Transcript
Page 1: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 1 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่ 1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนเซนตฟรังซีสเซเวียร

โรงเรียนเซนตฟรังซีสเซเวียร

เอกสารประกอบการเรียน วิชาคณิตศาสตรเสริม 4(2) รหัสวิชา ค 31202

ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 4 ประจําภาคเรียนที่ 2

หนวยการเรียนที่ 1 เร่ือง เมทริกซ

CONCEPT MAPPING

สมบัติของดิเทอรมินันต

สมบัติของอินเวอรส

การบวกเมทริกซ

ชนิดของเมทริกซ โดยวิธีการดําเนินการตามแถวเบ้ืองตน โดยวิธดีีเทอรมินันต

โดยใชอินเวอรสของเมทริกซ

การหาคําตอบของระบบสมการ

การเทากันของเมทริกซ สัญลักษณของเมทริกซ

สมบัติเก่ียวกับการบวก สมบัติของเมทริกซสลับเปล่ียน

โคแฟกเตอร แอดจอยซ

สมบัติของแอดจอยซ

อินเวอรสของเมทริกซ

การคูณเมทริกซดวยเมทริกซ

การคูณเมทริกซดวยจาํนวนจริง

การคูณเมทริกซ

เมทริกซสลับเปล่ียน

สมบัติเก่ียวกับการคูณ

ดีเทอรมินันต เมเมททริกซและดีเทอรมินันตริกซและดีเทอรมินันต

Page 2: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 2 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

5231

4582

5012

ในป ค.ศ. 1973 วาสซิเลย เลออนทิฟ (Wassiley Leontief) ไดรับรางวัลโนเบลทางดานเศรษฐศาสตร จากผลงานที่

ไดพัฒนาแบบจําลองทางคณิตศาสตร เพื่อใชในการอธิบายสภาวะตาง ๆ ทางเศรษฐศาสตร ซ่ึงแบบจําลองที่ทานไดพัฒนา

นั้นเปนการนําเมทริกซมาใช และนับวันเมทริกซจะมีความสําคัญขึ้นเร่ือย ๆ เนื่องจากมีการนําไปประยุกตใชในศาสตร

สาขาตาง ๆ มากขึ้น

1. ความหมายของเมทริกซ

โรงงานผลิตเส้ือผาแหงหนึ่งทําบันทึกรายการสินคาที่ผลิตไดใน 1 วัน ดังนี้

รายการสินคา ขนาด S ขนาด M ขนาด L ขนาด XL

เส้ือ 180 250 100 85

กางเกง 220 200 150 50

กระโปรง 60 170 80 25

จากตารางขางตนอาจเขียนส้ัน ๆ เปน

2580170605015020022085100250180

หรือ

2580170605015020022085100250180

ในวิชาคณิตศาสตรเรียกกลุมของจํานวนที่เขียนเรียงกับเปนแถว แถวละเทา ๆ กัน และถูกปดลอมดวยวงเล็บ ( )

หรือ [ ] วา เมทริกซ (Matrix)

จํานวนแตละจํานวนในวงเล็บ เรียกวา สมาชิกของเมทริกซ ( element หรือ entry ) สมาชิกในแนวนอน เรียกวา

แถว (row) และสมาชิกในแนวต้ัง เรียกวา หลัก หรือ สดมภ (column)

ตําแหนงของสมาชิกของเมทริกซมีความสําคัญตอความหมายของเมทริกซมาก เพราะถาสลับตําแหนงของสมาชิก

เพียง 2 สมาชิก จะไดเมทริกซที่ตางไปจากเมทริกซเดิม เชน

654321

และ

651324

ตางกัน

2. การบอกตําแหนงของสมาชิกของเมทริกซ

พิจารณาจากตําแหนงของแถวและหลัก ดังนี้

แถวที ่

3

2

1

หลักที่ 1 2 3 4

สําหรับเมทริกซขางตน สมาชิกของเมทริกซในแถวที่ 1 หลักที่ 2 คือ 1

สมาชิกของเมทริกซในแถวที่ 2 หลักที่ 4 คือ 4

สมาชิกของเมทริกซในแถวที่ 3 หลักที่ 3 คือ 2

แนวคิดเกีย่วกบัเมทริกซ

Page 3: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 3 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

3. มิติและสัญลักษณของเมทริกซ

เมทริกซที่มี m แถว และ n หลัก(สดมภ) เรียกวา m × n เมทริกซ (อานวาเอ็มคูณเอ็นเมทริกซ) และกลาววา

