department of fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1...

26

Upload: others

Post on 09-Jul-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร
Page 2: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร
Page 3: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร
Page 4: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

เอกสารหมายเลข 3 โครงรางการเสนอผลงาน

1. ชื่อผลงาน เร่ืองท่ี 1 การเล้ียงปูทะเล (Scylla paramamosain Estampador, 1949) ดวยอาหารสําเร็จรูป

2. ระยะเวลาท่ีดําเนินการ 1 ป (ตุลาคม 2551 – กันยายน 2552)

3. ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดท่ีใชในการดําเนินการ ปูทะเลมีช่ือวิทยาศาสตรวา Scylla spp. ช่ือสามัญคือ Mud crab อยูในครอบครัว Portunidae

พบไดท่ัวไปตลอดแนวชายฝงทะเลที่ มีปาชายเลนต้ังแตเขตอบอุนถึงเขตรอน เขตอินโดแปซิฟกต้ังแต ทวีปแอฟริกา ออสเตรเลีย และเอเชีย สําหรับในประเทศไทยพบแพรกระจายอยูทุกจังหวัดท่ีติดชายฝงทะเล โดยอาศัยอยูตามแมน้ําลําคลองท่ีมีอาณาเขตติดตอกับแนวชายฝงทะเลหรือปาชายเลน ซ่ึงชนิดของปูทะเลที่พบมากท่ีสุดมี 2 ชนิด คือ ปูดํา (Scylla olivacea Herbst, 1796) พบการแพรกระจายมากที่สุดทางฝงทะเลอันดามัน ตั้งแตจังหวัดภูเก็ต ระนอง กระบ่ี ตรัง และสตูล (สุภาพ, 2536) ปูขาว (Scylla paramamosain Estampador, 1949) พบการแพรกระจายมากท่ีสุดทางฝงทะเลอาวไทย ตั้งแตจังหวัดจันทบุรี ชลบุรี ประจวบคีรีขันธ ชุมพร สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช และปตตานี (รัชฎา และสํารวย, 2538) ปูทะเลเปนอาหารทะเลท่ีมีรสชาติดี และมีคุณคาทางโภชนาการสูง โดยมีปริมาณโปรตีน 20.10 เปอรเซ็นต ไขมัน 4.0 เปอรเซ็นต และคารโบไฮเดรต 0.8 เปอรเซ็นต (บรรจง และบุญรัตน, 2545) ดังนั้นจึงเปนท่ีนิยมของผูบริโภค แตปจจุบันปริมาณปูทะเลในธรรมชาติลดลงไมเพียงพอตอความตองการของผูบริโภค ดวยเหตุนี้ทําใหราคาการจําหนายคอนขางสูงเม่ือเปรียบเทียบกับสัตวน้ําชนิดอ่ืนๆ ท่ีสามารถเพาะเล้ียงได ในสวนของกรมประมงไดผลิตพันธุปูทะเลเพื่อปลอยเสริมในแหลงน้ําธรรมชาติ และสงเสริมดานการใหเกษตรกร โดยรูปแบบการเล้ียงสามารถแบงได 2 แบบ คือ การเล้ียงปูทะเลขุน และการเล้ียงจากปูทะเลขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ แตการเล้ียงของเกษตรกรประสบปญหาสําคัญ คือการขาดแคลนลูกพันธุปูทะเล ตนทุนอาหารท่ีใชเล้ียงคอนขางสูง และไมสามารถหาไดตลอดท้ังป เนื่องจากอาหารท่ีใชเล้ียงนั้นรวบรวมไดจากธรรมชาติท้ังส้ิน เชน ปลาเปด เนื้อปลาหลังเขียวสด หอยกะพง เปนตน ดวยเหตุนี้จึงทําใหในบางฤดูกาลขาดแคลนและมีราคาสูง ดังนั้นอาชีพการเล้ียงปูทะเลยังไมสามารถขยายเปนเชิงธุรกิจไดเหมือนกับการเล้ียงสัตวน้ําประเภท กุงหรือปลา ปญหาการขาดแคลนอาหารสดสําหรับการเล้ียงปูทะเลในบางฤดูกาลนับเปนประเด็นท่ีควรนํามาพิจารณาเพ่ือแกปญหาการเล้ียงปูทะเลใหยั่งยืนเปนอยางยิ่ง ในสวนของการพัฒนาสูตรอาหารสําเร็จรูปเพื่อเล้ียงปูในประเทศไทยนั้น สุพิศ และคณะ (2548) ศึกษาสูตรอาหารสําเร็จรูปสําหรับเล้ียงปูมา พบวาปูมาท่ีมีน้ําหนักในชวง 0.15 - 1.80 กรัม มีผลการเจริญเติบโตดีท่ีสุด เม่ือไดรับอาหารสําเร็จรูปท่ีมีระดับโปรตีนรอยละ 34 - 46 และปูมาท่ีเล้ียงดวยอาหารโปรตีนสูงสุดทําใหจํานวนคร้ังในการลอกคราบสูงสุดแตไมมีผลตออัตราการรอดตายของปูมา ประเทศฟลิปปนสไดศึกษาถึงการใชอาหารสําเร็จรูปสําหรับเล้ียงปูทะเล (Scylla serrata) ดวยอาหารเม็ดสําเร็จรูป พบวาปูทะเลเล้ียงดวยอาหารท่ีมีโปรตีน รอยละ 32-40 ไขมัน รอยละ 6 และ 12 ใหผลการเจริญเติบโตดีท่ีสุด

Page 5: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

2

4. สรุปสาระและขั้นตอนการดําเนินการ วิธีดําเนินการทดลอง 1. การเตรียมอาหารทดลอง ใชอาหารสําเร็จรูปซ่ึงเปนสูตรสําหรับเล้ียงปูมาตาม มนทกานติ และคณะ (2551) ขนาดเสนผานศูนยกลาง 2 มิลลิเมตร ความยาว 5 มิลลิเมตร ท่ีผลิตโดยสถาบันวิจัยอาหารสัตวน้ําชายฝง มีสวนผสมของวัตถุดิบอาหารทดลอง (ตารางท่ี 1) หลังจากนั้นนําอาหารท่ีผลิตเสร็จแลวมาเก็บรักษาที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส สําหรับเนื้อปลาหลังเขียวสด นํามาแลเอาเฉพาะสวนเนื้อ ตัดเปนช้ินๆขนาดความกวางประมาณ 3 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 8 มิลลิเมตร เก็บไวท่ีอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ใชหมดภายใน 1 – 2 วัน แลวเตรียมใหม 2. คุณคาทางโภชนาการของอาหารทดลอง องคประกอบทางโภชนาการของอาหารสําเร็จรูปและเนื้อปลาหลังเขียวสด (ตารางท่ี 2) 3. การใหอาหารทดลองและการจัดการคุณภาพน้ํา ใหอาหารสําเร็จรูปและเนื้อปลาหลังเขียวสด ในอัตราท่ีมากเกินพอ วันละ 2 ม้ือ เวลาประมาณ 08.00 น. และ 17.00 น. ดูดตะกอนและเก็บเศษอาหารเหลือวันละ 2 คร้ัง ในเวลาประมาณ 07.00 น. และเวลา 16.00 น. เปล่ียนถายน้ําสัปดาหละ 1 คร้ัง

Page 6: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

3

ตารางท่ี 1 สวนผสมของอาหารสําเร็จรูปท่ีใชทดลองเล้ียงปูทะเล (S. paramamosain)

วัตถุดิบ เปอรเซ็นต 1. ปลาปน (โปรตีนไมนอยกวา 60%) 28.00 2. กากถ่ัวเหลือง 16.60 3. หมึกบด 11.20 4. หัวกุงปน 5.60 5. แปงสาลี 15.50 6. น้ํามันปลา 2.90 7. น้ํามันปาลม 2.90 8. หวีทกลูเทน 6.00 9. วิตามินรวม 2.00 10.แรธาตุรวม 4.00 11. วิตามินซี 99 % 0.30 12. เลซิติน 0.50 13. BHT 0.02 14. CMC 1.00 15. ไคโตซาน 1.20 16. เซลลูโลส 2.28 รวม 100.00

หมายเหตุ * วิตามินรวมประกอบดวยวิตามินตาม Conklin (1997)ในปริมาณกรัมตอกิโลกรัมวิตามินรวม Thiamine 45, riboflavin 40.32, nicotinic acid 73.4, Ca-pantothenate 48, inositol 196, biotin 1, folic acid 3.36, cyanocobalamin 0.01, menadion 26.56, vit A/D3 (1150/230 IU) 4.6, BHT 2 และ cellulose 559.75 ** แรธาตุรวมประกอบดวยแรธาตุดังตอไปน้ี KH2PO4 : CaHPO4

.2H2O : NaH2PO4.2H2O : KCl

ผสมกันในอัตราสวน 1:1:1.5:0.5 (Davis and Lawrence, 1997)

