diversity of marine plankton at koh khram, sattahip ... · group followed by class dinophyceae and...

20
การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 63 การศึกษาความหลากหลายของแพลงกตอนบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี อภิญญา ปานโชติ 1 สุนันท ภัทรจินดา 2 อรรชนีย ชํานาญศิลป 3 ไพลิน จิตรชุ4 เกสร เทียรพิสุทธิ2 และ ลัดดา วงศรัตน 4 1 คณะวิชาประมง วิทยาลัยประมงชุมพรเขตรอุดมศักดิหลังสวน ชุมพร 86110 2 ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 3 ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง บางกะป กรุงเทพฯ 10240 4 ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip district, Chon Buri province Apinya Panchote 1 , Sunan Patarajinda 2 , Atchanee Chumnansinp 3 , Pailin Jitchum 4 , Kesorn Teanpisut 2 and Ladda Wongrat 4 , 1 Faculty of Fisheries, Prince of Chumphon Fisheries College, Langsuan, Chumphon 86110; 2 Department of Marine Science, Faculty of Fisheres, Kasetsart University, Chatujak, Bangkok 10900; 3 Department of Biology, Faculty of Science, Ramkhamhaeng University Bangkapi Bangkok 10240; 4 Department of Fishery Biology, Faculty of Fisheres, Kasetsart University, Chatujak, Bangkok 10240 บทคัดยอ ศึกษาความหลากหลายของแพลงกตอนบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยเก็บ ตัวอยาง 2 ชวงเวลา คือ ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ( เดือนธันวาคม . . 2545) และฤดูมรสุม ตะวันตกเฉียงใต (เดือนกันยายน .. 2546) โดยใชถุงแพลงกตอนขนาดชองตา 70, 125 และ 200 ไมโครเมตร เก็บตัวอยางในแนวราบที่ระดับลึกใตผิวน้ําประมาณ 30 เซนติเมตร จํานวน 9 สถานี พบ แพลงกตอนทั้งหมด 247 ชนิด ประกอบดวยแพลงกตอนพืช 196 ชนิด แพลงกตอนสัตว 51 ชนิด แพลงกตอนพืชกลุมที่มีจํานวนชนิดมากที่สุด คือ Class Bacillariophyceae รองลงมาคือ Class Dinophyceae และ Class Cyanophyceae คิดเปน 58.70, 17.81 และ 2.02 เปอรเซ็นตตามลําดับ แพลงกตอนสัตวกลุมที่มีจํานวนชนิดมากที่สุด คือ Phylum Protozoa รองลงมา คือ Phylum Arthropoda และ Phylum Cnidaria คิดเปน 12.96, 4.05 และ 0.40 เปอรเซ็นตตามลําดับ จํานวนชนิดของแพลงก - ตอนในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใตไมแตกตางกันมาก คือ 202 และ 224 ชนิดตามลําดับ แพลงกตอนสวนใหญมีการแพรกระจายอยางกวางขวาง

Upload: lamhanh

Post on 18-Sep-2018

218 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 63

การศึกษาความหลากหลายของแพลงกตอนบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

อภิญญา ปานโชติ1 สุนันท ภัทรจินดา2 อรรชนีย ชํานาญศิลป3 ไพลิน จิตรชุม4 เกสร เทียรพิสุทธิ์2 และ ลัดดา วงศรัตน4

1คณะวิชาประมง วิทยาลัยประมงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ หลังสวน ชุมพร 86110 2ภาควิชาวิทยาศาสตรทางทะเล คณะประมง

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900 3ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลยัรามคําแหง บางกะป กรุงเทพฯ 10240 4ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จตุจักร กรุงเทพฯ 10900

Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip district, Chon Buri province

Apinya Panchote1, Sunan Patarajinda2, Atchanee Chumnansinp3, Pailin Jitchum4, Kesorn Teanpisut2 and Ladda Wongrat4,

1Faculty of Fisheries, Prince of Chumphon Fisheries College, Langsuan, Chumphon 86110; 2Department of Marine Science, Faculty of Fisheres, Kasetsart University, Chatujak, Bangkok 10900; 3Department of Biology, Faculty of

Science, Ramkhamhaeng University Bangkapi Bangkok 10240; 4Department of Fishery Biology, Faculty of Fisheres, Kasetsart University, Chatujak, Bangkok 10240

บทคัดยอ

ศึกษาความหลากหลายของแพลงกตอนบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี โดยเก็บตัวอยาง 2 ชวงเวลา คือ ฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (เดือนธันวาคม พ.ศ. 2545) และฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต (เดือนกันยายน พ.ศ. 2546) โดยใชถุงแพลงกตอนขนาดชองตา 70, 125 และ 200 ไมโครเมตร เก็บตัวอยางในแนวราบที่ระดับลึกใตผิวน้ําประมาณ 30 เซนติเมตร จํานวน 9 สถานี พบแพลงกตอนทั้งหมด 247 ชนิด ประกอบดวยแพลงกตอนพืช 196 ชนิด แพลงกตอนสัตว 51 ชนิด แพลงกตอนพืชกลุมที่มีจํานวนชนิดมากที่สุด คือ Class Bacillariophyceae รองลงมาคือ Class Dinophyceae และ Class Cyanophyceae คิดเปน 58.70, 17.81 และ 2.02 เปอรเซ็นตตามลําดับ แพลงกตอนสัตวกลุมที่มีจํานวนชนิดมากที่สุด คือ Phylum Protozoa รองลงมา คือ Phylum Arthropoda และ Phylum Cnidaria คิดเปน 12.96, 4.05 และ 0.40 เปอรเซ็นตตามลําดับ จํานวนชนิดของแพลงก-ตอนในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใตไมแตกตางกันมาก คือ 202 และ 224 ชนิดตามลําดับ แพลงกตอนสวนใหญมีการแพรกระจายอยางกวางขวาง

Page 2: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 64

Abstract Diversity of marine plankton at Ko Khram, Sattahip District, Chon Buri Province were

analyzed during northeast monsoon season (December, 2001) and southwest monsoon season (September, 2002). Plankton samples were collected at 9 stations using plankton nets of three mesh sizes: 70, 125 and 200 micrometers. A total of 247 plankton, consisting of 196 phytoplankton and 51 zooplankton were identified. Class Bacillariophyceae was the dominant group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species composition of both monsoon seasons were similar and not much different in species number (202 and 224species). In general, plankton of Ko Khram were widely distributed. บทนํา

การศึกษาแพลงกตอนทะเลในอาวไทยมีประวัติอันยาวนานถึงกวาศตวรรษ การศึกษาแพลงกตอนทะเลของไทยเริ่มครั้งแรกในป ค.ศ. 1899 (พ.ศ.2442) โดยคณะสํารวจชาวเดนมารกซึ่งมี Johannes Schmidt เปนหัวหนา ไดเขามาเก็บตัวอยางทรัพยากรธรรมชาติของไทยซึ่งรวมทั้งแพลงกตอนทะเลดวย การเก็บตัวอยางไดเริ่มต้ังแตเดือนธันวาคม ค.ศ. 1899 และเสร็จส้ินในเดือนมกราคม ค.ศ. 1900 และไดทยอยตีพิมพผลงานการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติของไทย ต้ังแตป ค.ศ. 1902 จนถึง ค.ศ. 1916 ภายใตหัวขอชื่อหลักวา “Flora of Koh Chang” ซึ่งมีเรื่องเกี่ยวกับแพลงกตอนพืช 2 กลุม ไดแก Peridiniales (Schmidt, 1901) และไดอะตอม (Ostenfeld, 1902) การสํารวจแพลงกตอนสัตวทะเลในอาวไทยไดเริ่มตนในชวงเวลาเดียวกัน การสํารวจที่เกาะชาง โดยการสํารวจที่มีชื่อวา SIBOGA Expedition ในป ค.ศ. 1899 – 1900 ซึ่งมีผลงานของแพลงกตอนสัตว 2 เรื่อง (Hansen, 1910; Rose, 1926) อีกประมาณ 3 ทศวรรษตอมา ไดมีการสํารวจมหาสมุทรทั่วโลก ชื่อ “The Oceanographical Expedition of the Carlsberg Round the World 1928-1930” โดยมี Johannes

