรมอาชีพใน

Page 95: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

84

โครงการฯ สามารถลดปญหาการวางงานได (คาเฉลี่ย = 3.86) การนําหลักธรรมที่ไดเรียนรูจากโครงการฯ ไปประโยชนในการดํารงชีวิตได/การนําหลักธรรมที่ไดเรียนรูจากโครงการฯ ไปประโยชนในการดํารงชีวิตได (คาเฉลี่ย = 3.75) และคาเฉลี่ยที่นอยที่สุดคือ ระดับปานกลาง แผนกที่เปดฝกอบรมตรงกันความตองการของทาน (คาเฉลี่ย = 3.26) ดานปจจัยนําเขาในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 3.67) เมื่อพิจารณาในรายดาน พบวา ดานปจจัยนําเขาในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก เชนเดียวกันโดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังนี้คือ ดานบุคคล (คาเฉลี่ย = 3.86) ดานวัสดุอุปกรณ (คาเฉลี่ย = 3.68) ดานสถานที่ (คาเฉลี่ย = 3.67) ดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ (คาเฉลี่ย = 3.48) ดานบุคลากร พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.86 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานบุคลากรในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ ครูผูสอนมีขั้นตอนในการฝกปฏิบัติชัดเจน โดยมี (คาเฉลี่ย = 4.07) ครูผูสอนมีวิธีการสอน/แนะนําดวยเทคนิควิธีที่เขาใจงายตอการเรียนรู (คาเฉลี่ย = 3.97) ครูผูสอนใหความยุติธรรมแกผูรับการฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.96) และคาเฉลี่ยที่นอยที่สุดคือ ระดับปานกลาง ความพอเพียงของครูผูสอนในแผนก (คาเฉลี่ย = 3.40) ดานสถานที่ พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.67 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานสถานที่ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก เรียงจากมากไปนอย ดังนี้คือ หองฝกอบรมมีแสงสวางพอเพียงโดยมี (คาเฉลี่ย = 3.91) ภายในหองฝกอบรมจัดวางสิ่งของเปนระเบียบเรยีบรอย (คาเฉลี่ย = 3.72) หองที่ทําการฝกอบรมกวางขวางอากาศถายเทไดสะดวก เหมาะทีจ่ะทําการเรยีนรู (คาเฉลี่ย = 3.67) และคาเฉลี่ยที่นอยที่สุดคือ ระดับปานกลาง ความเหมาะสมของขนาดหองที่ใชในการอบรม (คาเฉลี่ย = 3.37) ดานวัสดุอุปกรณ พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานวัสดุอุปกรณในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ มีการเก็บวัสดุอุปกรณอยางเปนระเบียบ โดยมี (คาเฉลี่ย = 3.83) วัสดุอุปกรณที่ใชในการฝกอบรมพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.63) มีการเบิกวัสดุอุปกรณเปนระบบ (คาเฉลี่ย = 3.59) ดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ พบวา ผลการศึกษาอยูในระดับคอนขางมาก โดยมีคาเฉลี่ยเทากับ 3.48 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ การใหบริการดานที่พักอาศัยพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.65) การใหบริการดานอาหารพอเพียง (คาเฉลี่ย 3.59) นอกจากนั้นอยูใน ระดับปานกลาง การใหบริการดานการรักษาพยาบาลพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.41) และคาเฉลี่ยที่นอยที่สุด คือ หองน้ํา/สุขามีพอเพียง (คาเฉลี่ย = 3.27)

Page 96: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

85

ดานกระบวนการ พบวา ดานกระบวนการในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 3.69) เมื่อพิจารณาภาพรายดาน พบวา ดานกระบวนการในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก เชนเดียวกันโดยเรียงลําดับเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังนี้คือ ดานบุคลากร (คาเฉลี่ย = 3.93) ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน (คาเฉลี่ย = 3.81) ดานกิจกรรมทั่วไป (คาเฉลี่ย = 3.71) ดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา (คาเฉลี่ย = 3.70) ดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต (คาเฉลี่ย = 3.65) ยกเวนดานการพัฒนาดานจิตใจ อยูในระดับปานกลาง (คาเฉลี่ย = 3.48) ดานบุคลากร พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.93 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานบุคลากรในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ วิธีการถายทอดความรูของครูผูสอนเหมาะสมโดยมี (คาเฉลี่ย = 4.05) ครูผูสอนนําเทคนิคใหมๆ มาใชในการสอนอยางเหมาะสม (คาเฉลี่ย = 3.96) ครูผูสอน สอนใหรูจักประหยัดและใชวัสดุอุปกรณอยางมีคา (คาเฉลี่ย = 3.94) ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.81 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใชประโยชน ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ การเขาฝกอบรมอาชีพทําใหทานมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน เชน มีความรับผิดชอบ ขยัน เห็นคุณคาของวัสดุอุปกรณ เปนตน (คาเฉลี่ย = 3.89) แผนกที่ฝกอบรมสามารถนําไปประกอบอาชีพไดงาย (คาเฉลี่ย = 3.79) เมื่อฝกอบรมเสร็จ ทานสามารถเพิ่มรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว (คาเฉลี่ย = 3.74) ดานกิจกรรมทั่วไป พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.71 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานกิจกรรมทั่วไป ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ การจัดกิจกรรมดานกีฬาชวยใหทานไดรับความสนุกสนานและเชื่อมความสามัคคี (คาเฉลี่ย = 3.85) มีการจัดกิจกรรมทําความสะอาดอาคารสถานที่ฝกอบรม ที่พักอาศัย หองน้ําสุขา (คาเฉลี่ย = 3.75) ทางโครงการมีการประชุมปรึกษาหารือระหวางผูเขารับการฝกอบรมกับเจาหนาที่โครงการอยางเหมาะสม (คาเฉลี่ย = 3.54) ดานพัฒนาดานจิตใจ พบวา อยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.38 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานพัฒนาดานจิตใจในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ ทานสามารถนําความรูจากการฝกอบรมจริยธรรมไปปรับใชในการดํารงอาชีพ โดยมี (คาเฉลี่ย = 3.51) ทานสามารถนําความรูจากการฝกอบรมจริยธรรมไปปรับใชในการดํารง