เมทริกซนี้มีมิติ (order) หรือขนาด m × n และมีสมาชิก mn จํานวน ตัวอยางเชน

− 02

21 เปน 2 × 2 เมทริกซ มีมิติเปน 2 × 2

53

เปน 2 × 1 เมทริกซ มีมิติเปน 2 × 1

[ ]0 เปน 1 × 1 เมทริกซ มีมิติเปน 1 × 1

เพื่อความสะดวกในการกลาวถึงเมทริกซ จะใชอักษรตัวใหญภาษาอังกฤษ A, B, C, … แทนเมทริกซ และใช

อักษรตัวเล็ก a, b, c, … ที่มีตัวเลขสองตัวเขียนตอไวทางขวาในระดับตํ่าลงไปเล็กนอยแทนสมาชิกของเมทริกซ A, B, C, …

ตามลําดับ เชน A =

333231

232221

131211

aaaaaaaaa

, B =

232221

131211bbbbbb

ตัวเลขที่เขียนไวกับอักษร a , b เปนตัวเลขที่ใชบอกตําแหนงของสมาชิกของเมทริกซ เลขตัวแรกแสดงวาสมาชิกตัวนั้น

อยูแถวใด เลขตัวหลังแสดงวาอยูหลักใด เชน a23 เปนสมาชิกของ A ที่อยูใน แถวที่สอง หลักที่สาม เปนตน

เชน ถากําหนด A =

752143

จะได a12 = 4 , a23 = 7 , a22 = 5 เปนตน

ถา A เปน m × n เมทริกซ มี ija เปนสมาชิกของเมทริกซ ซ่ึงอยูในแถวที่ i หลักที่ j โดยที่ i = 1, 2, …, m

และ j = 1, 2, …, n จะเขียนเมทริกซ A ไดในรูป nmij ]a[ × ดังนี้

A = nmij ]a[ × =

mn2m1m

n22221

n11211

aaa

aaaaaa

ในเร่ืองนี้จะแนะนําใหรูจักเมทริกซเฉพาะบางเมทริกซ เพื่อจะไดนําความรูที่ไดเปนพื้นฐานในการศึกษาเร่ืองตอ ๆ ไป

1. เมทริกซแถว (Row matrix) คือ เมทริกซที่ประกอบดวยจํานวนแถวเพียงแถวเดียว

เชน A = [ ]7 5 2 0 เปนเมทริกซที่มีมิติเปน 41×

2. เมทริกซหลัก (Column matrix) คือ เมทริกซที่ประกอบดวยจํานวนหลักเพียงหลักเดียว

เชน A =

21

เปนเมทริกซที่มีมิติเปน 12×

3. เมทริกซศูนย (Zero matrix) คือ เมทริกซที่มีสมาชิกทุกตัวเปน 0

เชน A =

000000

ในที่นี้จะใช 0 เปนสัญลักษณแทนเมทริกซศูนย ดังนั้น เมทริกซศูนยขางตนเขียนไดเปน 0 มิติ 32×

ชนิดของเมทริกซ

Page 4: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 4 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

4. เมทริกซจัตุรัส (Square matrix) คือ เมทริกซที่มีจํานวนแถวเทากับจํานวนหลัก

เชน A =

4321

เปนเมทริกซที่มีมิติเปน 22×

หมายเหตุ 1. ถา A เปนเมทริกซจัตุรัสมิติ 22× เราอาจเขียนในรูป 22A × หรือ 2A ก็ได นั่นคือ

ถา A เปนเมทริกซจัตุรัสมิติ nn× เราอาจเขียนในรูป nnA × หรือ nA ก็ได

2. เมทริกซจัตุรัสจะมีสมาชิกในแนวเสนทแยงมุม 2 ลักษณะ คือ ทแยงมุมจากซายบนลงมา

ขวาลาง กับทแยงมุมจากซายลางขึ้นไปขวาบน แตส่ิงที่เราจะกลาวถึงอยูบอย ๆ ก็คือ สมาชิกในแนวเสนทแยงมุมจากซาย

บนลงมาขวาลาง เราเรียกเสนทแยงมุมในแนวนี้วา “เสนทแยงมุมหลัก” (main diagonal)

5. เมทริกซเฉียง (Diagonal matrix) คือ เมทริกซจัตุรัสที่มีสมาชิกในเสนทแยงมุมหลักเปนจํานวนจริงใด ๆ และ

