ผลการดำเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย์...

15
ฉบับที31/2562 เรื่อง ผลการดาเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย์ ไตรมาส 1 ปี 2562 นายสมชาย เลิศลาภวศิน ผู้อานวยการอาวุโส ฝ่ายกลยุทธ์สถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย เปิดเผยผลการดาเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย์ ไตรมาส 1 ปี 2562 ว่าสินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชย์ ขยายตัวชะลอลงจากการชาระคืนหนี้ของธุรกิจขนาดใหญ่ ขณะที่สินเชื่ออุปโภคบริโภคขยายตัวดีต่อเนื่อง ในทุกพอร์ต คุณภาพสินเชื่อทรงตัวส่วนหนึ่งเป็นผลจากการบริหารคุณภาพพอร์ตสินเชื่อของธนาคาร พาณิชย์ ด้านกาไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากรายได้ดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นและรายได้ที่เป็นรายการพิเศษ รวมทั้ง ค่าใช้จ่ายการกันสารองที่ลดลง ทั้งนี้ ระบบธนาคารพาณิชย์มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยมีเงิน สารอง เงินกองทุน และสภาพคล่องอยู่ในระดับสูง สามารถรองรับการขยายตัวของสินเชื่อในระยะต่อไปได้ โดยมีรายละเอียดดังนีสินเชื่อระบบธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงจากร้อยละ 6.0 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ร้อยละ 5.6 โดยเป็นการชะลอตัวตามสินเชื่อธุรกิจจากการชาระคืนหนี้ของลูกหนี้บางรายในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ที่หันไประดมทุนผ่านตลาดตราสารหนี้มากขึ้น อย่างไรก็ดี สินเชื่ออุปโภคบริโภคยังขยายตัวดีในทุกพอร์ต สอดคล้องกับการบริโภคที่ขยายตัวดี และเป็นผลจากการแข่งขันที่สูงขึ้นในตลาดสินเชื่อรายย่อย รวมทั้ง มีการเร่งปล่อยสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยก่อนมาตรการ Loan To Value (LTV) มีผลบังคับใช้ สินเชื่อธุรกิจ (ร้อยละ 65.3 ของสินเชื่อรวม) ขยายตัวร้อยละ 3.4 โดย สินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ(ไม่รวมธุรกิจการเงิน) ขยายเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ร้อยละ 4.4 ซึ่งเป็น การขยายให้สินเชื่อในธุรกิจสาธารณูปโภค อสังหาริมทรัพย์ และก่อสร้าง ขณะที่มีการทยอยชาระคืนหนี้ของ ลูกหนี้ในธุรกิจบริการ สินเชื่อธุรกิจ SME ( ไม่รวมธุรกิจการเงิน) ขยายตัวชะลอลงจากร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ร้อยละ 1.5 จากการชาระคืนหนี้ของลูกหนี้ที่ใช้วงเงินสินเชื่อสูงบางรายในภาคอุตสาหกรรมการผลิต เครื่องดื่ม อย่างไรก็ดี สินเชื่อยังขยายตัวดีในธุรกิจสาธารณูปโภคหมวดการผลิตไฟฟ้า อสังหาริมทรัพย์ และ ก่อสร้าง ส่วนใหญ่จาก SME ที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ สินเชื่ออุปโภคบริโภค (ร้อยละ 34.7 ของสินเชื่อรวม) ขยายตัวสูงต่อเนื่องที่ร้อยละ 10.1 โดยเป็น การขยายตัวสูงในทุกพอร์ต โดยหลักจาก (1) สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยที่ยังคงขยายตัวสูงขึ้นจากการเร่งปล่อย สินเชื่อต่อเนื่องมาจากไตรมาสที่แล้ว ก่อนมาตรการ LTV มีผลบังคับใช้ในเดือนเมษายน 2562 (2) สินเชื่อรถยนต์ ที่เพิ่มขึ้นสอดคล้องกับยอดขายรถยนต์ และ (3) สินเชื่อส่วนบุคคลทุกประเภท ทั้งที่มีหลักประกัน อาทิ สินเชื่อบ้านแลกเงินและสินเชื่อรถแลกเงิน และสินเชื่อที่ไม่มีหลักประกัน

Upload: others

Post on 12-Sep-2019

2 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

ฉบับท่ี 31/2562

เรื่อง ผลการด าเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย์ ไตรมาส 1 ปี 2562