Page 97: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

86

อาชีพ (คาเฉลี่ย = 3.42) นอกจากนั้นอยูใน ระดับปานกลาง ทานไดรับประโยชนจากกิจกรรมการพัฒนาจิตใจ เชน การนั่งสมาธิ การสวดมนต การฟงเทศน (คาเฉลี่ย = 3.22) ดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.70 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานการพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ การฝกอบรมเปนประโยชนอยางยิ่งในการเปดโอกาสใหผูดอยโอกาสทางการศึกษาไดมีวิชาชีพ/พัฒนาอาชีพที่ตนเองสนใจ (คาเฉลี่ย = 3.87) ทานไดรับประโชนจากการอบรมพัฒนาชีวิตในเรื่องเกี่ยวกับ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย การมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอเพื่อนรวมงาน (คาเฉลี่ย = 3.69) การอบรมมีผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพของทาน (คาเฉลี่ย = 3.55) ดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.65 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานการพัฒนาสงเสริมทักษะและประสบการณชีวิต ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ การจัดอบรมทักษะและประสบการณชีวิตในสังคม ทานไดรับความรูที่เปนประโยชนในการปรับใชกับชีวิตประจําวันของตัวทานเอง (คาเฉลี่ย = 3.72) ทานไดรับประโยชนจากการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนรวมฝกอบรมระหวางเขารับการฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.62) การจัดอบรมอาชีพควบคูคุณธรรมทําใหทานสามารถพัฒนาฝมือดานวิชาการอาชีพและคุณธรรมของตัวทานเอง (คาเฉลี่ย = 3.60) ดานผลผลิต พบวา ดานผลผลิตในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก (คาเฉลี่ย = 3.70) เมื่อพิจารณาภาพรายดาน พบวา ดานผลผลิตในทุกดานอยูในระดับคอนขางมาก เชนเดียวกันโดยเรียงลําดับเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังนี้คือ ดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.84) ดานคุณภาพชีวิต (คาเฉล่ีย = 3.66) ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ (คาเฉลี่ย = 3.56) ดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.84 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานความรูความชํานาญในอาชีพที่ฝกอบรม ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีเทคนิคและทักษะในอาชีพเพิ่มขึ้นจากเดิม (คาเฉลี่ย = 3.87) เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีความมั่นใจในอาชีพที่ฝกอบรมเพิ่มขึ้นจากเดิม (คาเฉล่ีย = 3.84) เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมีความรูความชํานาญเพิ่มขึ้นจากเดิม (คาเฉลี่ย = 3.82) ดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรมอาชีพ พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉล่ียเทากับ 3.56 เมื่อพิจารณาคาเฉล่ียดานประโยชนที่ไดรับจากการฝกอบรม ในแตละขอ

Page 98: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

87

พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจากโครงการฯ ทําใหเกิดความรูในวิชาชีพที่ฝกเพิ่มขึ้น (คาเฉลี่ย = 3.91) นอกจากการฝกอบรมอาชีพแลวทางโครงการยังอบรมความรูดานอื่น ๆ ที่เปนประโยชนตอการทํางานและการดํารงชีวิต เชน การฝกอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต การปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมทางสังคม เปนตน (คาเฉลี่ย = 3.61) เมื่อผานการฝกอบรม ไดรับการยอมรับจากบุคคลอื่น ๆ ดานความสามารถในวิชาชีพที่ฝกอบรม (คาเฉลี่ย = 3.53) และนอยที่สุด คือ ระดับปานกลาง เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจากโครงการฯ ทําใหทานมีรายไดเพิ่มขึ้น (คาเฉลี่ย = 3.19) ดานคุณภาพชีวิต พบวา อยูในระดับคอนขางมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.66 เมื่อพิจารณาคาเฉลี่ยดานคุณภาพชีวิต ในแตละขอ พบวา อยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกัน โดย 3 อันดับแรก คือ การเขารวมโครงการฯ สามารถนําหลักธรรมไปประโยชนใชกับชีวิตประจําวัน (คาเฉลี่ย = 3.78) การเขารวมโครงการฯ เพิ่มรายไดจากการประกอบอาชีพ ทําใหสามารถชวยเหลือครอบครัวได (คาเฉลี่ย = 3.65) การเขารวมโครงการฯ เพิ่มความสามารถในการปรับตัวเขากับส่ิงแวดลอมทางสังคมในการประกอบอาชีพและการดํารงชีวิต (คาเฉลี่ย = 3.55)

5.2 การอภิปรายผล ผลการศึกษาระดับประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา มีประเด็นสําคัญที่นํามาอภิปรายผลไดดังนี้ 5.2.1 ระดับประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพเด็กและเยาวชน โดยภาพรวม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.68 อยูในระดับ คอนขางมาก เมื่อพิจารณาในรายดาน พบวา ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชนในทุกดานอยูในระดับคอนขางมากเชนเดียวกันโดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยไดดังนี้คือ ดานผลผลิต ดานกระบวนการ ดานสภาพแวดลอม/ดานปจจัยนําเขา ซ่ึงไมสอดคลองกับผลการศึกษาของ กนิษฐา สุวัตธกุล (2541 : บทคัดยอ) ที่ประเมินผลการดําเนินงานโครงการฝกอบรมอาชีพ ของศูนยสงเคราะหและฝกอาชีพสตรีภาคกลาง และเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ ผลการศึกษา 1) การประเมินสภาพแวดลอม พบวา สภาพแวดลอมในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง 2) การประเมินปจจัยเบื้องตน พบวา ความพอเพียงของทรัพยากรดานตาง ๆ มีความพอเพียงในระดับปานกลาง 3) การประเมินกระบวนการ พบวา กระบวนการฝกอบรมอาชีพดานตาง ๆ มีความเหมาะสมในระดับปานกลาง 4) การประเมินผลผลิต พบวามีความเหมาะสมในระดับปานกลาง และ ศรี แสงศรีจันทร (2540 : บทคัดยอ) ศึกษาการประเมินการดําเนินงานของกลุมโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษาอําเภอเชียงคํา จังหวัดพะเยา ผลการศึกษาพบวา