สมาชิกนอกแนวนี้เปนศูนยหมดทุกตัว

เชน A =

100

030

004

6. เมทริกซสมมาตร (Symmetric matrix) คือ เมทริกซจัตุรัสที่มีสมบัติวา ija = jia

เชน A =

035381512

7. เมทริกซเสมือน (Skew matrix) คือ เมทริกซจัตุรัสที่มีสมาชิกตามแนวเสนทแยงมุมหลักเปนศูนยหมด และ

เปนเมทริกซที่มีสมบัติวา ija = jia−

เชน A =

−−

035301510

8. เมทริกซสามเหล่ียม (Triangular matrix) คือ เมทริกซจัตุรัสที่มีสมาชิกที่อยูดานบนหรือดานลางของแนวเสน

ทแยงมุมหลักเปนศูนยหมด

เชน A =

−−

164043002

, B =

100940

1082

9. เมทริกซสเกลาร (Scalar matrix) คือ เมทริกซจัตุรัสที่มีสมาชิกตามแนวเสนทแยงมุมหลักมีคาเทากันทุกตัว

สวนสมาชิกนอกแนวนี้เปนศูนยหมด

เชน A =

1001

, B =

−−

200020002

Page 5: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 5 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

บทนิยาม

ถา A เปน m × n เมทริกซใด ๆ แลว เมทริกซสลับเปล่ียนของ A คือ n × m เมทริกซ ที่มีหลักที่ i เหมือนแถวที่ i

ของเมทริกซ A เม่ือ i = 1, 2, …, m

หมายเหตุ ใชสัญลักษณ tA แทน เมทริกซสลับเปล่ียนของ A (Transpose of A)

ตัวอยางที่ 1 กําหนดให A =

3421

จะได tA =

3241

B =

− 2

0 จะได tB = [ 0 −2]

C =

fedcba

จะได tC =

fdbeca

เมทริกซสลับเปล่ียนมีสมบัติที่นาสนใจหลายประการ ในที่นี้จะกลาวแตเพียงตัวสมบัติโดยยกเวนการพิสูจนทั่วไป

ดังนี้

สมบัติของเมทริกซสลับเปลี่ยน

1. ถา A เปนเมทริกซใด ๆ แลว A)A( tt =

2. ถา A เปนเมทริกซใด ๆ และ k เปนจํานวนจริงแลว tt Ak)Ak( ⋅=⋅

3. ถา A และ B เปนเมทริกซที่มีมิติเทากันแลว ttt BA)BA( ±=±

4. ถา nmij ]a[A ×= และ nmij ]b[B ×= แลว ttt AB)AB( =

5. ถา A เปนเมทริกซสมมาตรแลว จะได AA t =

6. ถา A เปนเมทริกซเสมือนแลว จะได tA = A−

บทนิยาม

เมทริกซ 2 เมทริกซใด ๆ จะเทากันไดก็ตอเม่ือ เมทริกซทั้งสองนั้นมีมิติเดียวกันและมีสมาชิกที่อยูในตําแหนงเดียวกันเทากัน

เชน A =

6453

, B =

×++

3222512

จะได A = B เพราะวา A และ B เปน 2 × 2 เมทริกซ และสมาชิกที่อยูในตําแหนงเดียวกันมีคาเทากัน

แต

654321

854321

เพราะสมาชิกในแถวที่ 2 หลักที่ 3 ไมเทากัน

การเทากันของเมทริกซ

เมทริกซสลบัเปลี่ยน (Transpose of A)

Page 6: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 6 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

ตัวอยางที่ 2 จงหาคาของตัวแปรที่ทําใหสมการเมทริกซที่กําหนดใหเปนจริง

1)

43x1

=

4321

เมทริกซทั้งสองเทากัน ก็ตอเม่ือ x = 2 ดังนั้น x = 2 #

2)

− 55x33y

=

−+

554331x

เมทริกซทั้งสองเทากัน ก็ตอเม่ือ y = x + 1 และ x = 4 ดังนั้น y = 4 + 1 = 5 #

ตัวอยางที่ 3 จงหาคาของ x และ y ที่ทําใหสมการเมทริกซตอไปนี้เปนจริง

−−+

yxyx

=

5

3

วิธีทํา เมทริกซทั้งสองเทากัน ก็ตอเม่ือ yx + = 3 และ yx −− = 5

นั่นคือ 3 = 5− ซ่ึงเปนไปไมได

ดังนั้น ไมมีจํานวนจริงคูใดที่แทน x และ y แลว ทําใหสมการเมทริกซที่กําหนดใหเปนจริง #