นายสมชาย เลิศลาภวศิน ผู้อ านวยการอาวุโส ฝ่ายกลยุทธ์สถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย

เปิดเผยผลการด าเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย์ ไตรมาส 1 ปี 2562 ว่าสินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงจากการช าระคืนหนี้ของธุรกิจขนาดใหญ่ ขณะที่สินเชื่ออุปโภคบริโภคขยายตัวดีต่อเนื่องในทุกพอร์ต คุณภาพสินเชื่อทรงตัวส่วนหนึ่งเป็นผลจากการบริหารคุณภาพพอร์ตสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ ด้านก าไรสุทธิเพิ่มขึ้นจากรายได้ดอกเบี้ยที่เพิ่มขึ้นและรายได้ที่เป็นรายการพิเศษ รวมทั้งค่าใช้จ่ายการกันส ารองที่ลดลง ทั้งนี้ ระบบธนาคารพาณิชย์มีความม่ันคงและมีเสถียรภาพโดยมีเงินส ารอง เงินกองทุน และสภาพคล่องอยู่ในระดับสูง สามารถรองรับการขยายตัวของสินเชื่อในระยะต่อไปได้ โดยมีรายละเอียดดังนี้

สินเชื่อระบบธนาคารพาณิชย์ขยายตัวชะลอลงจากร้อยละ 6.0 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ร้อยละ 5.6 โดยเป็นการชะลอตัวตามสินเชื่อธุรกิจจากการช าระคืนหนี้ของลูกหนี้บางรายในภาคอุตสาหกรรมและบริการ ที่หันไประดมทุนผ่านตลาดตราสารหนี้มากขึ้น อย่างไรก็ดี สินเชื่ออุปโภคบริโภคยังขยายตัวดีในทุกพอร์ต สอดคล้องกับการบริโภคที่ขยายตัวดี และเป็นผลจากการแข่งขันที่สูงขึ้นในตลาดสินเชื่อรายย่อย รวมทั้ง มีการเร่งปล่อยสินเชื่อเพ่ือที่อยู่อาศัยก่อนมาตรการ Loan To Value (LTV) มีผลบังคับใช้

สินเชื่อธุรกิจ (ร้อยละ 65.3 ของสินเชื่อรวม) ขยายตัวร้อยละ 3.4 โดยสินเชื่อธุรกิจขนาดใหญ่ (ไม่รวมธุรกิจการเงิน) ขยายเพ่ิมขึ้นเล็กน้อยจากร้อยละ 4.1 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ร้อยละ 4.4 ซึ่งเป็น การขยายให้สินเชื่อในธุรกิจสาธารณูปโภค อสังหาริมทรัพย์ และก่อสร้าง ขณะที่มีการทยอยช าระคืนหนี้ของลูกหนี้ในธุรกิจบริการ สินเชื่อธุรกิจ SME (ไม่รวมธุรกิจการเงิน) ขยายตัวชะลอลงจากร้อยละ 4.5 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ร้อยละ 1.5 จากการช าระคืนหนี้ของลูกหนี้ที่ ใช้วงเงินสินเชื่อสูงบางรายในภาคอุตสาหกรรมการผลิตเครื่องดื่ม อย่างไรก็ดี สินเชื่อยังขยายตัวดีในธุรกิจสาธารณูปโภคหมวดการผลิตไฟฟ้า อสังหาริมทรัพย์ และก่อสร้าง ส่วนใหญ่จาก SME ที่มขีนาดค่อนข้างใหญ่

สินเชื่ออุปโภคบริโภค (ร้อยละ 34.7 ของสินเชื่อรวม) ขยายตัวสูงต่อเนื่องที่ร้อยละ 10.1 โดยเป็นการขยายตัวสูงในทุกพอร์ต โดยหลักจาก (1) สินเชื่อเพ่ือที่อยู่อาศัยที่ยังคงขยายตัวสูงขึ้นจากการเร่งปล่อยสินเชื่อต่อเนื่องมาจากไตรมาสที่แล้ว ก่อนมาตรการ LTV มีผลบังคับใช้ในเดือนเมษายน 2562 (2) สินเชื่อรถยนต์ที่เพ่ิมขึ้นสอดคล้องกับยอดขายรถยนต์ และ (3) สินเชื่อส่วนบุคคลทุกประเภท ทั้งที่มีหลักประกัน อาทิ สินเชื่อบ้านแลกเงินและสินเชื่อรถแลกเงิน และสินเชื่อที่ไม่มีหลักประกัน

