art & science, suvarnabhumi airport

16
SCIENCE & ARTS SUVARNABHUMI AIRPORT ดวยความรวมมือทางวิชาการของ เสรีรัตน ประสุตานนท ผูอำนวยการทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ บริษัท ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ลลิต แดงโกเมน วิศวกรอาวุโส ฝายสนามบินและ อาคาร สุชนม ชวลิตธำรง วิศวกรอาวุโส ฝายลำเลียง กระเปา หนังสือบันทึกความสำเร็จทาอากาศยานสุวรรณภูมิ หนังสือทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ของ บริษัท ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) SUVARNABHUMI AIRPORT Bangkok, Thailand POSITIONING ฉบับที่ 028 สุวรรณภูมิ LIGHT and SHADOW www.airportsuvarnabhumi.com www.airportthai.co.th www.aerothai.co.th www2.airportthai.co.th th.wikipedia.org www.scienceinaction.info/photo เครดิตขอมูลและภาพประกอบ ขอมูลและสถิติที่นาสนใจ ทาอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ-สุวรรณภูมิ ตั้งอยูในจังหวัดสมุทรปราการ เปดทำการในป 2549 พื้นที่ทาอากาศยาน 32 ตารางกิโลเมตร รองรับผูโดยสาร 58 ลานคนตอป เครื่องบินขึ้น-ลง 76 เที่ยวบินตอชั่วโมง สูงจากระดับน้ำทะเล 1.4 เมตร ทางวิ่งหรือรันเวย 2 รันเวย รันเวยยาว 4,000 - 7,700 เมตร พื้นผิวรันเวย ลาดยาง องคกร บุคคล หนังสือ วารสาร เว็บไซต สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ฝายสรางความตระหนักทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ISSN 1686-7157 ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 : พ.ศ. 2551 วิทยาศาสตร และศิลปะ ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ศูนยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสังคม www.nstda.or.th www.scienceinaction.info www.scicomm.info 03 9 771686 715007 ISSN 16867157

Upload: aey-somsawat

Post on 29-Mar-2016

227 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

Science in Action Journal by NSTDA

TRANSCRIPT

Page 1: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

SCIENCE& ARTSSUVARNABHUMIAIRPORT

ดวยความรวมมือทางวิชาการของ

เสรีรัตน ประสุตานนท ผูอำนวยการทาอากาศยานสุวรรณภูมิบริษัท ทาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ลลิต แดงโกเมน วิศวกรอาวุโส ฝายสนามบินและอาคารสุชนม ชวลิตธำรง วิศวกรอาวุโส ฝายลำเลียงกระเปาหนังสือบันทึกความสำเร็จทาอากาศยานสุวรรณภูมิหนังสือทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ของ บริษัททาอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)SUVARNABHUMI AIRPORT Bangkok, ThailandPOSITIONING ฉบับที่ 028 สุวรรณภูมิ LIGHT and SHADOW

www.airportsuvarnabhumi.comwww.airportthai.co.th www.aerothai.co.thwww2.airportthai.co.thth.wikipedia.orgwww.scienceinaction.info/photo

เครดิตขอมูลและภาพประกอบ

ขอมูลและสถิติที่นาสนใจทาอากาศยานนานาชาติกรุงเทพ-สุวรรณภูมิตั้งอยูในจังหวัดสมุทรปราการ เปดทำการในป 2549

พื้นที่ทาอากาศยาน 32 ตารางกิโลเมตรรองรับผูโดยสาร 58 ลานคนตอปเครื่องบินขึ้น-ลง 76 เที่ยวบินตอชั่วโมงสูงจากระดับน้ำทะเล 1.4 เมตรทางวิิ่งหรือรันเวย 2 รันเวย รันเวยยาว 4,000 - 7,700 เมตร พื้นผิวรันเวย ลาดยาง

องคกร บุคคล หนังสือ วารสาร

เว็บไซต

สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติกระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีฝายสรางความตระหนักทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ISSN 1686-7157

ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 : พ.ศ. 2551

วิทยา

ศาสต

ร แล

ะศิลป

ะ ท

าอาก

าศยา

นสุวร

รณภูม

ศูนยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสังคมwww.nstda.or.th

www.scienceinaction.infowww.scicomm.info

0 3

9 771686 715007

ISSN 16867157

Page 2: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

BKK

วิทยาศาสตรและศิลปะ

ทาอากาศยานสุวรรณภูมิทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เปนสถาปตยกรรมที่มีเอกลักษณเฉพาะตัว สถาปนิกเลือกใชกระจกและผาใยสังเคราะหกับ อาคารเทียบอากาศยาน ทำใหอาคารมีน้ำหนักเบา ประหยัดโครงสรางรับน้ำหนัก และรับแสงธรรมชาติชวยประหยัดพลังงานในการใหแสงสวางแกอาคารท่ีมีพ้ืนท่ีใชงานขนาดใหญมาก

เนื่องจากอาคารตั้งอยูในสภาพภูมิประเทศท่ีมีแสงและความรอนในอากาศสูง การออกแบบอาคารลักษณะน้ี และวัสดุท่ีเลือกใชตามปกติจะทำใหอาคารไดรับความรอนมากเกินไปทำใหส้ินเปลืองพลังงานในการปรับอากาศ แตดวยเทคโนโลยีการผลิตวัสดุสมัยใหมชวยทำใหลดปญหาท้ังหมดไดอยางดี

3

SCIENCE& ARTSSUVARNABHUMIAIRPORT

ARCHITECTURALENGINEERING &INFRASTRUCTURE

4-5 6-7 8-9

10-11 12-13 14-15 16-17

ทาอากาศยานสุวรรณภูมิ เปนสถาปตยกรรมที่นำเทคโนโลยีการกอสรางและเทคโนโลยีวัสดุมาสรางสรรคความงามและใชงานไดอยางลงตัว ทาอากาศยานแหงนี้จึงเปนแหลงเรียนรูการประยุกตใชหลักการทางฟสิกสและเทคโนโลยีวัสดุในการออกแบบเพื่อแกปญหาตางๆ ในการกอสราง โดยคำนึงถึงการนำศิลปะมาชวยสรางสรรค

การบูรณาการวิทยาศาสตรและศิลปะปรากฏใหเห็นตามจุดตางๆ ของทาอากาศยานสุวรรณภูมิ ดังเชน การออกแบบหลังคาผาใยสังเคราะหเพื่อสรางความงามที่แปลกใหมโดยใชเทคโนโลยีใหมๆ ในการผลิตวัสดุ ซึ่งการสรางอาคารหลังคาผาใยสังเคราะหชวยประหยัดพลังงานในการใหแสงสวางแกภายในอาคาร ทั้งยังชวยประหยัดโครงสรางที่รับน้ำหนักดวย และการออกแบบเสาหลักรับน้ำหนักหลังคาที่ประกอบดวยเสาตนเล็ก 4 ตน และการออกแบบโครงเหล็กทรงโคงที่รับน้ำหนักหลังคา โครงสรางดังกลาวนี้ใหทั้งความแข็งแรงและความงาม