ตารางท่ี 2 องคประกอบทางเคมีอยางหยาบของอาหารสําเร็จรูปและเนื้อปลาหลังเขียวสดท่ีใชในการทดลอง

องคประกอบทางเคมีอยางหยาบ (% น้ําหนักแหง)

% ความช้ืน โปรตีน ไขมัน เยื่อใย เถา คารโบไฮเดรต

พลังงานรวม (Kcal/100g)

อาหารสําเร็จรูป 7.81 47.19 12.25 12.37 15.25 22.94 471.70 เนื้อปลาหลังเขียวสด 62.78 72.93 4.85 0.20 12.71 9.31 493.60 ท่ีมา : สถาบันวิจัยอาหารสัตวน้ําชายฝง

Page 7: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

4

4. การเตรียมพันธุปูทะเล นําลูกปูทะเลท่ีเพาะพันธุไดจากโรงเพาะฟกของศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี มาปรับสภาพใหปูทะเลคุนเคยกับอาหารทดลองเปนเวลา 7 วัน แลวสุมลูกปูทะเลท่ียอมรับอาหารทดลองปลอยลงในบอทดลองชองละ 1 ตัว ทดลองเล้ียงเปนระยะเวลา 12 สัปดาห 5. การเก็บขอมูลและวิเคราะหผลการทดลอง 5.1 ตรวจสอบการลอกคราบของปูทะเลทุกตัว ในแตละชุดทดลองทุกวัน บันทึกขอมูลการลอกคราบ และอัตราการรอดตายของปูทะเลทุกวัน ทําการวัดขนาดความกวาง ความยาวของกระดองปู และช่ังน้ําหนักสัปดาหละ 1 คร้ัง 5.2 ตรวจวัดคุณภาพน้ําในบอทดลอง ไดแก ความเค็ม อุณหภูมิ ความเปนกรดเปนดาง คาความเปนดาง ปริมาณออกซิเจนละลายในน้ํา แอมโมเนียรวม ไนไตรท ฟอสเฟต สัปดาหละ 1คร้ัง ตามวิธีของ APHA, AWWA and WPCF (1980) 5.3 เก็บตัวอยางปูทะเลท่ีทดลองเสร็จแลวไปวิเคราะหคุณคาทางโภชนาการท่ีสถาบันวิจัยอาหารสัตวน้ําชายฝง โดยนําไปทําแหงดวยเคร่ืองทําแหงดวยความเย็น (Freeze Dryer) เพื่อนําไปวิเคราะหองคประกอบทางเคมี ไดแก ปริมาณโปรตีนดวยเคร่ือง TruSpec Carbon/Nitrogen Determination ยี่หอ LECO วิเคราะหปริมาณไขมันดวยเทคนิค Supercritical Fluid Extraction (SFE) โดยใชเคร่ือง Fat Extractor TFE2000 ยี่หอ LECO ปริมาณกรดไขมันดวยเคร่ือง Gas Chromatograph Parameters รุน Agilent 6890N วิเคราะหปริมาณเถา และเปอรเซ็นตความช้ืนตามวิธี AOAC (1984) 5.4 วิเคราะหผลการทดลอง เม่ือส้ินสุดการทดลองนําผลขอมูล น้ําหนัก ความกวาง ความยาวของกระดอง เปอรเซ็นตการเพิ่มของการเจริญเติบโต (น้ําหนัก ความกวาง และความยาวกระดอง) อัตราการรอดตาย และการลอกคราบในแตละชุดการทดลองหาคาเฉล่ียและคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน และวิเคราะหความแตกตางทางสถิติ โดยวิธี t-test ท่ีระดับความเช่ือม่ัน 95 เปอรเซ็นต โดยใชโปรแกรม Microsoft Excel

5. ผูรวมดําเนินการ 5.1 นางอาภรณ เทพพานิช สัดสวนงาน 60 % (หวัหนาโครงการ) 5.2 นางสาวมนทกานติ ทามต้ิน สัดสวนงาน 20 %

นางสิริวรรณ หนูเซง สัดสวนงาน 20 % 5.3

Page 8: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

5

6. สวนของงานท่ีผูเสนอเปนผูปฏบิัต ิ

วางแผนการทดลอง ดําเนินการทดลอง เก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล เขียนรายงาน

7. ผลสําเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คุณภาพ) สามารถนําขอมูลท่ีไดไปพัฒนาปรับปรุงสูตรอาหารสําเร็จรูปสําหรับการเล้ียงปูทะเลโดยตรง เพื่อลดปญหาการขาดแคลนอาหารสดสําหรับการเล้ียงปูทะเล ซ่ึงจะเปนประโยชนแกเกษตร และภาคเอกชนท่ีเกีย่วของกับการเล้ียงสัตวน้ําประเภทปูในอนาคตได

8. การนําไปใชประโยชน สามารถนําไปพัฒนาปรับปรุงสูตรอาหารสําหรับเล้ียงปูทะเลท่ีมีความสมบูรณมากขึ้น และเปนการ

ทดแทนการใชอาหารสดในการเล้ียงสัตวน้ํา ทําใหเกษตรกรมีความสะดวกในการดูแล เก็บรักษา ดานการจัดการ

และสามารถใชไดตลอดทุกฤดูกาล แกปญหาการขาดแคลนอาหารสด อันจะเปนประโยชนตอ กรมประมง

เกษตรกร และภาคเอกชนท่ีเกี่ยวของกับการการเล้ียงปูทะเลในอนาคต

9. ความยุงยากในการดําเนนิการ/ปญหา/อุปสรรค 9.1 การเตรียมอาหารสําเร็จรูปใหมีกล่ินดึงดูด เพื่อใหปูทะเลยอมรับอาหารเม็ดสําเร็จรูปไดดีตลอดการทดลอง 9.2 การทดลองเบ้ืองตนในการเตรียมสถานท่ีทดลองใหเหมาะสมกับพฤติกรรมของปูทะเล ท้ังนี้เพื่อลดความผิดพลาดของขอมูลท่ีเกิดจากพฤติกรรมตามธรรมชาติของปูทะเล โดยออกแบบสถานท่ีทดลองใหเหมาะสมกับสภาพความเปนอยูมรธรรมชาติของปูทะเลใหมากท่ีสุด 9.3 การเก็บขอมูลและเฝาสังเกตพฤติกรรมการกินอาหาร การลอกคราบ ของปูทะเลท่ีไดรับอาหารแตละชุดการทดลอง

10. ขอเสนอแนะ การใชอาหารสําเร็จรูปสามารถใชทดแทนอาหารสดไดเปนอยางดี แตสูตรอาหารท่ีใชตองมีการพัฒนาเพื่อใหไดสูตรท่ีสมบูรณมากข้ึน และเหมาะสมกับปูทะเลโดยเฉพาะ

ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงช่ือ………………………… (นางอาภรณ เทพพานิช) ผูเสนอผลงาน ……../.......…./…………..

Page 9: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

6

ขอรับรองวาสัดสวนหรือลักษณะงานในการดําเนินการของผูเสนอขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ

ลงช่ือ…………………………. ลงช่ือ…………………………. (นางสาวมนทกานติ ทามต้ิน) (นางสิริวรรณ หนูเซง) ผูรวมดําเนินการ ผูรวมดําเนินการ ……../………./………….. ……../………./…………..

ไดตรวจสอบแลวขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ ลงช่ือ…………………………. ลงช่ือ…………………………. (นายกฤตพล ยังวนิชเศรษฐ) (………………………….) ตําแหนง ผอ. ศ.พ.ช.สุราษฎรธานี ผูอํานวยการสํานัก/กอง ……../………./………….. ……../………./………….. (ผูบังคับบัญชาท่ีควบคุมดูแลการดําเนินการ)

Page 10: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

7

เอกสารหมายเลข 3 โครงรางการเสนอผลงาน

1. ชื่อผลงาน เร่ืองท่ี 2 การเล้ียงปูทะเล (Scylla paramamosain Estampador, 1949) ระยะคราบแรก

(1st Crab Stage) จนถึงขนาด 2.5 เซนติเมตร ท่ีความหนาแนนตางกันในกระชังในบอดิน

2. ระยะเวลาท่ีดําเนินการ 1 ป (ตุลาคม 2549 ถึงเดือนกันยายน 2550)

3. ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดท่ีใชในการดําเนินการ การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปูทะเล (mud crab) ในดานชีววิทยา การเพาะพันธุ การอนุบาล และการเล้ียงมีหลายหนวยงานไดเขามามีบทบาทรวมกันศึกษาวิจัยมากข้ึนและประสบผลสําเร็จนาพอใจในระดับหนึง่แลว แตในสวนของการเพาะพันธุและการอนุบาลในโรงเพาะฟก เพื่อใหไดท้ังขนาดและปริมาณท่ีมากเพียงพอตามความตองการของเกษตรกรยังพบปญหาและอุปสรรคอีกมากมาย เพราะการอนุบาลลูกปูทะเล วัยออนในบอซีเมนตจนไดขนาดโตพอท่ีเกษตรกรจะนําไปเล้ียงในบอดินยังทําไดในปริมาณท่ีคอนขางนอย ซ่ึงความตองการของเกษตรกรนั้นมักตองการลูกปูทะเลท่ีมีขนาดความกวางของกระดองประมาณ 2.5-5 เซนติเมตร โดยนํามาเล้ียงเปนปูเนื้อ ปูไข หรือแมกระท่ังการเล้ียงเปนปูนิ่ม เม่ือการอนุบาลในบอซีเมนตยังมีขอจํากัดในการผลิต การพัฒนาการอนุบาลโดยขยายผลไปสูการอนุบาลในบอดินจึงไดเร่ิมตนข้ึน จากการศึกษาทดลองเล้ียงปูทะเลจากระยะเมกาโลปา ถึงระยะ young crab ขนาดความกวางกระดอง 1-2 เซนติเมตร ในบอดินท่ีความหนาแนน 3 ตัวตอตารางเมตร ลูกปูสามารถพัฒนาเขาสูระยะ young crab ขนาดความกวางกระดอง 5 - 6 เซนติเมตร ภายในระยะเวลา 70 วัน โดยมีอัตรารอดตายเฉลี่ย 29.3 เปอรเซ็นต ความกวางกระดองเฉล่ีย 5.4 เซนติเมตรและนํ้าหนักเฉล่ีย 35.0 กรัม (กฤตพล และคณะ, 2547) ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี ไดทดลองอนุบาลลูกปูทะเลในบอดินจากขนาดความกวางกระดองประมาณ 1 เซนติเมตร จนถึงขนาดความกวางกระดอง 3 - 4 เซนติเมตร ใชระยะเวลา 40 - 45 วัน พบวามีอัตรารอดตาย 30-40 เปอรเซ็นต แตปญหาที่พบนั้นจะเปนเร่ืองของการเก็บเกี่ยวผลผลิตท่ีทํายากและใชระยะเวลานานจึงสามารถรวบรวมผลผลิตไดหมด ตอมาไดทําการทดลองใหมโดยอนุบาลลูกปูทะเลระยะ young crab ในบอดินท่ีปูดวยแผนพลาสติกสีดํา พบวาสามารถทําไดและใหอัตรารอดตายท่ีดี อีกท้ังมีความสะดวกในการเก็บเกี่ยวผลผลิต แตการใชแผนพลาสติกสีดําปูพื้นมีตนทุนคอนขางสูงและมีเทคนิคการปูท่ีคอนขางยุงยาก ในการดูแลจัดการระหวางการอนุบาลมักพบปญหาเร่ืองของคุณภาพน้ําอยูเสมอ เชน อุณหภูมิสูงในหนารอน คาความเปนดาง และคาความเปนกรด-ดาง ควบคุมยากข้ึน เปนตน (ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี, 2549 ไมไดเผยแพรขอมูล) จากขอมูลการอนุบาลในบอดินที่ผานมาท้ังหมดทําใหทราบวาการพัฒนารูปแบบและการจัดการ ในสวนของการอนุบาลปูทะเลในบอดิน ยังมีอีกหลายอยางท่ีนาสนใจทําการศึกษาเพิ่มเติม ดังนั้นการศึกษาคร้ังนี้ผูวิจัยมีแนวความคิดในการใชกระชังไนลอนสีฟา มาอนุบาลลูกปูทะเลจากระยะลูกปูทะเลคราบแรก (1 st crab stage) จนถึงขนาดความกวางกระดองประมาณ 2.5 เซนติเมตร ท้ังนี้เพื่อลดปญหาความยุงยากในการเก็บเกี่ยวผลผลิต และเปนอีก

Page 11: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

8

4. สรุปสาระและขั้นตอนการดาํเนินการ วิธีดําเนินการทดลอง 4.1. การวางแผนการทดลอง การเล้ียงลูกปูทะเลระยะคราบแรก ถึงความกวางกระดองประมาณ 2.5 เซนติเมตร ท่ีระดับความหนาแนนตางกันในกระชังในบอดิน ดําเนินการทดลองในเดือนพฤศจิกายน 2549 โดยวางแผนการทดลองแบบสุมตลอด แบงการทดลองเปน 3 ชุดการทดลอง (treatments) แตละชุดการทดลองมี 2 ซํ้า (replicates) ตามความหนาแนนดังนี้ ชุดการทดลองท่ี 1 เล้ียงปูทะเลท่ีความหนาแนน 50 ตัวตอตารางเมตร ชุดการทดลองท่ี 2 เล้ียงปูทะเลท่ีความหนาแนน 100 ตัวตอตารางเมตร ชุดการทดลองท่ี 3 เล้ียงปูทะเลท่ีความหนาแนน 150 ตัวตอตารางเมตร 4.2. การเตรียมกระชังและบอทดลอง 4.2.1 ใชบอดินขนาด 2 ไร (40 x 80 เมตร) ติดต้ังกระชังอวนไนลอน (ขนาดตาอวน 0.15 เซนติเมตร ) ขนาด 100 ตารางเมตร (2×50×1.20 เมตร) จํานวน 6 กระชัง ขึงกนกระชังใหตึงแนบกับพื้นบอดิน แตละกระชังเรียงขนานกันตามความกวางของบอ ใชแผนพลาสติกกั้นเปนคอกแยกแตละกระชังจากกัน 4.2.2 ติดต้ังระบบใหอากาศแบบซุปเปอรชารท โดยเดินทอพีอีสีดําขนาด 4 หุน ท่ีกนบอขนานตามความกวางบอ แตละทอหางกัน 1 เมตร เจาะรูท่ีทอขนาด 1 มิลลิเมตร ทุกระยะ 1 เมตร 4.2.3 นําน้ําทะเลเขาบอใหไดระดับความลึก 90 - 100 เซนติเมตร โดยผานถุงกรองอวนไนลอน 2 ช้ัน เพื่อกรองพาหะขนาดใหญ แลวใสปูนโดโลไมท 10 กิโลกรัมตอไร เพื่อปรับสภาพน้ํา 4.2.4 ใชสาหรายผมนาง (Gracillaria fisheri) หวานใหกระจายท่ัวทุกกระชังๆละ 20 กิโลกรัม เพื่อเปนวัสดุหลบซอนสําหรับปูทะเล 4.3 การเตรียมพันธุปูทะเล ลูกปูทะเลระยะคราบแรก (1st crab stage) ไดจากการเพาะพันธุ ณ ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี มีขนาดความกวางกระดองเฉล่ีย 0.30±0.02 เซนติเมตร น้ําหนักเฉล่ีย 0.015±0.004 กรัม โดยคัดเลือกลูกปูทะเลท่ีแข็งแรง นํามาปลอยลงเล้ียงในกระชังๆละ 5,000, 10,000 และ 15,000 ตัว (50, 100 และ 150 ตัวตอตารางเมตร) ตามลําดับ และเล้ียงจนไดขนาดความกวางของกระดองประมาณ 2.5 เซนติเมตร 4.4 การใหอาหารและการจัดการ การเตรียมอาหาร ใชปลาหลังเขียวสดบดละเอียดสําหรับการเล้ียงลูกปูในชวงสัปดาหแรก หลังจากนั้นใชปลาหลังเขียวสับ อัตราการใหอาหาร 10-15 เปอรเซ็นตของนํ้าหนักตัวปู วันละ 2 ม้ือ เวลาเชาและเย็น ปรับปริมาณอาหารตามความตองการของปูทะเลทุกวัน โดยสังเกตจากอาหารเหลือในยอที่วางไวรอบกระชัง

Page 12: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

9

4.5 การวิเคราะหคุณภาพน้ํา เก็บตัวอยางน้ําจากกระชังเพ่ือตรวจสอบคุณภาพเวลา 09.00 นาฬิกา ทุกสัปดาหจนส้ินสุดการทดลอง ดังนี้ 4.5.1 ความเค็ม (Sal.) ใชเคร่ืองวัดความเค็มแบบหักเหแสง (Refracto Salinometer) ยี่หอ Atago รุน S/Mill 4.5.2 อุณหภูมิน้ํา (Temp.) ใชเทอรโมมิเตอรแบบแทงแกว ท่ีมีชวงระหวาง 0-100 องศาเซลเซียส 4.5.3 ความเปนกรด-ดาง (pH) ใชพีเอชมิเตอร ( pH meter) ยี่หอ Denver รุน 50 4.5.4 ความเปนดาง (ALK) โดยวิธี Titrimetric method (APHA, AWWA and WPCF, 1980) 4.5.5 ปริมาณแอมโมเนีย (NH3

+) และไนไตรท (NO2-) โดยวิธี Colorimetric method (Grasshoff, 1976)