คุณภาพสินเชื่อของระบบธนาคารพาณิชย์ สัดส่วนสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (Non-Performing Loan: NPL) ต่อสินเชื่อรวมอยู่ที่ร้อยละ 2.94 ทรงตัวต่อเนื่องจากไตรมาสก่อน โดยยอดคงค้าง NPL อยู่ที่ 454 พันล้านบาท เพ่ิมขึ้นจากไตรมาสก่อน 10 พันล้านบาท ซึ่งเป็นการเพ่ิมขึ้นในอัตราที่ชะลอลงต่อเนื่อง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการปรับโครงสร้างหนี้ การตัดหนี้สูญ และขายหนี้ที่ยังอยู่ในระดับสูง ส าหรับสัดส่วนสินเชื่อที่กล่าวถึงเป็นพิเศษ (Special Mention: SM) เพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 2.42 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ร้อยละ 2.56 จากสินเชื่อธุรกิจ SME เป็นส าคัญ ทั้งนี้ ระบบธนาคารพาณิชย์มีเงินส ารองอยู่ในระดับสูงที่ 685 พันล้านบาท โดยเพ่ิมขึ้นจากไตรมาสก่อน 15.8 พันล้านบาท ส่งผลให้สัดส่วนเงินส ารองที่มีต่อเงินส ารอง พึงกันเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 195.0

ในไตรมาส 1 ปี 2562 ระบบธนาคารพาณิชย์มีก าไรสุทธิ 57.1 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 13.7 จากช่วงเดียวกันปีก่อน เป็นผลจากรายได้ดอกเบี้ยที่เพ่ิมขึ้นจากการเติบโตของสินเชื่อ และรายได้ที่เป็นรายการพิเศษ รวมทั้งค่าใช้จ่ายกันส ารองที่ลดลง แม้ว่ารายได้ค่าธรรมเนียมจะหดตัวต่อเนื่อง และค่าใช้จ่ายพนักงานจะสูงขึ้นจากการตั้งส ารองผลประโยชน์พนักงานตามกฎหมายแรงงานใหม่ ท าให้อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์เฉลี่ย (Return on Asset : ROA) เพ่ิมข้ึนจากร้อยละ 1.05 ในไตรมาสก่อน มาอยู่ที่ร้อยละ 1.20 ขณะที่อัตราส่วนรายได้ดอกเบี้ยสุทธิต่อสินทรัพย์ที่ก่อให้เกิดรายได้ดอกเบี้ยเฉลี่ย (Net Interest Margin : NIM) ทรงตัวที่ร้อยละ 2.82

ระบบธนาคารพาณิชย์มีเงินกองทุนทั้งสิ้น 2,567 พันล้านบาท ลดลงจากไตรมาสก่อน 2 พันล้านบาท โดยเป็นผลจากการจ่ายเงินปันผลจากก าไรสะสมของธนาคารพาณิชย์บางแห่ง ส่งผลให้อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง (BIS ratio) และอัตราส่วนเงินกองทุนชั้นที่ 1 ที่เป็นส่วนของเจ้าของ (Common Equity Tier 1 : CET1 ratio) ลดลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ร้อยละ 18.2 และ 15.7 ตามล าดับ

ธนาคารแห่งประเทศไทย 21 พฤษภาคม 2562

ข้อมูลเพ่ิมเติม: ทีมวิเคราะห์ฐานะและสินเชื่อ โทรศัพท์ 0 2283 5980 E-mail: FP&[email protected]

ในไตรมาสนี้ ระบบ ธพ. มีรายได้และค่าใช้จ่ายที่เป็นรายการพิเศษ ได้แก่ (1) การรับรู้รายได้ดอกเบี้ยของลูกหนี้ NPL จากการขายหลักประกนั

(2) ก าไรจากการขายเงินลงทุน และ (3) ค่าใช้จ่ายจากการตั้งส ารองผลประโยชน์พนักงานตามกฎหมายแรงงานใหม่ หากหักรายการพิเศษออก ก าไรสุทธิอยู่ที่ 54.2 พันล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.0 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ขณะที่อัตราส่วน ROA และ NIM อยู่ที่ร้อยละ 1.13 และ 2.74 ตามล าดับ