Schmidt เปนหัวหนาคณะสํารวจ ซึ่งไดเก็บตัวอยางในอาวไทยจํานวน 10 สถานี รายงานผลการสํารวจแพลงกตอนสัตวไดรับการตีพิมพใน DANA Report ประกอบดวยแพลงกตอนสัตวในกลุม Ostracods, Medusae, Heteropod และ Pteropod และหอยสกุล Janthina (Poulsen, 1962, 1965; Kramp, 1965; Tesch, 1946, 1948, 1949; Laursen, 1953) อีก 6 ทศวรรษตอมาไดมีการสํารวจแพลงกตอนครั้งที่สําคัญในอาวไทยและเนนเรื่องแพลงกตอนสัตว โครงการนี้ชื่อ การสํารวจโครงการพญานาค (NAGA Expedition) ในป ค.ศ. 1959- 1961 เปนงานสํารวจทั้งทางดานกายภาพ ชีวภาพ และเคมี และมีนักวิทยาศาสตรไทยไดเขารวมการสํารวจดวย ผลการศึกษาดานอนุกรมวิธานหรือความหลากหลายไดตีพิมพใน NAGA Report ประกอบดวยแพลงกตอนสัตวกลุม Chaetognatha, Siphonophorae, Medusae (Alvarino, 1963, 1967) Euphausiids (Brinton, 1975) Calanoida (Fleminger, 1963) Rastrelliger larvae (Matsui, 1970) Mollusca (Rottman, 1963,1976) Amphipods (Sudara, 1973 a, b) สุนีย (2523, 2534) และ Suvapepun (1978) ได

Page 3: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 65

รวบรวมรายชื่อชนิดแพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตวที่พบในอาวไทย

การศึกษาอนุกรมวิธานแพลงกตอนทะเลใน

อาวไทยโดยนักชีววิทยาไทย ที่ศึกษาเพิ่มเติมจากนักชีววิทยาชาวตางประเทศที่เปนผลงานศึกษาเฉพาะกลุม ไดแก ขนิษฐา ศีลธรวิสุทธิ์ (2504) ศึกษาเรื่อง ไดอะตอม Wongrat (1982) ศึกษา ไดโนแฟละเจลเลตสกุล Ceratium พรศิลป ผลพันธิน (2530) ศึกษาไดโนแฟละเจลเลตใน family Dinophysiaceae, Gonyaulaceae และ Peridiniaceae ผลงานวิจัยที่ศึกษาแพลงกตอนพืชทุกกลุมในอาวไทย ไดแก ลัดดา วงศรัตน (2522) ศึกษาชนิดและปริมาณแพลงกตอนบริเวณชายฝงอาวศรีราชา Boonyapiwat (1999) ศึกษาแพลงกตอนพืชทะเลทุกกลุมในอาวไทยเรื่อยไปจนถึงชายฝงทะเลดานตะวันออกของประเทศมาเลเซีย และการศึกษาแพลงกตอนทะเลจังหวัดชุมพรและตราดของ ลัดดา วงศรัตน และคณะ (2546) สวนงานดานอนุกรมวิธานของแพลงกตอนสัตวมีนอย ไดแก โคพีพอด (Suvapepun and Suwanrampha, 1968) แมงกะพรุน (นิตยา วุฒิเจริญมงคล, 2547) การศึกษาแพลงกตอนสัตวหลายกลุมโดยเนนกลุมโปรโตซัว (ลัดดา วงศรัตน และคณะ, 2546) และลูกปลา (Chayakul, 1990; Termvidchakorn, 1997)

สืบเนื่องจากการที่ประเทศไทยไดรวมลงนาม

รับรองอนุสัญญาวาดวยความหลากหลายทาง ชีวภาพ (Convention on Biological Diversity) ในการประชุมสหประชาชาติวาดวยส่ิงแวดลอมและการพัฒนา (United Nation Conference on Environment and Development) ณ กรุง ริโอ เดอ เจ นาโร ประเทศบราซิล เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2535 นั้น ทําใหนักวิชาการสนใจศึกษาทรัพยากรธรรมชาติของไทย เพิ่ มขึ้ น ประกอบกับระบบนิเวศทางน้ําของประเทศไทย

กําลังเส่ือมโทรมและมีแนวโนมจะถูกทําลายมากขึ้น คณะผูวิจัยไดตระหนักถึงปญหาดานความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลจึงได เสนอโครงการศึกษาเรื่องดังกลาว ในพ้ืนที่รอบเกาะคราม และเกาะใกลเคียงในอําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ซึ่งเปนพ้ืนที่อนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริฯ อยูในความดูแลของกองทัพเรือ จึงเปนพ้ืนที่ปราศจากการรบกวนจากมนุษย และเพ่ือสนองพระราชดําริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การศึ กษาครั้ งนี้ เ ป นส วนหนึ่ ง ในการศึ กษาทรัพยากรสิ่งมีชีวิตตั้งแตยอดเขาถึงทองทะเล ในสวนของแพลงกตอน วัตถุประสงคเพ่ือศึกษาความหลากหลายและจัดทําขอมูลพ้ืนฐานของแพลงกตอนท่ีพบ เพ่ือวิจัยตอไปในทางลึกและพัฒนานําไปใชประโยชน รวมท้ังเพ่ือการอนุรักษ อุปกรณและวิธีการศึกษา

สถานที่ศึกษา คือ บริเวณเกาะคราม อําเภอ สัตหีบ จังหวัดชลบุรี ซึ่งตั้งอยูระหวางเสนละติจูด (latitude) ที่ 12° 40′ เหนือ ถึง 12° 43′ เหนือ และเสนลองจิจูด (longitude) ที่ 100° 40′ ตะวันออกถึง 100° 47′ ตะวันออก มีเนื้อที่ทั้งหมด 8,019 ไร หางจากฝงทะเลทางดานตะวันออกประมาณ 5 กิโลเมตร เกาะครามเปนพ้ืนที่ควบคุมของฐานทัพเรือสัตหีบ กองทัพเรือ ไมมีชาวบานอาศัยอยู จึงไมมีการทําการประมงและใชประโยชนดานการทองเที่ยว นอกจากนั้นยังเปนพ้ืนที่ที่มีเตาทะเล เชน เตาตะนุ เตากระ เตามะเฟอง วางไขมากที่สุดแหงหนึ่งในอาวไทย ชายฝงมีลักษณะเปนหาดทรายสลับกับหนาผาหินรอบเกาะ พ้ืนทองน้ําสวนใหญเปนทรายปนกรวด พ้ืนทะเลมีความลาดชันนอย แนวปะการังที่พัฒนาดีพบอยูบริเวณทางดานตะวันออกและทิศเหนอืของเกาะ

Page 4: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 66

เก็บตัวอยางโดยใชถุงแพลงกตอนขนาดชอง

ตา 70, 125 และ 200 ไมโครเมตร ลากในแนวราบเปนเวลา 3 นาที จํานวน 9 สถานี รอบเกาะคราม (ภาพที่ 1)พาหนะที่ใชเก็บตัวอยางเปนเรือยางของหนวยสงครามพิเศษทางเรือ (นสร.) กองเรือยุทธการ เก็บตัวอยาง 2 ครั้ง คือ เดือนธันวาคม พ.ศ. 2545 และ เดือนกันยายน พ.ศ. 2546

มาตราสวน 1:50,000

ภาพที่ 1: สถานีเก็บตัวอยางแพลงกตอนบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

เก็บรั กษาตัวอย างแพลงกตอนในนํ้ายา

ฟอรมาลดีไฮดที่มีคุณสมบัติเปนกลางเขมขน 4 เปอรเซ็นต แลวนําตัวอยางไปศึกษาที่หองปฏิบัติการแพลงกตอนวิทยาคณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร เพ่ือจําแนกชนิดและถายภาพแพลงกตอนที่พบ เอกสารที่ใชในการจําแนกทางอนุกรมวิธาน ไดแก พรศิลป ผลพันธิน (2530); ลัดดา วงศรัตน (2541, 2542); อรรชนีย ชํานาญศิลป (2545); Ostenfeld (1902); Östrup (1904); Cupp (1943); Smith (1977); Wongrat (1982); Yamaji (1984); Sournia (1986); Ricard (1987);

