Transcript
  • 1

    6. สนามแม่เหลก็สนามแม่เหลก็

    ในหวัขอ้ที่ผา่นมาเราไดศ้ึกษาเกี่ยวกบัสนามไฟฟ้าสาํหรับประจุไฟฟ้าที่ไม่เคลื่อนที่ แต่สาํหรับบริเวณรอบๆ ประจุไฟฟ้าที่มีการเคลื่อนที่จะมีสนามแม่เหล็กเขา้มาเกี่ยวขอ้งดว้ย

    ถา้ให้ แทนสนามแม่เหลก็ทิศของสนามแม่เหล็กชี้ในทิศขั้วเหนือดงัรูป ซึ่งแสดงส น า ม แ ม่ เ ห ล็ ก ข อ ง แ ท่ งแม่เหลก็โดยใชเ้ขม็ทิศโดยเส้นสนามแม่ เหล็กจะ ชี้จากขั้ วเหนือไปยงัขั้วใต้

    รูปเขม็ของเขม็ทิศสามารถใชใ้นการหาทิศของสนามแม่เหลก็

    N S

    B

  • 2

    รูปแสดงการจดัเรียงตวัของสนามแม่เหลก็โดยใชผ้งเหลก็(a) รูปแบบของสนามแม่เหลก็รอบแท่งแม่เหลก็(b) รูปแบบของสนามแม่เหลก็เนื่องจากขั้วแม่เหลก็ต่างชนิดกนั(c) รูปแบบของสนามแม่เหลก็เนื่องจากขั้วแม่เหลก็ชนิดเดียวกนั

    (a) (b) (c)

    N

    N

    N

    SN

    S

  • 3

    แม่เหลก็ธรรมดา (หรือ แม่เหลก็ถาวร)

    • แม่เหลก็ทุกชนิดมีขั้ว 2 ขั้ว ขั้วหนึ่งคือ ขั้วเหนือ อีกขั้วเป็นขั้วใต้

    • แม่เหลก็ขั้วเหมือนกนัเขา้ใกลก้นัมนัจะผลกักนั และขั้วต่างกนัมนัจะดูดกนั

    • แม่เหลก็ไฟฟ้ามีหลกัการพื้นฐานเหมือนกนั เพียงแต่วา่โลหะจะเป็นแม่เหลก็ได้

    กต็่อเมื่อใส่กระแสไฟฟ้าเขา้ไปเท่านั้น

    แม่เหลก็ไฟฟ้า

    แม่เหลก็ไฟฟ้าใชไ้ฟจากแบตเตอรี่เป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า ถา้เราต่อสายไฟใหค้รบวงจรโดยต่อสายไฟจากขั้วบวกไปที่ขั้วลบโดยตรง อิเลก็ตรอนซึ่งเป็นประจุลบจะเคลื่อนที่จากขั้วลบไปที่ขั้วบวกของแบตเตอรี่

    • อิเลก็ตรอนไหลจากขั้วลบไปที่ขั้วบวกอยา่งรวดเร็ว

    • พลงังานภายในแบตเตอรี่จะหมดอยา่งรวดเร็วดงันั้นไม่ควรต่อสายไฟตรง ควรใชส้วทิซ์

    หรือต่อตวัตา้นทานหรือภาระ (เช่น มอเตอร์ หลอดไฟ วทิย)ุใหก้บัแบตเตอรี่ดว้ย

    • สนามแม่เหลก็จะเกิดขึ้นรอบสายไฟเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหล สนามแม่เหลก็ที่เกิดขี้นนี้จะ

    นาํเราไปสู่ การสร้างแม่เหลก็ไฟฟ้า

  • 4

    แม่เหลก็ เป็นสารประกอบของเหลก็และออกซิเจน เป็นวตัถุที่สามารถดูดสารแม่เหลก็บางชนิดได้

    คุณสมบัตขิองเส้นแรงแม่เหลก็

    1. มีทิศออกจากขั้วเหนือเขา้สู่ขั้วใต้

    2. ถา้มีเส้นแรงแม่เหลก็ปริมาณมาก

    เส้นแรงแม่เหล็กจะรวมกนัหรือตา้น

    กนัออกไป ทาํให้เกิดจุดสะเทินซึ่ง

    เป็นจุดที่มีค่าความเขม้สนามแม่เหลก็

    เป็นศูนย์

    สนามแม่เหลก็ คือบริเวณหรือขอบเขตที่แม่เหลก็ส่งเส้นแรงแม่ เหลก็ที่มีอาํนาจการดึงดูดออกไปไดถ้ึง