ผลการด าเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย์ไตรมาสท่ี 1 ปี 2562

ภาพรวมผลการด าเนินงานของระบบธนาคารพาณิชย ์ไตรมาส 1 ปี 2562

2/13

สินเช่ือระบบ ธพ. ขยายตวัชะลอลงจากการช าระคืนหน้ีของธรุกิจขนาดใหญ่ขณะท่ีภาพรวม NPL ยงัทรงตวั ส่วนหน่ึงเป็นผลจากการบริหารคณุภาพหน้ีเสีย

ก าไรสทุธิเพ่ิมขึน้จากรายได้ดอกเบีย้ท่ีเพ่ิมขึน้ตามการเติบโตของสินเช่ือ รายได้ท่ีเป็นรายการพิเศษ และค่าใช้จ่ายการกนัส ารองท่ีลดลง

ระบบธนาคารพาณิชยมี์ความมัน่คงจากเงินส ารอง เงินกองทุน และสภาพคล่องท่ีอยู่ในระดบัสงูเพียงพอในการสนับสนุนภาคเศรษฐกิจจริงอย่างต่อเน่ือง

การระดมทนุผา่นตราสารหน้ีเพ่ิมขึน้ โดยส่วนหน่ึงเพ่ือน ามาช าระคืนสินเช่ือธนาคารพาณิชย์

3/13

Real GDP

สินเช่ือธนาคารพาณิชย์

ตราสารหน้ี

21.4 20.9

6.0

12.4 14.0

58 59 60 61 62Q1

4.32.0

4.4 6.0 5.6

58 59 60 61 62Q13.1 3.4 4.0 4.1

58 59 60 61

อตัราการขยายตวัเทยีบระยะเดยีวกนัปีก่อน

4/13

สินเช่ือรวม สินเช่ือธรุกิจ สินเช่ือธรุกิจขนาดใหญ่* สินเช่ือธรุกิจ SME* สินเช่ืออปุโภคบริโภค

สินเช่ือระบบธนาคารพาณิชยข์ยายตวัชะลอลงจากการช าระคืนหน้ีของภาคธรุกิจขณะท่ีสินเช่ืออปุโภคบริโภคขยายตวัดีในทกุพอรต์

4.3

2.0

4.46.0 5.6

58 59 60 61 62Q1 -0.5 -1.0

0.0

4.1 4.4

58 59 60 61 62Q1

3.2

0.6

3.64.4

3.4

58 59 60 61 62Q1

5.7

1.8

5.74.5

1.5

58 59 60 61 62Q1

6.9

4.96.1

9.4

58 59 60 61 62Q1

10.1

(23.4%) (33.1%) (34.7%)

อตัราการขยายตวัเทยีบระยะเดยีวกนัปีก่อน / ตวัเลขในวงเลบ็ แสดงสดัส่วนต่อสนิเชื่อรวม / *ไมร่วมธุรกจิการเงนิ

(65.3%)

สินเช่ือธรุกิจชะลอลงจากการช าระคืนหน้ีของธรุกิจในภาคอตุสาหกรรมและบริการ แต่ยงัขยายตวัดีในธรุกิจภาคสาธารณูปโภค อสงัหาริมทรพัยแ์ละก่อสร้าง

5/13

อตุสาหกรรม(16.5%)

พาณิชย์(14.9%)

บริการ(7.1%)

อสงัหาริมทรพัย์(5.7%)

ก่อสร้าง(2.0%)

สาธารณูปโภค(7.7%)

ธรุกิจการเงิน(8.8%)

-1.3

-3.6

5.0 3.4

12.6

7.7

12.5

9.6 7.89.7

2.9

8.3

4.4

8.3

-10

-5

0

5

10

15

20

58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1

อตัราการขยายตวัเทยีบระยะเดยีวกนัปีก่อน / ตวัเลขในวงเลบ็ แสดงสดัส่วนต่อสนิเชื่อรวม สินเช่ือรวม

สินเช่ืออปุโภคบริโภคขยายตวัดีต่อเน่ืองในทกุพอรต์สินเช่ือ

6/13

ท่ีอยู่อาศยั (17.4%) รถยนต ์(8.3%) บตัรเครดิต (1.7%) ส่วนบคุคล (7.3%)