การจัดทำสาระใน Science in Action ฉบับนี้ ไดรับการถายทอดความรูจากผูที่ทำงานคลุกคลีกับการกอสรางทาอากาศยานมาตั้งแตเริ่มโครงการ เรื่องราวที่นำเสนอจึงเปนแงมุมใหมที่ไมเคยมีการกลาวถึงหรือเลาขานสูสาธารณชนมากอน แมนวาอาจมีบางหัวขอที่เหมือนเคยมีการนำเสนอมาบางแลว แตเนื้อหาและรูปแบบการนำเสนอมีความแตกตางกัน และฝมือการถายภาพของคุณศรีรัฏฐชวยใหจุลสาร Science in Action ฉบับนี้มีภาพที่สวยงามประกอบการนำเสนอสาระที่เปนประโยชน บรรณาธิการขอขอบคุณผูบริหารทาอากาศยานสุวรรณภูมิอยางยิ่งที่ใหความรวมมือบุคลากรในการถายทอดขอมูลมาเปนสาระในจุลสารฉบับนี้ และการเอื้ออำนวยความสะดวกในการถายภาพของคุณศรีรัฏฐ

หวังวา ผูอานจะมองทาอากาศยานสุวรรณภูมิในภาพมิติที่เปนแหลงเรียนรูในการผสมผสานวิทยาศาสตรและศิลปะ และการประยุกตใชเทคโนโลยีดานวิศวกรรมศาสตรและเทคโนโลยีวัสดุในการแกปญหาตางๆ คะ

ที่ปรึกษา : ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ ดร.ศักรินทร ภูมิรัตน ดร.ชัชนาถ เทพธรานนท ดร.ทวีศักดิ์ กออนันตกูล ดร.มรกต ตันติเจริญ บรรณาธิการ : มนธิดา สีตะธนี กองบรรณาธิการ : ลลิต แดงโกเมน สุชนม ชวลิตธำรง ศรีรัฏฐ สมสวัสด์ิ สาวิตรี พันธุมณี ภาพถาย : ศรีรัฏฐ สมสวัสดิ์ จาพัจน เพ็ชรรัตน กราฟฟก : ศรีรัฏฐ สมสวัสดิ์ จาพัจน เพ็ชรรัตน กรรณิกา วุฒิภดากร จัดทำและเผยแพรโดย : ฝายสรางความตระหนักทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพื่อสังคม เจาของ : สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ กระทรวงวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เลขที่ 111 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120 โทรศัพท 0-2564-7000 ตอ 1402 โทรสาร 0-2564-7004 e-Mail [email protected] www.nstda.or.th, www.scienceinaction.info, www.scicomm.info, www.nunoi.net, www.atlasunit.info, www.myscientists.com Disclaimer : ขอความทรรศนะใดๆ ที่ปรากฏในหนังสือนี้เปนของผูเขียนหรือเจาของตนฉบับเดิมโดยเฉพาะ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ ไมจำเปนตองเห็นพองดวย สงวนลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ ออกแบบรูปเลม : บจ. แอกซิส กราฟฟค โทรศัพท 0-2640-1327 พิมพที่ : บจ. พลัสเพลส

ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 : พ.ศ. 2551

สารบัญ

จากบรรณาธิการ

contents

งานสถาปัตยกรรม งานวิศวกรรม และงานระบบต่างๆ

INTERNATIONALAIRPORTSสนามบินนานาชาติ

เกร็ดความรู : หลังคาผาใบของทาอากาศยานสุวรรณภูมิมีน้ำหนักตอ 1 ชวงเสาเพียง 2 ตัน หากใชกับวัสดุอื่นอาจจะมีน้ำหนักถึง 250 ตัน

สวนประกอบที่สำคัญ กอนการกอสราง - เสาหลัก โครงเหล็กถักขนาดใหญ

โครงเหล็กถัก ผาใยสังเคราะห ผนังกระจกไมมีกรอบ กระจกกรองแสงนิรภัย

18-19 20-21 22-23 24-25ระบบปรับอากาศ ทางวิ่ง และทางขับ ลานจอดอากาศยาน และระบบอื่นๆ หอบังคับการบิน

26-27 28-29 30การเดินทางขาออก - ขาเขา ทาอากาศยานนานาชาติอื่นๆ ทาอากาศยานนานาชาติฮองกง

Page 3: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

SUVARNABHUMIINTERNATIONAL AIRPORT31

1 2

28 85 4

1 หอบังคับการบินที่ลานจอด2 อาคารที่พักผูโดยสาร3 อาคารเทียบอากาศยาน4 ลานจอดอากาศยาน5 ทางขับหรือแท็กซี่เวย 6 ทางวิ่งหรือรันเวย7 หอบังคับการบิน8 อาคารที่จอดรถ9 สวนตอเติมในอนาคต

6

5

5

3

6 7

4

8

สวนประกอบที่สำคัญ

Page 4: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

PYLONทาอากาศยานสุวรรณภูมิมีเสาอาคารอยูบริเวณริมดานนอกอาคารเทานั้น เสาหลักของอาคารมีลักษณะเปนเสาเล็ก 4 ตน

การออกแบบเสาอาคารใหอยูริมอาคารเทานั้นทำใหบริเวณ ตรงกลางของอาคารเปนพื้นที่โลง แตอาคารที่มีหลังคาขนาด ใหญ น้ำหนักมาก จำเปนตองใชเสาขนาดใหญจึงจะสามารถ รับน้ำหนักทั้งหมดได แตโดยหลักการรับแรงของเสา เสาจะรับแรงไดดีที่บริเวณขอบ พื้นที่ตรงกลางของเสาจึงอาจทำใหกลวงหรือเปดโลงไวได การออกแบบลักษณะเสาใหประกอบดวยเสาตนเล็กๆ 4 ตน จึงทำใหเสามีลักษณะเฉพาะและสวยงาม ไมเปนเสาทึบ ซึ่งนับเปนการแกปญหาดวยความรูทางฟสิกส และศิลปะที่ผสมผสานกันไดอยางลงตัว

เสาหลัก

IMPROVEMENTGROUND

ทาอากาศยานสุวรรณภูมิเปนทาอากาศยานที่ตองสรางอยู บนดินออนคลายสนามบิน Kanzai ที่สรางจากการถมทะเล กอนการกอสรางจึงจำเปนตองมีการปรับปรุงคุณภาพดินดวยเทคนิคทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งทำโดยวิธี เรงการทรุดตัวของชั้นดินใหเกิดเร็วขึ้นดวยการขับน้ำออกจากชองระหวางมวลดินโดยใชน้ำหนักกดทับ เพื่อใหทางวิ่ง ทางขับ และลานจอดอากาศยานทรุดตัวนอยที่สุด หรือลดการทรุดตัวของผิวดินที่มีความแตกตางกัน