4.5.6 ฟอสเฟต ( PO4 +)โดยวิธี Colorimetric method (Strickland and Parsons, 1972)

4.6 การเก็บขอมูล 4.6.1 ขนาดปูทะเลโดยสุมตัวอยางปูกระชังละ 30 ตัว วัดขนาดความกวางกระดองดวยเวอรเนียคารลิปเปอร สัปดาหละ 1 คร้ัง 4.6.2 น้ําหนักปูทะเลโดยการสุมตัวอยางปูกระชังละ 30 ตัวช่ังน้ําหนักดวยตาช่ังไฟฟายี่หอ Avery Berkle ทศนิยม 4 ตําแหนง สัปดาหละ 1 คร้ัง 4.6.3 อัตรารอดตาย โดยนับจํานวนปูท้ังหมดแตละกระชังหลังการเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวผลผลิตแตละกระชังกระทําเม่ือประเมินดวยสายตาและดูจากผลการวัดขนาดคร้ังลาสุด แลวคาดวาปริมาณปูในกระชังท่ีมีขนาดความกวางกระดองประมาณ 2.5 เซนติเมตร มีจํานวนมากกวา 50 เปอรเซ็นตของปูท้ังหมด 4.6.4 อัตราการเปล่ียนอาหารเปนเนื้อ โดยบันทึกปริมาณอาหารที่ใหทั้งหมดของแตละกระชังทุกวัน ตลอดระยะเวลาการทดลอง 4.7 การวิเคราะหขอมูล

วิเคราะหการเจริญเติบโตปูทะเลเมื่อส้ินสุดระยะเวลาการทดลองโดยนําขอมูลขนาดความกวางกระดองท่ีวัดไดแตละชวงการทดลองมาคํานวณหาการเจริญเติบโต

วิเคราะหอัตรารอดตายของปูทะเลเม่ือส้ินสุดระยะเวลาการทดลองโดยใชขอมูลจํานวนปูท้ังหมดท่ีเก็บเกี่ยวได คํานวณอัตรารอดตายโดยใชสูตร

จํานวนปูทะเลท่ีเก็บเกี่ยวไดท้ังหมด อัตรารอดตาย (รอยละ) จํานวนปูทะเลเร่ิมตน x 100 =

Page 13: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

10

วิเคราะหอัตราการเปล่ียนอาหารเปนเนื้อ ของปูทะเลเม่ือส้ินสุดระยะเวลาการทดลอง โดยใชขอมูลน้ําหนักอาหารท่ีใหท้ังหมดและนํ้าหนักผลผลิตท้ังหมดท่ีเก็บเกี่ยวได โดยใชสูตร

น้ําหนกัอาหารท้ังหมด อัตราการเปล่ียนอาหารเปนเนื้อ ( FCR ) = น้ําหนกัของผลผลิต

นําขอมูลการเจริญเติบโต อัตรารอดตาย และอัตราการเปล่ียนอาหารเปนเนื้อ มาเปรียบเทียบหาความแตกตางทางสถิติในแตละชุดการทดลอง โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows version 11.5

5. ผูรวมดําเนินการ 5.1 นายชัยวัฒน วชัิยวัฒนะ สัดสวนงาน 60 % (หัวหนาโครงการ) 5.2 นางอาภรณ เทพพานิช สัดสวนงาน 40 %

6. สวนของงานท่ีผูเสนอเปนผูปฏบิัต ิ

วางแผนการทดลอง ดําเนินการทดลอง เก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล และเขียนรายงาน

7. ผลสําเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คุณภาพ) ไดขอมูลการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย และอัตราการเปล่ียนอาหารเปนเนื้อของลูกปูทะเลระยะคราบแรก จนถึงขนาดความกวางกระดองประมาณ 2.5 เซนติเมตร ท่ีเล้ียงในระดับความหนาแนนตางกันในกระชังในบอดิน ท้ังนี้เพื่อนํามาเปนแนวทางในการพัฒนาเทคนิคดานการอนุบาลปูทะเลใหไดขนาดท่ีโตข้ึน อีกท้ังสามารถแกไขปญหาความยุงยากในการจัดการเก็บเกี่ยวผลผลิตใหแกเกษตรกรไดเปนอยางดี

8. การนําไปใชประโยชน 8.1 สามารถใชเปนขอมูลเบื้องตนในการพัฒนาเทคนิคดานการอนุบาลปูทะเลใหไดผลผลิตท่ีดี อัตรา

รอดสูงข้ึน มีความสะดวกในการดูแลจัดการระหวางเล้ียง และแกปญหาความยุงยากในการเก็บเกี่ยวผลผลิตปูทะเลจากท่ีเล้ียงในบอดินใหแกเกษตรกร

9. ความยุงยากในการดําเนนิการ/ปญหา/อุปสรรค 9.1 ข้ันตอนการทดลองเลือกใชวัสดุหลบซอนท่ีเหมาะสม ท่ีสามารถนํามาใชในกระชังได และเกิดผลผลกระทบกับลูกปูทะเลท่ีทําการทดลองในกระชังนอยท่ีสุด เพื่อลดปญหาการกินกันเองเพ่ิมอัตราการรอดตายใหกับปูทะเล 9.2 รูปแบบการวางกระชังทดลอง และวิธีการดําเนินการเก็บเกี่ยวผลผลิต ตองมีการทดสอบหลายคร้ังเพื่อหาความสะดวกในการจัดการดูแล และใหไดวิธีการท่ีเหมาะสมท่ีสุด

Page 14: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

11

9.3 การสุมประเมินผลผลิตขนาดของลูกปูทะเล ในแตละชวงการทดลองเพ่ือนํามาคัดแยกขนาดในการประเมินผลผลิตของขนาดปูทะเลท่ีตอง

10. ขอเสนอแนะ 10.1 ถาเกษตรกรนําไปขยายผลใชประโยชน ควรลดขนาดของกระชังอนุบาลใหมีขนาดท่ีเล็กลง ท้ังนี้เพื่อความสะดวกในการจัดการดูแลใหอาหาร อีกท้ังสามารถเพิ่มผลผลิต และอัตราการรอดตายไดมากข้ึน

ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงช่ือ………………………… (นางอาภรณ เทพพานิช) ผูเสนอผลงาน ……../………./…………..

Page 15: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

12

ขอรับรองวาสัดสวนหรือลักษณะงานในการดําเนินการของผูเสนอขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ 2ลงช่ือ…………………………....... (นายชัยวัฒน วิชัยวัฒนะ) ผูรวมดาํเนินการ ……../………./………….. ไดตรวจสอบแลวขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ ลงช่ือ……………...……………. ลงช่ือ…………………………. (นายกฤตพล ยังวนิชเศรษฐ) (………………………….) ตําแหนง ผอ.ศ.พ.ช.สุราษฎรธานี ผูอํานวยการสํานัก/กอง ……../………./………….. ……../………./………….. (ผูบังคับบัญชาท่ีควบคุมดูแลการดําเนินการ)

Page 16: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

13

เอกสารหมายเลข 3 โครงรางการเสนอผลงาน

1. ชื่อผลงาน เร่ืองท่ี 3 ชีววทิยาบางประการ คุณภาพน้ํา-ดินตะกอน และตนทุนผลตอบแทนของการเล้ียง

12หอยแครงพันธุ Anadara nodifera (Martans, 1860) และพันธุ Anadara granosa (Linnaeus, 1758) ในอาว

13บานดอน จงัหวัดสุราษฎรธานี

2. ระยะเวลาท่ีดําเนินการ 13 เดือน (ตุลาคม 2550 ถึงเดือนตุลาคม 2551)

3. ความรูทางวิชาการหรือแนวคิดท่ีใชในการดําเนินการ

หอยแครง (Blood cockles) เปนสัตวทะเลท่ีไมมีกระดูกสันหลัง ท่ีมีคุณคาทางเศรษฐกิจ และทางโภชนาการสูง มีผูนิยมบริโภคกันอยางแพรหลายเนื่องจากสามารถประกอบอาหารไดหลายอยางจึงเปนท่ีนิยมเพาะเล้ียงเชิงพาณิชย

