bali guidebook for d-jung space

16

Upload: narisara-saisanguansat

Post on 16-Mar-2016

220 views

Category:

Documents


5 download

DESCRIPTION

Bali Study Trip Guidebook

TRANSCRIPT

Page 1: Bali Guidebook for D-Jung Space
Page 2: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip1 1

เครือขายพื้นที่นี้..ดีจัง ทำางานเปดพื้นที่สรางสรรคในชุมชน เพื่อ

พัฒนาสุขภาวะสำาหรับเด็ก เยาวชน ครอบครัว ผานกระบวนการแบบ

มีสวนรวมของชุมชน ศิลปน เยาวชน และ นักจัดกิจกรรมสรางสรรค

โดยใชเครื่องมือทางดานวัฒนธรรมและศิลปะในการขับเคลื่อน

ใหเกิดพื้นที่แหงการแบงปนสรางสุขสำาหรับทุกคน

ที่ผานมา เครือขายพื้นที่นี้...ดีจัง ไดจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู

ขามพื้นที่ ระหวางภาคีดวยกันเอง ที่มีความหลากหลายทั้งดาน

ชาติพันธุ ภูมิทัศนวัฒนธรรม กระบวนการทำางานของแกนนำาและ

เยาวชน ผูมีสวนรวมในโครงการ จากใตไปเหนือ เหนือสูกลาง กลางสู

อีสาน สูทุกภูมิภาคทั่วประเทศ

เมื่อปที่ผานมา (พ.ศ. 2556) พวกเราไดไปแลกเปลี่ยนเรียนรูดูงาน

กับกลุม Arts-ED ซึ่งทำางานดานเรียนรูชุมชน

ผานกระบวนการศิลปะกับเยาวชน ที่เมือง

จอรจทาวน รัฐปนัง ประเทศมาเลเซีย

รวมทั้ งร วมกิจกรรมเฉลิมฉลองเมือง

มรดกโลก และแลกเปลี่ยนประสบการณ

กับกลุ มผู จัดเทศกาล GTWHI เพื่อนำา

เมี่อพื้นที่นี้..ดีจังขับเคลื่อนชุมชนด้วยศิลปะ

Page 3: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip2 3 3

อินโดนีเซียประเทศแห่งหมู่เกาะอินโดนีเซีย เป็นประเทศท่ีประกอบดวยหมูเกาะประมาณ 3,000 เกาะ

และมีเกาะเล็กเกาะนอยรวม 17,500 เกาะ มีภาษาใชมากกวา 250

ภาษา ประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม และเป็นประเทศมุสลิม

ที่ใหญเป็นอันดับที่ 3 ของโลก หากแตในความเป็นประเทศมุสลิมที่

ยิ่งใหญนั้น มีเกาะ

เลก็ๆ ทีย่ิง่ใหญดวย

ป ร ะ เ พ ณี แ ล ะ วิ ถี

ปฏิบัติที่แตกตางไปดำารง

อยู นั่นคือ เกาะบาหลี

บาหลีดินแดนแห่งทวยเทพบาหลีเป็นเกาะเล็กๆ ทางเหนือเป็นภูเขาไฟ

ทางใตเพาะปลูกแบบนาขั้นบันได เนื่องจากเป็น

เกาะที่อุดมสมบูรณกับภูมิอากาศแบบรอนชื้น ทำาให

มีชายหาดที่สวยงามดึงดูดนักทองเที่ยวมากมาย

ความรู มาเสริมศักยภาพในการจัดกระบวนการเรียนรู ชุมชน

ดวยศิลปะ และ จัดเทศกาลดานศิลปวัฒนธรรมเพื่อชุมชน

ของภาคีเครือขาย

มาปนี้ พ.ศ. 2557 เครือขายพื้นที่นี้...ดีจัง ไดพัฒนา

แนวทางหลักในการทำางานดวยการ “ขับเคลื่อนชุมชนดวยศิลปะ” เล็งเห็นวา ศิลปนพื้นที่ทาง

ศลิปะ และ การจดัการทางดานศลิปะ วฒันธรรม

ชุมชน ของชาวบาหลี มีความนาสนใจในการ

ผสานรากเหงา ภูมิปญญา เขากับการนำา-

เสนอศิลปะ วัฒนธรรม ที่ชุมชนมีสวนรวม

และไดรับประโยชน มีศิลปนที ่มีแนวคิด

ผลงานเป็นที่ยอมรับและนาเรียนรู มีการบริหารจัดการทางดาน

ศิลปะ วัฒนธรรม โดยหนวยงาน ชุมชน ศิลปน ที่มีอัตลักษณ และ

มีผลสะทอนกลับตอชุมชนในมิติตางๆ

จึงเกิดเป็นโครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู “การขับเคลื่อนชุมชนดวยศิลปะ”

