april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน :...

12

Upload: others

Post on 05-Sep-2019

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย
Page 2: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

...บรรณาธิการ...

ที่ปรึกษา ดร.นงลักษณ ปานเกิดดี นายสุรพล วัฒนวงศ น.ส.พิศมัย เจนวนิชปญจกุล นางอัญชลี กมลรัตนกุล

ดร.อนุชา เล็กสกุลดิลก นายอนันต รุงพรทวีวัฒน บรรณาธิการ นางนิรมล เรียบรอยเจริญ บรรณาธิการวิทยาศาสตร

น.ส.ดารณี ประภาสะโนบล กองบรรณาธิการ น.ส.ยุพิน พุมไม น.ส.ปทมา ลิ่วเลิศมงคล น.ส.วรรณรัตน วุฒิสาร

ฝายจัดพิมพ/สมาชิก นางจันทนา เนียมวงษ นางนิภา พวงพลับ ฝายภาพ นายสิทธิชัย ศราวุธานุกูล นางปราณี

มหตัเดชกลุ นายพนม สขุนพกจิ นายประณต เลาหะพนัธ ุ ฝายศลิป นายเรวตั วบิลูยศริชิยั นายกอโชค บณัฑติมงคล นายอภชิาต ิ โผผนิ

สำนกังาน : สถาบนัวจิยัวทิยาศาสตรและเทคโนโลยแีหงประเทศไทย (วว.) เทคโนธาน ี35 หม ู3 ต.คลองหา อ.คลองหลวง จ.ปทมุธาน ี12120

โทร. 0 2577 9000, 0 2577 9022, 9024 โทรสาร 0 2577 9009, 0 2577 9025 E-mail: [email protected] http://www.tistr.or.th

กระทรวงวทิยาศาสตรและเทคโนโลย ี (วท.) http://www.most.go.th พมิพที ่ : สถาบนัวจิยัวทิยาศาสตรและเทคโนโลยแีหงประเทศไทย (วว.)

ปที่11/ฉบับที่ 04/เมษายน/2551

เทศกาลสงกรานตไดเวียนบรรจบมาอีกครั้ง...

การสืบสานประเพณีอันดีงามและความชุมฉ่ำของ

สายน้ำ...คงจะนำมาซึ่งความรมเย็น...พละกำลังความ

สดใส ใหแกพี่นองคนไทยโดยถวนหนา

นบัเปนความภาคภมูใิจของ วว. ทีไ่ดรวมกบัศนูย

สงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ หรือ ศ.ศ.ป. ในการ

ดำเนินงาน “โครงการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ

และบรรจุภัณฑผลิตภัณฑเซรามิก ศูนยศิลปาชีพ

บานทุงจี้ จ.ลำปาง และศูนยศิลปาชีพ บานกุด

นาขาม จ.สกลนคร” สามารถเพิ่มประสิทธิภาพ

กระบวนการผลติ ลดระยะเวลาการผลติลงไดกวา 50%

ซึ่งทั้งสองศูนยศิลปาชีพจัดตั้งขึ้นตามพระราช

ดำริของ สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินี

นาถ โดยมีพระประสงคใหชาวบานที่เปนเกษตรกรมี

งานทำหลงัการเกบ็เกีย่ว เพือ่ใหมรีายไดพอเพยีงตอการ

ดำรงชวีติและไมตองยายถิน่ฐานไปทำงานทีอ่ืน่ สำหรบั

รายละเอยีดของโครงการดงักลาวตดิตามไดในจดหมาย

ขาวฉบับนี้

หวังเปนอยางยิ่งวา ทานผูอานจะไดรับความรู

จาก จดหมายขาว วว. อยางเต็มเปยม พบกันใหมใน

ฉบับฉลองคลายวันสถาปนา วว. ครบรอบ 45 ปคะ

Page 3: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

นายแพทยพงษพิชญ วงศมณี ผูอำนวยการ โรงพยาบาล

หลมสัก กลาววา ปจจุบันประเทศไทยยังตองนำเขาเครื่องอัลตราโซนิกส

กายภาพบำบัดจากตางประเทศ ซึ่งมีราคาสูงประมาณ 80,000 บาทตอ

เครื่อง ทำใหไมสามารถกระจายเครื่องไปยังโรงพยาบาลที่มีงบประมาณ

นอยและตามพื้นที่หางไกลได ทำใหใหเกษตรกรในพื้นที่ชนบทขาด

โอกาสทีจ่ะไดรบัการรกัษา เนือ่งจากจำนวนเครือ่งมอืไมเพยีงพอกบัผปูวย

ประกอบกับการเดินทางมาแตละครั้งมีคาใชจายสูง ทำใหเกษตรกร

สวนใหญเลือกที่จะไมมารับการรักษา หรือใชวิธีที่ไมถูกตองในการรักษา

ทำใหกลามเนื้ออักเสบเรื้อรังเปนเวลานาน จากการที่โรงพยาบาลไดใช

เครื่องที่พัฒนาโดย วว.ทำใหปญหาดังกลาวลดลงและประสิทธิภาพใน

การรักษาดีขึ้นมาก

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผูอำนวยการ ฝายเทคโนโลยี

วัสดุ วว. กลาวถึงการทำงานของเครื่องอัลตราโซนิกสกายภาพบำบัดวา

จะทำงานโดยการสงคลื่นอัลตราซาวดที่มีความถี่สูงประมาณ 1 ลานเฮิรต

หรอื 1 เมกกะเฮริต ความเขมของคลืน่สงูสดุ 1.5 วตัตตอตารางเซนตเิมตร

ผานผิวหนังไปยังกลามเนื้อ สงผลใหของเหลวภายในเซลลเกิดการ

หมุนเวียนดีขึ้น บรรเทาอาการเจ็บปวดของผูปวย และทำใหกลามเนื้อที่

มีอาการอักเสบกลับคืนสูสภาพปกติไดรวดเร็วขึ้น

เครือ่งอลัตราโซนกิสกายภาพบำบดัที ่วว. พฒันาขึน้นีไ้ดผานการ

ทดสอบตามมาตรฐาน IEC601-1:1988 รวมกบัโรงเรยีนกายภาพบำบดั

ศิริราชพยาบาล โดยทำการทดสอบประสิทธิผลการใชงานในผูปวยเปน

ระยะเวลา 1 ป และไดรับอนุญาตการผลิตจากสำนักงานคณะกรรมการ

อาหารและยา (อย.) เรียบรอยแลว

วว. พรอมถายทอดเทคโนโลยีการผลิตเครื่องอัลตราโซนิกส

กายภาพบำบัด ใหแกผูประกอบการเพื่อนำไปผลิตในเชิงพาณิชย

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ไดที่ ฝายเทคโนโลยีวัสดุ วว.