รานขายเส้ือผาแหงหนึ่งทําบันทึกรายการเส้ือและกางเกงที่ขายไดในเดือนมกราคม 2545 ดังนี้

รายการสินคา ขนาด S ขนาด M ขนาด L

เส้ือแขนส้ัน 11 28 8

เส้ือแขนยาว 8 20 5

กางเกงขาส้ัน 23 16 18

กางเกงขายาว 15 22 10

สมมุติวาในเดือนกุมภาพันธ 2545 รานขายเส้ือผาแหงนี้ขายสินคาทั้ง 4 ชนิดได ดังนี ้

รายการสินคา ขนาด S ขนาด M ขนาด L

เส้ือแขนส้ัน 10 25 18

เส้ือแขนยาว 15 20 22

กางเกงขาส้ัน 8 17 6

กางเกงขายาว 10 21 15

ถาตองการทราบวาในสองเดือน (มกราคมและกุมภาพันธ) รานขายเส้ือผาแหงนี้ ขายเส้ือและกางเกงแตละชนิดได

เทาไร ตองเอาจํานวนในตารางขางตนที่อยูในตําแหนงเดียวกันมาบวกกัน ซ่ึงจะไดผลลัพธ ดังนี ้

รายการสินคา ขนาด S ขนาด M ขนาด L

เส้ือแขนส้ัน 21 53 26

เส้ือแขนยาว 23 40 27

กางเกงขาส้ัน 31 33 24

กางเกงขายาว 25 43 25

การบวกเมทริกซ

Page 7: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 7 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

ถาเขียนแสดงจํานวนเส้ือและกางเกงในเดือนมกราคมและเดือนกุมภาพันธ ดวยเมทริกซ A และ B ตามลําดับจะได

A =

102215181623520882811

และ B =

1521106178222015182510

ให C เปนเมทริกซที่ไดจากการบวกสมาชิกในตําแหนงเดียวกันของเมทริกซ A และ B จะได

C =

++++++++++++

1510212210156181716823

225202015818825281011

=

254325243331274023265321

จากตัวอยางขางตนจะเห็นวา ถาตองการบวกเมทริกซโดยบวกสมาชิกในตําแหนงเดียวกันเขาดวยกันแลว จะตอง

กําหนดสมบัติของเมทริกซที่บวกกันดวยวา เมทริกซทั้งคูตองมีมิติเดียวกัน และนิยามการบวกเมทริกซไดดังนี้

จากบทนิยามขางตนอาจเขียนในรูปสัญลักษณไดเปน

ถา A = nmij ]a[ × และ B = nmij ]b[ × แลว BA + = nmijij ]ba[ ×+

ตัวอยางที่ 4 กําหนดเมตริกซ A =

140312

และ B =

453210

จงหา A+B และ B +A

วิธีทํา A + B =

140312

+

453210

=

−++++−−+−+

)4(154302)3()1()1(02

=

−−

393122

#

B + A =

453210

+

140312

=

+−++−+−+−+

1)4(4503)3(2)1()1(20

=

−−

393122

#

ขอสังเกต ถา A และ B เปน nm× เมตริกซ จะไดวา ABBA +=+

ตัวอยางที่ 5 จงหาเมตริกซ A + B เม่ือ A =

−−

24033.01

และ B =

643021

วิธีทํา เนื่องจาก เมตริกซ A มีมิติเปน 2 × 3 และ เมตริกซ B มีมิติเปน 3 × 2

ดังนั้น จึงหา A + B ไมได เพราะ A และ B มีมิติตางกัน #

ในทํานองเดียวกันกับเร่ืองจํานวนจริง ซ่ึงเราทราบวา 5 − 3 หมายถึง 5 + (− 3) จะนิยามการลบของเมตริกซ

A , B ซ่ึงมีมีมิติเดียวกัน โดยอาศัยบทนิยามการบวกไดดังนี้

บทนิยาม

ถา A และ B เปน m × n เมตริกซ แลว A − B = A + (− B)

บทนิยาม

ถา A และ B ตางก็เปนเมทริกซที่มีมิติ m × n สามารถหาเมทริกซ BA + ไดโดยนําสมาชิกที่อยูในตําแหนง

เดียวกันของ A และ B มาบวกกันและเมทริกซ BA + จะมีมิติ m × n ดวย

Page 8: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 8 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