กับศิลปนแหงเมืองโบนา “การจัดการศิลปะ วัฒนธรรม” กับเจาของ

โรงละคร แกลเลอรี่ ผูบริหารเมือง ณ นครอูบุด รวมทั้งดูงาน เทศกาล

ศิลปะบาหลี ที่นครเดนปาซาร ในระหวางวันที่ 9-17 มิถุนายน 2557

ดวยหวังวาความรู ประสบการณที่ไดแลกเปลี่ยนเรียนรู ดูงาน จะ

หนุนเสริมศักยภาพในการทำางานของพวกเรา ในการใชพลังศิลปะ

วัฒนธรรม เพื่อขับเคลื่อนชุมชนของเครือขายพื้นที่นี้..ดีจัง ตอไป

Page 4: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip4 5 5

ศาสนาและความเชื่อศาสนาฮินดู ในบาหลีมี เอกลักษณ

เฉพาะตัวที่แตกตางกับฮินดูในเอเชียใต

โดยรับเอาหลักปฏิบัติมาจากปรัชญา

อินเดียผสมกับความเชื่อของทองถิ่น คนบาหลี

มองวาจักรวาลเป็นองครวมของทุกสิ่ง ไมวาจะเป็นทวยเทพ ปศาจ ผูคน

ลวนเป็นสวนหนึ่งของจักรวาล เทพเจาสถิตบนขุนเขา สวนปศาจมารราย

อาศัยอยูในทองทะเล ชาวบาหลีมุงแสวงหาความสมดุลระหวางพลังของ

สองฝายนี้ เฉกเชนฮินดูทั่วไป พระศิวะ พระพรหม และพระวิษณุ เป็น

เทพเจาชั้นสูงของบาหลี แตคนบาหลีก็เคารพเทพทองถิ่นและธรรมชาติ

ดวยเชื่อวาทุกสิ่งมีพลังวิญญาณสถิต จะสงบรมเย็นไดตองเคารพบูชา

รูปสลักเทพและอสูรผูพิทักษที่ทำาจากดินเหนียวอัดขี้เถา (ปารัส) ที่เห็น

ตามวัดนั้น มีหนาตาคลายกับสัตวประหลาดแลดูนากลัว

หากแตสำาหรับคนบาหลีนั้น ไมไดถือวาชั่วราย แต

ชวยไลปศาจและวิญญาณรายใหออกไป

หลักความเชื่อสำาคัญของฮินดูแบบบาหลีคือ

ตรีตรรกนะ (Tri Hata Karna) ซึ่งมุงสราง

สมดุลความสัมพันธที่ดีระหวางคนกับเทพเจา

คนกับคน และคนกับสภาวะแวดลอม ซึ่ง

เป็นหลักการดำาเนินชีวิต ทำาใหชาวบาหลี

อยูอยางออนนอมตอธรรมชาติ

บาหลี เป็นชุมชนวัฒนธรรมฮินดู

ที่เขมแข็งที่สุดแหงหนึ่งของโลก

แม ว าจะอยู ในประเทศที่มี

ประชากรสวนใหญเป็นชาว

มุสลิม เพราะชาวบาหลีมี

รากฐานทางวัฒนธรรมของ

ตั ว เ อ งอย า งต อ เนื่ อ ง และ

ยาวนาน

บาหลีในวันนี้ไดรับความนิยมติดอันดับ

สถานที่ทองเที่ยว และเผชิญกับความเปลี่ยนแปลง แตอีกดาน

ผูคนยังมั่นคงตอวิถีภาวนา ไมวาผานคืนวันไปนานเทาใด ศรัทธา

แทบไมเปลี่ยน และคงเป็นเชนนี้ตราบที่เทพเจายังมีความหมายกับ

ทุกยางกาวในชีวิต

Page 5: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip6 7

วันที่ กลุม 1 เรียนรูกับศิลปน กลุม 2 ตะลุยเมืองศิลปะ

จ. 9

เชา 04.00 นัดรวมตัวกันที่สนามบินดอนเมือง

06.00-11.25 เดินทางโดยสายการบินแอรเอเชีย จากดอนเมืองถึงเมือง

เดนปาซาร เดินทางโดยรถบัสหรือรถตูไปอูบุด

บาย - ทานขาวรวมกันที่อูบุด

- Overview ที่วัดใกลๆ กับ Ubud Palace

- “ศิลปะกับการขับเคลื่อนชุมชนของบาหลี”

- Check in เขาที่พัก

- เดินเลนบนถนนสายศิลปะเมืองอูบุด

เย็น ชมการแสดง Legong Dance ที่

Ubud Palace

ชมการแสดง Joged Dance

ที่ Ubud Water Palace

อ. 10

เชา - รูจักบาหลี – ชมบอน้ำาพุศักดิ์สิทธิ์ (Pura Tirta Empul-Tampak Siring)

วากันวารักษาโรคภัยไขเจ็บได ชาวบาหลีนิยมมาชำาระรางกาย

ถวายเครื่องบูชา และ คินตามณี หมูบานริมปากปลองภูเขาไฟ

ที่มีทะเลสาบและภูเขาไฟบาตูรเป็นฉากหลัง

บาย เขาชมวัดเบซากีย (Besakih) หรือ Mother Temple เป็นวัดที่สวยที่สุดและ

สำาคัญที่สุดของเกาะบาหลี

เย็น - เขาหมูบานโบนา เดินดู ทำาความ

รูจักหมูบาน

- Thai Show: แนะนำาตัวผานดนตรี

ปกากะญอ ดนตรีมง หุนเงา

โนราห ลิเก โขน และอื่นๆ

ชมการแสดง Legong Dance ที่

Balerung Stage (กอตั้ง 1931)

คณะระบำาเกาแก เป็นคลื่นที่มา

กอนกระแสการทองเที่ยว และ

ศูนย Ubud Tourist Information

วันที่ กลุม 1 เรียนรูกับศิลปน กลุม 2 ตะลุยเมืองศิลปะ

พ. 11

เชา ถอดรหัส

‘ศิลปะ ศิลปน อยูกับชุมชนอยาง

ไร’

จากวิถีชีวิตและการงานของ

I Made Sidia และ I Wayan Sira

คุยกับ Anak Agung Gde Oka Dalem เรียนจบสถาปตยแลวมา รับชวงตอจากบิดา เป็น Art Direc-tor ของ Balerung Stage ผูเห็นความเป็นบาหลีรอบตัวคือคุณคา และมั่นใจในพลังการจัดการคณะเล็กๆ ที่ไมแพสวนกลาง

บาย ชมการแสดง Bali Agung ที่ Bali

Safari and Marine Park ชีวิตอี

กดาน

ของ Made ในฐานะหัวหนาคณะ

นักแสดง และ Sira ในบทบาท

พระเอกของเรื่อง

- ชม Museum, Gallery ในอุบุด เมืองที่ขึ้นชื่อวาเป็นชีพจรทางวัฒนธรรมและศูนยกลางของศิลปะบาหลี

- คุยกับ I Wayan Sika ศิลปนและ เจาของ Sika Contemporary Art Gallery ผูเชื่อวาชีวิตมีการ เคลื่อนไหว ศิลปะที่มีชีวิตคือ ศิลปะที่หลากไหลไมหยุดนิ่ง ตายตัว แตมีรากหยั่งลึกไมคลอนแคลน

เย็น ดูชาวบานฝกการแสดงที่บาน

Made (Sanggar Paripurna Bona)

ปุจฉาวิสัชนา กับ Made และ Sira

วาดวย “ศิลปะ ตัวตน ชุมชน ความ

ฝน ความจริง”

ชมการแสดง Kecak dance ระบำา

ที ่

เคลื่อนไหวดุดัน ดังพิธีกรรมกลาง

ปาลึก

ณ เมืองอูบุด, คณะการแสดงปาริปูอานา โบนา (Sanggar Paripurna Bona)