Page 99: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

88

2) ดานปจจัยเบื้องตน ที่เอื้อตอการดําเนินงานในดานการบริหาร ดานบุคลากร ดานงบประมาณ และดานวัสดุอุปกรณ มีความพรอมในระดับปานกลางผลการประเมินต่ํากวาเกณฑการประเมินที่กําหนดไว 3) ดานกระบวนการดําเนินงาน กลุมโรงเรียนมีการปฏิบัติกิจกรรมตามบทบาทหนาที่อยูในระดับปานกลาง ผลการประเมินต่ํากวาเกณฑที่กําหนดไว และ 4) ดานผลการดําเนินงานของกลุมมีระดับความชวยเหลือซ่ึงกันและกันความสามารถในการระดมทรัพยากรทางการศึกษาที่จะพัฒนาบุคลากรและงานวิชาการ ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนอยูในระดับปานกลาง ผลการประเมินต่ํากวาเกณฑการประเมินที่กําหนด 5.2.2 ดานสภาพแวดลอม วัตถุประสงคโครงการ พบวา อยูในระดับคอนขางมาก และคาเฉลี่ยที่นอยที่สุดคือ ระดับปานกลาง แผนกที่เปดฝกอบรมตรงกับความตองการของทาน จากการศึกษา พบวา แผนกที่เปดอบรมยังมีนอย และเยาวชนตองการทางเลือกที่จะอบรมไปแลวสามารถที่จะนําไปใชในชีวิตประจําวันได การเปดแผนกที่อบรมใหตรงกับความตองการของเยาวชน การเปดอบรมครั้งตอไป ควรเปดแผนกที่หลากหลาย เชน ศิลป ชางซอมคอมพิวเตอร หรือ หลักสูตรชางอิเล็กทรอนิกส เพื่อที่วาจะไดเปนทางเลือกของเด็ก สอดคลองกับผลงานวิจัยของ พระธงชัย จูมแกว (2549 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง “การประเมินผลการอบรมโครงการคายคุณธรรมจริยธรรม (คายพุทธบุตร) : กรณีศึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเพชรถนอม เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร” ผลการศึกษาพบวา 2.1 ดานปจจัยนําเขา (Input) มีความเหมาะสมอยูในระดับดี เรียงลําดับความคิดเห็น ไดแก ส่ิงอํานวยความสะดวก สถานที่ และระยะเวลาการอบรม และไมสอดคลองกับผลงานวิจัยของ กนิษฐา สุวัตธกุล (2541 : บทคัดยอ) ศึกษาประเมินผลการดําเนินงานโครงการฝกอบรมอาชีพ ของศูนยสงเคราะหและฝกอาชีพสตรีภาคกลาง และเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ วิธีการประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพเปนการนําแบบจําลอง CIPP มาประยุกตใชในการประเมินผลผลการศึกษาพบวา 1) การประเมินสภาพแวดลอม สภาพแวดลอมในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับปานกลาง 5.2.3 การประเมินดานปจจยันําเขา พบวา ดานสิ่งอํานวยความสะดวกและสวัสดิการ อยูในระดับคอนขางมาก แตเปนคาเฉลี่ยที่นอยที่สุด เมื่อพิจารณารายขอพบวายังมีขอที่ตองปรับปรุงอยูในระดับปานกลาง คือ การใหบริการการรักษาพยาบาลยังมีจํานวนบุคคลากรไมเพียงพอตอจํานวนเด็กและเยาวชนควรเพิ่มจํานวนบุคคลากรใหเพียงพอ ไมสอดคลองกับผลงานวิจัยของ อนุสันต เทียนทอง (2540 : บทคัดยอ) ไดทําการศึกษาเรื่อง การประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพ : ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนยฝกอาชีพเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ครบ 36 พรรษา กรมประชาสังเคราะห โดยผูศึกษาไดนําแบบจําลอง CIPP มา

Page 100: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

89

ประยุกตใชในการศึกษา ซ่ึงผลการศึกษาพบวา 2) การประเมินปจจัยเบื้องตนหรือปจจัยนําเขา กลุมเจาหนาที่มีความเห็นวาปจจัยที่เอื้ออํานวยตอการปฏิบัติงานมีความพรอมและความเพียงพอในระดับเหมาะสมปานกลาง และงานวิจัยของ แอนนา อาษา (2542 : บทคัดยอ) ไดทําการประเมินผลโครงการฝกอบรมหลักสูตรวิทยากรฝกอบรม รุนที่ 32 ของสํานักฝกอบรม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ผลการศึกษาพบวาผลการประเมินดานปจจัยนําเขา ดานความสามารถและความเหมาะสมของวิทยากร ดานเจาหนาที่ที่เกี่ยวของมีความเหมาะสมมาก