โทร. 0 2579 1121-30 ตอ 2120 ในวันและเวลาราชการ หรือที่

E-mail : [email protected]

ดร.นงลักษณ ปานเกิดดี ผูวาการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) สงมอบเครื่องอัลตราโซนิกส

กายภาพบำบัดรุน UT 4702 ผลงานวิจัยและพัฒนาของ ฝายเทคโนโลยี

วสัด ุวว. ใหแก นายแพทยพงษพชิญ วงศมณ ี ผอ.โรงพยาบาลหลมสกั

จังหวัดเพชรบูรณ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2551 ณ โรงพยาบาลหลมสัก

จังหวัดเพชรบูรณ

ผูวาการ วว. กลาววา โรงพยาบาลหลมสักใหความสนใจเครื่อง

ดงักลาว และไดสัง่ซือ้จำนวน 31 เครือ่ง เพือ่นำไปแจกจายใหกบัโรงพยาบาล

ตำบลของอำเภอหลมสัก ที่เขารวม “โครงการ 2 บาท..รวมลงขันสราง

สรรคโรงพยาบาลตำบล” โดยเครื่องที่ วว. ผลิตนั้น มีราคาต่ำกวาเครื่อง

นำเขาจากตางประเทศถึง 6 เทา ทำใหโครงการของโรงพยาบาลหลมสัก

มีงบประมาณสำหรับจัดซื้อเครื่องมือแพทยประเภทอื่นๆ ที่จำเปนเพิ่ม

มากขึ้น และจากการติดตามผลการใชงานของเครื่องพบวา สามารถลด

อาการอักเสบของกลามเนื้อ และบำบัดอาการปวดเมื่อยใหแกคนไขได

เปนจำนวนมาก นอกจากนั้นยังชวยลดการเดินทางไปรักษา และลดการ

แออัดของผูปวยที่เขาไปใชบริการที่โรงพยาบาลจังหวัดได

“วว. ไดจัดทำโครงการสรางเครื่องอัลตราโซนิกสกายภาพบำบัด

เฉลิมพระเกียรติ เนื่องในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80

พรรษา 5 ธนัวาคม 2550 โดย วว. นอมเกลาฯ ถวายเครือ่งอลัทราโซนกิส

กายภาพบำบดั จำนวน 89 เครือ่ง เพือ่พระราชทานแกโรงพยาบาลหรอื

สถานบำบัดชุมชนที่อยูหางไกลตามพระราชประสงค

โครงการวิจัยและพัฒนาเครื่องอัลตราโซนิกสกายภาพบำบัด

วว. ริเริ่มมาตั้งแต พ.ศ.2547 และมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง เพื่อให

เหมาะสมกับการใชงานกายภาพบำบัดทั่วไป เนื่องจากเครื่องนี้ เปน

เครื่องมือพื้นฐานสำหรับนักกายภาพบำบัดในการนวดกลามเนื้อ เพื่อ

บรรเทาอาการเจ็บปวด และกระตุนใหกลามเนื้อที่เสื่อมสภาพ จากการ

เคลื่อนไหวในทาที่ซ้ำๆ เปนเวลานาน หรือผูปวยจากการผาตัดที่มีอาการ

ยึดของเสนเอ็นใหสามารถทำงานไดดีขึ้น เครื่องนี้จึงมีความจำเปนและ

เปนที่ตองการของสถานพยาบาลตางๆ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่ประชากร

ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและใชแรงงานมาก” ผูวาการ วว. กลาว

Page 4: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

สำรองที่นั่งและสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ไดที่ กลุมงานบริการ วว.

โทร. 0 2579 1121-30 ตอ 1219 ในวนัและเวลาราชการ หรอืที ่ E-mail : [email protected]

กลุมบริการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.)

จัดหลักสูตรฝกอบรมเพื่อปรับปรุงคุณภาพสินคาและกระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรม ดังนี้

หลักสูตร วัน/เวลา/สถานที่

1.การตีความและการวิเคราะหผลการสอบเทียบเครื่องมือ วันอังคารที่ 29 เมษายน 2551

ตามมาตรฐาน ISO 17025:2000 ขอ 10.5 ณ โรงแรมมารวยการเดน

2.การใชเทคนิค Statistical Process Control (SPC) วันอังคารที่ 6 พฤษภาคม 2551

สำหรบั Continuous improvement ในระบบการผลติ ณ โรงแรมมารวยการเดน

3.การประยุกต Total Quality Management วันศุกรที่ 23 พฤษภาคม 2551

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบคุณภาพ ISO 9000 ณ โรงแรมมารวยการเดน

4.การฝกทกัษะความสามารถดานการวดัตามมาตรฐาน วันอังคารที่ 20 พฤษภาคม 2551

ISO/IEC 17025 เพื่อสงเสริมคุณภาพสินคา ณ โรงแรมมารวยการเดน

พ.ต.ท. บรรยนิ ตัง้ภากรณ รฐัมนตรชีวยวาการกระทรวงพาณชิย

รวมเปนกยีรตแิละสกัขพียานในพธิลีงนามบนัทกึขอตกลง “โครงการพฒันา

รูปแบบผลิตภัณฑและบรรจุภัณฑผลิตภัณฑเซรามิก ศูนยศิลปาชีพบาน

ทุงจี้และศูนยศิลปาชีพบานกุดนาขาม” ระหวาง ดร.นงลักษณ ปานเกิดดี

ผวูาการ วว. กบั นายโชคศริ ิ รอดบญุพา ผอูำนวยการ ศนูยสงเสรมิศลิปาชพี

ระหวางประเทศ (ศ.ศ.ป.) เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2551 ณ หองประชุม 1