เมืองเกียนยาร และ เทศกาลศิลปะบาหลีครั้งที่ 36 เมืองเดนปาซาร

บาหลี ประเทศอินโดนิเซีย

กำ�หนดการ�Study Trip�ขับเคลื่อนชุมชนด้วยศิลปะ9-17�มิถุนายน�2557��

Bali Study Trip Bali Study Trip6 7 7

Page 6: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip8 9

วันที่ กลุม 1 เรียนรูกับศิลปน กลุม 2 ตะลุยเมืองศิลปะ

พฤ. 12

เชา - รูจัก Made, Sira เรียนรูชีวิตเขาและครอบครัวผาน workshop ศิลปะการแสดงบาหลี เชน หุนเงา (Wayang kulit) การรายรำาของบาหลี (Balinese Dance) วงดนตรีกาเมลัน (Gamelan Orchestra) (อาจแยกกลุม คนละวิธีการ)

- เยี่ยมหมูบาน ชมเครื่องดนตรีของชุมชนที่ banjar (คลายศาลา ประชาคม)

- คุยกับหัวหนาหมูบานวา ทำาไมทุก banjar ตองมีเครื่องดนตร ีเป็นสมบัติของชุมชน เกี่ยวของ สำาคัญ และใชกันอยางไร

บาย คุยกับ Tjokorda Gde Putra Suka-wati เจาชายองคโตของกษัตริย องคสุดทายแหงอุบุดผูเชื่อมั่นในการขับเคลื่อนใหเมืองอุบุดกลายเป็นชุมชนที่เขมแข็งดวยพลังแหงศิลปวัฒนธรรมบาหลี (หรือผูแทน)

เย็น - ดูชาวบานฝกการแสดงที่บาน Made (Sanggar Paripurna Bona) - Bali Show อาทิ หุนเงาโดยลูกชายมาเดแอนดเดอะแกงค ระบำา

หนากากโดย Sira- ชมสารคดี สะทอนความโยงใยของรุนสูรุน ศิลปะ ชีวิต ผูคน ชุมชน

ศ. 13

เชา เดินชุมชน พักผอนตามอัธยาศัย

บาย - ออกเดินทางสูเดนปาซาร ระหวางทางแวะชมหมูบานหัตถกรรม- เขาที่พัก Puri Kedaton Hotel ที่เดนปาซาร พักลางหนาลางตา- รูจักบาหลี - ไปวิหารทานาลอต (Tanah Lot) วัดที่ตั้งอยูริมทะเล

1 ใน 5 ของเกาะบาหลี

เย็น เดินทางกลับที่พัก ทานอาหารรวมกัน และสังสรรคตามอัธยาศัย

กำ�หนดการ�Study Trip�ขับเคลื่อนชุมชนด้วยศิลปะ9-17�มิถุนายน�2557��

วันที่ กลุม 1 เรียนรูกับศิลปน กลุม 2 ตะลุยเมืองศิลปะ

ส. 14

เชา - แบงปนความประทับใจ แลกเปลี่ยนเรียนรู บอกเลาแรงบันดาลใจ

- แนะนำา Bali Art Festival

บาย 14.00 น. รวมพิธีเปด Open Exhibition ของ Bali Art Festival ชมขบวน

แห

เย็น 19.00 น. นัดรวมตัวกันที่โรงแรม เดินเทาเขา Taman Budaya Art

Center

20.00 น. ชมพิธีเปด Open Ceremony

อา. 15 เชา ชมเมืองเดนปาซาร เดินดู Bali museum, ตลาด, อนุสาวรีย ปูปูตัน และ

การชมแสดงใน Bali Art Festival ตามอัธยาศัย

จ. 16

เชา รูจักบาหลี - Pura Taman Ayun วัดที่เคยเป็นวังเกา สรางศตวรรษที่ 17

เพื่อใชประกอบพิธีกรรมของกษัตริยราชวงศเม็งวี

บาย - Jatiluwih หมูบานนาขาวบันไดที่ใหญที่สุดของบาหลี

- Ulun Danu Temple วัดตั้งตระหงานริมฝงทะเลสาบ Bratan

และมีฉากหลังเป็นยอดเขาที่สูงที่สุดแหงหนึ่งของบาหลี

เย็น ชมการแสดงใน Bali Art Festival ตามอัธยาศัย

อ. 17

เชา 10.30 น. Check out เดินทางสูสนามบิน Ngurah Rai International

11.55-15.15 น. ออกเดินทางโดยสายการบินแอรเอเชีย

จากเมืองเดนปาซาร สูสนามบินดอนเมือง

หมายเหตุ : กำ หนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพการณ์และความเหมาะสม

Bali Study Trip Bali Study Trip8 9 9

ณ เมืองอูบุด, คณะการแสดงปาริปูอานา โบนา (Sanggar Paripurna Bona)

เมืองเกียนยาร และ เทศกาลศิลปะบาหลีครั้งที่ 36 เมืองเดนปาซาร

บาหลี ประเทศอินโดนิเซีย

Page 7: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip10 11 11

เราจะไปเรียนรู้จากใครบ้างนะ

คุณมาเด หรือชื่อเต็มวา อี มาเด ซีเดีย เป็นศิลปน นักแสดง นักออกแบบ

และกำากับการแสดง มาเดเกิดและโตที่หมูบานโบนา ไดเห็นศิลปะบาหล ี

ในฐานะส่ิงท่ีเช่ือมโยงอดีต ความเช่ือ วัฒนธรรม สูปจจุบันท่ีกาวไปขางหนา

มาเดไดเปดบานของตัวเองเป็นศูนยกลางการเรียนรูและถายทอดดนตรี

การฟอนรำา รวมไปถึงผลิตคอสตูม เครื่องเสียง และเครื่องประกอบฉาก โดย

กอต้ังคณะการแสดงปาริปูอานา โบนา (Sanggar Paripurna Bona) ซ่ึงมีสมาชิก

จากครอบครัวและชุมชนของตนแอง รวมไปถึงสมาชิกจากหมูบานอื่นๆ

มาเดเติบโตในครอบครัวศิลปน ทั้งพอและปูของมาเดไดรับการเคารพ

นับถือในฐานะศิลปนเชิดหุนเงา ตัวเขาเองจบการศึกษาดานการแสดงจาก

Indonesian State College of Arts (STSI) เขาไดรับเชิญไปจัด workshop

เร่ืองหุนเงาและระบำาเคชักใหกับนักเรียนในโรงเรียนตางๆ ท่ัวโลก นอกจากน้ี

I Made Sidia(อี มาเด ซีเดีย)

