basel ii implementation framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร...

19
หนาที1 มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย Basel II Implementation Framework www.bot.or.th Basel II Implementation Framework ผูอํานวยการอาวุโส ฝายตรวจสอบความเสี่ยงและเทคโนโลยีสารสนเทศ ปรีชา ปรมาพจน 1 7 2 5 4 9 0 3

Upload: hatram

Post on 21-Apr-2018

234 views

Category:

Documents


5 download

TRANSCRIPT

Page 1: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 1มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Basel II Implementation Framework

ผูอํานวยการอาวุโสฝายตรวจสอบความเสีย่งและเทคโนโลยีสารสนเทศ

ปรีชา ปรมาพจน

1 7 2 5 4 90 3

Page 2: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 2มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Topics of Discussion

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

การเตรยีมความพรอมของ สง. เพือ่รองรบัหลักเกณฑการดํารงเงนิกองทนุขั้นต่ํา สําหรับ

- ความเสีย่งดานเครดิต- ความเสีย่งดานปฏิบัติการ

Page 3: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 3มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel IIขอจํากัดของ current accord

ไมสะทอนความเสี่ยงของสินทรัพยของสถาบันการเงินอยางเพียงพอ อาทิ สินเชื่อธุรกิจเอกชน (corporate exposures) ถือวามีความเสี่ยงเทากันหมด ทั้งสินเชื่อปกติ และสินเชื่อดอยคุณภาพ เปนตนสินทรัพยที่สามารถนํามาปรับลดความเสีย่งดานเครดิตได (Credit risk mitigation) มีจาํกัดขาดหลักเกณฑที่ชัดเจนสําหรับการคํานวณเงินกองทุนเพื่อรองรับความเสีย่งสําหรับธุรกรรม securitization

Page 4: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 4มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

Pillar IMinimum Capital Requirements

Pillar IISupervisory Review Process

Pillar IIIMarket Discipline

การใชกลไกตลาดในการกํากับดูแล สง.กลาวถึงแนวทางการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับการประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน และการบริหารความเสี่ยงของ สง.

การดํารงเงินกองทุนขั้นต่ํากลาวถึงหลักเกณฑการคิดเงินกองทุนเพื่อรองรับความเสี่ยงดานเครดิต ดานตลาด และดานปฏิบัติการ

การกํากับดูแลโดยทางการกลาวถึงหลักการกํากับดูแล สง. ใหมีความมั่นคงและปลอดภัย มีการพฒันาระบบบริหารความเสี่ยงที่ดี และมีการดูแลให สง. มีการดํารงเงินกองทุนรองรับความเสี่ยงที่มี (รวมถึง residual risks ที่ Pillar I ไมไดกลาวถึงดวย เชน Concentration risk, Liquidity risk และ Interest rate risk in banking book เปนตน)

Page 5: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 5มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

Credit Risk

StandardisedApproach

Foundation IRBApproach

Advanced IRBApproach

Market Risk

StandardisedApproach

Internal ModelApproach

Operational Risk

Basic IndicatorApproach

StandardisedApproach

AdvancedMeasurementApproach *

Alternative SA Approach

Pillar IMinimum Capital Requirements

Pillar IISupervisory Review Process

Pillar IIIMarket Discipline

ครอบคลุมประเภทความเสี่ยงมากขึ้น หลักเกณฑที่ใชในการคํานวณเงินกองทุนสะทอนความเสี่ยงของสินทรัพยของ สง. มากยิ่งขึ้น เนื่องจากใชขอมูลลกูหนี้ และขอมูลความเสียหายภายใน สง.เปนหลักเพิ่มทางเลือกในการประเมินความเสี่ยง โดยให สง.สามารถเลือกแนวทางที่เหมาะสมกบัตนเองมากยิง่ขึ้นเพิ่มประเภทสินทรัพยที่สามารถนํามาปรบัลดความเสี่ยงดานเครดิต (credit risk migration)ทั้งนี้ คํานิยามเงินกองทุน และอัตราสวนเงินกองทุนตอสินทรัพยเสี่ยงขั้นต่ํา (8.5%) ไมเปลี่ยนแปลง