อาคารพระมิ่งมงคล ศ.ศ.ป. อ.บางไทร จ.พระนครศรีอยุธยา

ศนูยศลิปาชพีบานทงุจี ้ จ.ลำปาง และศนูยศลิปาชพีบานกดุนาขาม

จ.สกลนคร จัดตั้งข้ึนตามพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรม

ราชินีนาถ โดยมีพระประสงคใหชาวบานที่เปนเกษตรกรมีงานทำหลังการ

เกบ็เกีย่ว เพือ่ใหมรีายไดพอเพยีงตอการดำรงชวีติ และไมตองยายถิน่ฐานไป

ทำงานที่อื่น ศูนยศิลปาชีพทั้งสองแหง มีการผลิตผลิตภัณฑเซรามิกเปนหลัก

โดยสวนใหญจะเปนผลิตภัณฑประเภทของประดับตกแตงบาน จาน ชาม

เครื่องใชบนโตะอาหารและของประดับสวน ตั้งแตขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ

มีรูปแบบหลากหลาย เชน แจกัน อางบัว ดอกไมเซรามิก รูปปนสัตวตางๆ

ตุกตาเซรามิก เปนตน

ผลติภณัฑสวนมากเปนงานฝมอื ใชการตกแตงลวดลายโดยการเขยีน

ลายที่มีความประณีตมาก แสดงถึงเอกลักษณเฉพาะที่มีความโดดเดน สราง

ความภาคภูมิใจในความเปนผลิตภัณฑศิลปาชีพ สำหรับผลิตภัณฑที่เปนงาน

Master Piece อาทิ ผลิตภัณฑที่มีการเขียนลวดลายพระบรมฉายาลักษณ

การเขยีนลวดลายทีแ่สดงถงึศลิปวฒันธรรมไทย เปนตน ผลติภณัฑจดัทำโดย

ชางศลิปาชพีทีม่ฝีมอืและไดรบัการฝกฝนเปนอยางด ี โดยผลติภณัฑสวนหนึง่

สามารถจำหนายสรางรายไดมาสนับสนุนการดำเนินงานของศูนยศิลปาชีพ

และเพื่อเพิ่มคุณคาผลิตภัณฑเซรามิกยังมีความจำเปนที่ตองมีการพัฒนา

รูปแบบผลิตภัณฑใหมีความหลากหลาย ในการนำมาใชประโยชนในชีวิต

ประจำวัน แตยังคงเอกลักษณของความเปนศิลปาชีพที่มีคุณคาไว รวมถึง

อานตอหนา 5

Page 5: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

เมือ่วนัองัคารที ่4 มนีาคม 2551 ณ ศาลาดสุดิาลยั สวนจติรลดา

นายวฒุพิงศ ฉายแสง รฐัมนตรวีาการกระทรวงวทิยาศาสตรและ

เทคโนโลย ี ดร.นงลกัษณ ปานเกดิด ีผวูาการ วว. น.ส.พศิมยั เจน

วนชิปญจกลุ รองผวูาการวจิยัและพฒันา และดร.ชตุมิา เอีย่มโชติ

ชวลติ ผอ.ฝายเทคโนโลยวีสัด ุเขาเฝาฯ สมเดจ็พระเจาลกูเธอ เจาฟา

หญิง จุฬาภรณวลัยลักษณ อัครราชกุมารี นอมเกลาฯ ถวายเครื่อง

อัลตราโซนิกสกายภาพบำบัด จำนวน 89 เครื่อง รวมเฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเดจ็พระเจาอยหูวัฯ เนือ่งในมหามงคลพระชนมพรรษา 80

พรรษา เพื่อพระราชทานแกโรงพยาบาลหรือสถานบำบัดชุมชนที่อยู

หางไกลตามพระราชอธัยาศยั

การพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑสำหรับผลิตภัณฑเซรามิกใหมีความสวยงาม

มีเอกลักษณที่โดดเดน

นายโชคศริ ิ รอดบญุพา ผอูำนวยการ ศ.ศ.ป. กลาววา ศ.ศ.ป. เหน็

ถึงความสำคัญในการดำเนินงานใดๆ ที่จะสงผลตอการเพิ่มคุณคาและสราง

มูลคาเพิ่มในงานศิลปาชีพ และสงผลตอการสรางรายไดกลับคืนมาสูศูนย

ศิลปาชีพไดมากขึ้น ดังนั้นการดำเนินงานเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑเซรามิก เพื่อ

ศนูยศลิปาชพีจงึเปนงานที ่ศ.ศ.ป. ใหความสำคญั และมคีวามรวมมอืรวมกบั

วว. เพือ่พฒันารปูแบบผลติภณัฑและบรรจภุณัฑผลติภณัฑเซรามกิ ใหเปนตน

แบบสำหรับการผลิตงานของศูนยศิลปาชีพ เพื่อเพิ่มคุณคาแหงงานศิลปาชีพ

และเพิม่โอกาสในการสงเสรมิการตลาดสรางรายไดกลบัคนืมาสศูนูยศลิปาชพี

ตอไป

ดร.นงลักษณ ปานเกิดดี ผูวาการ วว. กลาววา ความรวมมือ

ดังกลาวมีระยะเวลาประมาณ 6-8 เดือน ทั้งนี้ วว. โดยฝายเทคโนโลยีวัสดุ

ไดดำเนนิโครงการพฒันารปูแบบผลติภณัฑและบรรจภุณัฑผลติภณัฑเซรามกิ

ใหแก ศูนยศิลปาชีพบานทุงจี้ และศูนยศิลปาชีพบานกุดนาขาม ภายใต

การสนับสนุนของ ศ.ศ.ป. โดยกอนหนานี้เมื่อป พ.ศ. 2550 ศ.ศ.ป. ได

รวมมือกับวว. ในการพัฒนากระบวนการผลิตเซรามิกที่ ศูนยศิลปาชีพบาน

ทงุจี้

จากการดำเนนิงาน วว. ไดถายทอดเทคนคิวเิคราะหควบคมุกระบวน

การผลติ ทำใหสามารถเพิม่ประสทิธภิาพกระบวนการผลติ โดยลดระยะเวลา

การผลิตลงไดกวา 50% และผลิตผลิตภัณฑเซรามิกที่มีคุณภาพสม่ำเสมอได

มาตรฐานสากล นอกจากนั้นยังเห็นถึงความจำเปนที่จะตองพัฒนารูปแบบ

ผลิตภัณฑใหมีความเปนเอกลักษณของตนเองและพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ

ใหมีรูปแบบที่โดดเดน จูงใจตอผูที่พบเห็น สามารถสรางมูลคาเพิ่มแกตัว

ผลิตภัณฑ และมีความแข็งแรงเพียงพอตอการปองกันความเสียหายที่จะเกิด

แกตัวผลิตภัณฑจากการขนสงได

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ไดที่ ฝายเทคโนโลยีวัสดุ วว.