Panthansali and Soong (1958) ไดรายงานวาเกษตรกรมีการเล้ียงหอยแครงเปนอาชีพกันมานานแลวโดยในประเทศจีนมีการเล้ียงมาต้ังแตศตวรรษท่ี 17 สําหรับในประเทศไทยมีการเล้ียงมาเปนเวลานานไมนอยกวา 100 ป โดยเกษตรกรรวบรวมลูกหอยจากแหลงธรรมชาตินํามาหวานลงเล้ียงในบริเวณชายฝงทะเลท่ีมีความเหมาะสม อรุณีและคณะ (2528) รายงานวาหอยแครงชอบอาศัยอยูบริเวณชายฝงท่ีพื้นเปนดินเลนหรือหาดโคลนท่ีมีดินเหนียวในปริมาณสูง การเล้ียงหอยแครงใหไดขนาดตลาดตองใชเวลาไมนอยกวา 14 เดือน และมีผลผลิตประมาณ 5 ตัน/ไร/ป นอกจากนี้ขวัญฤทัย และยุทธ (2528) ไดรายงานถึงผลการเล้ียงหอยแครง โดยใชลูกพันธุจากเมเลเซีย Anadara granosa (Linnaeus,1758) ในบริเวณอาวนครศรีธรรมราชโดยใชระยะเวลาการเล้ียงนาน 12 เดือน พบวาหอยแครงมีอัตรารอดตายประมาณ 70 % และมีผลกําไรคิดเปน 23,070 บาท/ไร หอยแครงพันธุเพชรบุรี Anadara nodifera (Martans, 1860) เปนอีกชนิดท่ีนิยมเล้ียงกันอยางแพรหลาย หอยพันธุเพชรบุรีมีช่ือเรียกตามทองถ่ินวา หอยแครงขุย หรือหอยแครงปากมุม พบการแพรกระจายอยูท่ัวไปในชาย ฝงจังหวัดท่ีตั้งอยูชายฝงทะเล เชน จังหวัดตราด จันทบุรี ชลบุรี สมุทรสงคราม สตูล สุราษฎรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง ปตตานี และระนอง เปนตน และมีแหลงพันธุธรรมชาติท่ีสําคัญท่ีสุดในจังหวดัเพชรบุรีและสมุทรสงคราม สวนพันธุมาเลเซีย มีช่ือเรียกตามทองถ่ินวา หอยแครง หรือหอยแครงเทศ พบมีการแพรกระจายอยูในบริเวณน้ําต้ืนของหาดโคลน ในจังหวดัชายฝงทะเลเชนเดยีวกับพันธุเพชรบุรี (กรมประมง 2536) หอยแครงพนัธุมาเลเซียมีแหลงพันธุตามธรรม ชาติในประเทศมาเลเซีย และประเทศไทยนําเขามาเพ่ือเล้ียงใหเปนขนาดตลาด หอยทั้งสองพันธุมีลักษณะแตกตาง ท่ีสังเกตไดอยางงายๆ คือ หอยแครงพันธุเพชรบุรีมีลักษณะรูปทรงดานขางท่ียาวรี ในขณะท่ีหอยแครงพันธุมาเลเซีย จะมีลักษณะอวนปอมกวา อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี เปนชายฝงทะเลที่มีความอุดมสมบูรณของทรัพยากรประมง และเปนแหลงเล้ียงหอยแครงท่ีสําคัญอีกแหลงหนึ่งของประเทศไทย ศูนยสารสนเทศ (2548) ไดรายงานวา

Page 17: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

14

ในป พ.ศ. 2546 ปริมาณผลผลิตหอยแครงรวมท้ังประเทศ เทากับ 67,359 ตัน และผลผลิตท่ีไดจากอาวบานดอนจังหวัดสุราษฎรธานี ครองสัดสวนตลาด (marketable share) สูงถึงรอยละ 56.20 หรือเทากับ 37,855 ตัน โดยพ้ืนท่ีเล้ียงหอยแครงของอาวบานดอนอยูในเขตชายฝงของอําเภอกาญจนดิษฐ เนื่องจากใชเวลานอยในการเล้ียงใหไดขนาดตลาด จัดการเล้ียงไดงาย และสรางรายไดคอนขางดี อยางไรก็ตาม ปญหาท่ีประสบ คือ สภาพแวดลอมท่ีเส่ือมโทรมลง และการขาดแคลนพันธุหอย จึงทําใหตองมีการนําลูกหอยพันธุตางๆ มาปลอยลงเล้ียง โดยท่ีเกษตรกรยังขาดขอมูลวิชาการ เกี่ยวกับชีววิทยาของหอยแครงท้ังสองพันธุท่ีนํามาเล้ียงในบริเวณอาวบานดอน และคุณภาพส่ิงแวดลอมวามีความเหมาะสมตอการเล้ียงหอยแครง ท้ังสองพันธุหรือไม ประกอบกับยังขาดขอมูลตนทุนและผลตอบแทนเปรียบเทียบระหวางการเล้ียงหอยท้ังสองพันธุ ศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงจังหวัดสุราษฎรธานี กรมประมง ซ่ึงมีหนาท่ีในการพัฒนาการเพาะเล้ียงสัตวน้ําของเกษตรกร จึงเห็นความสําคัญของการมีขอมูลทางวิชาการเพ่ือใชประกอบการตัดสินใจในการพัฒนาการเล้ียงหอยแครงและทราบถึงศักยภาพในการขยายพื้นท่ีการเล้ียงหอยแครง และเปนแนวทางสําหรับการสรางพอแมพันธุและดานการสงเสริมการเล้ียงหอยแครงในอาวบานดอนใหดียิ่งข้ึนตอไป 4. สรุปสาระและขั้นตอนการดาํเนินการ วิธีดําเนินการทดลอง 4.1 การเตรียมแปลงทดลองและการปลอยพันธุหอยแครงลงเล้ียง กําหนดพื้นท่ีในทะเล เปนแปลงเล้ียงหอย 2 แปลง ขนาดแปลงละ 2 ไร (40×80 ตารางเมตร) กั้นคอกโดยใชไมไผและอวนแดงขนาดตา 1 เซนติเมตร ฝงเนื้ออวนลงในพ้ืนดินประมาณ 30 เซนติเมตร และใหอยูเหนือพื้นดินประมาณ 60 เซนติเมตร เพื่อปองกันการเดินออกนอกแปลงเล้ียงของหอยแครง ซ่ึงทําใหหอยแครงทั้งสองพันธุมาผสมรวมกัน ทําใหยากตอการเก็บตัวอยาง ลําเล้ียงลูกหอยแครงพันธุเพชรบุรีจากแหลงเล้ียงอําเภอบานแหลม จังหวัดเพชรบุรี และหอยแครงพันธุมาเลเซียจากแหลงเล้ียงประเทศมาเลเซีย โดยลูกหอยท้ัง 2 พันธุ มีขนาดเทากันคือประมาณ 450 ตัวตอกิโลกรัม หวานลูกหอยแตละพันธุลงในแปลงท่ีกําหนดไวโดยใหกระจายอยางสม่ําเสมอในอัตราความหนาแนนท่ีเทากัน คือ 500 กิโลกรัม/ไร (ประมาณ 140 ตัว/ตารางเมตร) 4.2 การศึกษาชีววิทยาบางประการของหอยแครง สุมช่ังน้ําหนักและวัดขนาดของหอยแครงแตละพันธุ จํานวน 30 ตัว กอนหวานลงเลี้ยงในแปลงเล้ียง (ขอมูลเดือนท่ี 0) โดยวัดขนาดความยาว ความสูง และความกวางของหอย (วัดท้ัง 3 มิติ) โดยใชเวอรเนียคารลิปเปอร และช่ังน้ําหนักดวยเคร่ืองช่ังไฟฟา AND รุน GX-4000

จากนัน้ในแตละเดือนจนตลอดระยะเวลาของการศึกษา สุมตัวอยางหอยแครงจากแปลงเล้ียง แปลง

ละ 5 จุด เพือ่ตรวจสอบการเจริญเติบโต เดือนละ 1 คร้ัง โดยใชกรอบไมส่ีเหล่ียมจัตุรัสขนาด 1 ตารางเมตร วางลงบนพ้ืนดินแลวเก็บหอยแครงท้ังหมดท่ีมีในกรอบไมดังกลาวดวยการใชสวิงตกัลึกลงไปในดินประมาณ 20 เซนติเมตร นาํตัวอยางหอยแครง มาช่ังนํ้าหนักเพื่อหาอัตราการเจริญเติบโตของหอยแครงท่ีเล้ียงในแตละเดือน

Page 18: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

15

อัตราการเจริญเติบโตโดยนํ้าหนักเฉล่ีย = น้ําหนกัเฉล่ียท่ีได-น้ําหนักเฉล่ียเร่ิมตน จํานวนเดือน แจกแจงความถ่ีของขนาดความยาว (length frequency distribution) ของหอยแครงในแตละพันธุท่ีสุมตัวอยางข้ึนมาในแตละเดือน และแสดงโดยใชกราฟ histrogram เพื่อประเมินการเปล่ียนแปลงของขนาดหอยแครงแตละพันธุท่ีนํามาเล้ียงในอาวบานดอน (ทรงศิริ, 2541; จรัญและอนันตชัย, 2540) ศึกษาความสัมพันธุระหวาง ความยาว ความสูง ความกวาง และคาเฉล่ีย (ความยาว สูงและกวาง) กับน้ําหนัก (length weight relationship) ของหอยแครงมีชีวิต คํานวณสมการความสัมพันธ ในรูปของ