5.2.4 การประเมินดานกระบวนการ พบวา ดานการพัฒนาดานจติใจมคีาเฉลี่ย อยูในระดับปานกลาง แตเปนคาเฉลี่ยที่นอยที่สุด เมื่อพิจารณารายขอพบวากิจกรรมการพัฒนาจิตใจ เชน การนั่งสมาธิ การสวดมนต การฟงเทศน มีคาเฉลี่ยอยูในระดับปานกลาง ควรจัดการบรรยายธรรมะจากพระนักเทศนที่มีช่ือเสียงเพื่อใหเด็กและเยาวชนมีความสนใจไมรูสึกเบื่อหนาย เชน ธรรมะเดลิเวอรี่ เปนตน ซ่ึงไมสอดคลองกับงานวิจัยของ ณัฐธพร เล็กเลิศศิริวงศ (2536 : 59 – 61) ศึกษาการประเมินผลโครงการฝกอบรมเตรียมอาจารยใหญโรงเรียนประถมศึกษาของสถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา ผลการศึกษาพบวา 3) ดานกระบวนการ การวางแผนการดําเนินการโครงการฝกอบรม การบรรยายของวิทยากร การใชสถานที่ในการฝกอบรมการประเมินผลการฝกอบรม มีปญหาอยูในระดับนอย สอดคลองกับงานวิจัยของ นลินรัตน วงษสุวรรณ (2536 : 78 – 80) ศึกษาวิจัยเร่ืองประสิทธิผลของโครงการอบรมภาษาอังกฤษระยะสั้นของศูนยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ : ศึกษาเฉพาะกรณี หลักสูตรอบรมครูภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษาตอนตนของป พ.ศ. 2535 ของจังหวัดสมุทรปราการ ผลการศึกษาพบวา 3) ดานกระบวนการ ความสามารถของวิทยากรในการอธิบายตอบขอซักถามและถายทอดความรูจัดอยูในระดับปานกลาง และงานวิจัยของ กนิษฐา สุวัตธกุล (2541 : บทคัดยอ) ศึกษาประเมินผลการดําเนินงานโครงการฝกอบรมอาชีพ ของศูนยสงเคราะหและฝกอาชีพสตรีภาคกลาง และเพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคในการดําเนินงานฝกอบรมอาชีพ วิธีการประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพเปนการนําแบบจําลอง CIPP มาประยุกตใชในการประเมินผล ผลการศึกษาพบวา 3) การประเมินกระบวนการ กระบวนการฝกอบรมอาชีพดานตาง ๆ มีความเหมาะสมในระดับปานกลาง

Page 101: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

90

5.3 ขอเสนอแนะ จากการศึกษาเรื่อง ประเมินผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ผูวิจัยขอเสนอแนะความคิดเห็นที่เปนขอปรับปรุง การแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน ศึกษากรณีศูนยฝกอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา ที่มีระดับความพึงพอใจในระดับปานกลาง ไดดังนี้ 1. ควรมีการศึกษาความตองการ ประเภทของอาชีพที่เยาวชนสนใจฝกอบรม 2. วิทยากรผูใหความรู ควรมีเพียงพอตอผูเขารับการฝกอบรมอาชีพ เพื่อผูอบรมจะไดมีการซักถามไดอยางชัดเจนและครบถวน 3. ควรจัดอาคารที่ใชในการฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ใหมีสภาพแวดลอมที่นาเรียนรู เชน สถานที่มีอากาศถายเทไดสะดวก อากาศปลอดโปรง และมีแสงไฟสวางเพียงพอ 4. ควรเพิ่มจํานวนหองน้ํา/สุขาใหเพียงพอและควรใหเยาวชนที่เขารับการฝกอบรมรูจักรักษาความสะอาดของหองน้ํา/สุขา 5. ควรปรับกิจกรรมการพัฒนาจิตใจเพื่อใหเปนที่นาสนใจสําหรับเด็กและเยาวชนมากขึ้น

Page 102: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

บรรณานุกรม กนิษฐา สุวัตธกุล. 2541. การประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพ : ศึกษาเฉพาะกรณี ศูนย

สงเคราะหและฝกอาชีพสตรีภาคกลาง. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. กิตตินันท อรรถบท. 2542. การศึกษาความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการของ

สุขาภิบาล : ศึกษาเฉพาะกรณี สุขาภิบาลบางปะหัน และสุขาภิบาลนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒน

บริหารศาสตร. กุสุมา เอมะศิริ. 2549 รายงานประเมินผลโครงการระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส และ

ระบบงานจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส. เอกสารอัดสําเนา. จําเนียร สุขหลาย และคณะ. 2544. แบบจําลอง CIPP ในรวมบทความทางการประเมินโครงการ

สมหวัง พิธิยานุวัฒน (บรรณาธิการ). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ณัฐธพร เล็กเลิศศิริวงศ. 2536. การประเมินผลโครงการฝกอบรมเตรียมอาจารยใหญโรงเรียน

ประถมศึกษาของสถาบันพัฒนาผูบริหารการศึกษา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยศิลปากร.

เทียน อัชกุล. 2536. ขอคิดในการพัฒนาฝมือแรงงาน ใน 1 ป กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. กองวิชาการและแผนงาน กรมพัฒนาฝมือแรงงาน.

นงเยาว ชมพูศรี. 2537. การประเมินผลการฝกอาชีพหลักสูตรเตรียมเขาทํางาน : กรณีศึกษาสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานกลาง กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

นภพล กาญจนกานนท. 2537. ประเมินผลโครงการสรางชีวิตใหมใหสตรีชนบท . กรมประชาสงเคราะห.

. 2538. การประยุกตแบบจําลอง CIPP เพื่อประเมินผลการฝกอบรมวิชาชีพใหแกหญิงโส เภณี : ศึกษา เฉพาะกรณีสถานสง เคราะหหญิงบ านนารีสวัสดิ์ . กรมประชาสงเคราะห.

. 2539. คูมือแนะแนวอาชีพ. กรมการจัดหางาน. . 2545. รายงานผลการศึกษาวิจัย เร่ือง ความสัมฤทธิ์ผลของการแนะแนวอาชีพอิสระ.

กรมการจัดหางาน.

Page 103: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

92

นลินรัตน วงษสุวรรณ. 2536. ประสิทธิผลของโครงการอบรมภาษาอังกฤษระยะสั้นของศูนยพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ : ศึกษาเฉพาะกรณีหลักสูตรอบรมภาษาอังกฤษในระดับมัธยมศึกษาตอนตน ป พ.ศ. 2535 จังหวัดสมุทรปราการ. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยเกริก.