Chrétiennot-Dinet (1990); Round et al. (1990); Fukuyo (1990); Tomas (1997)

ผลและวิจารณผลการศึกษา จากการศึกษาความหลากหลายของชนิด

แพลงกตอนบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี เก็บตัวอยางจํานวน 2 ครั้ง คือ ชวงฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (เดือนธันวาคม พ.ศ. 2545) และมรสุมตะวันตกเฉียงใต (เดือนกันยายน พ.ศ. 2546) เก็บตัวอยางทั้งหมด 9 สถานี พบแพลงกตอนท้ังหมด 247 ชนิด 123 สกุล (ตารางที่ 1) ประกอบดวย แพลงกตอนพืช 196 ชนิด 87 สกุล 43 ครอบครัว 9 อันดับ 4 คลาส 2 ดิวิชัน ไดแก Division Cyanophyta, Class Cyanophy- ceae (ไซยาโนแบคทีเรีย) 5 ชนิด 4 สกุล Division Chromophyta (โครโมไฟท) 3 Classes ไดแก Class Bacillariophyceae (ไดอะตอม) 145 ชนิด 64 สกุล Class Dinophyceae (ไดโนแฟละเจลเลต) 44 ชนิด 16 สกุล และ Class Dictyochophy- ceae (ซิลิโคแฟละเจลเลต) 2 ชนิด 1 สกุล โดยแพลงกตอนพืชกลุมที่มีจํานวนชนิดมากที่สุด คือ Class Bacillariophyceae พบ 145 ชนิด หรือ 58.70 เปอรเซ็นตของชนิดแพลงกตอนที่พบทั้งหมด รองลงมาคือ Class Dinophyceae พบ 44 ชนิด (17.81 เปอรเซ็นต) Class Cyanophyceae พบ 5 ชนิด (2.02 เปอรเซ็นต) และ Class Dictyochophyceae พบ 2 ชนิด (0.81 เปอรเซ็นต) ตามลําดับ (ภาพที่ 2) แพลงกตอนพืชสกุลที่มีความหลากหลายของชนิดมาก ไดแก สกุล Chaetoceros (24 ชนิด) Ceratium (20 ชนิด) และ Rhizosolenia (12 ชนิด)

Page 5: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 67

2.02%0.81%

17.81%

58.70%

12.96%1.21%0.40%

4.05%0.40%0.81%

0.81%

Class Cyanophyceae Class Bacillariophyceae Class DinophyceaeClass Dictyochophyceae Phylum Protozoa Phylum CnidariaPhylum Chaetognatha Phylum Arthropoda Phylum BrachiopodaPhylum Mollusca Phylum Chordata

ภาพที่ 2: องคประกอบของชนิดแพลงกตอนแตละกลุมที่พบบริเวณเกาะคราม

20.65%

79.35%

Phytoplankton Zooplankton

ภาพที่ 3: องคประกอบของชนิดแพลงกตอนพืชและสัตวที่พบริเวณเกาะคราม

พบแพลงกตอนสัตว 51 ชนิด 36 สกุล 28

ครอบครัว 16 อันดับ 16 คลาส 12 ไฟลัม ประกอบดวย Phylum Protozoa (โปรโตซัว) 32 ชนิด 17 สกุล Phylum Cnidaria (แมงกะพรุน) 3 ชนิด 3 สกุล Phylum Chaetognatha (หนอนธนู) 1 ชนิด 1 สกุล Phylum Arthropodaใน Class Crustacea (ครัสตาเซียน) 10 ชนิด 10 สกุล Phylum Brachiopoda (หอยตะเกียง) 1 ชนิด 1 สกุล Phylum Mollusca (หอย) 2 ชนิด 2 สกุล Phylum Chordata (สัตวมีกระดูกสันหลังกลุม ยูโรคอรเดท) 2 ชนิด 2 สกุล และตัวออนของ

แพลงกตอนสัตวอีก 20 กลุม ประกอบดวย Pilidium larvae, Polychaete larvae, Copepodite larvae, Copepod nauplii, Cirripede larvae, Pontellid nauplii, Penaeid mysis, Brachyuran larvae, Pagurid larvae, Porcellanid larvae, Actinotrocha larvae, Cyphonautes larvae, Gastropod larvae, Pelecypod larvae, Auricularia larvae, Echinopluteus larvae, Ophiopluteus larvae, Fish egg และ Fish larvae (ตารางที่ 8) โดยแพลงกตอนสัตวกลุมที่มีจํานวนชนิดมากที่สุด คือ Phylum Protozoa พบ 32 ชนิด หรือ 12.96 เปอรเซ็นตของแพลงกตอนที่พบทั้งหมด รองลงมาคือ Phylum Arthropoda 10 ชนิด(4.05 เปอรเซ็นต) Phylum Mollusca และ Phylum Cnidaria (0.81 เปอรเซ็นต) Phylum Chaetognatha และ Phylum Chordata (0.40 เปอรเซ็นต) ตามลําดับ (ภาพที่ 2) แพลงกตอนสัตวสกุลที่มีความหลากหลายของชนิดมากที่สุด ไดแก Tintinnopsis (8 ชนิด) และสกุล Eutintinnus (6 ชนิด)

แพ ล ง ก ต อ นที่ พ บ บ ริ เ วณ เ ก า ะ ค ร า ม

ประกอบดวยแพลงกตอนพืชในสัดสวนที่มากกวาแพลงกตอนสัตว คือ มีจํานวน 196 ชนิด หรือเทากับ 79.35 เปอรเซ็นตของแพลงกตอนที่พบทั้งหมด สวนแพลงกตอนสัตวมีจํานวน 51 ชนิด หรือเทากับ 20.65 เปอรเซ็นตของชนิดแพลงกตอนที่พบทั้งหมด (ภาพที่ 3)

ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ห รื อ

องคประกอบชนิดของแพลงกตอนพืชบริเวณ เกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี พบวามีความคลายคลึงกับผลของการศึกษาที่มีผูรายงานไว (Boonyapiwat, 1999 และ โสภณา, 2529; 2544) โดยพบวาองคประกอบชนิดของแพลงกตอนพืช ประกอบดวย ไดอะตอมเปนกลุมเดน และ ไดโนแฟละเจลเลตเปนกลุมรองลงมา เมื่ อ

Page 6: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 68

เปรียบเทียบการศึกษาองคประกอบชนิดของแพลงกตอนพืชบริเวณเกาะอื่นในภาคตะวันออก เชน เกาะชางและหมูเกาะใกลเคียงในจังหวัดตราด โดย Schimidt (1901) และ Ostenfeld (1902) รวมท้ังการศึกษาบริเวณเกาะกูด จังหวัดตราด เกาะในภาคใต เชน เกาะไข เกาะเวียงและเกาะรังในจังหวัดชุมพร (ลัดดา วงศรัตน และคณะ, 2546) พบวาโดยทั่วไปแพลงกตอนพืชบริเวณเกาะเหลานี้ มีองคประกอบชนิดคลายคลึงกัน แตจํานวนชนิดแตกตางกัน เมื่อเปรียบเทียบชนิดของแพลงกตอนที่พบในการศึกษาครั้งนี้กับชนิดที่เคยมีในรายงานของเกาะชางโดย Schimidt และ Ostenfeld เมื่อรอยปที่ผานมา ปรากฎวาในการศึกษาครั้งนี้ไมพบชนิดของแพลงกตอนพืช จํานวน 60 ชนิด ในจํานวนนี้ประกอบดวย ไดอะตอม 33 ชนิด และไดโนแฟละเจลเลต 27 ชนิด ซึ่งสวนใหญเปนสกุลChaetoceros และ Protoperidinium (ตารางที่ 2)