มาเด ซีเดีย ยังเป็นอาจารยสอนการแสดง

และหุนเชิดในสถาบันการละครอีซี ่ (ISI)

ที่เดนปาซาร และกำากับการแสดงใหกับ

Bali Agung ที่ Bali Safari and Marine

Park อีกดวย

I Wayan Sira(อี วายัน ซิระ)

ซิระ เป็นนองชายของมาเด ซิเดีย

เป็นนักแสดงและเป็นศิลปนเชิดหุน

เงาวายังกูลิต (wayang kulit) ซิระ

สืบทอดภูมิปญญาวายังกูลิตมาจาก

บิดา โดยยังคงความงดงามของการ

เชิดหุนเงาแบบดั้งเดิมรวมไปถึง

ศิลปะการทำาตัวหุนเงาดวย ซึ่งได

ถายทอดตอไปยังรุนลูก นอกจากน้ี

ยังเป็นนักแสดงในโรงละคร Bali Agung ที่ Bali Safari and Marine Park

โดยรับบทกษัตริยที่เป็นบทเอกของเรื่อง

ซิระจบปริญญาตรีดานการเชิดหุนท่ีสถาบัน STSI เดนปาซาร ปจจุบันทำางาน

แผนกศิลปะของสำานักงานวัฒนธรรมเกียนยาร (Gianyar Culture Administra-

tion) นอกจากเป็นศิลปนวายัง กูลิต ซิระยังเป็นนักแสดงระบำาหนากากโทเป็ง

ระบำาเคชัก และเลนดนตรีกาเมลันอีกดวย โดยไดรวมแสดงในการแสดง

ศิลปะนานาชาติในประเทศตางๆ อาทิ มาเลเซีย ไตหวัน ออสเตรเลีย

Page 8: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip12 13 13

“การเรียนรู ไม เคยจบสิ้นแม ใน วัยชราก็ตาม” เป็นคำากลาวของศิลปน

หุนเงาวัย 84 ป ปก ซีจา (คุณพอซีจา) บิดาของมาเด ซีเดีย และ ซีระ

ปก ซีจาออกจากโรงเรียนตั้งแตอายุ 15 ป

เพ่ือจะเรียนรูศิลปวัฒนธรรมกับครูศิลปนหลากหลายสาขาวิชา ท้ังวรรณคดี

บทกวี การรายรำา ละครดนตรี การแสดง การแกะสลักไม และการประกอบ

พิธีบูชาเทพเจา

ในป ค.ศ. 1990 ปก ซีจา นำาเด็กๆ ที่ไมไดเรียนหนังสือมาเรียนการศิลปะ

บาหลีที่บาน ปก ซีจาไดรับความนับถือใหเป็น “เอ็มปู” จากสถาบันศิลปะ

การแสดงอีซี่ของเดนปาซาร “เอ็มปู” มีความหมายเทียบเทากับครูผูไดรับ

การเคารพสุงสุด ซึ่งเอ็มปูจะเป็นผูสอนครูคนอื่นๆ อีกขั้น ปก ซีจาถือเป็น

ฑูตวัฒนธรรมนานาชาติและไดเดินทางแสดงทั่วเกาะบาหลี ชวา ลมบอก

ไปจนถึงสิงคโปร ญี่ปุน ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา และยุโรป

ปก ซีจาไดรับการยกยองจากคนในชุมชนใหเป็นนักบวชของวรรณะศูทร

(วรรณะต่ำาสุดและมีจำานวนมากที่สุด) อีกดวย อันหมายถึงหนาที่ในการ

รายรำาตอหนาพิธีศักดิ์สิทธิ์ในวัดและใชน้ำามนตในการบูชา ปรัชญาการใช

ชีวิตของซีจาคือการแบงปนส่ิงท่ีเขามี และรักษาวัฒนธรรมบาหลีใหเขมแข็ง

เขาภูมิใจเมื่อไดเห็นนักเรียนของเขาสรางสรรคไดยิ่งไปกวาตัวเขาเอง ปก

ซีจาถือเป็นโอกาสที่จะไดแบงปนทักษะและความรู ใหกับคนรุ นหลัง

เพื่อใหศิลปวัฒนธรรมของบาหลียั่งยืนตอไป

Bapak I Made Sija(บาปัก อี มาเด ซีจา)

เมืองอูบุดครั้งหนึ่งเคยเป็นอาณาจักรที่ยิ่งใหญปกครองโดยราชวงศ

สุกาวาตี แมวาวันนี้บาหลีจะเป็นสังคมประชาธิปไตยแลว แตราชวงศ

ก็ยังคงเป็นที่เคารพนับถือประหนึ่งหัวหนาของหมูบาน ชอกโกดาหรือ

ปูตรา เป็นเจาชายองคโตของกษัตริยองคสุดทายแหงอูบุด ผูเชื่อมั่นใน

การขับเคลื่อนใหเมืองอุบุดกลายเป็นชุมชนท่ีเขมแข็งดวยพลังแหง

ศิลปวัฒนธรรมบาหลี

ชอคโกดา ปูตรา มีบทบาทอยางมากในการรักษาศิลปวัฒนธรรมบาหล ี

เขาเป็นประธานพิพิธภัณฑปูริ ลูกิสัน Puri Lukisan เป็นประธานที่ปรึกษา

ของคณะกรรมการการทองเท่ียวบาหลี เป็นประธานคณะกรรมการชุมชน

อูบุด และเป็นผูอำานวยการสถาบันปตา มาฮา Pita Maha Institution

ชอคโกดา ปูตราจบการศึกษาจากเนเธอรแลนดและไดนำาแนวคิดพัฒนา

และการจัดการเมืองมาปรับใชในการออกแบบและจัดการเมืองอูบุด

ในฐานะที่เป็นเมืองทองเที่ยว

Tjokorda Gde Putra Sukawati

(ชอกโกดา กเดปูตรา ซุกาวาตี)

Page 9: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip14 15 15

Ir. Anak Agung Gde Oka Dalem (โอก้า ดาเลม) ผูอำ นวยการโรงละครบาเลรุง (Bale Rung)Puri Agung Peliatan