นอย ศิริโชติ. 2524. เทคนิคการฝกอบรม. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร. นิศา ชูโต. 2538. การประเมินโครงการ. กรุงเทพมหานคร : พี เอ็น การพิมพ. บุญมี ภิญูศักดิ์. 2541. ประสิทธิผลโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาหมูบานในเขตชนบทยากจน

(กศ.พช.) : ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ประชุม รอดประเสริฐ. 2542. การบริหารโครงการ. กรุงเทพมหานคร : เนติกุลการพิมพ. ประไพศรี สุทธิกิติวรกุล. 2536. ประเมินผลโครงการสายสัมพันธ. กรมประชาสงเคราะห. ปุระชัย เปยมสมบูรณ. 2538. การวิจัยประเมินผล : หลักการและกระบวนการ. กรุงเทพมหานคร

: หจก. บีเจ เพลท โปรเซสเซอร. พระธงชัย จูมแกว. 2549. การประเมินผลการอบรมโครงการคุณธรรมจริยธรรม (คายพุทธบุตร)

: กรณีศึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 โรงเรียนเพชรถนอม เขตลาดพราว กรุงเทพมหานคร. ภาคนิพนธ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร.

พระวิรัต หนูแกว. 2549. การประเมินผลการดําเนินโครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูรอน วัดแหลมทราย อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. พระมหาทรงชัย สีจันทรอินทร. 2538. ประสิทธิผลของการบริหารโครงการพัฒนาของวัดสวน

แกว : ศึกษาเฉพาะกรณีโครงการรวมโพธิ์แกว (ชวยคนตกงาน). วิทยานิพนธปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกริก.

พระมหามาโนช ศึกษา. 2539. พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม : ศึกษาความคิดเห็นของพระสังฆาธิการตอการพัฒนาสังคมของ พระพะยอม กัลยาโณ. วิทยานิพนธสังคมสงเคราะหศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.

พระมหาสิงห สวัสดิ์ผล. 2542. การประเมินผลโครงการฝกอบรมหลักสูตรการพัฒนาจิตใหเกิดปญญาและสันติสุข. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

Page 104: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

93

เพชรา สงวนแสง. 2536. การประเมินผลหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น สาขาวิชาเครื่องยนตของโรงเรียนฝกอาชีพของกรุง เทพมหานคร . วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ภิญโญ สาธร. 2517. การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร : วัฒนาพาณิชย. เยาวดี คลังทอง. 2542. ประสิทธิผลการฝกอบรมของหลักสูตรพลทหารกองประจําการ : ศึกษา

กรณี กรมทหารอากาศโยธิน หนวยบัญชาการอากาศโยธิน. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

เยาวดี วิบูลยศรี. 2544. การประเมินโครงการ : แนวคิดและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

เยาวรัตน เรืองสาตรา. 2540. การประเมินผลการฝกอบรมหลักสูตรการจัดการฟารมโคนมโครงการพัฒนาการเลี้ยงโคนมในพื้นท่ีภาคกลางของประเทศไทย. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

ลักขณา สริวัฒน. 2543. การแนะแนวอาชีพเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พร้ินติ้ง เฮาส. วรรณา รัศมิฑัติ. 2535. การศึกษากระบวนการฝกอบรมพัฒนากร. วิทยานิพนธปริญญา

มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. วัชรี ทรัพยมี. 2523. การแนะแนวอาชีพ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ศิริชัย กาญจนวาสี. 2545. ทฤษฎีการประเมิน. กรุงเทพมหานคร : บริษัท เท็กซแอนดเจอรนัล

พับลิเคชั่น จํากัด. สมพงศ เกษมสิน. 2516. การบริหารงานบุคคลแผนใหม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. สมหวัง พิธิยานุวัฒน. 2544. รวมบทความทางการประเมินโครงการ. กรุงเทพมหานคร :

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. สวัสดิ์ สุวรรณอักษร. 2526. แนะแนวการศึกษาพัฒนาอาชีพและชีวิต. มิตรครู .26(25) มกราคม

2527. สุจิต ศิลารักษ. 2535. การศึกษาผูใหญ : ทฤษฎีและการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนา

พานิช. สําเนาว ขจรศิลป. 2529. การแนะแนวอาชีพในสถาบันอุดมศึกษา. นครปฐม : โรงพิมพ

มหาวิทยาลัยศิลปากร. สุขุม มูลเมือง. 2530. เทคนิคการประเมินผลโครงการ. กรุงเทพมหานคร : อักษรไทย.

Page 105: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

94

สุพัฒน สุกมลสันต และคณะ. 2544. แบบจําลอง CIPP ใน รวมบทความทางการประเมินโครงการ สมหวัง พิธิยานุวัฒน (บรรณาธิการ). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุรพล จันทราปตย. 2529. การเรียนรูและการสรางบรรยากาศในการฝกอบรม. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานสงเสริมการฝกอบรม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

สุรัตน ศรียันต. 2540. ปจจัยท่ีมีอิทธิพลตอความสําเร็จในการดําเนินโครงการปรับโครงสรางและระบบการผลิตการเกษตรของเกษตรกร : ศึกษาเฉพาะกรณีอําเภอน้ําเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุวาณี ดิเรกวัฒนะ. 2538. ทัศนคติของผูรับการฝกตอหลักสูตรเตรียมเขาทํางาน : ศึกษากรณีสถาบันพัฒนาฝมือแรงงานกลาง กรมพัฒนาฝมือแรงงาน. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

สุวิมล ติรกานันท. 2545. การประเมินโครงการ : แนวทางสูการปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : ศูนยสงเสริมวิชาการ.