การปรับปรุงคุณภาพดินกอนการกอสราง :1. ปรับระดับดินใหเทากัน2. ถมทรายหนา 50 เซนติเมตร เพื่อเปนน้ำหนักกดลง คลายกับเมื่อเรากดฟองน้ำที่ชุมน้ำ จะเปนการเรงใหน้ำซึม ออกมาจากฟองน้ำ3. ฝงทอเพื่อระบายน้ำที่ถูกบีบออก โดยใชปมน้ำชวยดูดออก4. ทำซ้ำอีก 2 ครั้ง ทับลงบริเวณเดิม เมื่อทำขอ 4 เสร็จแลว จะไดชั้นทรายทั้งหมด 1.50 เมตร5. ถมหินคลุกความหนาครั้งที่ 1 หนาประมาณ 1.3 เมตร และถมครั้งที่ 2 ใหไดความหนารวม 3.80-4.30 เมตร

กอนการกอสราง

7

เกร็ดความรู : ถาปลอยใหพื้นที่ของสนามบินทรุดเองตามธรรมชาติ จนพื้นดินแนนและยุบตัวลงมาที่ 1.5 เมตร ตองใชเวลาในการรอนานถึง 30 ป

เกร็ดความรู : เสาเข็มของอาคารทำหนาที่รับน้ำหนักอาคารที่ถายจากเสาเพื่อไมใหอาคารทรุดลง หรือชะลอการทรุดตัวของอาคารโดยอาศัยหลักของแรงฝด (Friction) และวางเสาเข็มลงบนชั้นดินแข็ง จำนวน ความลึก และหนาตัด ของเสาเข็มแปรผันตามน้ำหนักของอาคาร อาคารขนาดเล็ก เชน บานใชเสาเข็มความลึกเฉลี่ย 6-10 เมตร ตึกสูงใชเสาเข็มความลึก 20 เมตรขึ้นไป สวนที่อาคารทาอากาศยานสุวรรณภูมินี้ใชเสาเข็มที่ความลึก 42-44 เมตร (ความลึกของเสาเข็มเหลานี้ขึ้นอยูกับขนาดของเสาเข็มเละสภาพดินดวยถาเปนดินแข็ง หรือมีชั้นหินอยูเชนในตางจังหวัด หรือที่เชิงเขาอาจใชความลึกนอยกวานี้)

ทอระบายน้ำ

ผากรองรองดานลาง

ทราย

หินคลุก

อาคารที่พักผูโดยสาร2

ขนาดของเสาเมื่อเทียบกับคน

Page 5: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

โครงเหล็กถักขนาดใหญ

SUPERTRUSS

อาคารทาอากาศยานสุวรรณภูมิสวนที่พักผูโดยสารคลุมดวยหลังคากระจกขนาดใหญที่กวางถึง 126 เมตรซึ่งมีน้ำหนักมหาศาล โครงเหล็กถักขนาดใหญทำหนาที่รับน้ำหนักทั้งหมดและถายลงสูเสาที่เรียงรายอยูเฉพาะรอบๆ อาคาร ทำใหไดพื้นที่โลงขนาดใหญที่สวยงามและนาประทับใจตรงกลาง

ในการออกแบบโครงเหล็กถักนี้อาจทำเปนทอนเดียวได แตโดยความรูทางฟสิกสเรื่องการรับ-ถายแรงผสมผสานกับความคิดสรางสรรคทางความงาม ทำใหไดโครงเหล็กถักรองรับหลังคาที่ประกอบดวย โครงเหล็กหนาตัดสามเหลี่ยมหันขึ้น (A) 2 อันที่แนวหัวเสา รับน้ำหนักจากโครงเหล็กหนาตัดสามเหลี่ยมหันลง (B) ขนาดใหญตรงกลางดัดโคงตรงทองตลอดแนว โครงเหล็กรองรับหลังคาที่ปรากฏจึงมีรูปทรงที่ออนชอยสวยงามคลายเรือสุวรรณหงสของไทย

98

A AB

รูปดานขาง

รูปตัด

BA

ขอสังเกต : รูปทรงของโครงเหล็ก A ลักษณะคลายชิ้นสวนของทรงกลม สวนรูปทรงของโครงเหล็ก B จะมีทองสอบเขาหากันคลายเรือ

เกร็ดความรู : 1. โครงสรางเหล็กยาว 210 เมตร ลึก 9 เมตร น้ำหนักสูงสุด 1,554 ตัน 2. Super Truss นี้มีน้ำหนักมาก การยกขึ้นตั้งบนเสาตองใชเวลายก จากพื้นถึงยอดเสาถึง 1 สัปดาห

รูป 3 มิติ

B

A

อาคารที่พักผูโดยสาร2

Page 6: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

ทาอากาศยานสุวรรณภูมิมีโครงสรางหลังคาและผนังอาคารเปนโครงเหล็กลักษณะพิเศษที่เรียกวา 5-Pin Truss ทำจากโครงเหล็กรูปครึ่งวงกลม 2 ชิ้นใหญประกอบกัน โดยยึดสวนบนใหติดกัน มีลักษณะคลายตัว X แตละโครงมีความกวาง 27 เมตร ยาว 40 เมตร สูง 19 เมตร และหนัก 167 ตัน รวมทั้งหมด 104 ชุด

5-Pin Truss เปนโครงสรางเหล็กถัก 2 ชิ้นใหญยึดติดกันและสามารถยึดติดกับโครงสรางอื่นไดตามหลักสมดุลทางวิศวกรรม โดยมีขอหมุน หรือ Pin เปนขอตอ 5 จุด คือ จุดบนสุดของเหล็กถัก และสวนขาของโครงเหล็กถัก 4 จุด ซึ่ง ชวยเพิ่มความแข็งแรงใหกับโครงสรางและสามารถหมุนไดเล็กนอยเพื่อชวยลดแรงบิด

นอกจากนี้ โครงสรางเหล็กถักสามารถรับแรงเฉือนที่อาจเกิดขึ้นจากสวนขา ซึ่งเปนจุดรองรับน้ำหนักของโครงสรางเหล็ก กระจก และผาใยสังเคราะห จึงติดตั้งแผนเหล็กหนา 25 มิลลิเมตร ยึดดวยเกลียวเหล็กเสนผานศูนยกลาง 32 มิลลิเมตร จำนวน 36 ตัว ตอ 1 จุดรองรับ โดยทางดานขางของโครงเหล็กถักจะใชโครงผนังกระจกและค้ำยันเพื่อชวยรับแรงที่เกิดจากน้ำหนักของผาใยสังเคราะหและแรงลม