โอก้า ดาเลม (A. A. Gede Oka Dalem) รุนที่สองของตระกูลท่ี

สืบทอดการบริหารโรงละครบาเลรุง ซ่ึงเป็นคณะระบำาเกาแก เป็นคล่ืนที่มา

กอนกระแสการทองเที่ยวในอูบุดและบาหลี อยูในหมูบานเปลิอาตัน

(Peliatan) ในเขตอูบุด ตัวโรงละครบาเลรุงเองนั้น เป็นวังเกาของกษัตริย

เปลิอาตัน ซึ่งโรงละครมีความตั้งใจจะคงไวเพื่อรักษาดนตรีและการแสดง

แบบดั้งเดิมของเปลิอาตัน โดยเป็นที่ฝกซอมละครของคนในหมูบานเปลิ-

อาตัน โอกา ดาเลมเป็นนักแสดง กำากับเวที และเรียนมาดานสถาปตย-

กรรม โดยเป็นคนออกแบบโรงละครบาเลรุงเอง วันนี้ คณะละครโดยการ

บริหารของ โอกา ดาเลมมีทั้งหมด 4 คณะ และมีรอบการแสดงแตกตาง

กันไปในแตละสัปดาห ทุกๆ วันอาทิตย จะมีการสอนการแสดงและดนตร ี

ใหกับเด็กๆ โดยไมมีคาใชจาย

I Wayan Sika(อี วายัน ซิกา) และ

Sika Contemporary Art Gallery

เมืองอูบุด

แกลเลอรี่ ซิก้า เปดในป พ.ศ. 2539 แกลอรี่สวนใหญในบาหลีไมคิดวา

งานศิลปะสมัยใหมจะมีพื้นที่ ศิลปนรุนใหมในยุคนั้นมีความคิดสรางสรรค

และอยากทดลองเทคนิคและคอนเซปตใหมๆ แตเป็นเรื่องยากสำาหรับ

ศิลปนเหลานี้ที่จะมีพื้นที่แสดงงาน ดวยเหตุนี้ แกลเลอรี่ ซิกา จึงไดถือ-

กำาเนิดขึ้น

คุณซิก้า (I Wayan Sika) ศิลปนและผูกอตั้ง Sika Contemporary Art Gallery มองวา ความคิดสรางสรรค คือการสรางสรรคสิ่งใหมบนพื้นฐาน

ของจิตวิญญาณศิลปะและวัฒนธรรมบาหลี ซ่ึงศิลปะสมัยใหมก็ตอบโจทย

ความคิดสรางสรรคเชนเดียวกันนั้น

แวะหมูบานเล็กๆ ไมไกลจากอูบุด มารูจัก

บันจาร (banjar) ฟงกช่ันทางสังคมระดับเล็ก

สุดของวิถีชุมชนบาหลี ผานบูตูและหัวหนา

หมูบานเพ่ือใหเห็นความเขมแข็งของวิถีการ

ดำาเนินชีวิตท่ีควบคูไปกับศิลปวัฒนธรรมและ

Dewa Putu Pica (เดวา บูตู ปกา)และหัวหนาหมูบาน

หลักความเช่ือถือศรัทธา รวมถึงบทบาทของวงดนตรีกาเมลันท่ีเป็นมากกวา

แคดนตรีพ้ืนเมืองบาหลี

Page 10: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip16 17 17

เทศกาลศิลปะบาหลี(Bali�Art�Festival)งานบาหลี อารต เฟสติวัล หรือเทศกาลศิลปะบาหลี ไมใชเพียงงานศิลปะ แตเป็นงานประเพณีประจำาปอันยิ่งใหญของคนบาหลี ที่จะบงบอกความเป็น ตัวตนที่แทจริงของคนทองถิ่นใหคนทั่วโลกไดรับรู รวมไปถึงการอนุรักษศิลป-วัฒนธรรมใหคนรุนหลังไดเรียนรูและสืบทอดตอๆกันไป โดยเชื่อวาธุรกิจการ ทองเที่ยวตองเป็นไปเพื่อคนบาหลี ไมใชคนบาหลีดำารงเพื่อการทองเที่ยว เทศกาลศิลปะบาหลีจัดเต็มเป็นเวลา 1 เดือน มีการเรียนการสอนและฝกซอม การแสดงอยางจริงจังเพื่อมาประชันการแสดงในเทศกาลนี้ดวย กิจกรรมในเทศกาลศิลปะบาหลีครอบคลุมตั้งแตรูปแบบคลาสสิก ดั้งเดิม ไปจนถึงการปรับเปลี่ยนประยุกตใหเขากับยุคสมัย กลาวคือไมใชเพียง รักษาขนบธรรมเนียมเดิม แตพัฒนาใหยั่งยืนโดยคนรุนหลัง ทุกๆ ป ประธานาธิบดีอินโดนีเซียและขาราชการระดับสูงรวมไปถึง นักการเมืองสำาคัญๆจะเขารวมพิธีเปดงานนี้ อันแสดงใหเห็นถึงความสำาคัญ ของเทศกาลศิลปะบาหลีสำาหรับประเทศอินโดนีเซีย

เทศกาลศิลปะบาหลีครั้งที่ 36 ป 2557(36th Bali Arts Festival 2014)จัดเป็นครั้งที่ 36 สำาหรับเทศกาลศิลปะบาหลีในปนี้ โดยจัดตั้งแตวันที่ 14 มิย. ถึง 12 กค. 2557 โดยมีธีมหลักของปนี้วา Kertamasa: Dynamics of the Agricultural Society Towards Universal Happiness” Kertamasa หรือ เกอตามาสะ เป็นคำาเฉพาะของบาหลี อันหมายถึง ภูมิปญญาในการ เพาะปลูกตามฤดูกาลท่ีชาวนาจากท้ังหมูบานจะวางแผนการเพาะปลูกรวมกัน ธีมของเทศกาลศิลปะบาหลีในปนี้จึงเป็นการแสดงถึงพลังแหงภูมิปญญาทาง การเกษตรที่เป็นอาชีพหลักของคนบาหลี อันนำาไปสูความสุขที่แท กิจกรรมมากมายไมวาจะเป็นขบวนพาเหรด ดนตรี นิทรรศการ การประชันทางดนตรี เวทีแลกเปล่ียนพูดคุย และเน้ือหาสาระ ครอบคลุมการแสดง ไมต่ำากวา 320 ชุด จากนักเรียนศิลปะ ศิลปน ชางฝมือ ชุมชน จากทั่วทุกแหงในบาหลีรวมถึงตางประเทศกวา 15000 คน