เมื่อเปรียบเทียบผลการศึกษาแพลงกตอน

สัตวที่พบกับการศึกษาในอาวไทยของ สุรพล สุดารา และ อัจฉราภรณ อุดมกิจ (2527) ซึ่งไดศึกษาบริเวณอาวไทยตอนใน เมื่อปพ.ศ. 2523-2524 กลุมเดนที่พบ คือ โคพีพอด ตอมาในป พ.ศ. 2525-2526 สุทธิชัย เตมียวณิชย (2527) ไดศึกษาบริเวณชายฝงตะวันออกของอาวไทยตอนใน พบโคพีพอดเปนกลุมเดนเหมือนกัน สวนสาธิต โกวิทวที และคณะ (2531) ไดศึกษาแพลงกตอนสัตวบริเวณชายฝงทะเลภาคตะวันออก แหลมฉบัง ในจังหวัดชลบุรี รวมทั้งการศึกษาของ จิตรา ตีระเมธี (2536) บริเวณแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรีและมาบตาพุด จังหวัดระยอง ผลการศึกษาพบ โคพีพอดเปนกลุมเดนเชนเดียวกัน

จากผลการศึกษาขางตน สอดคลองกับ

การศึกษาในครั้งนี้ โดยพบกลุมเดนของแพลงกตอนสัตวเหมือนกัน คือ โคพีพอด ซึ่ง สุนีย สุวภีพันธ (2523) กลาววา โคพีพอดเปนกลุมที่มี

ความสําคัญที่สุดซึ่งมีจํานวนมากตลอดปในอาวไทย การที่โคพีพอดมีจํานวนมากในน้ําทะเลนั้น นับวาเปนกลุมแพลงกตอนสัตวที่มีความสําคัญที่สุดในสายโซอาหารที่เชื่อมโยงระหวางพืชและปลา โดยเฉพาะลูกปลาเกือบทุกชนิดกินโคพีพอดในระยะนอเพลียสเปนอาหาร

นอกจากแพลงกตอนที่ดํารงชีวิตแบบอิสระ

แลว การศึกษาครั้งนี้พบแพลงกตอนที่เปน symbiont ที่อาศัยอยูรวมกับส่ิงมีชีวิตชนิดอื่น ไดแก ไซยาโนแบคทีเรีย ชนิด Richelia intracellularis อาศัยอยูภายในเซลลของไดอะตอมหลายชนิด ไดแก Guinardia cylindrus, Rhizosolenia clevei, R. styliformis และไซยาโนแบคทีเรียชนิด Lyngbya พบเกาะอยูบนเสนสายของสาหรายทะเล นอกจากนั้นพบแพลงกตอนสัตวที่อาศัยอยูรวมกับแพลงกตอนพืช ไดแก โปรโตซัวชนิด Amphorella borealis อาศัยอยูภายในเซลลไดอะตอมชนิด Palmeria hardmaniana โปรโตซัวชนิด Vorticella oceanica ที่เกาะอยูบนไดอะตอมชนิด Chaetoceros coarctatus และ C. curvisetus เปนตน

การศึกษาครั้งนี้พบแพลงกตอนพืชในกลุมที่

หนวดนอยมาก เนื่องจากทําการจําแนกและ วิ เคราะห ตัวอยางที่ เก็บรักษาดวยสารละลายฟอรมาลดีไฮด อีกทั้งกลุมนี้มีผนังเซลลบางทําใหเซลลแตกไดงายจึงไมพบเมื่อนํามาจําแนก ณ หองปฏิบัติการ ซึ่งการศึกษาแพลงกตอนกลุมที่มีหนวด สวนใหญศึกษาจําแนกจากตัวอยางสด ขอเสนอแนะ

การศึกษาไดขอมูลพ้ืนฐานของแพลงกตอนซึ่งเ ป น ก ลุ ม ที่ สํ า คั ญ ม า ก ก ลุ ม ห นึ่ ง ข อ งทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลเพราะเปนส่ิงมีชีวิตในกลุมแรกของหวงโซอาหาร ซึ่งเปนผลผลิตเบ้ืองตน

Page 7: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 69

ของระบบนิเวศทางทะเล จึงควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมในสวนของความหลากหลาย เนื่องจากการศึกษาครั้งนี้มีอุปสรรคดานการเก็บตัวอยาง จากเรือยางที่มีขนาดเล็กจึงไมปลอดภัยในการทํางานขณะที่ทะเลมีคล่ืนลมแรง รวมทั้งไมสามารถเก็บตัวอยางไดสะดวกในชวงเวลากลางคืน ทําใหไดตัวอยางแพลงกตอนไมครบถวนทุกกลุม นอกจากนี้เพ่ือใหไดขอมูลที่เปนประโยชนในการประเมินความอุดมสมบูรณ ขอมูลในการกําหนดนโยบายในการจัดการและอนุรักษทรัพยากรทางชีวภาพในบริเวณที่ศึกษา ควรศึกษาชนิดปริมาณและความสั ม พันธ ร ะหว า ง แพลงก ต อนกั บส่ิงแวดลอม การนําแพลงกตอนมาใชประโยชนดานเพาะเลี้ยงเพื่อเปนอาหารสัตวน้ําวัยออนที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ เชน เตาทะเล ปะการัง และหอยมือเสือ

กิตติกรรมประกาศ

งบประมาณในการศึกษาความหลากหลายของชนิดและการแพรกระจายของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการัง บริเวณเกาะคราม และเกาะใกลเคียง จังหวัดชลบุรี ไดรับทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) หนวยงานและบุคลากรที่ไดสนับสนุนและใหความอนุเคราะหดานวิชาการ ไดแก กองทัพเรือ โดยหนวยสงครามพิเศษทางเรือ (นสร.) กองเรือยุทธการ ฐานทัพเรือสัตหีบ สนับสนุนเรือยางพรอมบุคคลากรในการออกสํารวจเก็บตัวอยาง รวมท้ังอํานวยความสะดวกในการเขาปฏิบัติงานในพื้นที่ของกองทัพเรือ หนวยตอสูอากาศยานและรักษาฝง (สอ.รฝ.) เกาะคราม อํานวยความสะดวกเรื่องที่พักในการสํารวจเก็บตัวอยางครั้งที่ 1 (6-9 ธันวาคม 2545) กรมพลาธิการทหารเรืออํานวยความสะดวกเรื่องอาหาร

ของคณะผูวิจัยตลอดการสํารวจเก็บตัวอยางครั้งที่ 1 คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรและสถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา สนับสนุนอุปกรณ การสํารวจและสถานที่ในการวิเคราะหตัวอยาง รวมท้ัง ผศ.ธนิษฐา ทรรพนันทชวยเขียนขอเสนอโครงการและประสานงานของโครงการ คณะผูวิจัยโครงการนี้ขอขอบคุณอยางสูงตอทุกหนวยงานและบุคคลากรทุกทานที่กลาวมาแลว ที่กรุณาใหการสนับสนุนและใหความอนุเคราะหจนการวิจัยครั้งนี้ไดสําเร็จลุลวงไปดวยดี เอกสารอางอิง ขนิษฐา ศีลธรวิสุทธิ์. 2504. Plankton Diatoms ใน

อาวไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 118 หนา.

จิตรา ตีระเมธี. 2536. การศึกษาการเปลี่ยนแปลงประชากรแพลงกตอนสัตว บริเวณแหลมฉบังและมาบตาพุดป 2532. สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล, มหาวิทยาลัยบูรพา. 16 หนา.

นิตยา วุฒิเจริญมงคล. 2547. ความหลากหลายและปริมาณของแพลงกตอนสัตวคลาสไฮโดรซัว (Planktonic Hydrozoan, Class Hydrozoa) ในอาวไทยตอนบน. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 265 หนา

พรศิลป ผลพันธิน. 2530. อนุกรมวิธานและการแพรกระจายของไดโนแฟลกเจลเลตในครอบครัว Dinophyceae, Gonyaulacaceae และ Peridiniaceae ในอาวไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 267 หนา.

ลัดดา วงศรัตน. 2522. การศึกษาสภาวะน้ําเสียที่มีผลตอสัตวน้ําและการประมงที่อาวศรีราชา. III ชนิดและปริมาณแพลงกตอนบริเวณชายฝงอาวศรีราชา. คณะประมง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. 94 หนา. 21 Plates.