9.36.9

5.57.8

9.1

58 59 60 61 62Q1

0.5 1.4

8.4

12.6 11.4

58 59 60 61 62Q1

6.4 5.93.4

7.48.8

58 59 60 61 62Q1

9.1

3.85.7

10.1 11.2

58 59 60 61 62Q1

อตัราการขยายตวัเทยีบระยะเดยีวกนัปีก่อน / ตวัเลขในวงเลบ็ แสดงสดัส่วนต่อสนิเชื่อรวม

7/13

สินเช่ือรวม สินเช่ือธรุกิจ สินเช่ือธรุกิจขนาดใหญ่ สินเช่ือธรุกิจ SME สินเช่ืออปุโภคบริโภค

2.55 2.83 2.91 2.94 2.94

2.38 2.63 2.55 2.42 2.56

58 59 60 61 62Q1

2.55 2.88 3.01 3.05 3.01

2.032.40 2.29 2.12 2.35

58 59 60 61 62Q1

1.61 1.47 1.75

1.67

1.54

1.862.34

1.85

1.60

1.71

58 59 60 61 62Q1

3.504.35 4.37 4.46 4.60

2.20 2.472.77 2.66

3.05

58 59 60 61 62Q1

2.56 2.71 2.68 2.67 2.75

3.26 3.19 3.21 3.13 3.05

58 59 60 61 62Q1

ภาพรวม NPL ทรงตวั แต่ยงัต้องติดตามคณุภาพสินเช่ือธรุกิจ SME และสินเช่ืออปุโภคบริโภคท่ี NPL สงูขึน้

%NPL%SM

NPL ของ SMEs ยงัอยู่ในระดบัสงูและมีทิศทางเพ่ิมขึน้ในหลายธรุกิจส่วนหน่ึงมาจากปัญหาเชิงโครงสร้างในการแข่งขนัทางธรุกิจ

8/13

อตุสาหกรรม พาณิชย์ บริการ อสงัหาริมทรพัย์ ก่อสร้าง สาธารณูปโภค ธรุกิจการเงิน

Larg

eSM

Es

4.77 4.74

2.80 2.871.84 1.96 1.60

1.44 1.61 1.490.17 0.18 0.21 0.12

012345

6.28 6.58 6.63 6.953.83 4.19 4.02 3.94

6.77 7.76

1.20 1.11 0.13 0.3502468

10

58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1 58 59 60 61 62Q1

%NPL

NPL สินเช่ืออปุโภคบริโภคเพ่ิมขึน้ในทกุพอรต์สินเช่ือโดยเฉพาะพอรต์สินเช่ือท่ีอยู่อาศยัและรถยนต์

9/13

2.442.93 3.23 3.25 3.35

1.68 1.77 1.91 1.77 1.67

58 59 60 61 62Q1

3.993.74

2.61 2.34 2.67

2.16 2.15 1.93 1.70 1.80

58 59 60 61 62Q1

2.73 2.872.53 2.53 2.56

2.29 2.35 2.36 2.26 2.26

58 59 60 61 62Q1

%NPL %SM

2.31 1.791.60 1.66 1.71

7.80 7.43 7.15 7.11 6.90

58 59 60 61 62Q1

ท่ีอยู่อาศยั รถยนต์ บตัรเครดิต ส่วนบคุคล

เงินส ารองและเงินกองทุนอยู่ในระดบัสงู

10/13

เงินส ารอง เงินกองทุน

3837 36 34

160.0

176.0

193.2 195.0

120130140150160170180190200

0

10

20

30

40

50

60

Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1

2559 2560 2561 62

คา่ใชจ้า่ยกนัส ารอง %เงนิส ารองทีม่ตี่อเงนิส ารองพงึกนั [แกนขวา]

พนัลา้นบาท %

14.7 15.4 15.7 15.7

2.8 2.7 2.6 2.517.5 18.1 18.3 18.2

02468

101214161820

Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1

2559 2560 2561 62

CET1 Tier 2 BIS ratio

%

ก าไรสทุธิเพ่ิมขึน้จากรายได้ดอกเบีย้ท่ีเพ่ิมขึน้ตามการเติบโตของสินเช่ือรายได้ท่ีเป็นรายการพิเศษ และค่าใช้จ่ายกนัส ารองท่ีลดลง ส่งผลให้อตัราผลก าไรดีขึน้

11/13

6.0

9.4

-24.2

-6.3

-40-20020406080100120140

Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1

2558 2559 2560 2561 62

-4-202468

1012

รายไดด้อกเบีย้ คา่ใชจ้า่ยกนัส ารอง [แกนขวา]