Opening Exhibition/ Parade ขบวนพาเหรดเปดงานเริ่มที่อนุสาวรียบาจรา ซานดี (Bajra Sandhi) ใน Renon เป็นระยะทางประมาณ 1 กิโลเมตร โดยขบวนจะผานท่ีน่ังชมของประธานาธิบดี ที่จะเปดงานอยางเป็นทางการดวยการเคาะฆองโบราณ พบกับตัวแทนศิลปน จากชุมชนตางๆ บนเกาะบาหลีและจังหวัดอ่ืนๆ ของประเทศอินโดนีเซีย รวมถึง ศิลปนรวมแสดงจากตางประเทศ รวมกวาพันคนท่ีจะเขารวมในขบวนพาเหรด อันยิ่งใหญนี้

Opening Ceremony พิธีเปดอยางเป็นทางการจะเริ่มอีกครั้งในยามเย็น ณ เวทีหลักใน Arts Center เปดเทศกาลกันดวยการแสดงเตนรำาในช่ือชุดการแสดง Bali Dwipa โดยนักเรียน และครูจากสถาบันการแสดงอีซี่ (ISI) พรอมวงประสานเสียงกาเมลัน รวมถึง การแสดงจากมหากาพยรามายณะในชื่อการแสดง Rama Sita Prana Bhuana

Page 11: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip18 19 19

ÃÙ‡¨Ñ¡ºÒËÅÕ: ʶҹ·ÕèÊÓ¤ÑÞ

1

2

3

78

9

1011

12

45

612345

6789

101112

วัดทานาล็อต (Tanahlot)วัดทามันอายุน (Taman Ayun Temple)อนุสาวรียนักรบปูปูตันที่จตุรัสปูปูตัน (Puputan Square)เมืองเดนปาซาร (Denpasar)การแสดง “บาหลีอากุง” (Bali Agung)ที่ Bali Safari and Marine Parkเมืองอูบุด (Ubud)นาขาวขั้นบันไดที่หมูบานจาตีลูวีห (Jatiluwih Terrace Village)วัดอูลันดานูบราตัน (Ulun Danu Bratan Temple)หมูบานคินตามณี (Kintamani) บอน้ำพุศักดิ์สิทธิ์ (Tampak Siring) วัดเบซากีย (Besakih) ภูเขาไฟอากุง (Mount Agung)

1919Bali Study Trip19 19

Page 12: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip20 21 21

เมืองอูบุด (Ubud)สำาหรับคนที่ตามหา “บาหลีที่แท้” ที่ไมใชแหลงบันเทิงยามค่ำาคืนหรือ

โตคล่ืนยามแดดจา เมืองอูบุดยังคงสามารถรักษาความเป็นบาหลีเอาไวได

คอนขางสูงทามกลางการทองเที่ยวที่ถาโถมเขามา ในตัวเมืองอูบุดมีที่พัก

มากมายตั้งแตราคายอมเยาจนถึงราคาสูงระดับหาดาว สถานที่ทองเที่ยว

ภายในอูบุดเชน วังอูบุด ตลาด พิพิธภัณฑ แกลเลอรี่ศิลปะทั้งแบบคลาสสิก

และรวมสมัย ไปจนถึงแหลงจับจายซื้อของ และนาขั้นบันไดที่แอบซอน

ตามซอกหลืบตางๆ ของเมือง

บอนํ้าพุศักดิ์สิทธิ์ หรือที่คน

บาหลีเรียกกันวา Pura Tirta Empul สรางในศตวรรษที่ 13

ตั้งอยูใน Tampak Siring ภายใน

วัดมีบอศักดิ์สิทธิ์ซึ่งผุดพรายน้ำา

ขึ้นมาชาวบาหลีลวนเคารพบูชา

วัดนี้ดวยเชื่อวากำาเนิดมาจาก

พระอินทร และเชื่อวาสามารถ

รักษาโรคภัยไขเจ็บ ชำาระรางกาย

ขับไลสิ่งเลวราย จึงมีการทำาพิธ ี

ถวายเครื่องบูชา

บอน้ำ พุศักดิ์สิทธิ์(Tampak Siring)

วัดเบซากีย์ (Besakih) วัดเบซากีย ถือเป็นวัดคูบานคูเมืองที่ใหญ

ท่ีสุด สำาคัญท่ีสุด และศักด์ิสิทธ์ิท่ีสุดในบาหลี

ที่หากใครไปเท่ียวบาหลีแลวตองไมพลาด

ดวยประการทั้งปวง ถือเป็นมารดรแหง

มวลวิหาร (Mother Temple) เนื่องจากเป็น

สถานที่สวดบูชาที่ใหญและสำาคัญที่สุด

ประจำาเกาะ สรางขึ้นราวศตวรรษที่ 8 และ

ไดรับการขยายใหมากข้ึนเร่ือยๆ ในศตวรรษ

ตอๆ มา เนื่องจากตัววัดตั้งอยูบนลาดเขา

ชันของภูเขาไฟกูนุง อากุง บนความสูงราว

หนึ่งพันเมตรเหนือระดับน้ำาทะเล ทำาให

เป็นวัดที่มีทัศนียภาพสวยงาม

วัดทานาล็อต (Tanah Lot)วัดทานาล็อต สรางขึ้นตั้งแตศตวรรษที่ 11 เป็นวัดศักดิ์สิทธิ์ที่ไดรับการเคารพสักการะ จากผูคน ตั้งอยูในเมืองทาบานัน เพื่ออุทิศ แดเทพเจาและปศาจแหงทองทะเล เป็นวัด ที่มีความศักดิ์สิทธิ์ซึ่งชาวบาหลีใหความเคารพบูชาอยางมาก วัดทานาล็อตเป็นวัดที่ตั้งอยูบนชายหาดริมทะเล 1 ใน 5 ของเกาะบาหลี เรียกไดวายื่นลงไปในทะเลเลย ลักษณะการสรางบนโขดหินคลายเกาะ เล็ก ๆ เวลาน้ำาขึ้น จึงดูเหมือนวัดอยูกลาง ทะเล เวลาน้ำาลง ผูคนสามารถเดินขาม ทางเดินไปยังตัววัดได มีทิวทัศนและ บรรยากาศที่สวยงามโดยเฉพาะยามพระอาทิตยตกดิน