ลัดดา วงศรัตน. 2525. แพลงกตอนไดโนแฟลกเจลเลตสกุลเซราเทียมในนานน้ําไทย. กรุงเทพฯ:

Page 8: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 70

คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. 73 หนา

ลัดดา วงศรัตน. 2541. แพลงกตอนสัตว. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. 787 หนา.

ลัดดา วงศรัตน. 2542. แพลงกตอนพืช. พิมพครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. 851 หนา

ลัดดา วงศรัตน, ยลรวีภัค เฉลิมศิริ, นิตยา วุฒิเจริญมงคล, ปรีดามน คําวชิรพิทักษ, อภิรดี หันพงศกิตติกูล, อิสราภรณ จิตรหลัง และ เกสร เฑียรพิสุทธิ์. 2546. การสํารวจแพลงกตอนทะเลในจังหวัดชุมพรและตราด. ใน เอกสารประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : ธรรมชาติแหงชีวิต. การประชุมวิชาการประจําป ครั้งที่ 1 ชมรมคณะปฏิบัติงานอพ.สธ. สํานักพระราชวัง พระราชวังดุสิต, 10-12 พฤษภาคม 2546. หนา 18-68.

สาธิต โกวิทวที, เนาวรัตน เอี่ยมสุโร และ สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร. 2531. การเปลี่ยนแปลงแพลงกตอนสัตวบริเวณชายฝงตะวันออกแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี. เอกสารงานวิจัยที่ 32/2531, สถาบันวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตบางแสน. 15 หนา

สุทธิชัย เตมียวณิชย. 2527. การแพรกระจายและความชุกชุมของแพลงกตอนสัตวบริเวณชายฝงทะเลตะวันออกของอาวไทย. ใน การสัมมนาการวิจัยคุณภาพน้ําและคุณภาพสิ่งมีชีวิตในนานน้ําไทย 26 – 28 มีนาคม 2527. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ณ ศูนยวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ บางแสน. หนา 425-435.

สุนีย สุวภีพันธ. 2523. แพลงกตอนสัตวในอาวไทย. รายงานวิชาการที่ สจ/22/4, กองประมงทะเล กรมประมง, กรุงเทพฯ. 212 หนา.

สุนีย สุวภีพันธ. 2534. แพลงกตอนสัตวในอาวไทย. วารสารการประมง 34(2): 201-217.

สุรพล สุดารา และ อัจฉราภรณ อุดมกิจ. 2527. การกระจายตัวของแพลงกตอนสัตวที่สําคัญๆ ใน

อาวไทยตอนใน. ใน การสัมมนาการวิจัยคุณภาพน้ําและคุณภาพทรัพยากรมีชีวิตในนานน้ําไทย 26-28 มีนาคม 2527 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ณ ศูนยวิทยาศาสตรทางทะเล มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. หนา 425-435.

โสภณา บุญญาภิวัฒน. 2529. ชนิดและการแพรกระจายของแพลงกตอนในบริเวณอาวไทย. กองสํารวจแหลงประมง กรมประมง, กรุงเทพ. 6 หนา.

โสภณา บุญญาภิวัฒน, สุมา รักแผน, พิเศษ จุฑารัตน และ นิพนธ ทองอยู. 2544. นิเวศวิทยาของแพลงกตอนพืชใน 2 ฤดูมรสุมบริเวณพ้ืนที่สํารวจรวมไทย-เวียดนามในอาวไทย. เอกสารวิชาการฉบับที่ 74/2544 กองประมงนอกนานน้ําไทย, สมุทรปราการ. 43 หนา.

อรรชนีย ชํานาญศิลป. 2545. การจําแนกไดอะตอมที่พบบนพ้ืนผิวปะการังเทียม บริเวณอาวขามเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ดวยกลองจุลทรรศนอิเลคตรอนแบบลําแสงสองกราด. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. 386 หนา.

Alvarino, A. 1963. Chaetognatha, Siphonophorae, Medusae in Galf of Siam and the South China Sea. Scripps Instn. Oceanogr. SIO-Ref. (63-6): 53-58.

Alvarino, A. 1967. The Chaetognatha of the NAGA Expedition (1959-1961) in the South China Sea and the Galf of Thailand. Part 1- Systematics. Scripps Instn. Ocenogr., NAGA Report, 4 (Part 2): 1-197.

Boonyapiwat, S. 1999. Distribution, Abundance and Species Composition of phytoplankton in South China Sea, Area I: Gulf of Thailand and east coast of Peninsular Malaysia. In: Proceedings of the First Technical Seminar on Marine Fishery Resources Survey in the South China Sea Area I: Gulf of Thailand and Peninsular

Page 9: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 71

Malaysia, 24-26 November 1997, Bangkok. pp. 111-134.

Brinton, E. 1975. Euphausiids of Southeast Asian waters. Scripps Instn. Oceanogr. NAGA Report. Vol. 4 (Part 5). Chayakul, R. 1990. Larvae and Juvenile fishes occurring in the Gulf of Thailand. Technical Paper of Marine Resource Survey Team. No. 4/1990. 98 p.

Chrétiennot-Dinet, M.J. 1990. Atlas du Phytoplankton Marin. Vol. 3-Chlorarachiro- phycées, Chlophyccées, Chrysophycées, Cryptophycées, Euglenophycées, Eustigna- tophycées, Prasinophycées, Prymnesiophy- cées, Rhodophycées, Tribophycées. E’ditions du Centre National de la Recherche Scientifique. 261 p.

Cupp, E.E. 1943. Marine Plankton Diatoms of the West Coast of North America. University of California Press, Berkeley and Los Angeles. 237 p.

Fleminger, A. 1963. The Calanoida (Copepod, Crustaceans) in the Gulf of Thailand. Scripps Instn. Oceanogr. SIO-Ref. (63-6): 92-98.

Fukuyo, Y., Takano, H., Chihara, M., and Matsuoka, K. 1990. Red Tide Organism n Japan: an IIIustrated Taxonomic Guide. Uchida Kokakuho, Co. Ltd. Tokyo. 407 p.

Hansen, H.J. 1910. The Schizopoda of the SIBOGA Expedition. Monographic xxxvii of Uitkomsten op Zoologisch, Botanisch, Oceanographisch en Geologisch Gebied. 123 p. 16 Pls, 3 Text figs.

Kramp, 1965. The Hydromedusae of the Pacific and Indian Ocean. DANA Report No. 63, 162 p., 13 figs.

Matsui, T. 1970. Description of larvae of Rastrelliger (mackerel) and a comparison of the Juveniles and adults of the species

R. Kanagurta and R. brachysoma. Scripps Instn. Oceangr., NAGA Report, 5 (Part 1). 33 p.

Ostenfeld, C.H. 1902. Part VII. Marine plankton diatoms In J. Schmidt, ed. Flora of Koh Chang. Contribution to the knowledge of the Vegetation in the Gulf of Siam. Botanisk Tidsskrift. Bind 24, Copenhagen. pp 1-27.

Laursen, D. 1953. The genus Janthina, a monograph DANA Report NO. 38, 40 p. 41 figs., 1 pl.

Poulsen, E.M. 1962. Ostracoda-Myodocopa. Part I. Cypridiniformes-Cypridinidae. DANA Report, No. 57, 414 p., 181 figs.

Poulsen, E.M. 1965. Ostracoda-Myodocopa. Part II. Cypridiniformes, Ruttidermatidae, Sarsiellidae and Asteropidae. DANA Report, No. 65, Copenhagen. 483 p.

Rose, M. 1926. Quelques remargues sur le plankton des cotes d, Annam et du Golfe du Siam. Imprimerie Nouvelle Albert Portail, Saigon. 7 p.

Rottman, M. 1963. Pteropoda (Mollusca) in the Gulf of Thailand and South China Sea. Scripps Instn. Oceangr. SIO-Ref. (63-6): 99-103.

Rottman, M. 1976. Euthecostomatous Pteropods (Mollusca) in the Gulf of Siam and the South China Sea: Seasonal Distribution and species associations. Scripps Instn. Oceangr. NAGA Report Vol. 4 (Part 6). 117 p.

Round, F.E, Crawford, and Mann, D.G. 1990. The Diatom: Biology & Morphology of Genera. Cambridge University Press, London. 747 p.