เสนห โสดาวิชิต. 2543. ปจจัยท่ีมีผลตอประสิทธิผลในการดําเนินงานของกลุมเกษตรกร : ศึกษา กรณีกลุมทําสวนทุงคาวัด อําเภอละแม จังหวัดชุมพร . ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

เสาวนีย เกงตรง. 2533. เปรียบเทียบความตองการบริการแนะแนวอาชีพของนักเรียนในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายและนักเรียนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพในจังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

อนุสันต เทียนทอง. 2540. การประเมินผลโครงการฝกอบรมอาชีพ : ศึกษาเฉพาะกรณีศูนยฝกอาชีพเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ครบ 36 พรรษา กรมประชาสงเคราะห. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

อภิชาต พุทธบุญ. 2542. ความพึงพอใจของประชาชนตอการใหบริการดานงานสอบสวนของสถานีตํารวจภูธร อําเภอเมืองอุบลราชธานี. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร. อรอนงค ธัญญะวัน. 2539. การแนะแนวอาชีพ. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พร้ินติ้ง เฮาส. อําไพ อินทรประเสริฐ. 2533. การศึกษาความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรในสาํนกังาน

คณะกรรมการขาราชการครู. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อุทุมพร จามรมาน. 2533. คูมือการประเมินโครงการฝกอบรม. กรุงเทพมหานคร : หจก. ฟนนี่

พับบลิชช่ิง.

Page 106: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

95

แอนนา อาษา. 2542. การประเมินผลโครงการฝกอบรมหลักสูตรวิทยากรฝกอบรม รุนท่ี 32 ของสํานักฝกอบรม. ภาคนิพนธปริญญามหาบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร.

Alkin, Marvin C. 1969. Evaluation Theory Development” In Weiss, C. H. (ed.) Evaluating Action Programs : Reading in Social Action and Evaluation. Boston : Allyn & Bacon.

Beach, Dale S. 1970. Personnel : The Management of People at Work. 2th ed. New York : MacMillan Co.

Cronbach, Lee J. 1963. Course Improvement through Evaluation. Teachers College Record, 64, 672 – 683.

Flippo, Edwin B. 1966. Management : A Behavioral Approach. Boston : Allyn and Bacon. Harbison, Frederick A. and Myers, Charles A. 1964. Education Manpower and Economic

Growth : Strategies of Human Resource Development. New York : McGraw Hill Book Company.

Hoppock, Robert. 1976. “Occupational Information” : where to get it and how to use it in Career Education, Career Counselling and Career Development. New York : McGraw Hill Book Company.

Kirkpatrick, Donald L. 1959. Evaluting Training Program in American Society for Training and Development. Madison, Wisconsin PP. 21 – 26

Maslow, Abraham M. 1954 Motivation and Personality. New York : Harper & Brothers. Mercado, Cesar M. 1988. “Guide to Evaluation Training” UNDP/ASIA. and Pacific

Programme for Development Training and Communication Planning. 2 (Mimeographed).

Scriven, Michael S. 1967. “The Methodology of Evaluation” In Perspectives of Curriculum Evaluation (AERA Monograph Series on Curriculum Evaluation, No. 1). Chicago : Rand McNally Co.

Stake, Robert E. 1967. “The Countenance of Education Evaluation” Teacher College Record, 68. 523 – 540.

Stufflebeam, Daniel L. , et. Al. 1971. Educational Evaluation and Decision – Making. Itasca, Illinois : Peacock Publishing.

Page 107: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

96

Super, Donald E. 1957. The Psychology of Careers : An Introduction to Vocational Development. New York : Harper & Row.

Tyler, R. W. 1967. Perspectives of Curriculum Evaluation (AERA Monograph Series on Curriculum Evaluation, No. 1). Chicago : Rand McNally Co.

http://www2.djop.moj.to.th/ stat/upload_stat/4-4-8.xls : เด็กและเยาวชน (11มีนาคม พ.ศ. 2552).

Page 108: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

ภาคผนวก

Page 109: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

แบบสอบถาม

เรื่อง ประเมนิผลการใหบริการแนะแนวอาชีพของเด็กและเยาวชน : ศึกษากรณีศูนยฝกและอบรมเด็กและเยาวชนชายบานอุเบกขา

แบบสอบถามนี้ เปนแบบสอบถามเพื่อนําผลลัพธไปใชในการศึกษาวิจัยเทานั้น ฉะนั้นแลวคําตอบของทานถือเปนส่ิงที่มีคุณคา มีความสําคัญ และเปนประโยชนแกผูศึกษาเปนอยางยิ่งจึงใครขอไดโปรดตอบคําถามตามความเปนจริงมากที่สุด คําตอบของทานผูศึกษาจะเก็บเปนความลับ และถือเปนความอนุเคราะหที่ไดรับความรวมมือจากทาน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

คําชี้แจง 1. แบบสอบถามมีทั้งหมด 6 สวน 2. โปรดทําเครื่องหมาย ในชอง หรือในชองตาราง และเติมขอความลงในชองวาง

สวนที่ 1 ขอมูลท่ัวไป 1. อายุ.........................ป 2. ภูมิลําเนาเดิม จังหวัด.................................................... 3. ระดับการศึกษาที่จบสูงสุด ไมไดศึกษา ประถมศึกษา (ป.1 – ป.4) ประถมศึกษา (ป.5 – ป.6) มัธยมศึกษาตอนตน (ม.1 – ม.3) มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6) อ่ืน ๆ (ระบุ)......................................... 4. รายไดที่ทานไดรับกอนเขารับการฝกอบรมในโครงการ (ไมรวมคูสมรส) ไมมีรายได มีรายได - รายไดตอวัน...........................................บาท ทํางานประจํา - ตอเดือนประมาณ..................................บาท ทํางานชั่วคราว

ไมเพียงพอ เพียงพอ เหลือเก็บ

Page 110: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

99

5. เหตุผลในการเขารับการฝกอบรมอาชีพ เนื่องจาก (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) ไมมีงานทํา

ตองการฝกอาชีพเพื่อมีรายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว ตองการมีความรู ความชํานาญเพิ่มเติม ตองการฝกอาชีพเพื่อไปประกอบอาชีพเสริม อ่ืน ๆ (ระบุ)............................................................