โครงเหล็กถัก

11

อาคารเทียบอากาศยาน3

5 PIN TRUSS เกร็ดความรู : 5-Pin Truss ทั้งหมดจะสมดุลเมื่อประกอบเขาดวยกัน ยกเวน Truss ตัวสุดทายที่ยื่นออกไปจะตองมีการขึงสลิงเพื่อไมให Truss ตัวสุดทายนี้ลม อันเกิดจากการยื่นออกจากแนวจุดรับปลายสุดของอาคาร คลายการชะโงกหนาออกจากหนาตาง ยิ่งยื่นหนาออกไปมากจะตองใชมือจับขอบหนาตางไวไมใหตัวหลุดออกจากหนาตางลงไป

1

3

4

5

2

สลิง

สลิง

Page 7: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

FABR

IC M

EMBR

ANE

ผาใยสังเคราะห

MEMBRANEFABRIC

ผ้าใยสังเคราะห์สะท้อนแสงได้ดีช่วยกระจายแสงเพิ่มความสว่างแก่อาคาร

หลังคาผาใยสังเคราะหที่ใชปูหลังคาและผนังของอาคารทาอากาศยานสุวรรณภูมิ มีน้ำหนักเบาเมื่อเทียบกับวัสดุมุง หลังคาทั่วไป ทำใหประหยัดโครงสรางอาคารและประหยัด ระบบแสงสวาง เนื่องจากยอมใหแสงผานไดในชวงเวลา กลางวัน ปกติผาไมสามารถกันความรอนได แตดวยการ ออกแบบและผลิตผาขึ้นเปนพิเศษ ทำใหสามารถใชผากับ อาคารในสภาพภูมิอากาศรอนได และในเวลากลางคืนเมื่อ เปดไฟที่ออกแบบมาเฉพาะ ผานี้ยังสะทอนและกระจาย แสงสวางไดอยางดีอีกดวย หลังคาผานี้ประกอบดวยชั้นของ วัสดุ 3 ชั้น โดยแตละชั้นมีระยะหางกัน 80 เซนติเมตร ดังนี้

• ชั้นนอก ทำจากใยสังเคราะห เคลือบดวยสารเทฟลอน สารชนิดเดียวกับที่ใชเคลือบหมอหุงตม สารเทฟลอนชวยกันความรอนและเสียงไดดี ทนตอฝน ตานทานแรงลม และปองกันฝุนละอองเกาะผิวดานนอก จึงไมจำเปนตองทำความสะอาดบอยครั้ง

• ช้ันกลาง ทำจากพลาสติกโพลีคารบอเนตใส วัสดุแบบเดียว กับที่ทำเกราะกันกระสุน มีการเรียงตัวของโมเลกุลคลายกระจกแตไมแตก ชั้นนี้หนา 6 มิลลิเมตร ติดตั้งบนโครงตาขายลวดสลิงเหล็กปลอดสนิม วัสดุชั้นนี้ทนตอรังสีอุลตราไวโอเลต ปองกันความรอนและทนตอแรงลม นอกจากน้ียังชวยปองกัน เสียงรบกวนจากภายนอก โดยเฉพาะจากบริเวณลานจอด อากาศยาน

• ชั้นใน เปนผาใยแกวสังเคราะหพิเศษ โดยนำใยแกวมาหลอมที่อุณหภูมิ 1,500 องศาเซลเซียส ดึงเปนเสน แลวนำมาทอเปนผา ลักษณะเปนเสนใยสานกัน มีรูพรุนขนาดเล็ก ฉาบดวยสารเคลือบอลูมิเนียมและ LOW-E ชั้นนี้ชวยดูดซับ เสียง ทนกรด/ดาง ลดความรอนจากภายนอกอาคาร เก็บ รักษาความเย็นในอาคาร สามารถสะทอนแสงไดดีและมี ความสวยงาม

เกร็ดความรู : ใยแกวสังเคราะหพิเศษไมเหมือนกับฉนวนใยแกวที่ใชใน การกอสรางโดยทั่วไป ซึ่งใยแกวบางประเภทที่ใชเปนวัสดุกันความรอนเปนพิษตอมนุษยและสิ่งแวดลอม 1312

เสียง แสงและความรอน

โครงตาขายลวดสลิงเหล็กปลอดสนิม

โพลีคารบอเนต

ผาใยสังเคราะหเคลือบอลูมิเนียมและ LOW-E

ผาใยสังเคราะหเคลือบดวยเทฟลอน

อาคารเทียบอากาศยาน3

Page 8: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

โครงสรางของอาคารทาอากาศยานสุวรรณภูมิในสวนกระจกใชกระจกนิรภัยประกบแผน (Laminated) ชวยลดความรอน แตยอมใหแสงผานได แตผนังกระจกที่มีความสูงและพื้นที่ มาก น้ำหนักยอมมากดวย การออกแบบกรอบกระจกดังที่ พบเห็นในอาคารทั่วๆ ไปที่จะตองใชกรอบกระจกขนาดใหญ ทำใหบังทัศนียภาพโดยรอบ การออกแบบผนังกระจกของ อาคารทาอากาศยานสุวรรณภูมิจึงเลือกใชระบบที่จะหิ้ว ผนังกระจกทั้งหมดไว สังเกตไดจากที่เสามีตัวยึดกระจกและ สลิงดึงแขวนอยูภายใน แนวสลิงที่แขวนหอยจากโครงดาน บนและถายน้ำหนักลงที่เสาเหล็ก ระบบนี้จะถายน้ำหนัก ไปมาและเกิดสมดุล โดยทั้งหมดจะขยับไดเมื่อเกิดแรงลมมา ปะทะ ซึ่งเปนแนวความคิดของการออกแบบอาคารใหออน ตามธรรมชาติแทนที่จะตานธรรมชาติ และยังสรางความงาม ของเสนสายตางๆ ที่เกิดขึ้นในอาคาร

หากมองจากภายนอกอาคารจะเห็นผนังกระจกทั้งผืน โดยจะเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพแสง ตอนกลางวันกระจกจะสะทอนสภาพโดยรอบคลายกระจกเงา เมื่อแสงภายนอกเริ่มลดลงในตอนกลางคืน การเปดไฟอาคารจะเปดเผยใหเห็นระบบโครงสรางภายใน นับเปนการออกแบบที่คำนึง ถึงทั้งความงามในโครงสราง เสนสาย และยังคำนึงถึงชวง เวลาดวย ทั้งนี้เพราะอาคารสนามบินมีการใชงานทั้งวัน ตลอดยี่สิบสี่ชั่วโมง ซึ่งแตกตางจากอาคารประเภทอื่นๆ ที่มี การใชงานเฉพาะเวลาที่กำหนดเทานั้น

หากไปทาอากาศยานสุวรรณภูมิในชวงเวลาตางกันจะพบ กับสภาพอาคารที่เปลี่ยนไป หรือแมแตเมื่อเดินดูอาคารใน มุมที่ตางออกไป ผนังกระจกนี้จะใหภาพที่ตางกันในแตละ มุม เนื่องจากบางมุมจะเกิดการสะทอนกลับหมดของแสง เกิดภาพเหมือนกระจกเงา บางมุมแสงภายในอาคารที่สวาง กวาแสงภายนอกจะทำใหมองเห็นภายในอาคาร