โทร. 0 2579 1121-30 ตอ 2120 ในวันและเวลาราชการ หรือที่

E-mail : [email protected]

Page 6: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

นปจจบุนัสภาวะเศรษฐกจิของประเทศไทยประสบปญหา

คอนขางมาก ราคาสนิคาเพิม่ขึน้อยางรวดเรว็ ทีเ่หน็อยาง

เดนชดักค็อื ราคาเชือ้เพลงิ อนัไดแก น้ำมนัเบนซนิ น้ำมนั

ดีเซลและกาซหุงตม เปนตน ถึงแมวาจะมีการนำพลังงานทดแทน

ไดแก ไบโอดีเซล กาซโซฮอล กาซLPG และ NGV มาใชทดแทน

แลวกต็าม แตราคาเชือ้เพลงิทีใ่ชนัน้ นบัวนัจะมแีตเพิม่ทวคีณูมากขึน้

ซึ่งสงผลกระทบตอสภาพความเปนอยูของประชาชนในปจจุบัน

ดังนั้นเพื่อเปนการลดคาใชจาย จึงไดหันมาสนใจพลังงานทดแทน

ประเภทอืน่ๆ เชน กาซชวีภาพกนัมากขึน้

การผลติกาซชวีภาพในประเทศไทยนัน้ สวนใหญเปนการบำบดั

ของเสยีจากภาคอตุสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม หรอืฟารมปศสุตัว และ

บอกลบขยะมูลฝอย ซึ่งจะไดกาซมีเทนเปนผลพลอยไดและมีปริมาณ

คอนขางมาก สามารถนำไปใชทดแทนเชื้อเพลิง เชน น้ำมันเตา หรือ

ไฟฟา ไดในระดบัหนึง่

ปจจุบันมีการทดลองคนควา วิธีการผลิตกาซมีเทนจากเศษ

อาหารครัวเรือนหรือโรงเรียน เพื่อนำกาซมีเทนที่ไดมาใชทดแทน

กาซหงุตม เนือ่งจากเศษอาหารเปนขยะอนิทรยีทีย่อยสลายได โดย

สวนใหญเปนเศษผักและขาวรอยละ 75-85 ของปรมิาณทัง้หมด มี

คารบอนเปนองคประกอบสงูถงึรอยละ 40-50 แสดงวา เศษอาหารที่

ไดในแตละวนัสามารถนำมาหมกั ยอยสลายสารอนิทรยีใหเปนกาซ

มเีทนได

ดังนั้นกาซมีเทนที่ไดจึงถือเปนพลังงานฟรี ที่สามารถหาไดใน

แตละครัวเรือนหรือโรงเรียน ซึ่งเปนการพึ่งพาตนเองได โดยไมตอง

วติกกงัวลกบัราคาเชือ้เพลงิในปจจบุนั ทีส่ำคญัยงัเปนการชวยลดปญหา

ขยะมลูฝอยทีเ่กดิขึน้ในปจจบุนัดวย

ในอดตีมกีารเกบ็รวบรวมเศษอาหารเหลอืทิง้ไปเปนอาหารสตัว

จึงไมมีปญหาในการจัดการ แตในปจจุบันจากการเพิ่มขยายของเมือง

และประชากรทีเ่พิม่มากขึน้ ทำใหไมมกีารเกบ็รวบรวมและการจดัการ

ดังกลาว จำเปนตองนำเศษอาหารเหลือทิ้งเหลานี้ไปทิ้งรวมกับขยะ

มลูฝอยทีเ่กดิขึน้ ทำใหเกดิปญหาในการจดัการขยะมลูฝอย

การจดัการขยะมลูฝอยทีด่ำเนนิการในปจจบุนันัน้ จะทำโดยการ

นำไปกองกลางแจงหรือโดยการฝงกลบ ซึ่งการนำขยะที่มีเศษอาหาร

ปนอยูมาวางกองกลางแจงนั้น จะกอใหเกิดปญหาเรื่องน้ำชะขยะ

แมลงวันและกลิ่น ทำใหเกิดปญหาเรื่องชีวอนามัยตามมา

สถาบนัวจิยัวทิยาศาสตรและเทคโนโลยแีหงประเทศไทย (วว.)

โดย ฝายสิง่แวดลอม นเิวศวทิยาและพลงังาน ไดคนควาและพฒันา

“ตนแบบผลิตกาซชีวภาพจากเศษอาหาร” โดยไดนำเศษอาหารใน

ปริมาณ 5 ลิตรตอวัน มาผลิตกาซมีเทน โดยใชกระบวนการหมัก

ซึ่งไดออกแบบถังหมักขนาด 60 ลิตร ที่อัตราการสูบน้ำเสียเขาถัง

42 ลติรตอวนั และใชระยะเวลาเกบ็กกั 1.5 วนั

ในการทดลองสามารถผลิตกาซมีเทนไดในอัตรา 50-60 ลิตร

ตอวัน ที่รอยละกาซมีเทน 70-80 และน้ำเสียที่ผานการผลิตกาซแลว

พทัธนนัท นาถพนิจิพลังงานจากเศษอาหาร ...พลังงานจากเศษอาหาร ...

“เทคโนโลยีตนแบบผลิตกาซชีวภาพจากเศษอาหาร”

คนควาและพัฒนา โดย ฝายสิ่งแวดลอม นิเวศวิทยาและพลังงาน วว.