Exponential function y=axb และคํานวณสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ (correlation coefficient) โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป Excel 2003 for Windows XP ศึกษาอัตราการรอดตายของหอยแครงเมื่อส้ินสุดระยะเวลาการศึกษาโดยใชขอมูลผลผลิตท้ังหมดท่ีเก็บเกี่ยวไดเม่ือส้ินสุดระยะเวลาการศึกษา คํานวณอัตราการรอดโดยใชสูตร อัตราการรอดตาย (%) = จํานวนหอยแครงที่เก็บเกีย่วไดท้ังหมด * 100 จํานวนหอยแครงเร่ิมตน 4.3 การเก็บตัวอยางและวิเคราะหน้าํทะเล ศึกษาการเปล่ียนแปลงตามฤดูกาลของคุณสมบัติน้ําทะเลในบริเวณแปลงเล้ียงหอย ทุกเดือน เดือนละ 1 คร้ัง โดย วัดคุณภาพน้ําในภาคสนาม ดังนี้ อุณหภูมิน้ํา วัดดวยเทอรโมมิเตอรแบบปรอทออกซิเจนละลายน้ํา (DO)วัดดวยเคร่ือง DO meter ยี่หอ YSI ความเค็มของน้ํา วัดดวย Refracto-salinometer ยี่หอ Atago จากนั้นเก็บตัวอยางน้ําปริมาตร 2 ลิตร แชตัวอยางน้ําในถังน้ําแข็งอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส นํามาวิเคราะหคุณภาพน้ําในหองปฏิบัติการ โดยวิเคราะหปริมาณ BOD (5 วัน 20 องศาเซลเซียส) วิเคราะหคาความเปนดาง (alkalinity) โดยการไตเตรท (titration) วิเคราะหปริมาณแอมโมเนียรวม (total ammonia nitrogen) และไนไตรท (nitrite) โดยวิธีการของ APHA et al. (1981)

4.4 การเก็บตัวอยางและวิเคราะหดินตะกอน

เก็บตัวอยางดินตะกอนในบริเวณแปลงเล้ียงหอยดวยเคร่ืองตักดิน (Ekman Grab) ขนาด 0.04 ตารางเมตรแปลงละ 5 จุด ๆละประมาณ 1 กิโลกรัม ใสในถุงพลาสติกสะอาด นําตัวอยางดินแชในถังน้ําแข็งแลวนําไปวิเคราะหดังนี ้

แบงดินสวนแรกประมาณ 250 กรัม นําไปวิเคราะหปริมาณแอมโมเนีย (NH3-N) ไนไตรท (NO2-N) และไนเตรท (NO3-N) ดวยวิธี Colorimetric (Chuan and Sugahara, 1984)

Page 19: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

16

ดินสวนท่ีเหลือนําไปวางผ่ึงในรมจนแหงท่ีอุณหภูมิหอง บดละเอียด แลวรอนผานตะแกรง ขนาดชองตา 2 มิลลิเมตร นําไปวิเคราะหคาความเปนกรด-ดาง (pH) ดวยวิธี Potentiometric โดยใชอัตราสวนดิน : 0.01 M CaCl2 เทากับ 1 : 2 (FAO,1970) วิเคราะหองคประกอบและชนิดของเนื้อดิน (soil texture) ดวยวิธี Pipette Method (FAO,1970) วิเคราะหปริมาณอินทรียคารบอน (organic carbon) ดวยวิธี Wet oxidation (Walkley and Black, 1934) แลวนําไปคํานวณเปนปริมาณอินทรียวัตถุ (organic matter) ในดนิ สวนปริมาณไนโตรเจนรวม (total nitrogen) วิเคราะหดวยวิธี Kjeldahl (Chuan and Sugahara, 1984) ปริมาณฟอสฟอรัส (available P) วิเคราะหดวยวิธี Bray II (FAO,1970) ปริมาณโปแตสเซียม (exchangeable K) วิเคราะหดวยวิธี Extraction method (Chapman, 1965) และปริมาณแคลเซียม (exchangeable Ca) และแมกนีเซียม (exchangeable Mg) วิเคราะหดวยวิธี EDTA-titration (Dewis and Freitas, 1970) 4.5 การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทน เกบ็ขอมูลการลงทุนและผลตอบแทนในการเล้ียงหอยแครงพันธุเพชรบุรีและพันธุมาเลเซีย ท้ังในสวนท่ีเปนตนทุนคงท่ี เชน คาอากรใบอนุญาต คาเส่ือมของเรือและเรือนเฝา คาเสียโอกาสการลงทุน และตนทุนผันแปร เชน คาพันธุหอยแครง น้ํามันเรือ คาแรงหวานลูกหอย คาจางเฝา คาแรงเก็บเกี่ยวผลผลิต คาไมไผกั้นเขต คาแรงปกร้ัว คาอวนแดงกันบริเวณแปลง คาเชือกใยยักษ และคาเสียโอกาสการลงทุน แลวรวมตนทุนการผลิตท้ังหมด และราคาขายของหอยแครงแตละขนาดในวนัท่ีจับ แลวนํามาคํานวณตนทุนและผลตอบแทน

5. ผูรวมดําเนนิการ 5.1 นายชัยวัฒน วชัิยวัฒนะ สัดสวนงาน 80 % (หัวหนาโครงการ)

5.2 นางอาภรณ เทพพานิช สัดสวนงาน 20 %

6. สวนของงานท่ีผูเสนอเปนผูปฏบิัต ิ ดําเนินการทดลอง เก็บรวบรวมขอมูล วิเคราะหขอมูล และเขียนรายงาน

7. ผลสําเร็จของงาน (เชิงปริมาณ/คุณภาพ) 7.1 ไดขอมูลดานชีววิทยา การเจริญเติบโต อัตราการรอดตายของหอยแครงพันธุมาเลเซีย และพันธุเพชรบุรี 7.2 ไดขอมูลดานส่ิงแวดลอม คุณภาพนํ้า และคุณภาพดินภายในแหลงเล้ียงหอยทะเล อาวบานดอน

จังหวัดสุราษฎรธานี 7.3 ไดขอมูลเร่ืองตนทุน และผลตอบแทนจากการเล้ียงหอยแตละพันธุ

Page 20: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

17

8. การนําไปใชประโยชน 8.1 สามารถใชเปนขอมูลเบ้ืองตนในการพัฒนารูปแบบการเล้ียงหอยแครงใหเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ี

และทราบแนวทางในการจัดการทรัพยากรหอยทะเล เชน การสรางแหลงพอแมพันธุหอยแครงในอาวบานดอนไดเปนอยางดี

9. ความยุงยากในการดําเนนิการ/ปญหา/อุปสรรค 9.1 ข้ันตอนการเลือกพื้นท่ี และการออกแบบเตรียมแปลงเล้ียงเพื่อสรางแหลงเล้ียงใหเหมาะสมกับชนิดของหอยแครง เพื่อสะดวกและถูกตองในการเก็บขอมูลตลอดการทดลอง 9.2 การเฝาระวังผลผลิตไมใหเกดิการขโมยผลผลิตระหวางการทดลอง เนื่องจากตองทดลองในทะเลอาวบานดอน

10. ขอเสนอแนะ 10.1 ควรเรงสรางแหลงพอแมพันธุหอยแครงพันธุมาเลเซียใหมีปริมาณมากเพียงพอตอความตองการของเกษตรกร เพราะปจจุบันยังตองนําเขามาจากประเทศมาเลเซียในแตละปในปริมาณมาก และจากการศึกษาพบวาอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานีเปนแหลงท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาเพื่อสรางเปนแหลงพอแมพันธุหอยแครงของประเทศไทยได

ขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนเปนความจริงทุกประการ

ลงช่ือ………………………… (นางอาภรณ เทพพานิช) ผูเสนอผลงาน ……../………./…………..