    ฟลกัซ์แม่เหลก็ คือ ปริมาณเส้นแรงแม่เหล็ก หรือจาํนวนของเส้นแรงแม่เหลก็

    ความเข้มสนามแม่เหลก็ B หมายถึงจาํนวนเส้นแรงแม่เหลก็ต่อ หน่วยพื้นที่ที่เสน้แรงแม่เหลก็ตกตั้งฉาก

    B = ความเขม้ของสนามแม่เหลก็

    (T หรือ Wb/m2 )

    = ฟลกัซ์แม่เหลก็ (Wb)

    A = พื้นที่ที่ตั้งฉาก (m2) B B A

    B

    B

  • 5

    ต่อสายไฟไว้กับแบตเตอรี่โดยผ่านสวิทซ์หนึ่งอนัดงัรูปวางเข็มทิศไวบ้นสายไฟขณะที่ยงัไม่มีการปิดสวทิซ์ เขม็ทิศจะชี้ไปยงัทิศเหนือตลอดและนิ่งอยู่อย่างนั้น แต่เมื่อเราปิดและเปิดสวิทซ์เป็นจงัหวะเข็มทิศจะสวิงไปมา เพราะกระแสไฟฟ้าทาํให้เกิดสนามแม่เหล็กและผลกัเขม็ทิศออกไปถา้เรากลบัขั้วของแบตเตอรี่และทดลองซํ้ า เขม็ทิศจะถูกผลกัไปอีกดา้นหนึ่ง

    สนามแม่เหลก็ที่เกิดขึ้นรอบเสน้ลวด สนามแม่เหลก็เกิดรอบวงของเส้นลวด

    แม่เหลก็ไฟฟ้าแบบง่ายๆ

    แม่เหลก็ไฟฟ้าเกิดขึ้นไดก้ต็่อเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผา่นดงันั้นถา้เกิดไม่มีกระแสไฟฟ้าอาํนาจของสนามแม่เหลก็จะหมดไป

    เพราะวา่สนามแม่เหลก็รอบเส้นลวดเป็นวงกลมและมีทิศตั้งฉากกบัเส้นลวด เราจึงสามารถเพิ่มความเขม้ของสนามแม่เหล็กได้โดยขดเสน้ลวดใหเ้ป็นวง

    ถา้เราเพิ่มขดลวดขึ้นอีกวง สนาม

    แม่เหลก็จะเพิ่มความเขม้ขึ้น ยิง่มีวง

    ขดมากสนามแม่เหลก็ยิง่มากตาม

    สนามแม่เหล็กที่เกิดขึ้น

    เป็นรูปวงกลมล้อมรอบ

    เส้นลวด สนามแม่เหลก็

    จะอ่อนลงเมื่ออยู่ห่างจาก

    เ ส้ น ล วด ทิ ศท า ง ขอ ง

    สนามแม่เหลก็มีทิศทางตั้ง

    ฉากกบัเสน้ลวดเสมอ

  • 6

    เราสามารถใหน้ิยามสนามแม่เหลก็ ที่จุดหนึ่งๆไดใ้นเทอมของแรงแม่เหลก็ ซึ่ง

    สนามกระทาํต่ออนุภาคประจุ q ซึ่งเคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว โดยในเวลาเริ่มตน้สมมติวา่

    ไม่มีสนามไฟฟ้าและสนามแรงโนม้ถ่วง

    -• ขนาดของแรงแม่เหลก็ ที่กระทาํต่ออนุภาคเป็นสดัส่วนตรงกบัประจุ q และความเร็ว v ของอนุภาค

    • ขนาดและทิศทางของ ขึ้นอยูก่บัความเร็วของอนุภาคและขนาดและทิศทางของสนามแม่เหลก็

    • เมื่ออนุภาคมีประจุเคลื่อนที่ขนานกบัเวกเตอร์สนามแม่เหลก็แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่ออนุภาคเป็นศูนย์

    • เมื่อเวกเตอร์ความเร็วของอนุภาคทาํมุม กบัสนามแม่เหลก็ แรงแม่เหลก็จะกระทาํในทิศทางที่

    ตั้งฉากกบั และ นัน่คือ จะตั้งฉากกบัระนาบที่เกิดจาก และ

    • แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อประจุบวกมีทิศตรงขา้มกบัแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อประจุลบ ซึ่งเคลื่อนที่ใน

    ทิศเดียวกนั

    • ขนาดของแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่ออนุภาคที่เคลื่อนที่เป็นสดัส่วนตรงกบั