Page 7: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

จะมสีารอนิทรยีลดลงถงึ 90-98% ซึง่สามารถนำน้ำเสยีไปรดน้ำตนไม

ได เนื่องจากมีแรธาตุไนโตรเจน ซึ่งอยูในรูปของแอมโมเนียมที่พืช

สามารถนำไปใชประโยชนได จึงไมกอใหเกิดปญหาน้ำเสียตามมาแต

อยางใด

ทั้งนี้ในการสำรวจเศษอาหารตามสถานศึกษาหรือโรงเรียน

พบวา นกัเรยีน 1,000 คน จะมเีศษอาหารเกดิขึน้ในแตละวนัประมาณ

110 ลิตร ถานำมาคิดคำนวณคราวๆ ในปริมาณเศษอาหารดังกลาว

จะสามารถผลิตกาซมีเทนได 3,000 ลิตรตอวัน ซึ่งสามารถนำไปใช

ประโยชนชวยลดปริมาณกาซหุงตมที่ใชไดในระดับหนึ่ง

การใชประโยชนกาซมีเทนที่ผลิตไดนั้น สามารถนำไปใชได

หลายแนวทาง อาทเิชน เปนเชือ้เพลงิไดโดยตรง หรอืนำไปผลติกระแส

ไฟฟา เนื่องจากกาซมีเทน 1 ลูกบาศกเมตร สามารถใหความรอนได

เทียบเทากับน้ำมันเตาเกรด A 0.55 ลิตร หรือพลังงานไฟฟา 1.20

กิโลวัตต-ชั่วโมง หรือทดแทนกาซหุงตมได 0.46 กิโลกรัม ซึ่งสามารถ

นำไปเปนเชื้อเพลิงในการประกอบอาหารได 3 มื้อ (มื้อละ 4 คน)

ในเชงิเศรษฐศาสตร ถาคดิมลูคาของกาซมเีทนทีเ่กดิขึน้ โดยการนำกาซมเีทนทีไ่ดไปทดแทนพลงังานตางๆ พบวา พลงังานฟรทีีไ่ด

สามารถชวยประหยดัคาใชจายทีต่องสญูเสยีไปได ทัง้นีถ้าจะใหคมุทนุมากทีส่ดุนัน้ ควรมกีารจดัเกบ็วตัถดุบิทีจ่ะนำมาผลติกาซมเีทนใหได

มากทีส่ดุ เพือ่ลดตนทนุการสรางระบบผลติกาซมเีทนรอยละทีป่ระหยดัไดในแตละการใชประโยชนกาซมเีทนแสดงไดดงัตารางเปรยีบเทยีบ

ดงันี้

หรอืทดแทนน้ำมนัดเีซลได 0.59 ลติร หรอืน้ำมนัเบนซนิได 0.68 ลติร

หรอืสามารถเดนิเครือ่งยนตสนัดาปขนาด 2 แรงมา ไดในเวลา 1 ชัว่โมง

หรือใชเปนเชื้อเพลิงในตะเกียงกาซขนาด 60 วัตต ได 7 ชั่วโมง หรือ

ทดแทนฟนได 1.5 กโิลกรมั เปนตน

ทัง้นี ้วว. มคีวามพรอมในการถายทอดเทคโนโลย ีตนแบบผลิต

กาซชีวภาพจากเศษอาหาร โดยจะออกแบบระบบผลิตกาซมีเทนและ

นำตนแบบไปติดตั้ง ณ สถานศึกษา หรือสถานที่ที่ตองการหรือใหคำ

แนะนำปรึกษาในการเดินระบบเพื่อการผลิตกาซใหไดสูงสุด ทั้งนี้เพื่อ

นำไปสกูารจดัการขยะอนิทรยีอยางเปนรปูธรรม เพือ่กอใหเกดิภาพพจน

ในการรักษาสิ่งแวดลอม เชน โรงเรียนสีเขียว เปนตน ชวยลดปริมาณ

ขยะมูลฝอยและชวยลดสภาวะโลกรอนดวย และยังใหผลผลิตที่เปน

พลงังานไดอกีทางหนึง่ดวย

ผสูนใจสอบถามรายละเอยีดไดที ่ฝายสิง่แวดลอมนเิวศวทิยา

และพลงังาน วว. โทร. 0 2579 1121-30 ในวนัและเวลาราชการ

หรอืที ่E-mail : [email protected]

หมายเหตุ * มีมูลคาของเทคโนโลยีที่ใช ซึ่งมีการลงทุนคอนขางสูง

การนำกาซชวีภาพใชงาน ปรมิาณทดแทน มลูคาเชือ้เพลงิ มลูคากาซชวีภาพ มลูคา รอยละ

(บาท/หนวย) (บาท/ลบ.ม.) ทีป่ระหยดัได ทีป่ระหยดัได

(บาท)

1. แทนน้ำมนัเบนซนิ 0.68 ลติร 20 13.60 6.40 32

2. แทนน้ำมนัดเีซล 0.59 ลติร 16 9.44 6.56 41

3. แทนกาซหงุตม 0.46 กก. 17 7.82 9.18 54

4. ผลติไฟฟาดวยเครือ่งยนต* 2.086 หนวย 2.3 4.80 - -

5. แทนน้ำมนัเตา 0.52 ลติร 9 4.70 4.30 48

6. ทำความเยน็* 1.7 ตัน 2.30 3.91 - -

7. ผลติไฟฟาดวยกงัหนัน้ำ* 1.20 หนวย 2.30 2.76 - -

Page 8: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

นายวฒุพิงศ ฉายแสง รฐัมนตรวีาการกระทรวงวทิยาศาสตร

และเทคโนโลยี ตรวจเยี่ยมการดำเนินงาน พรอมมอบนโยบายดาน

การวิจัยและพัฒนา ใหแก สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง

ประเทศไทย (วว.) โดยมี นายประพัฒน โพธิวรคุณ ประธานคณะ

กรรมการบริหาร ดร.นงลักษณ ปานเกิดดี ผูวาการ วว. คณะผูบริหาร

และพนกังาน รวมตอนรบั เมือ่วนัที ่17 มนีาคม 2551

นายวฒุพิงศ ฉายแสง กลาววา มคีวามยนิดยีิง่ทีไ่ดมาเยีย่ม วว.