หรือ ถา A = nmij ]a[ × และ B = nmij ]b[ ×

แลว BA − = nmijij ]b)1(a[ ×−+

= nmijij )]b(a[ ×−+

= nmijij ]ba[ ×−

ตัวอยางที่ 6 กําหนด A =

−−

7432

และ B =

−−

8594

จงหา A − B

A − B =

−−

7432

−−

8594

=

−−−−−−−−

)8(75493)4(2

=

−11

126 #

ถา A = nmij ]a[ × , B = nmij ]b[ × C = nmij ]c[ × และ nm]0[0 ×= แลว

1) สมบัติปด

BA + เปน nm× เมทริกซ

พิสูจน โดยบทนิยามของการบวก จะไดวา BA + = nmijnmij ]b[]a[ ×× +

= nmijij ]ba[ ×+ ; ija และ ijb เปนจํานวนจริง

2) กฎการสลับที่

BA + = AB +

พิสูจน BA + = nmij ]a[ × + nmij ]b[ ×

= nmijij ]ba[ ×+

= nmijij ]ab[ ×+

= nmij ]b[ × + nmij ]a[ ×

= AB+

3) กฎการเปลี่ยนกลุมได

C)BA( ++ = )CB(A ++

พิสูจน (A+B)+C = ( nmij ]a[ × + nmij ]b[ × ) + nmij ]c[ ×

= nmijij ]ba[ ×+ + nmij ]c[ ×

= nmijijij ]c)ba[( ×++

= nmijijij )]cb(a[ ×++

= nmij ]a[ × + nmijij ]cb[ ×+

= nmij ]a[ × + ( nmij ]b[ × + nmij ]c[ × )

= A + (B + C)

สมบัติ 3) ทําใหเราสามารถแทน )CB(A ++ ดวย CBA ++ โดยไมเกิดความสับสน

สมบตัิเกี่ยวกับการบวกเมทริกซ

Page 9: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 9 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

4) สมบัติการมีเอกลักษณการบวก

AA00A =+=+

พิสูจน เพราะวา A+0 = nmnmij ]0[]a[ ×× + = nmij ]0a[ ×+ = nmij ]a[ × = A

และ 0+A = nmijnm ]a[]0[ ×× + = nmij ]a0[ ×+ = nmij ]a[ × = A

เรียก 0 วา เอกลักษณการบวกภายในเซตของ nm× เมทริกซ

5) สมบัติการมีตัวผกผันการบวก

A)A(0)A(A +−==−+

พิสูจน เพราะวา A + (−A) = A + (−1)A

= nmij ]a[ × + nmij ]a[ ×−

= nmijij ]aa[ ×−

= nm]0[ ×

= 0

(−A) + A = (−1)A + A

= nmij ]a[ ×− + nmij ]a[ ×

= nmijij ]aa[ ×+−

= nm]0[ ×

= 0

เรียก A− วา ตัวผกผันการบวกของ A

6) กฎการตัดออก

กฎการตัดออกทางซาย : ถา CABA +=+ แลว CB =

กฎการตัดออกทางขวา : ถา ACAB +=+ แลว CB =

พิสูจน กฎการตัดออกทางซาย

เพราะวา A = nmij ]a[ × ดังนั้นจะมี A− = nmij ]a[ ×− ซ่ึงทําให

AA+− = 0

BA+ = CA+ (กําหนดให)

)BA(A ++− = )CA(A ++− (สมบัติการบวกดวยส่ิงที่เทากัน)

B)AA( ++− = C)AA( ++− (กฎการเปล่ียนกลุมได)

B0+ = C0+ (สมบัติการมีตัวผกผันการบวก)

B = C (สมบัติการมีเอกลักษณการบวก)

กฎการตัดออกทางซาย

AB+ = AC+ (กําหนดให)

BA+ = CA+ (กฎการสลับที่)

B = C (กฎการตัดออกทางซาย)

Page 10: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 10 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

กําหนด A =

4321

จะได A + A =

4321

+

4321

=

++++

44332211

=

8 6

4 2 =

2(4) 2(3)

2(2) 2(1)

จะเห็นวา A + A มีสมาชิกของแตละตําแหนงเปน 2 เทาของสมาชิกของ A ที่อยูในตําแหนงเดียวกัน และเรา

นิยมเขียนแทน A + A ดวย 2A ซ่ึงหมายถึง 2 คูณดวยเมทริกซ A

ดังนั้น 2A =

2(4) 2(3)

2(2) 2(1)

จากคําอธิบายขางตน ทําใหสามารถสรุปเปนกรณีทั่วไปไดวา

จากบทนิยาม จะไดวา kA =

−−−mn2m1m

n22221

n11211

kakaka

kakakakakaka

ตัวอยางที่ 7 กําหนด A =

654321

จงหา 4A , −3A และ 2

1A

วิธีทํา 1) 4A =

)6(4)5(4)4(4)3(4)2(4)1(4

=

2420161284

#

2) −3A =

−−−−−−

)6(3)5(3)4(3)3(3)2(3)1(3

=

−−−−−−181512963

#

3) 2

1A =

)6(2

1)5(

2

1)4(

2

1

)3(2

1)2(

2

1)1(

2

1

=

32

52

2

31

2

1

#

ตัวอยางที่ 8 กําหนดให A =

51

และ B =

23

จงหา C ถา 2A + 3C = B

วิธีทํา ให C =

21

11cc

เพราะวา 2A + 3C = B

ดังนั้น 2

51

+ 3

21

11cc

=

23

102

+

21

11c3c3

=

2

3

++

21

113c 103c2

=

2

3

บทนิยาม

ให A เปนเมทริกซขนาด m × n และ k เปนจํานวนจริง แลว kA คือ เมทริกซที่เกิดจากการนําจํานวนจริง k

ไปคูณกับสมาชิกทุกตัวของ A เรียก k วา สเกลาร (Scalar)

การคูณเมทริกซดวยจํานวนจริง

Page 11: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 11 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

จากสมบัติของการเทากันของเมทริกซ จะไดวา

2 + 3c11 = −3 และ 10 + 3c21 = 2

3c11 = −5 และ 3c21 = − 8

c11 = 3

5− และ c21 =

3

8−

เพราะฉะนั้น C =

3

83

5

#

ถา A = nmij ]a[ × , B = nmij ]b[ × , nm]0[0 ×= และ c, d เปนจํานวนจริงใด ๆ แลว

1) AA1 =⋅

พิสูจน nmij ]a1[A1 ×⋅=⋅

nmij ]a[ ×=

A=

2) AA)1( −=−

พิสูจน nmij ]a)1[(A)1( ×⋅−=−

nmij ]a[ ×−=

A−=

3) 0A0 =⋅

พิสูจน nmij ]a0[A0 ×⋅=

nm]0[ ×=

0=

4) dAcAA)dc( +=+

พิสูจน nmij ]a)dc[(A)dc( ×⋅+=+

nmijij ]adac[ ×⋅+⋅=

nmijnmij ]da[]ca[ ×× +=

dAcA+=

สมบตัิเกี่ยวกับการคูณเมทริกซดวยจํานวนจริง

Page 12: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 12 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

5) )cA(d)dA(cA)dc( ==⋅

พิสูจน nmij ]a)dc[(A)dc( ×⋅=⋅

nmij )]da(c[ ×=

nmij ]da[c ×=

)dA(c=

เพราะวา cddc ⋅=⋅ ดังนั้น ดวยวิธีการเดียวกันกับขางตน จะไดวา

A)cd(A)dc( ⋅=⋅

)cA(d=

นั่นคือ )cA(d)dA(cA)dc( ==⋅

6) cBcA)BA(c +=+

พิสูจน nmijij ]ba[c)BA(c ×+=+

nmijij )]ba(c[ ×+=

nmijij ]cbca[ ×+=

nmijnmij ]cb[]ca[ ×× +=

cBcA+=

7) )เมทริกซn(A...AAAnA ++++= เม่ือ n เปนจํานวนเต็มบวก

พิสูจน nmij ]an[nA ×⋅=

nm

พจนn

ijijijij ]a...aaa[ ×++++=

nmijnmijnmijnmij ]a[...]a[]a[]a[ ×××× ++++=

A...AAA ++++= ( n เมทริกซ)

8) 00c =

พิสูจน nm]0c[0c ×⋅=

nm]0[ ×=

0=

ตัวอยางที่ 9 ถา A เปนเมทริกซใด ๆ แลว จงพิสูจนวา A)A( =−−

พิสูจน )A)(1()A( −−=−−

]A)1)[(1( −−= (สมบัติ 2)

A)]1)(1[( −−= (สมบัติ 2)

A1= (สมบัติของจํานวนจริง)

A= (สมบัติ 1) #

Page 13: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 13 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