6. ทานเคยเขาฝกอบรมอาชีพ (ตอบไดมากกวา 1 ขอ) การทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง การทํากวยเตี๋ยวราดหนาหมูหมัก การทําพวงกุญแจลูกปด การเพนทกระเปา การกัดลายกระจก การทําปายหินออน การเพนทรองเทาผาใบ อ่ืนๆ................................................................... 7. ขณะนี้ทานกําลังอบรมอาชีพ การทําทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง การทํากวยเตี๋ยวราดหนาหมูหมัก การทําพวงกุญแจลูกปด การเพนทกระเปา การกัดลายกระจก การทําปายหินออน การเพนทรองเทาผาใบ อ่ืนๆ.............................................................. 8. รายไดตอเดือน ที่ทานไดรับจากการเขารวมฝกอบรมอาชีพในโครงการ ไมเพียงพอ เพียงพอ เหลือเก็บ ตอเดือนประมาณ.................................บาท ไมมีรายได 9. หลังจากไดรับการแนะแนวอาชีพ ทานไดรับความรูและแนวคิดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น หรือไม

เพิ่ม ไมเพิ่ม เพราะ....................................................... 10. ทานคิดวาทานไดรับประโยชนจากการแนะแนวอาชีพมากนอยเพียงใด

ไดรับประโยชนมาก ไดรับประโยชนนอย เพราะ.................................................................................. ไมไดรับประโยชน

11. ส่ิงที่ทานไดจากการแนะแนวอาชีพอิสระ ตรงกับความคาดหวังหรือความตองการของทานหรือไม

ตรง ไมตรง เพราะ.......................................................

Page 111: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

100

สวนที่ 2 ขอมูลเก่ียวกับสภาพแวดลอม ระดับความคดิเห็น

ขอความ นอย คอน ขางนอย

ปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

วัตถุประสงคของโครงการ 1. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถแกปญหาสังคมได

2. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถลดปญหาการวางงานได

3. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สรางโอกาสใหผูดอยโอกาสในการทํางานได

4. การเขาฝกอบรมอาชีพในโครงการฯ สามารถสรางแรงงานที่มีคณุภาพควบคู คุณธรรมสูตลาดแรงงานได

5. ทานสามารถนําหลักธรรมที่ไดเรียนรู จากโครงการฯ ไปประยุกตในการดํารงชวีิตได

6. ทานมีความตองการฝกอบรมอาชีพ 7. การฝกอบรมอาชีพจะชวยใหทานมี อาชีพติดตัวและหางานงายขึ้น

8. ทานคาดหวังวา ทานจะนําวิชาชีพที ่ฝกอบรมไปประกอบอาชีพเล้ียงตนเองและ ครอบครัวได

9. แผนกทีเ่ปดฝกอบรมตรงกับความ ตองการของทาน

Page 112: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

101

สวนที่ 3 ขอมูลเก่ียวกับปจจัยนําเขา ระดับความคดิเห็น

ขอความ นอย คอน ขางนอย

ปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

ดานบุคลากร 1. ความเพยีงพอของครูผูสอนในแผนก แตละแผนก

2. ความรูความสามารถของครูผูสอนใน แผนกที่ใหการฝกอบรม

3. ครูผูสอนรับฟงความคิดเห็นของผูเขา รับการฝกอบรม และแกขอสงสัยแกผูฝกอบรมได

4. ครูผูสอนใหความยุติธรรมแกผูรับการ ฝกอบรม

5. ครูผูสอนมีวิธีการสอน/แนะนําดวย เทคนิควิธีที่เขาใจงายตอการเรียนรู

6. ครูผูสอนมีขั้นตอนในการฝกปฏิบัติชัดเจน

ดานสถานที่ 1. ความเหมาะสมของขนาดหองทีใ่ชในการอบรม

2. หองฝกอบรมมีแสงสวางพอเพยีง 3. ภายในหองฝกอบรมจัดวางสิ่งของเปนระเบียบเรยีบรอย

4. หองที่ทําการฝกอบรมกวางขวางอากาศถายเทไดสะดวก เหมาะทีจ่ะทําการเรียนรู

Page 113: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

102

ระดับความคดิเห็น

ขอความ นอย คอน ขางนอย

ปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

ดานวัสดุอุปกรณ 1. วัสดุอุปกรณที่ใชในการฝกอบรม เพียงพอ 2. มีการเกบ็วัสดุอุปกรณอยางเปนระเบยีบ 3. มีการเบิกวัสดุอุปกรณเปนระบบ ดานสิง่อํานวยความสะดวกและสวัสดิการ 1. การใหบริการดานทีพ่ักอาศัยพอเพยีง

2. การใหบริการดานอาหารพอเพียง 3. การใหบริการดานการรักษาพยาบาล พอเพียง

4. หองน้ํา/สุขามีพอเพียง สวนที่ 4 ขอมูลเก่ียวกับกระบวนการ ระดับความคดิเห็น

ขอความ นอย คอน ขางนอย

ปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

ดานบุคลากร

1. วิธีการถายทอดความรูของครูผูสอน เหมาะสม 2. ครูผูสอนนําเทคนิคใหมๆ มาใชในการ สอนอยางเหมาะสม

Page 114: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

103

ระดับความคดิเห็น ขอความ นอย คอน

ขางนอยปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

3. ครูผูสอนมีการบรรยายควบคูไปกับ การใหผูฝกลงมือปฏิบัติจริงอยางเหมาะสม

4. ครูผูสอนเปดโอกาสใหซักถามพรอม ทั้งตอบขอสงสัยไดอยางละเอียดชัดเจนและครบถวน

5. ครูผูสอน สอนใหรูจกัประหยัดและใช วัสดุอุปกรณอยางมีคา

ดานการฝกอาชีพและการนําความรูไปใช ประโยชน 1. แผนกทีฝ่กอบรมสามารถนําไป ประกอบอาชพีไดงาย

2. เมื่อฝกอบรมเสร็จ ทานสามารถเพิ่ม รายไดเล้ียงตนเองและครอบครัว

3. การเขาฝกอบรมอาชีพทําใหทานมกีาร เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการทํางาน เชน มีความรับผิดชอบ ขยัน เห็นคุณคาของวัสดุอุปกรณ เปนตน มากขึน้

ดานกิจกรรมท่ัวไป 1. การจัดกจิกรรมดานกฬีาชวยใหทานได รับความสนุกสนานและเชื่อมความสามัคคี