FRAMELESSGLASS

15

ตัวอย่าง Material Update ซึ่งสามารถ Downloadได้ที่ www.materialconnexion.com/th/

ผนังกระจกไมมีกรอบ

เสาที่ยืดหยุนได

สลิงที่หอยจากดานบน

กระจก

เสารับผนังกระจก

การจับกระจก แขวนและถายแรงลงสูเสารับกระจก

อาคารที่พักผูโดยสาร2

Page 9: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

ผนังกระจกของทาอากาศยานสุวรรณภูมิสวนอาคารเทียบอากาศยานเปนกระจกชนิดประกบกัน 2 แผน แตละแผนมีความหนา 6 และ 8 มิลลิเมตร ซึ่งบริเวณกลางรอยประกบของกระจกจะใชจุดเซรามิก (Ceramic Dot) เพื่อชวยกรองแสง โดยมีการติดตั้งจุดเซรามิกที่มีขนาดตางๆ กัน ตามองศาของหลังคาโคงและดานของอาคารที่ตองรับแสงแดด เชน ดานที่รับแสงนอยจะใชจุดเซรามิกที่มีขนาดเล็กหรืออาจไมมีเลย วิธีนี้ทำใหลดความรอนที่จะเขาสูตัวอาคาร แตขณะเดียวกันก็ยังมองเห็นผานออกไปได และยอมใหแสงสวางผานเขามาได เปนการประหยัดพลังงานในการใหแสงสวางแกอาคาร และฉาบดวยสาร LOW-E แบบเดียวกับที่ใชกับกระจกรถยนตเพ่ือสะทอนความรอน และปองกันรังสียูวี (UV)

SAFTY GLASS

SAFTYGLASSกระจกกรองแสงนิรภัย

จุดเซรามิกCeramic Dot

สวนที่อยูต่ำหรือดานที่ไมรับแสง

กระจกนิรภัย

A

Aดานที่รับแสงนอย

Bดานที่รับแสงมาก

C

C

B

A

B

C

1716

อาคารเทียบอากาศยาน3

Page 10: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

AIR-

COND

ITION

ING S

YSTE

Mพื้นหินขัด

พื้นคอนกรีต

ทอน้ำเย็น

พื้นคอนกรีต

AIR-CONDITIONINGSYSTEM

อาคารพักผูโดยสารที่มีขนาดใหญและมีหลังคาเปน ชองแสง (Skylight) ที่รับแสงธรรมชาติในเวลากลางวัน และจะรับเอาความรอนเขามาดวย การที่อาคารมีปริมาตรอากาศขนาดใหญ ระบบปรับอากาศจะปรับอากาศใหไดอุณหภูมิตามที่ตองการในระดับความสูงเพียง 2-3 เมตร คือ เฉพาะบริเวณท่ีมีคนใชงานเทานั้น ระบบปรับอากาศสวนนี้จึงใชระบบที่ทำความเย็นจากพื้น ซ่ึงแตกตางจากอาคารทั่วๆ ไปที่พนลมเย็นจากฝาเพดาน ระบบปรับอากาศแบบนี้ทำใหไมตองสิ้นเปลืองกับการปรับอากาศที่อยูในระดับสูงขึ้นไป ซึ่งปกติอากาศรอนจะลอยขึ้นสูง และอากาศเย็นจะหนักและตกลงสูบริเวณที่ต่ำกวาอยูแลว การควบคุมอุณหภูมิจึงทำไดงาย และยังทำใหอาคารมีหลังคาที่โปรงและเบา ไมตองมีทอของระบบตางๆ เดินอยูดานบน

ระบบปรับอากาศท่ีใชมี 2 ระบบท่ีทำงานรวมกัน คือระบบพ้ืนหลอเย็น และระบบถายเทลมเย็นเพ่ือชวยปรับอากาศภายในอาคารใหมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 24 องศาเซลเซียส และมีความชื้นสัมพัทธรอยละ 60

การปรับอากาศระบบพื้นหลอเย็น ทำงานโดยการสงผาน น้ำเย็นไปตามทอน้ำเย็นที่ถูกฝงใตพื้นคอนกรีตทั่วอาคาร โดยทอจะสงผานความเย็นจากระดับพื้นในระดับ 2-3 เมตร ทำใหเหนือพื้นเย็นสบาย

การทำงานของระบบถายเทลมเย็นหรือระบบระบายความรอนใชน้ำเย็นในการหมุนเวียนและเปนตัวกลางในการถายเทความรอนระหวางเครื่องสงลมเย็นกับเครื่องทำน้ำเย็น โดยจะเห็นหัวจายลมเย็นเปนตูผิวตระแกรงโคงๆ วางอยูตามจุดตางๆ ทั่วสนามบิน

แนวความคิดในการปรับอากาศแบบนี้ใชงานไดดีรวมกับการทำงานของประตูแบบหมุน ซึ่งตางจากประตูแบบเปด-ปดทั่วไปที่จะถายเทอากาศออกนอกอาคารขณะเปดทำใหอากาศรอนดานบนถายเทลงมา การใชประตูระบบหมุนชวยใหการสูญเสียอากาศขณะเปดมีปริมาณเทาๆ กับการรับอากาศเขามา ปริมาตรของอากาศภายในอาคารจึงมีเทาเดิม ทำใหไมสิ้นเปลืองพลังงานในการปรับอากาศ

18

ระบบปรับอากาศ

2 3 อาคารที่พักผูโดยสาร และอาคารเทียบอากาศยาน

ประตูหมุนหัวจายลมเย็น

ขอสังเกต : 1. ลองแตะพื้นอาคารสนามบินจะพบวามีความเย็นแผออกมา2. หัวจายลมเย็นบางอันจะมีลำโพงซอนอยูดวย

Page 11: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

ทางวิ่งหรือรันเวยของทาอากาศยานเปนทางที่ตองรับน้ำหนักและแรงกระแทกของอากาศยานที่มีน้ำหนักถึง 200 ตันในขณะนำเครื่องลงจอด ทางวิ่งจึงตองมีความแข็งแรง โดยสามารถรับน้ำหนักไดเฉลี่ย 7.5 ตันตอตารางเมตร โครงสรางของทางวิ่งจึงมีความแข็งแรงทนทานมากกวาพื้นสวนอื่นๆ

โครงสรางของทางวิ่งประกอบดวยชั้นของวัสดุตางๆ คือ• ชั้นผิวทางรับความสึก หนา 4 เซนติเมตร เปนยางมะตอย• ชั้นผิวทาง หนา 6 เซนติเมตร เปนยางมะตอย• ชั้นพื้นทาง หนา 23 เซนติเมตร เปนยางมะตอย • ชั้นฐาน หนา 72 เซนติเมตร เปนหินคลุกผสมซีเมนต • ชั้นรองพื้นทาง หนา 80 เซนติเมตร เปนทรายจากการ ปรับปรุงคุณภาพดิน