* ธปท. ยังไมมีนโยบายออกเกณฑฯ สาํหรับความเสี่ยงดานปฏิบัติการ โดยวิธ ีAMA

Page 6: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 6มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

Pillar IMinimum Capital Requirements

Pillar IISupervisory Review Process

Pillar IIIMarket Discipline

หลักการขอที่ 1 หลักการขอที่ 2ดูแลให สง. มรีะบบประเมินความเพียงพอของเงินกองทุน เพื่อรองรับความเสี่ยงที่ยังไมไดมีการคํานึงถึงใน Pillar 1

ผูกํากบัมีหนาที่ดูแลและประเมินระบบการประเมนิความเพียงพอของเงินกองทุน สง. ตลอดจนความสามารถของ สง. ในการดําเนินการไดอยางเหมาะสมเมือ่มีเงินกองทุนไมสอดคลองกับความเสี่ยงของตนเอง

ดูแลให สง. มกีารดํารงเงินกองทุนสูงกวาอัตราสวนเงินกองทุนขัน้ต่ําที่กําหนด

ผูกํากบัควรมแีนวทางที่ชัดเจนในการจัดการกบั สง.ที่มปีญหาหรอืเพื่อปองกนัไมให สง. มีเงินกองทุนต่ํากวาอัตราขั้นต่ําที่กําหนด

หลักการขอที่ 3 หลักการขอที่ 4

Residual Risks- Strategic Risk- Liquidity Risk- Concentration Risk- Market Risk:

interest rate risk in banking book

etc.

Page 7: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 7มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

Pillar IMinimum Capital Requirements

Pillar IISupervisory Review Process

Pillar IIIMarket Discipline

วัตถุประสงค ให Market participants มีความเขาใจในลกัษณะความเสี่ยงและความเพียงพอของเงินกองทุนของ สง. เพื่อใชเปนกลไกในการกํากับดูแลความเพียงพอของเงินกองทุนของ สง. โดยมีแนวทางหลัก คือ การเปดเผยขอมูล ซึ่งโดยทั่วไปควรเปดเผยทุก 6 เดือนขอมูลที่สําคัญขอบเขตของการใช Basel II องคประกอบของเงินกองทุน ยอดหนี้แตละประเภท กระบวนการควบคุมและบริหารความเสี่ยง และความเพียงพอของเงินกองทุน

Page 8: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 8มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

Pillar IIIMarket Discipline

Pillar IMinimum Capital Requirements

Pillar IISupervisory Review Process

การเปดเผยขอมูลเงินกองทุน การเปดเผยขอมูลความเสี่ยง

โครงสรางเงินกองทุน (capital structure) ขอมูลความเสี่ยงดานเครดิต

- สรปุรายละเอียด capital instrument ตางๆ- เงินกองทุนชั้นที่ 1 และ 2 แยกรายละเอียดเปนรายรายการ

ขอมูลความเสี่ยงดานตลาด

ขอมูลความเสี่ยงดานปฏิบัติการ ความเพียงพอของเงินกองทุน (capital adequacy)

ขอมูลความเสี่ยงจากการลงทุนในตราสารทุน- วิธีการที่ใชในการประเมนิความเพียงพอของเงินกองทุน- เงินกองทุนที่ตองดํารงไวรองรับความเสี่ยงดานเครดิต ดานตลาด และดานปฏิบัติการ

- เงินกองทุนที่ตองดํารงไวตามกฎหมายสําหรบักลุมธรุกิจ และ significant bank subsidiaries

ขอมูลความเสี่ยงดานอัตราดอกเบี้ยในบัญชีเพื่อการธนาคาร

Page 9: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 9มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

การบังคับใชและการทดลองคํานวณเงินกองทุนสรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

2549

ธ.ค.ก.ย.