อยากให วว. นำงานวจิยัไปสปูระชาชนมากยิง่ขึน้ เนือ่งจากประเทศไทย

ยงัขาดองคความรทูางวทิยาศาสตรอยมูาก ขอให วว.ชวยทำวจิยัหลายๆ

ดาน เชน การใชประโยชนจาก “บกุ” เรงวจิยัและพฒันาสตูรอาหารเลีย้ง

ปลาทีเ่หมาะสมกบัปลาชนดิตางๆ เพือ่ใหปลาโตเรว็ ขายไดราคาดแีละ

มตีนทนุการผลติลดลง เพือ่ชวยเกษตรกรผเูลีย้งปลา รวมทัง้เรงดำเนนิ

โครงการ “เครือ่งกลัน่เชือ้เพลงิจากไม” เพือ่ใชเปนพลงังานทดแทนและ

เปนการรณรงคใหมกีารปลกูปามากขึน้

นอกจากนี้ยังไดกลาวเพิ่มเติมวา ในฐานะที่อยูในกระทรวง

วทิยาศาสตรและเทคโนโลย ีจะตองชวยกนัจดุกระแสใหสงัคมเหน็ความ

สำคญัของการนำวทิยาศาสตรและเทคโนโลยมีาใชในการพฒันาประเทศ

โดยเฉพาะ วว. เปนหนวยงานที่มีศักยภาพและมีความหลากหลายของ

ผลงานวจิยัและพฒันามัน่ใจวาจะมสีวนชวยสงัคมไดอกีมาก

ภายหลงัการมอบนโยบายดานการวจิยัและพฒันาแลว รฐัมนตรี

วาการกระทรวงวทิยาศาสตรฯ และคณะ ไดเยีย่มชมหองปฏบิตักิารศนูย

จลุนิทรยี พรอมทัง้ชมนทิรรศการแสดงผลงานวจิยัและพฒันา วว. อาทิ

งานสนบัสนนุโครงการหลวง งานวจิยัสนบัสนนุภาคอตุสาหกรรม ทัง้ดาน

อาหาร ดานสุขภาพ ดานพลังงาน งานบริการเพื่อภาคอุตสาหกรรม

งานวิจัยที่สนับสนุนโครงการ OTOP รวมทั้งการสาธิตนวัตกรรมและ

เทคโนโลยี เพื่อภาคอุตสาหกรรม เชน เครื่องผนึกสุญญากาศ เครื่อง

ทำแหงเยือกแข็ง เครื่องลางผลไม เครื่องมวนทองมวน ตลอดจน

นวัตกรรมเพื่อชุมชนชนบทที่ชวยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

ไดแก เทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรียคุณภาพสูง การพัฒนาบล็อก

ประสาน...วสัดกุอสรางทดแทนทรพัยากรไม ชวยอนรุกัษพลงังาน เปนตน

นอกจากนี ้นายวฒุพิงศ ฉายแสง ยงัไดรวมการแถลงขาวเปดตวั

“จำปชาง...พชืชนดิใหมของโลก” ซึง่ ดร.ปยะ เฉลมิกลิน่ ผเูชีย่วชาญ

พเิศษและรกัษาการ ผอ.ฝายเทคโนโลยกีารเกษตร พรอมคณะ ไดสำรวจ

พบในบริเวณพื้นที่ อ.แมแตง จ.เชียงใหม เมื่อป 2541 และไดรับการ

ยืนยันจาก หอพรรณไมไลเดน ประเทศเนเธอรแลนด และหอพรรณไม

ประเทศจีนวา เปนพืชชนิดใหมของโลก นอกจากนี้ยังไดรับตีพิมพใน

วารสารจำแนกพรรณไมนานาชาติ BLUMEA ของหอพรรณไมไลเดน

แหงประเทศเนเธอรแลนด เมือ่วนัที ่18 ธนัวาคม พ.ศ. 2550 ดวย

⌫⌫

Page 9: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

วว. โดย สำนักรับรองระบบคุณภาพ (สรร.) ขอแสดงความยินดีกับบริษัท ซีเอฟพี จำกัด และ บริษัท ไทยโพลทรีย กรุป จำกัด ที่ผานการ

รับรองในระบบการจัดการสิ่งแวดลอม ISO 14001:2004 เมื่อเดือนมีนาคม 2551 ซึ่งจะทำใหการดำเนินงานของบริษัท มีประสิทธิภาพและ

ประสทิธผิล ยิง่ขึน้

สนใจงานบรกิารของ สรร. สอบถามรายละเอยีด ไดที ่โทร. 0 25791121-30 ตอ 4203-4204 ในวนัและเวลาราชการ

จากการที่ ดร.ธีรภัทร ศรีนรคุตร นักวิชาการ ฝายเทคโนโลยี

ชีวภาพ วว. และ นางอัจฉรา ลิ่มศิลา นักวิจัย ศูนยวิจัยพืชไรระยอง

กระทรวงเกษตรและสหกรณ ไดรวมกนัดำเนนิโครงการวจิยับูรณาการและ

ประสบผลสำเรจ็สามารถพฒันามนัสำปะหลงัสายพนัธใุหม “ระยอง 9” ทีใ่ห

ทั้งผลผลิตตอไรและเปอรเซ็นตแปงสูงกวาสายพันธุรับรองเดิม (ระยอง 5)

อยางมากถงึรอยละ 67 และ 20 ตามลำดบั นอกจากนีย้งัใชเปนวตัถดุบิผลติ

เอทานอล ทีใ่หผลผลติสงูถงึ 200 ลติรตอตนัหวัมนัสด และนำไปประยกุตใช

เปนวัตถุดิบที่มีศักยภาพสูงในอุตสาหกรรมผลิตแปงมัน มันเสน มันอัดเม็ด

และอืน่ๆ ได

จากผลสำเรจ็ดงักลาวสงผลใหโครงการนีไ้ดรบัรางวลั 2 รางวลั ไดแก

รางวัล “ผลงานวิจัยดีเดน ประเภทงานวิจัยประยุกต ชื่อผลงาน ระยอง 9 :

มันสำปะหลังสายพันธุปริมาณแปงสูงเพื่อผลิตเอทานอล” ในงานประชุม

วิชาการ ประจำป ของกรมวิชาการเกษตร และลาสุดไดรับรางวัลชมเชย จาก

ผลงานประดิษฐคิดคน ประจำป 2551 เรื่อง มันสำปะหลังพันธุ ระยอง 9”

ในงานวนันกัประดษิฐ ประจำป 2551 ซึง่จดัโดยสภาวจิยัแหงชาต ิ

ดร.ธรีภทัร ศรนีรคตุร

นายวฒุพิงศ ฉายแสง รฐัมนตรวีาการกระทรวงวทิยาศาสตร

และเทคโนโลยี เปนประธานในพิธีมอบประกาศนียบัตรกำกับเครื่อง

ราชอิสริยาภรณแกขาราชการ และประกาศเกียรติคุณแกขาราชการ

พนกังาน และลกูจางดเีดน ประจำป 2550 เพือ่ยกยองและสรางขวญั

กำลงัใจแกบคุลากรของกระทรวงวทิยาศาสตรฯ เนือ่งในโอกาสวนัคลาย

วันสถาปนากระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ครบรอบ 29 ป เมื่อ

วันศุกรที่ 21 มีนาคม 2551 ณ หองประชุมชั้น 6 กรมวิทยาศาสตร

บริการ

ในโอกาสนี ้ พนกังาน วว. 3 ทาน ไดรบัคดัเลอืกใหเปนพนกังาน

ดเีดน ของกระทรวงวทิยาศาสตรฯ ดงันี้

* กลมุผบูรหิารระดบักลาง ไดแก ดร .ธีรภัทร ศรีนรคุตร

นกัวชิาการ 10 ฝายเทคโนโลยชีวีภาพ (ที1่ จากซาย)

* กลมุผบูรหิารระดบัตน ไดแก นางสุรพี แสงจันทรฉาย

หวัหนางานงบประมาณ (ที ่3 จากซาย)

* กลมุผปูฏบิตักิาร ไดแก นางอลิสรา คูประสิทธิ์

พนกังานปฏบิตักิาร 7 กองระบบสารสนเทศ (ที2่ จากซาย)

Page 10: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

ดร. นงลักษณ ปานเกิดดี ผูวาการ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (วว.) และอธิการบดีจาก 26 สถาบัน

อุดมศึกษาของรัฐ รวมลงนามขยายความรวมมือ “โครงการการสราง

ภาคีในการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาโท-เอก ระหวาง วว. กับสถาบัน

การศึกษา” ครอบคลุมทุกคณะในสาขาวิชาที่เกี่ยวของกับวิทยาศาสตร

และเทคโนโลยี เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2551 ณ โรงแรมโซฟเทล

เซ็นทารา แกรนด กรุงเทพฯ

“โครงการการสรางภาคใีนการผลติบณัฑติระดบัปรญิญาโท-

เอกฯ” ไดเริ่มดำเนินการเมื่อ พ.ศ. 2548 ซึ่ง วว. ไดลงนามความ

รวมมือกับ 26 สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ ใน 2 คณะ คือ วิทยาศาสตร

และเกษตรศาตรโดยมีวัตถุประสงคหลักในการสรางทรัพยากรบุคคล

ที่มีคุณภาพและตรงกับความตองการของภาคการผลิตทั้งในเชิง

ปริมาณและคุณภาพ ดวยการรับนักศึกษาเขามาทำวิทยานิพนธและ

มีนักวิชาการเฉพาะสาขาที่มีประสบการณในการวิจัยและมีความรู

ความเชี่ยวชาญของ วว. เปนผูใหคำปรึกษาแนะนำ

ทีผ่านมาโครงการฯ ประสบความสำเรจ็ดวยด ีดงัจะเหน็ไดจาก

จำนวนนกัศกึษาเขารวมโครงการทีเ่พิม่มากขึน้ทกุป ปจจบุนัมนีกัศกึษา

เขารวมในโครงการทัง้หมด 117 คน ซึง่เปนนกัศกึษาระดบัปรญิญาโท

101 คน ปรญิญาเอก 16 คน และมบีณัฑติทีส่ำเรจ็การศกึษาแลวจำนวน

ทัง้สิน้ 61 คน เปนมหาบณัฑติ 57 คน และดษุฎบีณัฑติ 4 คน

“นับวาเปนความสำเร็จรวมกันระหวาง วว. และเครือขาย

พันธมิตรทางการศึกษา 26 แหงทั่วประเทศ ที่รวมกันสรางบุคลากร

รนุใหมใหนำความรคูวามสามารถมาใชพฒันาประเทศไทย วว. มคีวาม

ยนิดเีปนอยางยิง่ทีม่สีวนรเิริม่สนบัสนนุ และผลกัดนัใหโครงการนีเ้กดิขึน้

อยางเปนรูปธรรม และถือเปนมิติใหมของสังคมไทยที่หนวยงานดาน

วิทยาศาสตรและสถาบันการศึกษาทั่วประเทศไดรวมมือกัน หวังเปน

อยางยิง่วาผลสำเรจ็จากการดำเนนิโครงการ จะนำมาซึง่ประโยชนสงูสดุ

ของภาคอตุสาหกรรมและประเทศไทยในทีส่ดุ” ผูวาการ วว. กลาว

สนใจเขารวมโครงการสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ไดที่

ศนูยประสานงานโครงการฯ โทร. 02 579 1121-30 ตอ 1298

(ดร.มนตร)ี 0 2577 9176 (ดร.โศรดา) ในวนัเวลาราชการ หรอื

ศกึษารายละเอยีดที ่www.tistr.or.th

¹Ñ กวทิยาศาสตรมหาวทิยาลยัแคลฟิอรเนยี เมอืงซานดเิอโก

สหรฐัอเมรกิา พบกญุแจสำคญัชวยไขปญหาหมอกควนัพษิ

ในอากาศ

อมิตาภา สินหา หัวหนาคณะวิจัย เปดเผยวา การศึกษา

ปฏกิริยิาเคมใีนบรรยากาศทำใหเขาใจถงึกระบวนการเกดิโอโซนในเขต

ชุมชนลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น ซึ่งความรูใหมที่ไดจะชวยใหนักวิทยาศาสตรมี

วิธีการควบคุมคุณภาพอากาศไดดีและเปนบริเวณกวาง หรืออาจจะ

ครอบคลมุไดทัว่โลก

นักวิจัยไดอธิบายกระบวนการเกิดโอโซนในอากาศวา โดย

ปกตแิลวเกดิจากการทีอ่นมุลูไฮดรอกซลิ (hydroxyl radical : OH) ที่

มาจากไอน้ำในชั้นบรรยากาศ ทำปฏิกิริยากับไฮโดรคารบอนจนได

สารประกอบทีจ่ะทำปฏกิริยิากบัไนตรกิออกไซด (nitric oxide : NO)

จนเกิดเปนไนโตรเจนไดออกไซด (nitrogen dioxide : NO2) และ

โอโซน (O3)