Ricard, M. 1987. Atlas du Phytoplankton Marin. Vol.2-Diatomophycées. E’ditions du Centre

Page 10: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 72

National de la Recherche Scientifique. 297 p.

Schmidt, J. 1901. Part VI. Peridiniales. In J. Schmidt, ed. Flora of Koh Chang. Contribution to the knowledge of the Vegetation in the Gulf of Siam. Botanisk Tidsskrift. Bind 26, Copenhagen. pp. 212-221.

Smith, D.L. 1977. A Guide to Marine Coastal Plankton and Marine Inverterbrate Larvae. Kendall/Hunt. Publishing Co., California. 157 p.

Sournia, A. 1986. Atlas du Phytoplankton Marin. Vol.2-Dictyochophycées, Dinophycées, Raphidophycées. E’ditions du Centre National de la Recherche Scientifique. 219 p.

Sudara, S. 1973a. A new species of Cranocephalus (Amphipoda, Hyperiidea, Oxycephalidae) from the Gulf of Thailand and the South China Sea, Nat. Hist. Bull. Siam Soc., 26 (1).

Sudara, S. 1973b. The distribution of planktonic Hyperiids (Crustacea: Amphipoda) in the South China Sea and the relationship to the distribution in the Gulf of Thailand. CSK Symposium, Bangkok, 1973. pp. 293-307.

Suwanrumpha, W. 978. The Vertical Distribution and Diurnal Migration of Planktonic of Plankton Copepods in Gulf of Thailand. Technical Paper. No. 29/4. Mar. Fish. Lab. Department of Fisheries.

Suvapepun, S. and Suwanrumpha, W. 1968. Distribution of Copepoda in the Inner Gulf and the western coast in the Gulf of Thailand. Proc. Indo-Pacific Fish. Coun., 13(2): 1-19.

Termvidchakorn, A. 1997. Kinds, abundance, and distribution of fish larvae in the South China Sea, Area I: Gulf of Thailand and East Coast of Peninsular Malaysia. In Proceedings of the First Technical Seminar on Marine Fishery Resources Survey in the South China Sea, 24-26 November, 1997, Bangkok, Thailand. pp. 241-255.

Tesch, J.J. 1946. The thecostomatous pteropods I. The Atlantic. DANA Report, No. 28, 82 p., 34 figs., 8 pls.

Tesch, J.J. 1948. The thecostomatous pteropods II. The Indo-Pacific. DANA Report, No. 30, 45 p., 34 figs., 3 pls.

Tesch, J.J. 1949. Heteropods. DANA Report, No. 34., 54 p., 44 figs., 5 pls. Photographic reprint 1961.

Tomas, C.R., Hasle, G.R, Syvertsen, E.E., Throndsen, J., Steidinger, K.A., Tangen, K., and Heimdal, B.R. 1997. Identifying Marine Phytoplankton. Academic Press, London. 858 p.

Wongrat, L. 1982. Dinoflagellate genus Ceratium SCHRANK in Thai Waters. Southeast Asian Fisheries Development Center. CTP/No.17. 73 p.

Yamaji, I. 1984. The Marine Plankton of Japan. 3 rd ed. Hoikusha Publishing Co., Osaka. 369 p.

Page 11: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 73

ตารางที่ 1: ชนิดของแพลงกตอนที่พบบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี ตลอดการศึกษาในฤดูมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (เดือนธันวาคม พ.ศ. 2545) และฤดูมรสุมตะวันตกเฉียงใต (เดือนกันยายน พ.ศ. 2546)

No. รายชื่อแพลงกตอน No. รายชื่อแพลงกตอน PHYTOPLANKTON 20 C. gigas Ehrenberg DIVISION CYANOPHYTA 21 C. granii Gouh (CYANOBACTERIA / ไซยาโนแบคทีเรีย) 22 C. janishii A. Schmidt CLASS CYANOPHYCEA 23 C. jonesianus (Greville) Ostenfeld Order Nostocales 24 C. nodulifer A. Schmidt Family Oscillatoriaceae 25 C. oculus iridis Ehrenberg 1 Lyngbya sp. 26 Coscinodiscus radiatus Ehrenberg 2 Oscillatoria erythraea (Ehrenberg) Guitler 27 Palmeria hardmaniana Greville 3 O. thiebautii (Gomont) Geitler Family Hemidiscaceae Family Nostocaceae 28 Actinocyclus sp. 4 Richelia intracellularis Schmidt 29 Pseudoguinardia recta von Stosch 5 Unidentified Cyanobacteria Family Asterolampraceae CLASS BACILLARIOPHYCEAE 30 Asterolampra marylandica Ehrenberg (DIATOMS / ไดอะตอม) 31 Asteromphalus cleveanus Grunow Order Biddulphiales 32 A. elegans Greville Suborder Coscinodiscineae 33 A. flabellatus (Brébisson) Ralfs Family Thalassiosiraceae Family Heliopeltaceae 6 Cyclotella stylorum Brightwell 34 Actinoptychus grundleri A. Schmidt 7 Detonula pumila (Castracane) Schütt 35 A. senarius (Ehrenberg) Ehrenberg 8 Lauderia annulata Cleve Suborder Rhizosoleniineae

9 Planktoniella blanda (A. Schmidt) Syvertsen & Hasle

Family Rhizosoleniaceae

10 P. sol (Wallich) Schütt 36 Proboscia alata (Brightwell) Sundström

11 Skeletonema costatum (Greville) Cleve 37 Rhizosolenia acuminata (H. Peragallo)

H.Peragallo 12 Thalassiosira spp. 38 R. bergonii H. Peragallo Family Melosiraceae 39 R. clevei Ostenfeldi var clevei

13 Melosira dubia Kützing 40 R. formosa H. Peragallo 14 Paralia sulcata (Ehrenberg) Cleve 41 R. hebetata Bailey f. semispina (Hensen) Gran 15 Stephanopyxis palmeriana (Greville) Grunow 42 R. hyalina Ostenfeld Family Leptocylindraceae 43 R. imbricata Brightwell

16 Corethron hystrix Hensen 44 R. pungens Cleve-Euler 17 Leptocylindrus danicus Cleve 45 R. robusta Norman

Family Coscinodiscaceae 46 R. setigera Brightwell 18 Coscinodiscus asteromphalus Ehrenberg 47 R. striata Greville 19 C. concinniformis Simonsen 48 R. styliformis Brightwell

Page 12: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 74

ตารางที่ 1 (ตอ)

No. รายชื่อแพลงกตอน No. รายชื่อแพลงกตอน 49 Pseudosolenia calcar avis (Schultze) 80 C. compressus Lauder 50 Guinardia cylindrus (Cleve) Hasle 81 C. constrictus Gran 51 G. flaccida (Castracane) H. Peragallo 82 C. costatus Pavillard 52 G. striata (Stolterfoh) Hasle 83 C. curvisetus Cleve 53 Dactyliosolen antarcticus Castracane 84 C. decipiens Cleve 54 D. blavyanus (H. Peragallo) Hasle 85 C. denticulatum Lauder 55 D. fragilissima (Bergon) Hasle 86 C. diadema(Ehrenberg) Gran 56 D. phuketensis (Sundström) Hasle 87 C. didymus Ehrenberg Suborder Buddulphiineae 88 C. diversus Cleve Family Hemiaulaceae 89 C. eibenii Grunow

57 Cerataulina bicornis (Ehrenberg) Hasle 90 C. lacinosus Schütt 58 C. pelagica (Cleve) Hendey 91 C. lauderi Ralfs 59 Climacodium frauenfeldianum Grunow 92 C. lorenzianus Grunow 60 Eucampia cornuta (Cleve) Grunow 93 C. messanensis Castracane 61 E. zodiacus Ehrenberg 94 C. paradoxum Cleve 62 Hemiaulus hauckii Grunow 95 C. peruvianus Brightwell 63 H. indicus Karsten 96 Chaetoceros pseudocurvisetus Mangin 64 H. membranaceus Cleve 97 C. rostratus Lauder 65 H. sinensis Greville 98 C. teres Cleve Family Cymatosiraceae 99 C. tortissimus Gran

66 Cymatosira lorenziana Grunow Family Lithodesmaceae Family Biddulphiaceae 100 Bellerochea malleus (Brightwell) Van Heurck