Page 21: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

18

ขอรับรองวาสัดสวนหรือลักษณะงานในการดําเนินการของผูเสนอขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ 5ลงช่ือ…………………………....... (นายชัยวัฒน วิชัยวัฒนะ) ผูรวมดําเนนิการ ……../………./………….. ไดตรวจสอบแลวขอรับรองวาผลงานดังกลาวขางตนถูกตองตรงกับความเปนจริงทุกประการ ลงช่ือ……………...……………. ลงช่ือ…………………………. (นายกฤตพล ยังวนิชเศรษฐ) (………………………….) ตําแหนง ผอ.ศพช.สุราษฎรธานี ผูอํานวยการสํานัก/กอง ……../………./………….. ……../………./………….. (ผูบังคับบัญชาท่ีควบคุมดูแลการดําเนินการ)

Page 22: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

19

เอกสารหมายเลข 4

โครงรางขอเสนอแนวความคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น

ของ นางอาภรณ เทพพานิช เพื่อประกอบการแตงตั้งใหดํารงตําแหนง นักวิชาการประมงชํานาญการพิเศษ ตําแหนงเลขท่ี 906 สํานัก วิจัยและพัฒนาประมงชายฝง เร่ือง การเพิ่มผลผลิตสัตวน้ําเพื่อฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ําในอาวบานดอนหลังประสบภาวะอุทกภัย โดยการจัดการ

ดูแลทรัพยากรสัตวน้ําแบบชุมชนมีสวนรวม หลักการและเหตุผล : “อาวบานดอน” เปนเวิ้งอาวมีลักษณะเปนหาดโคลนขนาดใหญ ซ่ึงเกิดจากการทับถมของตะกอนแบบดินดอนสามเหล่ียมปากแมน้ํา มีความยาวตลอดแนวชายฝงประมาณ 120 กิโลเมตร ครอบคลุมพื้นท่ี 7 อําเภอ ของจังหวัดสุราษฎรธานี ไดแก ทาชนะ ไชยา ทาฉาง พุนพิน เมือง กาญจนดิษฐ และดอนสัก จากสภาพภูมิประเทศดังกลาวทําใหเกิดปาชายเลนข้ึนเปนแนวตลอดขอบอาว โดยจากการสํารวจเบื้องตนพบพันธุไมชายเลนมากกวา 60 ชนิด ทําใหพื้นท่ีรอบอาวบานดอนกลายเปนแหลงเพาะพันธุ แหลงท่ีอยูอาศัยของสัตวน้ํา และสัตวอ่ืนๆ อีกมากมาย จากปจจัยท่ีสมบูรณดังกลาว จึงทําให “อาวบานดอน” กลายเปนแหลงอาหารทะเลท่ีสําคัญ และมีการทําการประมงเล้ียงชีพ มานานนับศตวรรษ ปจจุบันกลายเปนแหลงอาหารท่ีสําคัญทางเศรษฐกิจระดับประเทศอีกดวย ในอดีตชุมชนรอบอาวเคยใชทรัพยากรรอบอาวบานดอนโดยไมเดือดรอน เนื่องจากความสมบูรณของทรัพยากรที่สามารถเล้ียงชีวิตพวกเขาเหลานั้นไดตราบช่ัวลูกหลานบนพื้นฐานการใชทรัพยากรอยางพอเพียงดวยภูมิปญญาทองถ่ิน แตในปจจุบันความเปล่ียนแปลงเขามาเยือนอาวบานดอนอยางรวดเร็ว ปริมาณประชากรท่ีเพิ่มข้ึน การแกงแยงทรัพยากรท่ีรุนแรง เคร่ืองมือประมงแบบทําลายลางหลายประเภทถูกนํามาใชเพื่อกอบโกยทรัพยากรใหมากท่ีสุดโดยไมคํานึงถึงความยั่งยืน ทําใหทรัพยากรเหลานั้นมีปริมาณลดลงอยางรวดเร็วจนไมเพียงพอกับความตองการบริโภค ปญหาดังกลาวไดมีองคกร หนวยงานท้ังภาครัฐและเอกชน หลายหนวยงานไดรวมมือกันแกไขปญหาการใชทรัพยากรกันอยางตอเนื่อง ทําใหวิกฤตการณดานปญหาความเส่ือมโทรมของทรัพยากรรอบอาวเร่ิมไดรับการแกไขอยางถูกวิธี แตเกิดเหตุการณพลิกผันทางธรรมชาติคร้ังยิ่งใหญก็ไดเกิดข้ึนกับอาวบานดอน กลาวคือ เกิดภาวะฝนตกหนักติดตอกันเปนเวลานับต้ังแตวันท่ี 25 มีนาคม ถึง 1 เมษายน 2554 กอใหเกิดภาวะวิกฤตอุทกภัยรุนแรงบริเวณลุมน้ําสุราษฎรธานี และอาวบานดอน จากปญหาดังกลาวทําใหปริมาณน้ําจืดและตะกอนดินรวมท้ังขยะจากชุมชน และบานเรือนท่ีอาศัยกันอยางหนาแนนรอบๆอาวไหลลงสูทะเลของอาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานี ผลกระทบดังกลาวสงผลใหคุณภาพน้ํามีการเปล่ียนแปลงกะทันหัน โดยเฉพาะระดับความเค็มของน้ําท่ีลดตํ่าลงเหลือประมาณ 0-3 สวนในพัน ทําใหมีผลตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ําชายฝงท่ีอาศัยอยูในอาวตามธรรมชาติ และ

Page 23: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

20

กรมประมงจึงไดจัดทําโครงการฟนฟูพื้นท่ีเล้ียงหอยทะเลในอาวบานดอนและดําเนินการไปแลวอยางเรงดวน เพื่อเปนการฟนฟูคุณภาพส่ิงแวดลอม คุณภาพน้ําและดินในอาวบานดอนใหมีคุณสมบัติเหมาะสมตอการเพาะเล้ียงสัตวน้ําชายฝง และมีการสรางแหลงพอแมพันธุหอยทะเลเพื่อเสริมสรางความอุดมสมบูรณของพันธุหอยทะเลใหกลับคืนสูอาวบานดอนไดอยางรวดเร็ว

แตสัตวน้ําเศรษฐกิจชนิดอ่ืนๆท่ีอยูคูอาวบานดอน เชน ปูทะเล ปูมา กุงทะเล ปลากะพงขาว และปลากระบอก ฯลฯ ตางไดรับผลกระทบจากวิกฤตการณนี้เชนกัน จึงจําเปนอยางยิ่งท่ีตองมีการฟนฟูทรัพยากรโดยการปลอยเสริมพันธุสัตวน้ําเพื่อเพิ่มความสมบูรณในแหลงน้ําธรรมชาติ หากรอใหธรรมชาติปรับสภาพความสมดุลเพื่อใหความอุดมสมบูรณกลับคืนมาเองเพียงอยางเดียวนั้น จะไมเพียงพอตอการใชประโยชนของชุมชนท่ีอยูรอบอาวท่ีมีความตองการใชทรัพยากรสัตวน้ําเหลานั้นในปริมาณมากเชนปจจุบัน แตการจัดการโดยภาครัฐเพียงฝายเดียวจะไมสามารถทําใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืนและสูงสุดได ดังนั้นในการวางแผนพัฒนาการ และการบริหารจัดการทรัพยากรสัตวน้ําในอาวบานดอนตองอาศัยความรวมมือจากทุกภาคสวน โดยเฉพาะภาคประชาชน จึงจะทําใหเกิดผลสําเร็จไดอยางดี สงผลใหระบบนิเวศในอาวบานดอนคืนสูความอุดมสมบูรณและกลับคืนสูภาวะสมดุล ไมมีผลกระทบตอสภาพแวดลอม เปนการฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ําไดอยางครบวงจร ทําใหเศรษฐกิจดานการประมงของจังหวัดสุราษฎรธานีกลับมาเปนแหลงอาหารทะเลท่ีสําคัญ และสงเสริมอุตสาหกรรมของประเทศไดเหมือนเดิม บทวิเคราะห/แนวคิด/ขอเสนอ เม่ือพิจารณาจากบริบทพื้นฐานท่ัวไปของอาวบานดอน และชุมชนรอบๆอาว ท่ีเปนอยูตั้งแตกอนเกิดภาวะน้ําทวม และสภาพในปจจุบันเม่ือนํามาพิจารณารวมกับพันธกจิของหนวยงานกรมประมงในสวนของการเพิ่มผลผลิตสัตวน้ําในแหลงน้ําธรรมชาติ ซ่ึงดําเนินงานภายใตแผนงานปรับโครงสรางเศรษฐกิจภาคเกษตร โดยสอดคลองกับภาระหนาท่ีรับผิดชอบของศูนยวจิัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี อีกท้ังประสบการณดาน

Page 24: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

21

การเพาะพันธุปูมา ปูทะเล ปูแสม กุงทะเล และสัตวน้ําอ่ืนๆ คอนขางมีประสิทธิภาพดี และสามารถผลิตพันธุสัตวน้ําเพื่อปลอยแหลงน้ําไดบรรลุตามเปาหมายทุกป แตการปลอยเสริมในธรรมชาติท่ีกระทําโดยหนวยงานภาครัฐอยางเดียวอาจใหผลไมดีพอ แตถาหากไดมีความรวมมือกันระหวางภาคประชาชนในชุมชนเขมแข็งท่ีอยูรอบๆอาว การดําเนินงานสามารถประสบผลสําเร็จในการฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ําในอาวบานดอนไดรวดเร็วและยัง่ยนืมากข้ึน การดําเนินการดังกลาวจึงมีแนวทางการปฏิบัติเพื่อการฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ําในอาวบานดอน โดยคํานึงถึงปจจัยสภาพแวดลอมท้ังภายในและภายนอกใหสอดคลองกับสมดุลธรรมชาติ สามารถวิเคราะหไดดังนี้