%yoy%yoy

อตัราการขยายตวัของรายได้ดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายกนัส ารอง

98 95 104 50 49 57

1.2-1.2 5.8-1.8

21.913.7

-20

-10

0

10

20

30

-

50

100

150

Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1

2559 2560 2561 62ก าไรจากการด าเนินงาน ก าไรสุทธิ %yoy ก าไรจากการด าเนินงาน [แกนขวา] %yoy ก าไรสุทธ ิ[แกนขวา]

ผลก าไร

อตัราผลตอบแทน

2.66 2.80 2.821.07 1.05 1.20

7.86 7.46 8.62

024681012

0

1

2

3

4

5

Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q12558 2559 2560 2561 62

NIM ROA ROE [แกนขวา]

%ต่อสนิทรพัย,์ %ต่อสนิทรพัยท์ีก่่อใหเ้กดิรายไดด้อกเบี้ย

% ต่อส่วนของผูถ้อืหุน้

%yoyพนัลา้นบาท

รายได้ค่าธรรมเนียมหดตวัต่อเน่ือง จากรายได้การโอนเงินและรายได้ค่านายหน้าขณะท่ีค่าใช้จ่ายเก่ียวกบัพนักงานเพ่ิมขึน้

12/13

- รายได้ค่าธรรมเนียมลดลง จากการยกเลิกค่าธรรมเนียมการโอนเงินผ่านช่องทางดิจิทลั และรายได้ค่าธรรมเนียมค่านายหน้าท่ีลดลง

- ค่าใช้จ่ายเก่ียวกบัพนักงานเพ่ิมขึ้น จากการตัง้ส ารองผลประโยชน์พนักงานตามกฎหมายแรงงานใหม่

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

2559 2560 2561 62

-30-20-10

0102030405060

%YoY รายไดค้่าธรรมเนียม %YoY รายไดก้ารโอนเงนิ%YoY รายไดค้่านายหน้า

%yoy การขยายตวัของรายได้ค่าธรรมเนียม สดัส่วนรายได้ค่าธรรมเนียม ไตรมาส 1 ปี 2562

สดัสว่นต่อรายไดร้วมรายไดค้่าธรรมเนียมการโอนเงนิ 1.9%รายไดค้่านายหน้า 3.3%

41.241.5

15.2

8.1

-10

0

10

20

30

30

35

40

45

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2 Q3 Q4 Q1

2559 2560 2561 62

ค่าใช้จ่ายพนักงาน %yoy [แกนขวา]

พนัลา้นบาทค่าใช้จ่ายเก่ียวกบัพนักงาน

%YoY 2561 2562Q1 Q4 Q1

ค่าธรรมเนียม 8.2 -3.3 -6.1ค่านายหน้า 21.2 -16.3 -20.2โอนเงิน 8.8 -13.9 -21.4

รายได้ดอกเบีย้70%

อ่ืนๆ, 12% บตัร เชค็, 7%

ค่านายหน้า, 3%

โอนเงนิ, 2%

การใหส้นิเชือ่, 2%

อื่น ๆ, 3%หลกัทรพัย,์ 1%

รายได้ค่าธรรมเนียม

18%

%yoy

13/13

สินทรพัยส์ภาพคล่อง

3.3

6.05.6

3.03.9 3.8

95.3

98.396.9

80

85

90

95

100

0

1

2

3

4

5

6

7

Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1

2559 2560 2561 62สนิเชื่อ เงนิฝาก L/D ratio [แกนขวา]

%yoy %

3.65 3.67 3.90

174.0184.3

179.2

80

100

120

140

160

180

200

0

1

2

3

4

5

Q1 Q3 Q1 Q3 Q1 Q3 Q1

2559 2560 2561 62

สนิทรพัยส์ภาพคล่อง (High-quality Liquid Assets: HQLA) LCR [แกนขวา]

ลา้นลา้นบาท %

ระบบธนาคารพาณิชยมี์สภาพคล่องเพียงพอสนับสนุนการขยายตวัของสินเช่ือ

สดัส่วนสินเช่ือต่อเงินฝาก

อตัราการขยายตวัของสินเช่ือ เงินฝาก และสดัส่วน L/D สินทรพัยส์ภาพคล่อง และ Liquidity Coverage Ratio (LCR)

* ไมร่วม Interbank