ใหนักเรียนพิจารณาปญหาตอไปนี้

โรงเรียนแหงหนึ่งตองการที่จะนํานักเรียนไปทัศนศึกษา ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ ปรากฏวามีจํานวนนักเรียนและ

ครูที่ไปทัศนศึกษาในคร้ังนี้ ดังตารางตอไปนี้

จํานวน ครู นักเรียน

ชาย

หญิง

3

12

80

120

สําหรับคาใชจายตาง ๆ แยกเปนคาอาหาร คายานพาหนะ คาที่พัก ตอหนึ่งคน แสดงดังนี ้

คาใชจาย คาอาหาร(บาท) คายานพาหนะ(บาท) คาที่พัก(บาท)

ครู

นักเรียน

500

400

100

80

300

250

โรงเรียนจะตองใชเงินในการนํานักเรียนและครูไปทัศนศึกษาในคร้ังนี้ ดังนี้

คาอาหารสําหรับชาย เทากับ )40080()5003( ×+× = 33,500 บาท

คาอาหารสําหรับหญิง เทากับ )400120()50012( ×+× = 54,000 บาท

คายานพาหนะสําหรับชาย เทากับ )8080()1003( ×+× = 6,700 บาท

คายานพาหนะสําหรับหญิง เทากับ )80120()10012( ×+× = 10,800 บาท

คาที่พักสําหรับชาย เทากับ )25080()3003( ×+× = 20,900 บาท

คาที่พักสําหรับหญิง เทากับ )250120()30012( ×+× = 33,600 บาท

ซ่ึงสามารถเขียนแสดงโดยตารางได ดังนี ้

คาใชจาย คาอาหาร(บาท) คายานพาหนะ(บาท) คาที่พัก(บาท)

ชาย

หญิง

33,500

54,000

6,700

10,800

20,900

33,600

จากตัวอยาง ถาแทนตาราง 1 ดวยเมทริกซ A แทนตาราง 2 ดวยเมทริกซ B และแทนตาราง 3 หรือตารางผลลัพธ

ดวยเมทริกซ C จะได

A =

12012803

, B =

25080400300100500

และ C =

33600108005400020900670033500

กรณีนี้เมทริกซ C คือผลคูณของเมทริกซ A กับเมทริกซ B เขียนแทนดวย AB นั่นคือ C = AB

จากกรณีขางตนเราสามารถแสดงขั้นตอนการคูณกันระหวางเมทริกซกับเมทริกซไดดังนี้ ถา

AB = C

12012803

25080400300100500

=

232221

131211cccccc

การคูณเมทริกซดวยเมทริกซ

Page 14: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 14 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

ตอไปนี้จะแสดงวิธีการหาคาสมาชิก cij ของเมทริกซ C ในแตละตําแหนง เชน

c11 หมายถึง การคูณสมาชิกแถวที่ 1 ของเมทริกซตัวต้ังกับหลักที่ 1 ของเมทริกซตัวคูณ แลวนํามาบวกกัน ดังนี้

c11 = )40080()5003( ×+× = 33,500

นั่นคือ

12012803

25080400300100500

=

×+×

232221

1312ccccc)40080()5003(

ในทํานองเดียวกัน

c12 = )8080()1003( ×+× = 6,700

c13 = )25080()3003( ×+× = 20,900

c21 = )400120()50012( ×+× = 54,000

c22 = )80120()10012( ×+× = 10,800

c22 = )250120()30012( ×+× = 33,600

ดังนั้น จะไดวา

12012803

25080400300100500

=

33600108005400020900670033500

จากตัวอยางขางตน จะเห็นวาในการคูณเมทริกซดวยเมทริกซ ตองคูณสมาชิกของเมทริกซเขาดวยกันเปนคู ๆ

แลวนําผลคูณมารวมกัน ดังนั้น จํานวนหลักของเมทริกซตัวต้ังกับจํานวนแถวของเมทริกซตัวคูณจึงตองเทากัน

จากตัวอยางการคูณเมทริกซดวยเมทริกซดังที่กลาวมาแลว ถา A เปน nm× เมทริกซ และ B เปน rn×เมทริกซ สามารถหา AB ได และ AB จะเปน rm× เมทริกซ

ตัวอยางที่ 10 จงหา AB และ BA เม่ือกําหนดให A =

201021

และ B =

123103

วิธีทํา AB =

2 0 10 2 1

1 23 10 3

=

++++++++

(2)(1) (0)(3) (1)(0) (2)(2) (0)(1) (1)(3)(0)(1) (2)(3) (1)(0) (0)(2) (2)(1) (1)(3)