สง. ยื่นแผนการดํารงเงินกองทุนตาม Basel II

ธ.ค.

Basel II preparation

Basel II Approval

มิ.ย. ก.ย. ธ.ค.ก.พ. ธ.ค.

25522549 2550 25512550 2553

ธปท. ตรวจสอบเพื่อประเมินความพรอมของ สง. เบื้องตน(pre-approval examination)

SA/SSA ทดลอง X X XFIRB ทดลอง X (95%) X (90%) X (80%)AIRB ทดลอง ทดลอง X (90%) X (80%)

BIA/SA ทดลอง X X XASA

Final Draft

สง. ยื่นแผนการดํารงเงินกองทุนตาม Basel II ในเบื้องตน

SA Standardised ApproachSSA Simplified Standardised ApproachFIRB Foundation Internal Ratings-Based ApproachAIRB Advance Internal Ratings-Based ApproachBIA Basic Indicator ApproachASA Alternative Standardised Approach

Page 10: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 10มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Topics of Discussion

สรุปภาพรวมหลักเกณฑการกํากับดูแลตาม Basel II

การเตรยีมความพรอมของ สง. เพือ่รองรบัหลักเกณฑการดํารงเงนิกองทนุขั้นต่ํา สําหรับ

- ความเสีย่งดานเครดิต- ความเสีย่งดานปฏิบัติการ

Page 11: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 11มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

ภาพรวมการเตรียมความพรอมระบบการบริหารความเสี่ยงการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

Database

Credit RiskInternal Rating

Portfolio Model

Market RiskModel

Operational RiskModel

External Data(optional)

Internal Data

Residual Risk Pillar II (Capital Adequacy)

Risk Management

EL

UL

provision

capital

EL = Expected LossUL = Unexpected Loss

economic capital

regulatory capital

Pillar I

Pillar III (Data Disclosure)

control-self assessment

stress testing

Monitoring / reporting

Methodology and Processinput output

Loan Portfolio Management

Internal Ratings System

Model Validation

Page 12: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 12มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

ภาพรวมการเตรียมความพรอมระบบการบริหารความเสี่ยงการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

คณะกรรมการและผูบริหารระดับสูง ควรสนับสนุน และใหความรวมมืออยางเพียงพอ มีคุณสมบัติ ความรู และความสามารถ มีความทุมเท และใหความสําคัญกับการบริหารความเสี่ยง

นโยบายการบริหารความเสี่ยงมีความสอดคลองกับความเสี่ยงที่มีมีความเปนไปไดในทางปฏิบัติมีการตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมอยางทันกาลมีการสื่อสารอยางถูกตอง และผูปฏิบัติเขาใจอยางทั่วถึง

ระบบการบริหารความเสี่ยงตองมีการบริหารความเสี่ยงในระดับ Portfolioมีระบบการติดตามและการควบคุมภายในที่ดีมีเครื่องมือวัด/บริหารความเสี่ยงที่เพียงพอ และมีประสิทธิภาพควรพัฒนา statistical based approach ควรใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบขอมลู

Business 3

Risk management Audit function

CEO RMC

BOD

credit

market

operational

credit review

AC

Business 2

Business 1

Page 13: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 13มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Pillar I: เงินกองทุนสําหรับความเสี่ยงดานเครดิตการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

Risk Sensitivity high

Standardised Approach Foundation IRB Approach

• อางอิงการจดัระดับความเสี่ยงจากสถาบันจัดอันดับภายนอก(external rating)

• ธปท. กําหนดน้ําหนักความเสี่ยงระหวาง 0-150 ขึ้นอยูกบัประเภทสินทรัพย และ external rating

• ธปท. อนุญาตใหใชวิธีการปรบัลดความเสี่ยงได 3 วิธีคือ

- หลักประกันทางการเงิน- Netting Agreement- การค้ําประกัน และตราสารอนุพันธ

• อางอิงการจดัระดับความเสี่ยงจากระบบการจัดระดับความเสี่ยงของ สง. (internal rating)