ผูจัดการออนไลน

นักวิจัยสันนิษฐานวา OH ที่เปนตนตอของการเกิดโอโซนใน

อากาศนัน้ นาจะมาจากการทีร่งัสอีลัตราไวโอเลต ทีอ่ยใูนชวงความยาว

คลืน่นอยกวา 320 นาโนเมตร ทำใหโอโซนในชัน้บรรยากาศแตกตวัออก

เปนอะตอมของออกซเิจนทีไ่มสเถยีร ซึง่อะตอมเหลานีจ้ะทำปฏกิริยิากบั

ไอน้ำในอากาศจนเกดิเปน OH จำนวนมาก

จากการทดลองในหองปฏบิตักิารทมีวจิยัพบวา ยงัมปีฏกิริยิา

อืน่ทีเ่ปนตวัการสำคญัทำใหเกดิ OH ในบรรยากาศได นัน่คอื ปฏกิริยิา

ระหวางไอน้ำในอากาศกบั NO2 ทีอ่ยใูนสถานะกระตนุ ซึง่เกดิขึน้เมือ่

NO2 ดดูกลนืแสงทีต่ามองเหน็ ในชวงความยาวคลืน่ระหวาง 450-

650 นาโนเมตร

“เมื่อเราสามารถระบุแหลงที่มาของ OH ในชั้นบรรยากาศได

จะทำใหเราเขาถึงวิธีการควบคุมและแกปญหาปริมาณโอโซนในชั้น

บรรยากาศเหนือชุมชนเมืองที่มากเกิน จนทำใหอากาศเปนพิษได

อยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น” อมิตาภา สินหา กลาวสรุป

รอบรูรอบโลกรอบรูรอบโลก

¹Ñ¡ÇÔ Ñ̈ÂÊËÃÑ°Ï ¤Œ¹¾º...¡Åä¡à˧à¡Ô´ËÁÍ¡¤Çѹã¹àÁ×ͧ

⌦⌦ ⌫

Page 11: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

ภาพขาว / กจิกรรมภาพขาว / กจิกรรม

6 มนีาคม 2551/วว.เทคโนธานี

ผูบริหารและพนักงานกลุมบริหาร วว. รวมกิจกรรมวิทยากร

สัญจร ใหความรูดานการจัดการความรู (Knowledge Management)

ประกอบดวย KM Overview และ Behavior Change

11 มนีาคม 2551 /วว.เทคโนธานี

น.ส.พศิมยั เจนวนชิปญจกลุ รองผวูาการวจิยัและพฒันา ใหการ

ตอนรบั พลอากาศโทสมนกึ พาลบีตัร ผบูญัชาการ ศนูยวทิยาศาสตร

และพัฒนาระบบอาวุธ กองทัพอากาศ และคณะ ในโอกาสเยี่ยมชม

หองปฏิบัติการฝายวิศวกรรม ศูนยพัฒนาและวิเคราะหสมบัติของวัสดุ

และฝายวิศวกรรม

19 มนีาคม 2551 /วว.เทคโนธานี

คณะครแูละนกัเรยีน โรงเรยีนบานเตยีงอาง จ.เชยีงใหม เยีย่มชม

หองปฏบิตักิารฝายเภสชัและผลติภณัฑธรรมชาต ิและศนูยจลุนิทรยี

28 มนีาคม 2551 /วว.เทคโนธานี

คณะคร ู โรงเรยีนวดัปทมุวนาราม เยีย่มชมหองปฏบิตักิารเพาะ

เลีย้งเนือ้เยือ่พชื ฝายเทคโนโลยกีารเกษตร

3 มนีาคม 2551 /วว.เทคโนธานี

คณะครูและนักเรียน โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี)

เยี่ยมชมหองปฏิบัติการฝายเภสัชและผลิตภัณฑธรรมชาติ และศูนย

จลุนิทรยี

4 มนีาคม 2551/วว.เทคโนธานี

ผบูรหิารและพนกังาน วว. รวมฟงเทศนาจาก พระมหาสมปอง

ตาลปตุโต เรือ่ง “ทำงานใหมคีวามสขุ...สนกุกบัธรรมะ”

Page 12: april 2008 - tistr.or.th fileสำนักงาน : สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร และเทคโนโลย ีแห งประเทศไทย

7 มนีาคม 2551/ วว. บางเขน

รายการ กาวไกลกบักรมวชิาการเกษตร Modern 9 TV บนัทกึ

เทปสมัภาษณ ดร.ธรีภทัร ศรนีรคตุร นกัวชิาการ ฝายเทคโนโลยชีวีภาพ

เรือ่ง “โรงงานผลติเอทานอล”

สือ่มวลชนสมัภาษณสือ่มวลชนสมัภาษณ

18 มนีาคม 2551 / โรงพยาบาลหลมสกั จงัหวดัเพชรบรูณ

วารสารวงการแพทย สัมภาษณ ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต

ผอ.ฝายเทคโนโลยวีสัด ุเรือ่ง “เครือ่งอลัตราโซนกิสกายภาพบำบดั”

28 มนีาคม 2551/ วว. เทคโนธานี

รายการเพือ่นคคูดิ เผยแพรทางสถานโีทรทศันไทยทวีสีชีอง 3 และสถานโีทรทศันแหงประเทศไทยชอง 11 สมัภาษณ ดร.ปยะ เฉลมิกลิน่

ผเูชีย่วชาญพเิศษและรกัษาการ ผอ. ฝายเทคโนโลยกีารเกษตร เรือ่ง “จำปชาง” สมัภาษณ รอ.ศรศีกัดิ ์ ตรงัวชัรกลุ รกัษาการ ผอ. ฝายเทคโนโลยี

อาหาร เรือ่ง “ขาวผงผสมเกลอืแร” และ สมัภาษณ นายสมัพนัธ ศรสีรุยิวงษ นกัวชิาการ ฝายเทคโนโลยอีาหาร เรือ่ง “เครือ่งผลติน้ำมะขามเขมขน”

18 มนีาคม 2551 / โรงพยาบาลหลมสกั จงัหวดัเพชรบรูณ

สถานีวิทยุ 921 กองบัญชาการทหารสูงสุด หนังสือพิมพกรุงเทพธุรกิจ ผูจัดการออนไลน และวารสาร DNA สัมภาษณ ดร.นงลักษณ

ปานเกดิด ี ผวูาการ วว. เรือ่ง “วว. สงมอบเครือ่งอลัตราโซนกิสกายภาพบำบดัใหแกโรงพยาบาลหลมสัก”