67 Biddulphia biddulphiana (J.E. Smith) Boyer 101 Ditylum brightwellii (West) Grunow 68 B. tuomeyi Bailey 102 D. sol Grunow 69 Trigonium formosum (Brightwell) Cleve 103 Helicotheca tamesis (Schrubsole) Ricard Family Chaetoceraceae Family Eupodiscaceae

70 Bacteriastrum comosum Pavillard 104 Odontella aurita (Lyngbye) C.A. Agardh 71 B. delicatulum Cleve 105 O. mobiliensis (Bailey) Grunow 72 B. furcatum Shadbolt 106 O. sinensis (Greville) Grunow 73 B. hyalinum Lauder 107 Triceratium aff. dubium Brightwell 74 B. minus Karsten 108 T. favus Ehrenberg 75 B. varians Lauder 108.1 T. favus Ehrenberg f. quadrata Grunow 76 Chaetoceros aequatorialis Cleve 109 T. pentacrinus (Ehrenberg) Wallich 77 C. affinis Lauder Order Bacillariales 78 C. atlanticus Cleve Suborder Fragilariineae 79 C. coarctatus Lauder

Page 13: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 75

ตารางที่ 1 (ตอ)

No. รายชื่อแพลงกตอน No. รายชื่อแพลงกตอน Family Fragilariaceae 135 Cylindrotheca closterium (Ehrenberg) Reimann

et Lewin 110 Bleakeleya notata (Grunow) Round 136 C. gracilis (Brébisson) Grunow

Family Thalassionemataceae 137 Pseudo-nitzschia sp. 111 Thalassionema bacillare (Heiden) Kolbe 138 P. pungens (Grunow & Cleve) Hasle 112 T. frauenfeldii (Grunow) Hallegraef 139 Nitzschia sp.1 113 T. nitzschioides (Grunow) Mereschkowsky 140 Nitzschia sp.2 114 Thalassiothrix longissima Cleve & Grunow 141 N. longissima (Brébisson) Ralfs 115 Lioloma sp. 142 N. obtula W. Smith

Family Licmophoriaceae 143 Tryblionella sp. 116 Licmophora sp. Family Surirellaceae 117 L. flabellata (Carm.) Agardh 144 Entomoneis sp.

Family Striatellaceae 145 E. alata (Ehrenberg) Ehrenberg 118 Grammatophora marina(Lungbye) KÜtzing

146 Plagiodiscus martensianus Grunow &

Eulenstein 119 G. oceanica (Ehrenberg) Grunow 147 Surirella ovata Kützing 120 Grammatophora undulata Ehrenberg 148 S. didyma Kützing

Family Climacospheniaceae 149 Campylodiscus spp. 121 Climacosphenia moniligera Ehrenberg Family Ardissoneaceae

Suborder Bacillariineae 150 Ardissonea formosa (Hantzsch) De Notaris Family Achnanthaceae CLASS DINOPHYCEAE

122 Cocconeis sp (DINOFLAGELLATES/ ไดโนแฟละเจลเลต) Family Mastogloiaceae Order Prorocentrales

123 Mastogloia sp. Family Prorocentraceae Family Lyrellaceae 151 Prorocentrum compressum (Bailey) Abé

124 Lyrella sp. 152 P. micans Ehrenberg Family Naviculaceae 153 P. sigmoides Böhm

125 Navicula spp. Order Dinophysiales 126 Meunier membranacea (Cleve) P.C. Silva Family Amphisoleniaceae 127 Pleurosigma spp. 154 Amphisolenia bidentata Schröder 128 Gyrosigma spp. 155 A. rectangulata Kofoid 129 Diploneis sp. Family Dinophysiaceae 130 D. suborbicularis (Gregory) Cleve 156 Dinophysis caudata Savilla-Kent 131 Amphora sp. 157 D. miles Cleve 132 A. obtusa Gregory 158 Phalacroma sp. 133 Trachyneis sp. 159 Ornithocercus magnificus Stein

Family Bacillariaceae 160 O. thumii (Schmidt) Kofoid & Skogsberg 134 Bacillaria paradoxa Gmelin

Page 14: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 76

ตารางที่ 1 (ตอ)

No. รายชื่อแพลงกตอน No. รายชื่อแพลงกตอน Order Gymnodiniaceae Family Goniodomaceae Family Gymnodiniaceae 186 Alexandrium sp.

161 Gymnodinium sp. 187 Gonoidoma sp. Order Gonyaulacales Family Pyrophacaceae Family Ceratiaceae 188 Pyrophacus horologium Stein

162 Ceratium belone Cleve 189 P. steinii (Schiller) Wall & Dale 163 C. breve (Ostenfeld & Schmidt) Schröder Order Peridiniales 164 C. candelabram (Ehrenberg) Stein Family Congruentidiaceae 165 C. concillians Jörgensen 190 Diplosalis sp. 166 C. contortum (Gourret) Cleve

Family Podolampadaceae

167 C. deflexum Jörgensen 191 Podolampas bipes Stein 168 C. dens Ostenfeld & Schmidt 192 P. palmipes Stein 169 C. extensum (Gourret) Cleve Family Protoperidiniaceae 170 C. falcatum (Kofoid) Jörgensen 193 Protoperidinium spp. 171 C. furca (Ehrenberg) Claparéde & Lachmann 194 P. divergens (Ehrenberg) Balech 172 C. fusus (Ehrenberg) Dujardin CLASS DICTYOCHOPHYCEAE 173 C. horridum (Cleve) Gran

(SILICOFLAGELLATES / ซิลิโคแฟละเจลเลต)

174 C. kofoidii Jörgensen Order Dictyochales 175 C. longirostrum Gourret Family Dictyochophyceae 176 C. macroceros (Ehrenberg) Cleve 195 Dictyocha fibula Ehrenberg 177 C. massiliense (Gourret) Jörgensen

195.1 Dictyocha fibula Ehrenberg var. stapedia (Haeckel)

178 C. porrectum (Karsten) Jörgensen Lemmermann 179 C. schmidtii Jörgensen 196 D. speculum Ehrenberg var. octonaris 180 C. trichoceros (Ehrenberg) Kofoid (Ehrenberg) Jörgensen 181 C. tripos (O.F. Müller) Nitzsch var. pulchellum ZOOPLANKTON

(Schröder) Lope

PHYLUM PROTOZOA (PROTOZOAN / โปรโตซัว)

Family Ceratocoryaceae CLASS SARCODINA 182 Ceratocorys horrida Stein SUBCLASS RHIZOPODA

Family Cladopyxidaceae Order Foraminiferida 183 Cladopyxis sp. Family Globorotaliidae

Family Gonyaulacaceae 1 Globorotalia sp. 184 Gonyaulax sp. Family Heterohelicea

Family Oxytomaceae 2 Gallitellia sp. 185 Oxytoxum scolopax Stein Unidentified foraminiferan

Page 15: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 77

ตารางที่ 1 (ตอ)

No. รายชื่อแพลงกตอน No. รายชื่อแพลงกตอน SUBCLASS ACTINOPODA 25 Dadayiella cuspis Kofoid and Campbell Order Radiolarida 26 Eutintinnus fraknoii Daday Family Acanthometridae 27 E. lusus-undae Entz 3 Acanthometra sp. 28 E. apertus Kofoid and Campbell CLASS CILIATA 29 E. maculatus Brandt SUBCLASS SPIROTRICHA 30 E. perminutus Kofoid and Campbell Order Tintinnida 31 E. tubulosus Ostenfeld Family Tintinnididae SUBCLASS PERITRICHA 4 Leprotintinnus nordquisti (Brandt) Order Peritrichida Family Codonellidae Family Vorticellidae 5 Tintinnopsis brasiliensis Kofoid and Campbell 32 Vorticella oceanica Zacharias

6 T. bermudensis Brandt PHYLUM CNIDARIA (JELLYFISH / แมงกะพรุน)

7 T. gracilis Kofoid and Campbell CLASS HYDROZOA 8 T. loricata Brandt Order Leptomedusae 9 T. mortensii Schimidt Family Eirenidae 10 T. radix (Imhof) 33 Eirene hexanemalis (Goette) 11 T. schotti Brandt Order Trachymedusae 12 T. tocantinensis Kofoid and Campbell Family Geryoniidae