• น้ําหนักความเสี่ยงขึ้นอยูกบั risk weight function ที่ ธปท. กําหนด และคา probability of default ซึ่งคํานวณโดย สง. เอง

• ธปท. กําหนดคาองคประกอบความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งไดแก Loss Given Default, Maturity, และวิธีการคํานวณคา Exposure at Default ให

• อางอิงการจดัระดับความเสี่ยงจากระบบการจัดระดับความเสี่ยงของ สง. (internal rating)

• น้ําหนักความเสี่ยงขึ้นอยูกบั risk weight function ที่ ธปท. กําหนด และคาองคประกอบความเสี่ยง คือ Probability of default, Loss Given Default, Exposure at Default และ Maturity ซึ่งคํานวณตามแนวทางและวิธีการที่ สง. กําหนด

Advanced IRB Approach

Page 14: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 14มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Pillar I: การเตรียมระบบงานรองรับการคํานวณเงินกองทุนการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

System Complexity high

Standardised Approach Foundation IRB Approach Advanced IRB Approach

• ระบบการเชื่อมโยง external rating, กระบวนการพิจารณาสินเชื่อ,การกําหนดประเภทสินทรัพย,การกําหนดน้ําหนักความเสี่ยง และคํานวณคาสินทรัพยเสี่ยง และการคํานวณเงินกองทุน

• ระบบการจัดระดับความเสี่ยงดานเครดิตและการประมาณคา PD ที่สอดคลองกบัเกณฑมาตรฐานขั้นต่ําที่ ธปท. กําหนด

• ระบบการเชื่อโยงกระบวนการจัดระดับความเสี่ยงเขากับกระบวนการพิจารณาสินเชื่อ และการบริหารความเสี่ยงดานเครดิต เชน pricing, stress testing, credit risk mitigation และการกนัสํารอง เปนตน

• ระบบการคํานวณคาสินทรัพยเสี่ยง โดยเชื่อมโยงคา PD ที่ สง. คํานวณได กบัคาองคประกอบความเสี่ยงอื่นๆ ตามที่ ธปท. กําหนด

• เชนเดียวกับ FIRB• ระบบการคํานวณคาองคประกอบความเสี่ยงอื่นๆ ซึ่งไดแก Loss Given Default, Exposure at Default และ Maturity

• ทั้ง FIRB/AIRB ตองปฏิบัติตามเงื่อนไขขั้นต่ําที่ ธปท. กําหนด คือ

- internal rating ไมต่ํากวา 7 + 1 ระดับ - มีการเกบ็ขอมูลยอนหลังและระบบ IT ที่ดี- มีการประเมินความเสี่ยงและการทดสอบความแมนยํา

- มีระบบการบริหารความเสี่ยงที่ดี- มีการเปดเผยขอมลูตาม Pillar III

Page 15: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 15มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Pillar I: เงินกองทุนสําหรับความเสี่ยงดานปฏิบัติการการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

• ดํารงเงินกองทุน 15% ของรายไดรวม (gross income) เฉลี่ย 3 ป ยอนหลัง

• ดํารงเงินกองทุนระหวาง 12-18% ของรายไดรวม (gross income) ของแตละสายธรุกิจ

• แบงสายธรุกจิออกเปน 8 สายธรุกิจตามที่ ธปท. กาํหนด

• ดํารงเงินกองทุนซึ่งสะทอนความเสี่ยงของ สง. โดยวิธีการภายในของ สง. เอง

• ธปท. ยังไมกาํหนดหลักเกณฑ และยังไมอนุญาตให สง. ดํารงเงินกองทุนดวยวิธีนี้ ในขณะนี้

Risk Sensitivity high

Basic Indicator Approach Standardised Approach Advanced MeasurementApproach

Page 16: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 16มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Pillar I: การเตรียมระบบงานรองรับการคํานวณเงินกองทุนการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

System Complexity high

Basic Indicator Approach Standardised Approach Advanced MeasurementApproach

• ธปท. ยังไมกาํหนดหลักเกณฑ และยังไมอนุญาตให สง. ดํารงเงินกองทุนดวยวิธีนี้ ในขณะนี้

• มรีะบบการเชื่อมโยงขอมลูใหสอดคลองกบัการแบงสายงานธุรกิจที่สอดคลองกบัที่ ธปท. กําหนด

• มรีะบบการจดัเกบ็ฐานขอมูลเหตุการณความเสียหายตามหนังสือเวียนที่ ธปท. กาํหนด

• มรีะบบการบริหารและจัดการความเสีย่งที่ดี และสอดคลองกับแนวทางที่พึงปฏิบัติ 10 ขอของ BIS

• มรีะบบการจดัเกบ็ฐานขอมูลเหตุการณความเสียหายตามหนังสือเวียนที่ ธปท. กําหนด

• มรีะบบการบริหารและจัดการความเสี่ยงที่ดี และสอดคลองกบัแนวทางที่พึงปฏิบัติ 10 ขอของ BIS

Page 17: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 17มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Pillar I: การเตรียมความพรอมระบบบริหารความเสี่ยงดานปฏิบัติการการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

BL Risk level

1 4 3 5

..... .. .....

..... .. .....

..... .. .....

..... .. .....

EL EC ULExternal

Database

Process Risk driver Risk Indicators Controls

...

...

...

...

...

...

...

...

...

...

...

...

Internal Database

Scen

ario

Qua

ntita

tive

Ana

lysis

Risk StandardsSelf Assessment Process

Business Process Mapping Risk Indicators

Internal Incident TrackingExternal Incident Tracking

Scenario AnalysisQuantitative Analysis

Capital AllocationManagement Reporting

1. Corporate Finance2. Trading and Sales

IndustryBenchmarking

BIS sound practice(10 principles)

3. Retail Banking4. Commercial Banking5. Payment and Settlement6. Agency Services7. Asset Management8. Retail Brokerage

Page 18: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 18มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

Pillar I: ตัวอยางการจัดเก็บขอมูลเหตุการณความเสียหายการเตรียมความพรอมของระบบงานตาม Basel II

1. ผจก. สาขากาํชับพนกังาน teller ใหปฏิบัติตามกฎระเบียบเรื่องบัญชีเงินฝากอยางเครงครัด พรอมแจงลูกคาทราบภายใน 1 เดือน

2. ตรวจสอบและกาํชับสาขาอืน่ๆ ภายใน 1 เดือน

50050,000LET 1(internal-fraud)

พนกังานธนาคารไดรับความไว วาง ใจจากลกูคาธนาคารทีอ่ยูใกลสาขาใหเบกิเงนิแทนเจาของบญัชี

พนกังานเบิกเงินจากบัญชีของลูกคาโดยทุจริต(Teller Fraud)

15/2/49BL 3(RB)

Branch –Tellerบางขนุพรหม

การปองกันความเสียหายในอนาคต

คาใชจายในการ

ดําเนินงาน

จํานวนความเสี่ยหาย

ประเภทเหตุการณ

สาเหตุรายละเอียดเหตุการณ

วันที่สายธุรกจิหนวยงาน

http://www.bot.or.th/fipcs/Documents/FPG/2547/ThaiPDF/25470070.pdf

Page 19: Basel II Implementation Framework - cisco.com¸¡ุ ั่ัฒนางมนพ สร างคุณค าเพื่อไทย หน ี่าท 2 Basel II Implementation

หนาที่ 19มุงมั่นพัฒนา สรางคุณคาเพื่อไทย

Basel II Implementation Framework

www.bot.or.th

ประเด็นปญหา และคาํถามเพิ่มเตมิโปรดติดตอ

สวนตรวจสอบความเสี่ยงฝายตรวจสอบความเสี่ยงและเทคโนโลยีสารสนเทศสายกํากับสถาบันการเงิน

0 2356-7521, 0 2283-6946