Page 13: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip22 23 23

เมืองเดนปาซาร์ (Denpasar)เมืองหลวงของเกาะบาหลี เป็นศูนยกลางความเจริญมาตั้งแตสมัยกอนการ

ปกครองของชาวดัตช มีประวัติศาสตรเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นที่นี่ รวมถึง

เหตุการณปูปูตัน มีตลาดผักผลไมและตลาดนกที่ใหญมาก รวมถึงวัดวา-

อาราม และสิ่งปลูกสรางตั้งแตครั้งอดีต และเป็นสถานที่จัดงานเทศกาล

ศิลปะบาหลีทุกๆ ปอีกดวย

อนุสาวรีย์นักรบปูปูตัน(Puputan Square)อนุสาวรียนี้สรางขึ้นจากเหตุการณที่ราชวงศ

และประชาชนบนเกาะบาหลีใชกริชแทง

ตัวเองและวิ่งเขาหาปืนของกองทัพชาวดัตช

ที่เขามายึดครองเกาะบาหลีสมัยอาณานิคม

เมื่อรอยกวาปที่แลว ชาวฮินดูบาหลีเรียกการ

ยอมตายเพื่อรักษาเกียรติยศวาปูปูตัน

พวกเขาเช่ือวาดวงวิญญาณของผูตายใน

ปูปูตันจะกลับไปหลอมรวมเป็นดวงเดียวกับ

เทพเจาบนสรวงสวรรค เพื่อจะไดลงมาเกิด

บนแผนดินเดิมท่ีพวกเขารักอีก ปูปูตัน จึงเป็น

การตายอยางสงางามเฉกเชนท่ีชาวคริสต

เรียกวา มรณะสักขี คือการตายเพ่ือธำารงรักษา

ความเชื่อถือศรัทธาของตนเองไว

วัดทามันอายุน(Taman Ayun Temple)วัดทามันอายุน เคยเป็นวังเกา สรางตอน ศตวรรษที่ 17 เพื่อใชประกอบพิธีกรรมของ กษัตริยราชวงศเม็งวี กำาแพง ประตูวัด กอดวยหินสูง แกะสลักลวดลายวิจิตรบรรจง หลังคาปูดวยหญาอลัง สิ่งกอสรางดานใน ตกแตงลวดลายงดงามตามแบบบาหลี ม ีสระน้ำาลอมรอบ

นาขาวขั้นบันไดที่หมูบานจาตีลูวีห์(Jatiluwih Terrace Village)หมูบ้านจาตีลูวีห เป็นหมูบานที่ปลูกขาว พันธุบาหลีทองถ่ินบนพื้นที่นาขาวเกษตร- อินทรียแบบข้ันบันไดท่ีวิวสวยท่ีสุด มีบรรยา- กาศที่เย็นสบายเพราะตั้งอยู ที่ความสูง 700 เมตรเหนือระดับน้ำาทะเล หมูบานจาตี- ลูวีหไดรับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกของ UNESCO เมื่อป 2009

วัดอูลุนดานูบราตัน(Ulun Danu Bratan Temple)วัดอูลันดานูบราตัน ตั้งอยูกลางน้ำาริม ทะเลสาบบราตัน มีฉากหลังเป็นภูเขาไฟ สูงทะมึน สรางตั้งแตสมัยศตวรรษที่ 17 เพ่ือใชทำาพิธีทางศาสนาพุทธและฮินดู รวมท้ังอุทิศแดเทวี ดานู เทพแหงสายน้ำา มีลักษณะเด นตรงศาลาซึ่ งมีหลังคา ทรงสูงที่เรียกวาเมรุ มุงดวยฟางซอนกัน ถึง 11 ชั้น

Page 14: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip 24

กาเมลันเป็นดนตรีประจำาชาติของประเทศอินโดนีเซียที่มีมายาวนานตั้งแตกอนศตวรรษที่ 15 ประเทศอินโดนีเซียซึ่งเป็นประเทศหมู เกาะมีวัฒนธรรมดนตรีที่แตกตางกันไปตามพื้นที่ การเลนดนตรีกาเมลันเป็นสวนหนึ่งของวิถีชีวิตชาวอินโดนีเซีย จะไดยินเสียงดนตรีกาเมลันทั้งในโรงเรียน วัด วังวิทยุกระจายเสียง และบรรเลงในพิธีกรรมศักดิ์สิทธิ์ งานรื่นเริง งานรับสง เจานาย และในการแสดง ตางๆ

กอนหนาท่ีบาหลีจะคึกคักไปดวยนักทองเท่ียว การแสดงตางๆ ในบาหลีเป็นสวนหนึ่งของ พิธีกรรม การแสดงเพ่ือแสดงความเคารพและ ถวายความรื่นรมยแกเทพเจาถูกดัดแปลงมา เป็นการแสดงเพ่ือคนท่ัวไป บทบาทท่ีเปล่ียนไป ไมไดขัดกับหลักการของศาสนาฮินดู คนบาหลี สามารถดำาเนินชีวิตตามวิถีทางวัฒนธรรม ของตนเองไดอยางสอดคลองกับอุตสาหกรรม การทองเท่ียว นานมาแลวท่ีนาฏลีลาออนชอย คลองแคลว เขมแข็ง จากรุนสูรุนภายในชุมชน ไดสืบทอดตอกันมา และเผยแพรสูสากล อาจ กลาวไดวานี่คือรูปแบบหนึ่งในการจัดการ ทองเที่ยวทางวัฒนธรรมจากฐานวิถีชีวิต และวัฒนธรรม

บาหลีกับการแสดงที่มาจากพิธีกรรมความเชื่อ

สำาหรับการแสดงและการฟอนรำาในพิธีสักการะเทพเจานั้น ดนตรีกาเมลัน มีความสำาคัญในการสรางการดำาเนินเรื่องใหมีชีวิตชีวา นาติดตามมากขึ้น ในบาหลี ทุกๆ “บันจาร” จะมีวงกาเมลันอยางนอย 1 วง ทันทีที ่บันจารของแตละหมูบานมีวัด มีสิ่งจำาเป็นในชีวิตแลว วงกาเมลันจะถูก กอตั้งขึ้น สมาชิกในหมูบานลวนมีความภาคภูมิใจในวงกาเมลันของตนเอง แมกระแสโลกจะโหมกระหน่ำา แตชาวบาหลีสวนใหญยังฟงเพลงบาหลีพื้นเมืองมากกวาเพลงจากโลกภายนอก