Family Codonellopsidae 34 Liriope tetraphylla (Chamisso and Eysenhardts)

13 Stenosemella nivalis (Méunier) Order Siphonophora 14 Codonellopsis morchella (Cleve) Family Diphyidae 15 C. ostenfeldi (Schmidt) 35 Diphyes sp. Family Ptychocylidae Unidentified hydrozoan

16 Epiplocylis blanda Jörgensen PHYLUM NERMERTINEA (RIBBON WORMS /

Family Petalotrichidae หนอนริบบิ้น) 17 Metacylis corbula Kofoid and Campbell Pilidium larvae

Family Rhabdonellidae PHYLUM CHAETOGNATHA ( ARROW WORMS /

18 Protorhabdonella simplex (Cleve) Jörgensen หนอนธนู) 19 Rhabdonella conica Kofoid and Campbell CLASS SAGTTOIDAE 20 R. poculum (Ostenfeld and Schmidt) Brandt Family Sagittidae 21 R. torta Kofoid and Campbell 36 Sagitta spp. Family Tintinnidae PHYLUM ANNELIDA (SEGMENTED WORMS /

22 Amphorella borealis (Hensen) หนอนปลอง) 23 Amphorellopsis acuta (Schmidt) CLASS POLYCHAETA 24 Steenstrupiella robusta Kofoid and Campbell Polychaete larvae

Page 16: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 78

ตารางที่ 1 (ตอ)

No. รายชื่อแพลงกตอน No. รายชื่อแพลงกตอน PHYLUM ARTHROPODA (AETHROPODS Order Amphipods / อารโทรพอด) Unidentified amphipods CLASS CRUSTACEA Superorder Eucarida SUBCLASS BRACHIOPODA Order Dacapoda Order Diplostrama Suborder Natantia Suborder Cladocera 46 Lucifer sp. Family Podonidae Suborder Reptantia

37 Pseudoevadne tergestina (Claus) Penaeid mysis SUBCLASS OSTRACODA Brychyuran larvae

38 Euconchoecia sp. Pagulid larvae SUBCLASS COPEPODA Porcellanid larvae Copepod nauplii PHYLUM PHORONIDA (PHORONIDS /

โฟโรนิด) Copepodid larvae Actinotrocha larvae Order Cyclopoidae

PHYLUM ECTOPROCTA (BRYOZOA /

ไบรโอซัว) Family Corycaeidae Cyphonautes larvae *

39 Corycaeus sp. PHYLUM BRACHIOPODA (LAMP SHELLS Family Oithonidae / หอยตะเกียง)

40 Oithona sp. CLASS INARTICULATA 41 Oncaea sp. Order Lingulida Family Sapphirinidae 47 Lingula sp.

42 Sapphirina sp. PHYLUM MOLLUSCA (MOLLUSKS / หอย) Order Calanoida CLASS GASTROPODA Unidentified calanoid copepods Gastropod larvae Pontellid nauplius SUBCLASS OPISTOBRANCHIA Order Harpacticoida Order Thecosomata Family Tachiidae Suborder Euthecosomata

43 Euterpina acutifrons (Dana) Family Limacinidae Family Ectinosomidae 48 Limacina sp.

44 Microsetella rosea (Dana) Family Covoliniidae Family Macrosetellidae 49 Creseis sp.

45 Macrosetella gracilis (Dana) CLASS PELECYPOD SUBCLASS CIRRIPEDIA Pelecypod larvae Cirripede nauplius PHYLUM ECHINODERMATA

SUBCLASS MALACOSTRACA

(SPINY-SKINNED ANIMALS / เอคไคโนเดิรม)

Superorder Pericarida CLASS HOLOTHUROIDEA Auricularia larvae

Page 17: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 79

ตารางที่ 1 (ตอ)

No. รายชื่อแพลงกตอน No. รายชื่อแพลงกตอน CLASS ECHINOIDEA Unidentified salps Echinopluteus larvae CLASS LARVACEA

CLASS OPHIUROIDEA Family Fritillaridae Ophiopluteus larvae 50 Fritillaria sp. PHYLUM CHORDATA (CHORDATES / สัตวมี

กระดูกสันหลัง) Family Oikopleuridae

SUBPHYLUM UROCHORDATA 51 Oikopleura sp. CLASS ASCIDIACEA SUBPHYLUM VERTEBRATA Tadpole larvae ascidian CLASS PISCE

CLASS THALIACEA Fish egg Order Salpida Fish larvae

ตารางที่ 9: แพลงกตอนพืชที่เคยรายงานวาพบที่เกาะชางในป ค.ศ. 1901-1902 แตไมพบบริเวณเกาะคราม

No. ชื่อวิทยาศาสตร No. ชื่อวิทยาศาสตร No. ชื่อวิทยาศาสตร ไดอะตอม 21 Coscinodiscus excentricus 8 Dissodinium sp. 1 Asterolampra rotula 22 C. nobilis 9 Goniodoma acuminatum 2 Buddulphia chinensis 23 Dactyliosolen mediterraneus 10 G. armatum 3 Chaetoceros anglicum 24 Detonula delicatula 11 Gonyaulax hyalina 4 C. aurivillii 25 D. moseleyana 12 G. polygramma 5 C. breve 26 Eucampia biconcava 13 G. spinifera 6 C. calvum 27 Hyalodiscus sp. 14 Ostreopsis siamensis 7 C. clavigera 28 Lauderiopsis costata 15 Phalacroma doryphorum 8 C. distans 29 R. castracanei 16 P. vastum 9 C. javanicum 30 R. choclea 17 P. rudgei 10 C. pseudocrinitum 31 R. shrubsolii 18 Podolampus vastum 11 C. rafsii 32 Schmidtiella pelagica 19 Protoperidinium conicum 12 C. schmidtii 33 Nitzschia seriata 20 P. elegans 13 C. secundum ไดโนแฟละเจลเลต 21 P. globulus 14 C. secundum 1 Blepharocysta splendor maris 22 P. oceanicum 15 C. siamense 2 Ceratium curvicorne 23 P. pedunculatum 16 C. tetrastichon 3 C. flagelliferum 24 P. pellucidum 17 C. vanheurckii 4 C. tenue 25 P. steinii 18 Corethron pennatum 5 C. volans 26 P. tristylum 19 C. criophilum 6 Dinophysis sphaerica 27 Pyrocystis lunula 20 Coscinodiscus bengalensis 7 Diplopsalis saecularis

Page 18: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 80

Lyngbya sp. Unidentified Blue-green algae Planktoniella sol

Thalassiosira sp. Palmeria nodulifer Asterolampra marylandica

Actinoptychus grundleri Rhizosolenia imbricata Eucampia cornuta

Bacteriastrum hyalinum Chaetoceros coarctatus C. diversus

ภาพที่ 4: แพลงกตอนที่พบบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี

Page 19: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 81

Triceratium favus f. quadrata Thalassionema frauenfeldii Climacosphenia moniligera

Lyella sp. Pleurosigma sp. Diploneis sp.

Trachyneis sp. Surirella ovata Campylodiscus sp.

Prorocentrum micans Dinophysis caudata Podolampas bipes Dictyocha fibula

ภาพที่ 4: แพลงกตอนที่พบบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ตอ)

Page 20: Diversity of marine plankton at Koh Khram, Sattahip ... · group followed by Class Dinophyceae and Phylum Protozoa with the percentage of 58.70, 17.81 and 12.96, respectively. Species

การประชุมวิชาการทรัพยากรไทย : สรรพสิ่งลวนพันเกี่ยว (ภาคบรรยาย หนา 63-82) 82

Globorotalia sp. Unidentified foraminiferan Leprotintinnus nordquisti Tintinnopsis radix

Diphyes sp. Pilidium larva Polychaete larva Calanoid copepod

Amphipod Actinotrocha larva Cyphonautes larva

Pelecypod larva Unidentified Salp Fish larva

ภาพที่ 4: แพลงกตอนที่พบบริเวณเกาะคราม อําเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี (ตอ)