2. ทางโครงการมีการประชุมปรึกษาหารือ ระหวางผูเขารับการฝกอบรมกับเจาหนาที ่โครงการอยางเหมาะสม

3. มีการจดักิจกรรมทําความสะอาดอาคาร สถานที่ฝกอบรม ที่พักอาศัย หองน้ํา/สุขา

Page 115: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

104

ระดับความคดิเห็น ขอความ นอย คอน

ขางนอยปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

ดานการพฒันาคุณภาพชีวิต

- การพัฒนาดานจิตใจ 1. ทานไดรับประโยชนจากกจิกรรมการ พัฒนาจิตใจ เชน การนั่งสมาธิ การสวดมนต การฟงเทศน

2. ทานสามารถนําความรูจากการฝกอบรม จริยธรรมไปปรับใชในการดาํรงชีวิต

3. เมื่อทานไดรับการพัฒนาดานจติใจจาก โครงการฯ ทานสามารถควบคุมอารมณ มีความ สุขุม รอบคอบ

- การพัฒนาสังคม อารมณ และสติปญญา 1. การอบรมมีผลตอการพัฒนาบุคลิกภาพ ของทาน

2. ทานไดรับประโยชนจากการอบรม พัฒนาชีวิตในเรื่องเกี่ยวกับความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย การมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอเพื่อน รวมงาน

3. การฝกอบรมเปนประโยชนอยางยิ่งใน การเปดโอกาสใหผูดอยโอกาสทางการศึกษา ไดมีวิชาชพี/พฒันาอาชีพที่ตนเองสนใจ

- การพัฒนาเสริมสรางทักษะและ ประสบการณชีวิต 1. การจัดอบรมทักษะและประสบการณชีวิตในสังคม ทานไดรับความรูที่เปนประโยชนในการปรับใชกับชีวิตประจําวันของตัวทานเอง

Page 116: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

105

ระดับความคดิเห็น

ขอความ นอย คอน ขางนอย

ปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

2. ทานไดรับประโยชนจากการแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็กบัเพื่อนรวมฝกอบรมระหวาง เขารับการฝกอบรม

3. การจัดอบรมอาชีพควบคูคุณธรรมทําให ทานสามารถพัฒนาฝมือดานวิชาการอาชีพและ คุณธรรมของตัวทานเอง

สวนที่ 5 ขอมูลเก่ียวกับผลผลิต ระดับความคดิเห็น

ขอความ นอย คอน ขางนอย

ปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

ดานความรูความชํานาญในอาชีพท่ีฝกอบรม 1. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานม ีความรูความชาํนาญเพิ่มขึ้นจากเดิม

2. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมี เทคนิคและทกัษะในอาชีพเพิ่มขึ้นจากเดิม

3. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมี ความมั่นใจในอาชีพที่ฝกอบรมเพิ่มขึ้นจากเดิม

4. เมื่อไดรับการฝกอบรม ทําใหทานมั่นใจ ในการประกอบอาชีพ

ดานประโยชนท่ีไดรับจากการฝกอบรมอาชพี 1. เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจากโครง การฯ ทําใหเกดิความรูในวิชาชีพที่ฝกเพิ่มขึ้น

Page 117: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

106

ระดับความคดิเห็น

ขอความ นอย คอน ขางนอย

ปานกลาง

คอน ขางมาก

มาก

2. เมื่อไดรับการฝกอบรมอาชีพจาก โครงการฯ ทําใหทานมีรายไดเพิ่มขึ้น

3. เมื่อผานการฝกอบรม ไดรับการยอมรับ จากบุคคลอื่น ๆ ดานความสามารถในวิชาชีพ ที่ฝกอบรม

4. นอกจากการฝกอบรมอาชีพแลวทาง โครงการยังอบรมความรูดานอื่น ๆ ที่เปน ประโยชนตอการทํางานและการดํารงชวีติ เชน การฝกอบรมพัฒนาคุณภาพชีวิต การปรับตัวเขากับสภาพแวดลอมทางสังคม เปนตน

ดานคณุภาพชวีิต 1. การเขารวมโครงการฯเพิ่มความสามารถ ในการปรับตวัเขากับสิ่งแวดลอมทางสังคมใน การประกอบอาชีพและการดาํรงชีวิต

2. การเขารวมโครงการฯ เพิ่มรายไดจาก การประกอบอาชีพ ทําใหสามารถชวยเหลือ ครอบครัวได

3. การเขารวมโครงการฯ สามารถนํา หลักธรรมไปประยุกตใชกบัชีวิตประจําวนั

สวนที่ 6 สภาพปญหาอุปสรรคและขอเสนอแนะในการฝกอบรมอาชีพ 1. ทานคิดวาปญหาและอุปสรรคในการฝกอบรมอาชีพ 1.1 ดานบุคลากร 1.2 ดานอาคารสถานที่

Page 118: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

107

1.3 ดานวัสดุอุปกรณ/เครื่องมือเครื่องใช 1.4 ดานสิ่งอํานวยความสะดวก 2. ทานมีขอเสนอแนะในการแกไขปรับปรุงในการฝกอบรมอาชีพ 2.1 ดานบุคลากร 2.2 ดานอาคารสถานที่ 2.3 ดานวัสดุอุปกรณ/เครื่องมือเครื่องใช 2.4 ดานสิ่งอํานวยความสะดวก

Page 119: ประเมินผลการให ิบรการแนะแนว ...library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2553/19688.pdf · 2012-01-24 · (2) ผลการวิเคราะห

ประวัติผูเขียน

ชื่อ-นามสกุล นางสาวสุกฤตา แคนยุกต ประวัติการศึกษา เศรษฐศาสตรบัณฑิต, ศ.บ.

มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2533 ตําแหนง นักวิชาการแรงงานชํานาญการ สถานที่ทํางาน กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน ท่ีอยูปจจุบัน 3/448 อาคาร C2 คอนโดเมืองทองธานี

ถนนปอบปูลา 5 ตําบลบางพูด อําเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี