concept & application for irrigation...

18
Concept & Application for Irrigation Work ASTM D 698 Standard Compaction Effort / ASTM D 1557 Modified Compaction Effort

Upload: others

Post on 22-Oct-2020

3 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

  • Concept & Application for Irrigation WorkASTM D 698 – Standard Compaction Effort / ASTM D 1557 – Modified Compaction Effort

  • ประวตัิความเป็นมา

    RR. Proctor (1933) ได้ก าหนดวิธีทดสอบหาความสัมพนัธ์ระหว่างเปอร์เซ็นต์การบดอัดกบัความแน่นของดนิที่ได้จากการบดอดัในห้องปฏิบัตกิารในขณะก าลงัสร้างเขื่อนใน LOS ANGELES ซ่ึงต่อมาเป็นที่ยอมรับและนิยมใช้ในงานทั่วไปว่าเป็นเป็นวธีิทดสอบมาตรฐาน (Standard Proctor Test)

    ต่อมาเทคโนโลยมีีการพฒันามากขึน้ การขนส่งมีขนาดใหญ่ขึน้ บรรทุกได้มากขึน้หลายเท่า พลงัที่ใช้ในการบดอดัจึงจ าเป็นต้องเพิม่มากขึน้ด้วย จึงเป็นที่มาของการก าหนดวธีิการทดสอบการบดอดัดนิโดยเพิม่พลงังานให้สูงขึน้ เพือ่ให้ได้ดนิที่มีความแน่นสูง รับน า้หนักได้มากขึน้ เรียกว่า (Modified Proctor Test)

  • วตัถุประสงค์การเรียนรู้

    อธิบายความสัมพนัธ์ระหว่างปริมาณน า้กบัความแน่นของวสัดุได้

    อธิบายขอบข่ายการทดลอง มาตรฐานการบดอดัวสัดุทั้ง 2 มาตรฐานได้

    สามารถปฏิบัติการทดลองตามขั้นตอน และใช้เคร่ืองมอืได้

    บันทกึผล ค านวณ อธิบายความสัมพนัธ์ของผลการทดลองได้

  • การบดอดัดนิ คอื การปรับปรุงคุณภาพดินโดยการประยุกต์ใช้พลงังานเชิงกล เพือ่ท าให้ดินแน่นขึน้โดยการไล่อากาศออกไปจากดนิ และเป็นการปรับปรุงปริมาณความช้ืนในมวลดนิ ให้มีความเหมาะสมที่ดทีี่สุด และวดัปริมาณความแน่นของดนิในรูปความแน่นแห้งหรือหน่วยน า้หนักแห้ง

    ทฤษฎทีีเ่กีย่วข้อง

  • งานเขือ่น/อ่างเกบ็น า้

  • ถนน/อาคารประกอบ (หินคลุก/ลูกรัง/วสัดุคดัเลอืก)

  • การเตรียมตัวอย่างดิน

    ร่อนตัวอย่างดินผ่านตะแกรงตามวิธี A, B หรือ C โดยท้ังนี้ขึ้นอยู่กับขนาดคละของตัวอย่างดิน

  • ขั้นตอนการทดสอบ

    เตรียมตัวอย่างดิน ตัวอย่างละ 2.5 – 3 กิโลกรัม เตรียมดินตัวอย่างแรกให้มีความชื้นใกล้ OMC และที่เหลือให้มีความชื้นน้อยกว่าและมากกว่า OMC อย่างละ 2 ตัวอย่าง หมักไว้ประมาณ 16 ชั่วโมง

    ฐานโมลยึดติดกับแท่นคอนกรีตหนักไม่น้อยกว่า 90 กิโลกรัมตักดินใส่ในโมลตามวิธีการบดอัด

  • ขั้นตอนการทดสอบ

    บดอัดดินตามวิธีการบดอัด

    ชั้นสุดท้ายดินต้องไม่สูงเกินขอบโมล ¼ นิ้ว (6 มิลลิเมตร)และไม่ต่่ากว่าขอบโมลแต่งดินให้เรียบเสมอขอบโมล น่าไปชั่งน้่าหนัก

  • ขั้นตอนการทดสอบ

    ดันตัวอย่างดินออกจากโมลเก็บตัวอย่างหาความชื้น

    ท่าการบดอัด อย่างน้อย 4 ตัวอย่าง น่ามาพล๊อตกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความแน่นแห้งและความชื้น

  • Plotting moisture content and dry density relationship to determine O.M.C and Max. dry density (See example)

    GO TO THE EXAMPLE IN LAB.

    การค านวณและการรายงานผล

    Moisture content

    Wet Density

    Dry Density

    100*)(

    )()(

    CanCanDrySoil

    CanDrySoilCanWetSoilw

  • ความสัมพนัธ์ระหว่างความแน่น ปริมาณน า้และพลงังาน

  • การน าไปใช้งาน (อ้างองิ)

  • ข้อควรระวงั

    วสัดุลูกรัง หรือกรวด ควรทุบดนิจนเมด็ดนิแตก ถ้าเป็นดนิเหนียวควรผึง่ให้แห้งแล้วจึงทุบให้ละเอยีด

    ต้องวางโมลบนพืน้เรียบและมคีวามแขง็แรงมัน่คง เพือ่ไม่ให้โมลยกตัวขณะท าการตอก เพราะจะท าให้เกดิการสูญเสียพลงังานได้

    เมือ่ทดสอบจนน า้หนักดนิลดลงแล้ว ควรท าต่ออกีหน่ึงคร้ัง

    ตวัแปรควบคุม

    ความหนาแน่นแห้ง / ปริมาณความช้ืน / พลงังานการบดอดั / ชนิดของวสัดุ

  • ASTM D 698 : Standard Test Method for Laboratory Compaction Characteristics of Soil Using Standard Effort

    ASTM D 1557 : Standard Test Method for Laboratory Compaction Characteristics of Soil Using Modified Effort

    สวพ. ทล. 305/2551 : มาตรฐานการทดสอบการบดอดัแบบมาตรฐานในห้องปฏิบัติการ

    สวพ. ทล. 306/2551 : มาตรฐานการทดสอบการบดอดัแบบสูงกว่ามาตรฐานในห้องปฏิบตัิการ

    สถาพร คูวจิิตรจารุ : ทดลองปฐพกีลศาสตร์

    เอกสารอ้างองิ / REFERENCES