=

2 76 5

#

BA =

1 23 10 3

2 0 10 2 1

=

+++++++++

(1)(2) (2)(0) (1)(0) (2)(2) (1)(1) (2)(1)(3)(2) (1)(0) (3)(0) (1)(2) (3)(1) (1)(1)(0)(2) (3)(0) (0)(0) (3)(2) (0)(1) (3)(1)

=

2 4 36 2 40 6 3

#

บทนิยาม

ถา nmij ]a[A ×= และ rnij ]b[B ×= ผลคูณของ A และ B หรือ AB คือ เมทริกซ rmij ]c[C ×= โดยที ่

njinj22ij11iij ba...babac +++=

Page 15: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 15 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

ขอสังเกต จากตัวอยางจะเห็นวา

1. A เปน 32× เมทริกซ B เปน 23× เมทริกซ AB หาคาได และ AB เปน 22× เมทริกซ

2. B เปน 23× เมทริกซ A เปน 32× เมทริกซ BA หาคาได และ BA เปน 33× เมทริกซ

3. AB ≠ BA

ตัวอยางที่ 11 จงหา AB และ BA เม่ือกําหนดให A =

−2332

และ B =

1221

วิธีทํา AB =

−2332

1221

=

+−+−−+−+

)1)(2()2)(3()2)(2()1)(3()1)(3()2)(2()2)(3()1)(2(

=

−−

4114

#

BA =

1221

−2332

=

+−−++−−+

)2)(1()3)(2()3)(1()2)(2()2)(2()3)(1()3)(2()2)(1(

=

−−

4114

#

ขอสังเกต จากตัวอยางจะเห็นวา AB = BA

ตัวอยางที่ 12 จงหา AB และ BA เม่ือกําหนดให A =

0321

และ B =

807654

วิธีทํา AB =

0321

807654

=

++++++

)8)(0()6)(3()0)(0()5)(3()7)(0()4)(3()8(2)6)(1()0)(2()5)(1()7)(2()4)(1(

=

181512

22518

หา BA ไมได เพราะจํานวนหลักของ B ไมเทากับจํานวนแถวของ A #

ตัวอยางที่ 13 กําหนดให A =

−−

2231

, B =

042312101

, I 2 =

1001

และ B =

100010001

จงหา AI2 , I2A , BI3 และ I3B

วิธีทํา AI2 =

−−

2231

1001

=

−+++−+−

)1)(2()0(2)0)(2()1(2)1)(3()0)(1()0(3)1)(1(

=

−−

2231

= A #

ในทํานองเดียวกันจะไดวา

I2A =

1001

−−

2231

=

−−

2231

= A #

Page 16: 39810740 เมทริกซ์ A

เอกสารประกอบการเรยีนวิชาคณติศาสตรเสริม 4(2) หนาที่ 16 ของจํานวน 63 หนา

หนวยการเรียนที ่1 เรื่อง เมทริกซ

โรงเรียนในเครอืคณะภคินีเซนตปอล เดอ ชารตร

BI3 =

042312101

100010001

=

042312101

= B #

I3B =

100010001

042312101

=

042312101

= B #

ขอสังเกต ถา A เปนเมทริกซจัตุรัสที่มีมิติเปน nn× เมทริกซ จะไดวา AIn = A = InA

ในการคูณเมทริกซบางคร้ังเราอาจคูณเมทริกซใด ๆ กับตัวเอง เชน เมทริกซ A คูณกับเมทริกซ A จะเขียนผลคูณ

ไดเปน AA และถาตองการเขียนผลคูณใหส้ันลงเปน 2A ในเมทริกซ จึงไดใหขอตกลงเก่ียวกับสัญลักษณดังกลาวดังตอไปนี้

สัญลักษณ ถา A เปน nn× เมทริกซ แลว จะให

1A หมายถึง A

kA หมายถึง 1kAA − เม่ือ k เปนจํานวนเต็มบวกที่มากกวา 1

ฉะนั้น จะไดวา

122 AAA −=

1AA=

AA=

133 AAA −=

2AA=

)AA(A=

ตัวอยางที่ 13 กําหนดให A =

3 02 1

จงหา 2A , 3A

วิธีทํา 1) 2A =

3 02 1

3 02 1

=

9 08 1

#

2) 3A = 2AA

=

3 02 1

9 08 1

=

27 026 1

#


Top Related