ทางวิ่งหรือรันเวยทางขับหรือแท็กซี่เวยของทาอากาศยานมีความแข็งแรงรองลงมาจากทางวิ่งเนื่องจากเปนสวนที่เครื่องบินแลนผาน รับน้ำหนักเพียงระยะเวลาสั้นๆ พื้นผิวปูดวยยางมะตอยผสมพิเศษ ทนไอ และทนความรอนจากเครื่องยนตเจตไดดี

โครงสรางของทางขับประกอบดวยชั้นของวัสดุตางๆ คือ• ชั้นผิวทางรับความสึก หนา 4 เซนติเมตร เปนยางมะตอย• ชั้นผิวทาง หนา 6 เซนติเมตร เปนยางมะตอย • ชั้นพื้นทาง หนา 23 เซนติเมตร เปนยางมะตอย • ชั้นฐาน หนา 72 เซนติเมตร เปนหินคลุกผสมซีเมนต • ชั้นรองพื้นทาง หนา 80 เซนติเมตร เปนชั้นทราย

ทางขับหรือแท็กซี่เวย

ชั้นผิวทางรองรับความสึกชั้นผิวทางชั้นพื้นทาง

ชั้นรองพื้นทาง

ชั้นฐาน

ชั้นผิวทางรองรับความสึกชั้นผิวทางชั้นพื้นทาง

ชั้นรองพื้นทาง

ชั้นฐาน

RUNWAY TAXIWAY

32 2120

เกร็ดความรู : ขาวรอยราวของทางวิ่งหรือรันเวย ความจริงแลวเปนเรื่องปกติ เนื่องจากรอยราวเกิดขึ้นชวงปลายทางวิ่งที่จบดวยเนินดินที่มีความออนตัว ที่ออกแบบไวเพื่อรับอุบัติเหตุกรณีเครื่องบินลื่นไถลเกินทางวิ่ง โดยจะชวยชะลอความเร็วของเครื่องบิน รอยราวนี้เกิดจากความทรุดตัวที่ตางกันของพื้นทางวิ่งที่มีความแข็งแรงสูงกับชวงปลายที่มีความออนตัวนี้เอง การแกปญหาทำโดยการปรับระดับอยูเสมอ

ทางวิ่ง ทางขับ และลานจอดอากาศยาน6 5 4

Page 12: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

ระบบปองกันฟาผาดวยการชดเชยประจุของทาอากาศยานเปนระบบที่ตรงขามกับการใชงานของสายลอฟา เนื่องจากระบบไฟ 400 เฮิรตซ ท่ีใชในเคร่ืองบิน และระบบส่ือสารตางๆ อาจเกิดความเสียหายไดเมื่อเกิดฟาผาในบริเวณสนามบินถาใชสายลอฟาในสนามบิน การใชระบบปองกันฟาผาดวยการชดเชยประจุจะชวยปองกันไมใหเกิดฟาผาภายในบริเวณสนามบินโดยมีหลักการ คือ การชดเชยประจุ หรือเรียกอีกอยางวา ตัวผลักประจุ โดยมีการปรับคาความตางศักยใหพอดีและสมดุลกับทองฟา

อาคารโดยทั่วไปมีระบบตรวจจับควัน (Smoke Detector) หรือระบบตรวจจับความรอน (Heat Detector) เมื่อมีควันหรือความรอนในปริมาณที่กำหนดระบบตรวจจับควันจะสงสัญญาณเตือน และเปดระบบหัวฉีดดับเพลิงอัตโนมัติออกมาเพื่อดับเพลิง อาคารทาอากาศยานสุวรรณภูมินอกจากจะใชระบบตรวจจับควันแลวยังใชระบบตรวจจับลำแสง (Beam Detector) ใชในการยิงและรับแสงอินฟราเรด ในระดับความสูงที่สูงกวาแนวที่คนเดินในอาคารที่มีความสูงของเพดานมากๆ โดยมีหลักการ คือ เมื่อเกิดเพลิงไหมจะมีควัน ควันที่ลอยสูงขึ้นซึ่งจะบังแนวของแสงอินฟราเรด ระบบเตือนจะทำงาน และเปดระบบหัวฉีดดับเพลิงอัตโนมัติ

ระบบปองกันฟาผาดวยการชดเชยประจุ

ระบบปองกันเพลิงไหมและการตรวจจับ

เกร็ดความรู : • ถนนทั่วไปมีคา Slump = 6-8 เทดวย รถคอนกรีตธรรมดา• อาคารพาณิชยหรือบาน มีคา Slump = 11-12 เทโดยใชปมคอนกรีต

ลานจอดอากาศยาน หรือ หลุมจอด ประกอบดวย ลานจอดรอบบริเวณอาคารเทียบอากาศยาน ลานจอดระยะไกล ลานจอดประชิด เปนทางนำอากาศยานจากทางขับเขาสูลานจอด และเปนทางขับภายในบริเวณลานจอด

ลานจอดอากาศยานมีความแข็งแรงมาก เนื่องจากตองรับน้ำหนักเครื่องบินที่จอดอยูเปนเวลานาน จึงใชคอนกรีตที่ผสมสูตรพิเศษ มีคา Slump = 0 ขั้นตอนการเทจะใชแบบปม ไมได เนื่องจากคอนกรีตมีความหนืดสูง ตองใชรถบรรทุกขนาดใหญในการขนยายและเทคอนกรีต

โครงสรางของลานจอดอากาศยานประกอบดวยชั้นตางๆ คือ• ชั้นผิวทาง หนา 45 เซนติเมตร เปนคอนกรีต• ชั้นหินคลุกผสมซีเมนต หนา 30 เซนติเมตร• ชั้นหินพื้นทาง หนา 20 เซนติเมตร• ชั้นฐาน หนา 80 เซนติเมตร เปนทราย

APRONSลานจอดอากาศยาน

อินฟราเรด

พัดลมดูดควันที่เพดานจะทำงานเมื่อระบบตรวจจับควันได

ชั้นผิวทาง

ชั้นหินคลุกซีเมนต

ชั้นหินพื้นทาง

ชั้นฐาน

32 2322

++

--

--

++ + ++ +

++

++

รูปสนามบินสุวรรณภูมิเพิ่มเติมดูไดที่ www.scienceinaction.info/photo

Page 13: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

หอบังคับการบิน มีหนาที่ควบคุมและประสานงานใหนักบินควบคุมเครื่องบินขึ้นและลงทาอากาศยานไดอยางปลอดภัย

หอบังคับการบินของสนามบินสุวรรณภูมิตั้งอยูที่ เอทีซี คอมเพล็กซ ภายในสนามบินสุวรรณภูมิ ประกอบดวยอาคารสำนักงาน และ อาคารหอบังคับการบิน

อาคารหอบังคับการบินของทาอากาศยานสุวรรณภูมิมีความสูงที่สุดในโลก คือ สูงถึง 132.2 เมตร ลักษณะเปนหอง ทำงานที่มีผนังกระจกโดยรอบเพื่อใหผูควบคุมการบิน สามารถมองเห็นสภาพจราจรทางอากาศและสภาพการจราจรบริเวณภาคพื้นทาอากาศยานทั้ง 2 ทางวิ่ง ตลอดระยะ 4,000 เมตร จึงสามารถใหบริการการขึ้น-ลงของอากาศยาน ไดถึง 76 เที่ยวบิน ตอ 1 ชั่วโมง หรือทุกๆ นาทีสามารถมี เครื่องบินขึ้นลงไดมากกวา 1 ลำ

ระบบหลักๆ ของการทำงานในหอบังคับการบิน คือ • ระบบติดตามอากาศยานที่มีอุปกรณแสดงขอมูลของ อากาศยาน เชน ชื่อเรียกขาน ตำแหนง ทิศทาง ระดับ ความสูง เปนตน นอกจากนี้ยังทำหนาที่ประสานงานกับ หอบังคับการบินที่ลานจอดระหวางที่เครื่องบินอยูบนพื้น ดวย

• ระบบการสื่อสารการเดินอากาศที่ทำหนาที่ใหบริการ ขาวสารการบินกับผูเกี่ยวของทั้งนักบิน เจาหนาที่บริการ จราจรทางอากาศ และผูประกอบการสายการบิน

นอกจากนี้หอบังคับการบินยังมีอุปกรณแสดงขอมูลอื่นๆ เชน สภาพอากาศ ขาวสารที่เกี่ยวของ ฯลฯ เพื่อเปนขอมูล เสริมในการทำงานดวย

• ระบบเคร่ืองชวยการเดินอากาศท่ีมีอุปกรณใหขอมูลสำคัญ ประกอบการตัดสินใจของนักบินในการนำอากาศยาน ขึ้น-ลงไดอยางถูกตองแมนยำ ซึ่งจะใหขอมูลเกี่ยวกับ ตำแหนงที่ตั้งของทาอากาศยาน ทิศทางการบิน ระยะทาง ของเครื่องบินวาอยูสวนใดของทาอากาศยาน รวมถึง การบอกมุมรอนลงจอดไดอยางปลอดภัย

CONT

ROL T

OWER

TOWERCONTROL

เกร็ดความรู้ : สนามบินดอนเมืองให้บริการขึ้น-ลงอากาศยานได้เพียง 52 เที่ยวบินต่อชั่วโมง

หอบังคับการบิน

25

ชม Video และภาพการขึ้น-ลงของอากาศยาน และการทำงานภายในหอบังคับการบินไดที่ www.scienceinaction.info

7

Page 14: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

เกร็ดความรู : 1. การสแกนแบบ CT มีหลักการเดียวกับเครื่องสแกนทางการแพทยที่ใช สแกนดูอวัยวะภายใน โดยมีการประมวลเปนภาพ 3 มิติ ซึ่งการสแกน ในระบบเดิม หรือ X-Ray จะไดภาพเปน 2 มิติ เทานั้น2. เครื่องยิงบารโคดมีหลักการเดียวกันกับเครื่องยิงบารโคดเมื่อซื้อสินคา3. การนำกระเปาใสถาดพลาสติกกอน แลวคอยสงเขาระบบสายพาน ลำเลียงชวยปองกันไมใหกระเปาที่มีวัสดุและรูปรางตางๆ กันหลุดออก นอกสายพานขณะอยูในระบบ4. กระเปาขนาดหรือน้ำหนักที่มากเกินไป ระบบจะไมยอมใหสงเขาสู ระบบสายพาน และกระเปาที่เล็กหรือเบาเกินไป คือ นอยกวา 0.5 กิโลกรัม ระบบก็จะไมยอมใหผานเชนกันเพราะอาจปลิวหรือ หลนออกจากสายพาน5. ความเร็วของสายพานลำเลียง คือ 2 เมตร ตอ วินาที 2726

X-RAY

เมื่อผูโดยสารเช็คอินที่สนามบิน พนักงานของสายการบิน ที่ผูโดยสารขึ้นจะติดปายที่มีบารโคดลงบนกระเปาเดินทางหรือสัมภาระเดินทาง ปายจะมีขอมูลของเที่ยวบินที่ผูโดยสาร จะเดินทาง เพื่อสงผานใหระบบขนสงกระเปาหรือสัมภาระ ไปยังเครื่องบินลำที่ผูโดยสารเดินทาง ปายนี้ใชตรวจสอบ การรับกระเปาหรือสัมภาระที่ปลายทางดวยสายพานลำเลียงจะสงกระเปาและสัมภาระตางๆ ไปตรวจสอบดานความปลอดภัย โดยใชเครื่องสแกนแบบ CT ซึ่งจะแสกนหาวัตถุที่มีความหนาแนนคลายระเบิด ถา ตรวจพบ สายพานจะสงตอใหระบบอื่นๆ ตรวจสอบ และ จัดการตามขั้นตอนตอไปขณะเดียวกันผูโดยสารจะตองผานการตรวจเอกสารตางๆ เพื่อการเดินทางออก จากนั้นจึงจะผานเขาสูอาคารเทียบ อากาศยาน (Concourse Building) กอนขึ้นเครื่องจะมีการตรวจเอกสารอีกรอบ เพื่อปองกัน การขึ้นเครื่องบินผิดลำกระเปาและสัมภาระที่ผานระบบตรวจสอบจะถูกลำเลียงไปตามสายพาน ผานเครื่องบารโคดที่ยิงจากทุกทิศทาง ไมวากระเปาจะวางมาลักษณะใดก็จะถูกยิงบารโคดไดเมื่อระบบรูขอมูลกระเปาแลว จะบังคับทิศทางของกระเปาใหไปยังสายพานที่ถูกตอง เพื่อลำเลียงสงลงไปยังจุดที่ สายการบินจะมาขนกระเปาใสตู และเคลื่อนยายไปสงที่ เครื่องบินอีกทีกรณีที่กระเปามีปญหาไมสามารถจัดสงได ซึ่งสวนใหญเกิดจากบารโคดอานไมได เนื่องจากหลุดหาย พับ ฯลฯ ระบบจะสงกระเปาไปยังจุดที่มีพนักงานยิงบารโคดดวยมือถายังอานไมไดอีกหรือไมมีบารโคด กระเปาจะถูกสงไปรวมเพื่อติดตามจัดสงภายหลัง

1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

กระเปาเดินทางหรือสัมภาระจะถูกขนสงมาที่สายพาน และวนขึ้นมายังจุดที่ผูโดยสารจะมารับกระเปาผูโดยสารรอรับกระเปาที่บริเวณโถงรับกระเปาขาเขา หรือ ที่จานหมุนรับกระเปาในกรณีที่เปนชาวตางประเทศที่เดินทางเขามาจากประเทศอื่น ผูโดยสารจะตองผานการตรวจหนังสือเดินทาง

1.