สภาพแวดลอมภายใน (จุดออน-จุดแข็ง) จุดแข็ง 1. อาวบานดอน จังหวัดสุราษฎรธานีมีสภาพแวดลอมท่ีเหมาะสมและเปนท่ีอยูอาศัยของสัตวน้ํา อาทิ ปูทะเล ปูมา กุงทะเล ตามธรรมชาติอยูกอนแลว ดังนั้นการปลอยเสริมพันธุในธรรมชาติสามารถทําใหมีอัตรารอดสูง ทําใหปริมาณของสัตวน้ําเพิ่มข้ึนไดอยางรวดเร็วไมยาก

2. การเพาะพันธุสัตวน้ํา ประเภทปูมา ปูทะเล กุงทะเล นั้น หนวยงานศูนยวิจัยและพัฒนาประมงชายฝงสุราษฎรธานี มีนักวิชาการ และเจาหนาท่ีท่ีมีประสิทธิภาพในการผลิตพันธุ การศึกษา วิจัยและพัฒนาดานการเพาะเล้ียงสัตวน้ําอยางคอนขางครบวงจร มานานกวา 30 ป อีกท้ังเปนหนวยงานท่ีมีการจัดการ ศึกษาดูแลดานส่ิงแวดลอมใหกับแหลงน้ําธรรมชาติและบริการเกษตรกรดานการเพาะเล้ียงสัตวน้ํา โดยมีอาคารและอุปกรณท่ีทันสมัยรองรับการแกปญหาเร่ือง วิชาการ และส่ิงแวดลอมไดอยางรวดเร็ว 3. ชุมชนรอบอาวบานดอน บางชุมชนมีความเขมแข็งและมีการปฏิบัติงานจริงจัง มีความรักและหวงแหนทรัพยากรของอาวบานดอนอยางแทจริง จุดออน

1. ขาดการวางแผนในเร่ืองความเหมาะสมของพื้นท่ีในการปลอยพันธุสัตวน้ําในธรรมชาติ ยังทําไดไมจริงจัง และขาดขอมูลเชิงประจักษในเร่ืองของผลผลิตท่ีปลอยสูธรรมชาติ เชน การปลอยเสริมพันธุสัตวน้ําท่ีผานมายังไมมีการประเมินผลผลิตของชนิดสัตวน้ําท่ีปลอยเสริมในธรรมชาติตามวิธีการทางวิชาการที่ถูกตอง ดังนั้นยังไมสามารถใหคําตอบท่ีชัดเจนในเร่ืองของผลผลิตท่ีไดรับจากการปลอยเสริม การเลือกพื้นท่ีท่ีไมเหมาะสมกับการอยูอาศัยและเจริญเติบโตของสัตวน้ําชนิดนั้นๆ ซ่ึงท่ีผานมายังมีการคํานึงถึงปจจัยดังกลาวนอยมาก เปนตน

2. ชุมชนแตละชุมชน มีสวนดอยในเร่ืองของการประสานงานระหวางชุมชน และยังขาดองคความรูท่ีถูกตองเกี่ยวกับการดูแลจัดการสัตวน้ํา กฎหมายมาตรการตางๆ และการอนุรักษทรัพยากรสัตวน้ําแตละชนิดท่ีเหมาะสม

Page 25: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

22

สภาพแวดลอมภายนอก (โอกาส-อุปสรรค) โอกาส

1. ชุมชนรอบอาวบานดอน และเกษตรกรผูเพาะเล้ียงกําลังประสบปญหาเดียวกัน คือ การขาดแคลน

อาหารทะเลท่ีเปนผลิตผลของอาวบานดอน และมีความตองการอยางมากท่ีจะฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ําใหกลับมามีความอุดมสมบูรณเหมือนเดิมในเวลาอันรวดเร็ว ดังนั้นจึงมีโอกาสและความเปนไปไดสูงท่ีหันมาใหความรวมมือในการพัฒนาเพิ่มผลผลิตของทรัพยากรสัตวน้ํา 2. หนวยงานทุกภาคสวนของจังหวัดสุราษฎรธานีเล็งเห็นถึงความสําคัญของการฟนฟูทรัพยากรในอาวบานดอน ดังนั้นจึงมีความสะดวกในเร่ืองของความรวมมือ และเร่ืองการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานสูง 3. เปนโอกาสดีในการเร่ิมตนใหมในการปลูกฝงความสํานักดานการอนุรักษใหกับประชาชน เพราะประชาชนไดรับทราบถึงบทเรียนจากการทําลายทรัพยากรธรรมชาติและไดรับผลกระทบอยางชัดเจนจากวิกฤตการณท่ีเกิดขึ้น

อุปสรรค

1. ประชาชนขาดองคความรูท่ีถูกตองในการดูแล จัดการทรัพยากรสัตวน้ํา และในเร่ืองของกฎหมายประมง 2. การดําเนินการตองใชงบประมาณดําเนินการคอนขางสูง เพื่อทําการผลิตพันธุสัตวน้ําปลอยแหลงธรรมชาติอาวบานดอนใหไดตามแผนท่ีกําหนด และงบประมาณในการดําเนินงานรวมกับชุมชน 3. ขาดแกนนําในการประสานงานระหวางกลุมของประชาชนรอบอาวบานดอน

แนวคิด/ขอเสนอ

1. ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับสัตวน้ําชนิดท่ีนํามาปลอยเสริมเพื่อเพิ่มปริมาณในอาวบานดอน เชน ปูทะเล ปูมา กุงทะเลทองถ่ิน ปลาทะเลทองถ่ิน เปนตน ท้ังในเร่ืองพอแมพันธุ การเพาะพันธุ การอนุบาล การเล้ียงเพื่อเพิ่มผลผลิต พฤติกรรมการอยูอาศัยและการเจริญเติบโตตลอดชวงอายุของสัตวน้ําชนิดนั้นๆ และนําผลงานการวิจัยเผยแพรถายทอดใหกับชุมชนและองคกรตางๆ ท่ีอยูในจังหวัดสุราษฎรธานี และผูสนใจท่ัวไป 2. ตรวจติดตามสภาพแวดลอมของส่ิงแวดลอม คุณภาพน้ํา และดินในอาวบานดอน อยางตอเนื่อง และมีการายงานผลในรูปแบบตางๆ เชน แผนพับ หนังสือเวียน สารวิชาการ บอรดประชาสัมพันธ รายการเสียงตามสาย ในชุมชนตางๆ ท่ีอยูรอบอาวบานดอน เพื่อใหทราบถึงสถานการณการเปล่ียนแปลงของสภาพแวดลอมอยางสมํ่าเสมอ 3. รวมกับชุมชนจัดทําโครงการฟนฟูทรัพยากรสัตวน้ํา เชน สงเสริมการทําธนาคารปูมา ธนาคารปูไข ธนาคารกุงทะเล ปลอยพันธุปลาทะเลชนิดตางๆ ในพ้ืนท่ีอาวบานดอนพรอมการติดตามและประเมินผลทรัพยากรท่ีเพิ่มข้ึนหลังจากจบโครงการ

Page 26: Department of Fisheries · ชื่อผลงาน เรื่องทีู่ 1 ทะเลการเลี้ (Scylla paramamosainยงป Estampador, 1949) ด วยอาหารสํ็ูปจราเร

23

4. ควรจัดต้ังหนวยงานการประสานงานของชุมชนรอบอาวบานดอน เชน สํานกังานประมงจังหวดั องคการบริหารสวนทองถ่ิน เปนตน เปนผูประสานงานในการรวมอนุรักษทรัพยากรและเปนแหลงขอมูลขาวสารตาง ๆ ผลท่ีคาดวาจะไดรับ

1. ไดผลงานวิจยัเกี่ยวกับสัตวน้าํทองถ่ินในอาวบานดอน อยางนอยปละ 2 เร่ือง 2. เพิ่มผลผลิตสัตวน้ํา (ปูทะเล ปูมา กุงทะเล เปนตน) ในอาวบานดอนใหมีปริมาณเพยีงพอกับความ

ตองการของผูบริโภค 3. ชุมชนในพื้นท่ีรอบอาวมีความรู ความเขาใจ มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากร

สัตวน้ําแบบรักษาสมดุลนิเวศ และสามารถประกอบเปนอาชีพมีรายไดท่ีม่ันคงจากการทําการประมง

ตัวชี้วัดความสําเร็จ 6.1 ผลผลิตสัตวน้ําในอาวบานดอนเพิ่มข้ึนอยางนอย 10 เปอรเซ็นต 6.2 คุณภาพของส่ิงแวดลอมบริเวณอาบานดอนมีความสมดุลนิเวศที่ดีข้ึน 6.3 ความพึงพอใจของชุมชนในพื้นท่ีท่ีมีสวนรวมในการบริหารจัดการ

ลงช่ือ ---------------------------- (นางอาภรณ เทพพานิช) ผูเสนอแนวคิด