วายังกูลิต (Wayang Kulit) วายังกูลิต เป็นการแสดงหุนเงาของอินโดนีเซียมีตนกำาเนิดมาจากพอคาชาวอินเดียท่ีเขามายังเกาะชวาตั้งแตศตวรรษแรกๆ ตัวหุนทำาจาก หนังควายที่แกะสลักอยางวิจิตรและติดบน ไมไผ เนื ้อหาการแสดงในวายังกูลิตนิยม ตำานานท่ีโรแมนติก โดยเฉพาะนาฏกรรมมหา- ภารตะและรามายณะ ที่ผสมผสานกับเรื่อง-ราวในปจจุบัน โดยมี “ดาลัง” หรือผูกำากับการแสดงหุนเงาเป็นคนออกแบบทิศทางของเรื่องราว ตลอดจนเชิดหุนและพากษเสียงดวยตนเอง

ระบำ เคชัก (Kecak Dance)เคชักมีตนกำาเนิดท่ีหมูบานโบนาในป 1930 จากการกอเสียงอันดังเพ่ือขับไล โรคระบาดจากหมูบาน ในปจจุบัน ระบำาเคชักเป็นที่รูจักในชื่อของระบำาลิง วาดวยเร่ืองราวของพระรามและนางสีดาในมหากาพยรามเกียรต์ิ อันวาดวย

สงครามความรักระหวางความดีกับความช่ัว เคชักเป็นการแสดงท่ีใชนักแสดงมากท่ีสุด

และไมมีเครื่องดนตรีประกอบ มีแตเพียงเสียงของนักแสดงที่

มี จั ง ห ว ะ จ ะ โ คนส อ ด ค ล อ ง กั นราวกับดนตรีแหงธรรมชาติ

กาเมลัน (Gamelan Orchestra)ดนตรีที่ผลิบานกับบทบาทในชุมชน

Page 15: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip Bali Study Trip26 27 27

Jl. Gunung Agung

Jl. Gu

nung M

erapi

Jl. Gu

nung K

awi

Jl. Su lawesi

Jl. Gajah Mada

Jl. ArjunaJl. SumatraJl. Hasanuddin

Jl. Imam

Bonjo

lJl.

Bukit

Tungga

l

Jl. Kep

undung

Jl. Hayam Wuruk

Jl. Jem

piring

Gg. IX

Gg. V

Jl. Kec

ubung

Jl. Smu 3

Jl. Nusa Indah

Jl. Katrangan Jl. An

yelir

Gang Rama

Jl. Ud

ayana Jl. Kapten Agung

Kelod

Jl. Letda RetaJl. Rsad

Jl. Sutoyo

Jl. Dip

onegor

o

Jl. Teuku Umar

Jl. P.B

. Sudi

rman

Jl. Cak Agung Tresna

Jl. Kapten Tantular

Jl. Cut Nyak Dien

Jl. Kus

uma A

tmaja

Jl. Jayagiri XI

Jl. Ka

pten J

apa

Jl. Badak

Jl. Ba

dak Ag

ung Jl. Drupadi

Jl. De

wi Ma

dri Jl. Merdeka

Jl. Penjaitan

Jl. Prof. Mach. YaminJl. Jua

nda

Jl. Raya Puputan

Jl. LaksamanaJl. Hayam Wuruk

Jl. Narakusuma

Jl. Pandu

Jl. Akasia XVI

1

á¼¹·ÕèàÁ×ͧഹ»Ò«ÒÊ

1 Puri Kedaton Hotel âçáÃÁ·Õ่àÃҾѡ â·Ã. 62 361 2351372 Taman Budaya Arts Centre ªÁ¾Ô¸Õà»�´áÅСÒÃáÊ´§ 3 Institut Seni Indonesia Denpasar (ISI) 4 Balinese People Struggle Monument “Bajra Sandi” ªÁ¾Ô¸Õà»�´¹Ô·ÃÃÈ¡Òà 5 Puputan Square6 Bali Museum7 Pasar Badung áÅÐ Pasar Kumbarsari (µÅÒ´ºÒ´Ø§áÅеÅÒ´¤ÑÁºÒ«ÒÃÕ)

56

7

3

2

4

��������

Page 16: Bali Guidebook for D-Jung Space

Bali Study Trip 28

สัมผัสบาหลีด้วยความพร้อม• การแลกเงินสกุล Indonesian Rupiah (IDR/Rp.) จากเมืองไทยไดเรต

ดีกวา (เผื่อใครตองการซื้อของฝาก) หากจะนำาเงินดอลลารไปแลกเพิ่ม ที่บาหลี ขอใหเตรียมใบใหมๆ (ป 2010 เป็นตนไป) เพราะบางครั้งเขา ไมรับแลกแบงกเกา

IDR THB THB IDR USD IDR

10,000 28.25 20 7050 1 11500

20,000 56.75 50 17,650 5 57500

50,000 141.5 100 35,300 10 115000

100,000 283.25 1000 353,075 100 1115000

ถาเอาแบบคิดงายๆ ก็ประมาณ 10,000 IDR/Rp. ประมาณ 30 บาท หรือใชสูตร IDR/Rp. X 28 หาร 10,000 เทากับ เงินบาท(85000 rp. X 28 = 2,380,000 หาร 10,000 = 238 บาท)

• เตรียมปลั๊กไฟไปดวย ระบบไฟฟา AC220 เหมือนเมืองไทย แตหัวปลั๊กเป็นแบบกลมสองหัวจา

• เวลาบาหลีเร็วกวาเมืองไทย 1 ชั่วโมง ถาที่เมืองไทย เป็นเวลาเท่ียง ท่ีบาหลีก็บายโมง อยาลืมปรับนาฬิกานะ

• เตรียมรมหรือหมวกไปเจอแดดแรงๆ และฝนพรำาๆ • นำาผาถุงและผาโสรงพรอมผาคาดเอวไปดวย เวลาเขาวัดในบาหลี เป็น

ธรรมเนียมที่ตองนุงผาถุงหรือโสรง หากไมไดเตรียมไป จะตองไปซื้อหาหนาวัดนะจ๊ะ

• นำากระติกน้ำาหรือแกวน้ำาสวนตัวไปดวยนะ