2.

3.

ขาออก ขาเขาDEPARTUREการเดินทางขาออก - ขาเขา

& ARRIVAL DEPARTURE ARRIVAL

คำอธิบายภาพ : A เคานเตอรเช็คอิน B หนาจอแนะนำการขนสัมภาระที่เปนของเหลว C-E การลำเลียงกระเปาขึ้นเครื่องบินของสายการบิน F จุดรับกระเปาในบริเวณผูโดยสารขาเขา G เครื่องสแกน CTX-9000 (ภาพจาก www.gesecurity.com)A B

C

D

E

F

G

ภาพจาก www.ablesw.com/3d-doctor/

CT SCAN

Page 15: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

KANSAIINTERNATIONALAIRPORT

MUNICHINTERNATIONALAIRPORT

CHARLES DE GAULLEINTERNATIONAL AIRPORT

HONG KONGINTERNATIONALAIRPORT

SUVARNABHUMIINTERNATIONALAIRPORT

PHUKETINTERNATIONALAIRPORT

INTERNATIONAL AIRPORTSPHUKETINTERNATIONAL AIRPORT

CHARLES DE GAULLEINTERNATIONAL AIRPORT

KANSAIINTERNATIONAL AIRPORT

MUNICHINTERNATIONAL AIRPORT

www.aeroportsdeparis.fr

ภาพ

จาก

ww

w.p

ref.o

saka

.jp

www.phuketairportonline.com www.kansai-airport.or.jp www.munich-airport.de

2928

ประเทศไทย

ประเทศฝรั่งเศส

ประเทศญี่ปุน สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี

ทาอากาศยานนานาชาติชารลส เดอ โกลล หรือทาอากาศยานรัวสซี เปดทำการในป พ.ศ. 2433 ตั้งอยูที่ รัวสซี กรุงปารีส อยูหางจากตัวเมืองปารีสไปทางตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 25 กิโลเมตร

จุดที่นาสนใจ คือ อาคารเทียบอากาศยานมีลักษณะคลาย กับสนามบินสุวรรณภูมิ

พื้นที่ทาอากาศยาน 32.38 ตารางกิโลเมตรรองรับผูโดยสาร 90 ลานคนตอปเครื่องบินขึ้น-ลง 120 เที่ยวบินตอชั่วโมงสูงจากระดับน้ำทะเล 119 เมตรทางวิ่งหรือรันเวย 4 รันเวย รันเวยยาว 2,700 - 4,215 เมตร พื้นผิวรันเวย ลาดยางและคอนกรีต

ทาอากาศยานนานาชาติภูเก็ต หรือ สนามบินภูเก็ต ตั้งอยูที่เหนือสุดของเกาะภูเก็ต หางจากตัวเมืองภูเก็ตประมาณ 32 กิโลเมตร จัดไดวาเปนทาอากาศยานที่มีผูโดยสาร เเละการขนสงสินคามากเปนอันดับสองของประเทศ

พื้นที่ทาอากาศยาน 94,800 ตารางเมตรรองรับผูโดยสาร 2.9 ลานคนตอปเครื่องบินขึ้น-ลง 4 เที่ยวบินตอชั่วโมงสูงจากระดับน้ำทะเล 25 เมตรทางวิ่งหรือรันเวย 1 รันเวย รันเวยยาว 3,000 เมตร พื้นผิวรันเวย ลาดยาง

ทาอากาศยานนานาชาติคันไซ เปดใชงานป พ.ศ. 2537 อยู บนเกาะที่สรางขึ้นในอาวโอซากานอกชายฝงเมือง เซ็นนัง จังหวัดโอซะกะ อยูหางจากตัวเมืองโอซะกะไปทางใตประมาณ 35 กิโลเมตร

รองรับผูโดยสาร 16.5 ลาน (ป 2006)เครื่องบินขึ้น-ลง 4 เที่ยวบินตอชั่วโมงสูงจากระดับน้ำทะเล 15 เมตรทางวิ่งหรือรันเวย 2 รันเวย รันเวยยาว 3,500 - 4,000 เมตร

ทาอากาศยานนานาชาติมิวนิค มีชื่ออยางเปนทางการวา Franz Josef Strauss International Airport เพื่อเปนเกียรติใหกับ ฟรานซ โจเซฟ สเตราส อดีตผูวาการรัฐบาวาเรียเปดทำการในป พ.ศ. 2535 ตั้งอยูที่เมืองมิวนิค หางจากตัวเมืองไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ 28 กิโลเมตร

รองรับผูโดยสาร กวา 30 ลานคน (ขอมูลป 2006)เครื่องบินขึ้น-ลง 120 เที่ยวบินตอชั่วโมงสูงจากระดับน้ำทะเล 453 เมตรทางวิ่งหรือรันเวย 2 รันเวย รันเวยยาว 4,000 เมตร พื้นผิวรันเวย คอนกรีต

ทาอา

กาศย

านนา

นาชา

ติอื่นๆ

NN

ภาพ

จาก

frenc

hkic

k.w

ordp

ress

.com

Page 16: Art & Science, Suvarnabhumi Airport

CHEK LAP KOK AIRPORT

30

สมัครสมาชิก จุลสาร Science in Action และสั่งซื้อฉบับยอนหลังไดที่www.scienceinaction.info/membersJO

UR

NA

L

www.nunoi.net

www.scicomm.info

www.atlasunit.info

ทาอากาศยานนานาชาติฮองกง หรือเรียกโดยทั่วไปวาสนามบินเช็กแล็บก็อก เปนทาอากาศยานหลักของเขตปกครองพิเศษฮองกง สาธารณรัฐประชาชนจีน เปดใหบริการเมื่อป พ.ศ. 2541 แทนที่ทาอากาศยานนานาชาติฮองกงเดิม

ทาอากาศยานแหงนี้สรางขึ้นบนเกาะขนาดใหญที่เกิดขึ้นจากการถมทะเลระหวางเกาะ Chek Lap Kok และเกาะ Lam Chau จนกลายเปนเกาะเดียว โดยใชเวลากอสราง นาน 6 ป สถาปนิกผูออกแบบ คือ Foster and Partners

พื้นที่ทาอากาศยาน 12.48 ตารางกิโลเมตรรองรับผูโดยสาร 47 ลานคนตอป เครื่องบินขึ้น-ลง 27 เที่ยวบินตอชั่วโมงสูงจากระดับน้ำทะเล 9 เมตรทางวิ่งหรือรันเวย 2 รันเวย รันเวยยาว 3,800 เมตร พื้นผิวรันเวย ลาดยาง

www.myscientists.com

เว็บไซต สาระทางวิทยาศาสตรที่นาสนใจ

INTE

RNAT

IONA

L AIR

PORT

S

HONG KONGINTERNATIONAL AIRPORT

www.hongkongairport.com

ฮ่องกง

www.scienceinaction.info