    เมื่อ เป็นมุมที่เวกเตอร์ความเร็ว v ของอนุภาคกระทาํต่อทิศของ B

    -

    การทดลองกบัประจุทดสอบที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหลก็ใหผ้ลดงันี้

    BF

    B

    sin

    0

    BF

    BF

    B

    B

    v

    vv B

    BF

  • 7

    ดงันั้น สามารถเขียนแรงแม่เหลก็ไดด้งันี้ BvqF B

    เมื่อทิศของ FBอยูใ่นทิศของ ถา้ q เป็นบวกและและจะมีทิศตรงขา้ม ถา้ q เป็นลบ

    ทิศของ FB จะตั้งฉากกบั v และ B

    Bv

    ใชก้ฎมือขวาหาทิศของ โดยการชี้นิ้วทั้งสี่ของมือขวาไปในทิศของ v แลว้วนไปตามทิศของ B

    ทิศของนิ้วหวัแม่มือคือทิศของ

    Bv

    Bv

    จากสูตร F จะมีค่าเป็นศูนยเ์มื่อ v ขนานกบั B ( = 0o หรือ 180o ) และมีค่าสูงสุดเป็น qvB เมื่อ v ตั้งฉากกบั B ( = 90o )

    รูป (a) กฏมือขวาสาํหรับกาํหนดทิศของแรงแม่เหลก็

    ที่กระทาํต่ออนุภาคที่มีประจุ q เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว ใน

    สนามแม่เหลก็ ทิศของ มีทิศตามนิ้วหวัแม่มือ

    (b) ถา้ q เป็นบวก ชี้ขึ้น (c) ถา้ q เป็นลบ ชี้ลง

    Bv

    v

    B

    BF

    BF

    รูปทิศของแรงแม่เหลก็ ซึ่งกระทาํต่ออนุภาคมีประจุที่เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว v ในสนามแม่เหลก็ B (a) แรงแม่เหลก็ตั้งฉากกบั และ (b) แรงทางแม่เหลก็ ซึ่งมีทิศตรงขา้มกนักระทาํต่ออนุภาคมีประจุซึ่งมีประจุตรงขา้มกนั โดยอนุภาคทั้งสองเคลื่อนที่ดว้ยความเร็วเดียวกนัในสนามแม่เหลก็

    BF

    BF B

    v

    BvqF B

    BF

    q

    B

    v

    +-

    B

    BF

    BF

    vv

    (a) (b)

  • 8

    ขอ้แตกต่างที่สาํคญัระหวา่งแรงไฟฟ้าและแรงแม่เหลก็มีดงันี้

    แรงไฟฟ้า แรงแม่เหลก็

    1. แรงไฟฟ้าอยูใ่นทิศของ

    สนามไฟฟ้าเสมอ

    2. แรงไฟฟ้าที่กระทาํต่ออนุภาค

    ไฟฟ้าไม่ขึ้นกบัความเร็วของ

    อนุภาค

    3. แรงไฟฟ้าทาํใหเ้กิดงานใน

    การยา้ยประจุไฟฟ้า

    )EqF( E

    1. แรงแม่เหลก็ตั้งฉากกบั

    สนามแม่เหลก็เสมอ

    2. แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อ

    อนุภาคไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้

    เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่

    3. แรงแม่เหลก็ไม่ก่อใหเ้กิด

    งานเมื่ออนุภาคไฟฟ้ายา้ยที่

    )B x vqF( B

  • 9

    qBmvr

    • ถา้อนุภาคไฟฟ้ามวล m ที่มีประจุ q เคลื่อนที่ในสนามแม่เหลก็ที่

    สมํ่าเสมอ B และความเร็วตน้ v มีทิศตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็

    แลว้อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นวงกลมโดยระนาบการเคลื่อนที่จะ

    ตั้งฉากกบัทิศของสนามแม่เหลก็ โดยวงโคจรมีรัศมี r ตามสมการ

    ความถี่เชิงมุมของการหมุนของอนุภาคนี้จะได้

    v qB r m

    2mvqvB r

  • 10

    ตวัอยา่ง An electron moving in a magnetic fieldอิเลก็ตรอนในหลอดภาพโทรทศัน์เคลื่อนที่ไปยงัดา้นหนา้ของหลอด ดว้ยความเร็ว8x106 m/s ตามแนวแกน x ดงัรูป รอบๆ คอหลอดภาพเป็นขดลวดซึ่งทาํใหเ้กิดสนามแม่เหลก็ขนาด 0.025 T มีทิศทาํมุม 60o กบัแกน x และวางตวัอยูใ่นระนาบ xy จงคาํนวณหาแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่ออิเลก็ตรอนและความเร่งของอิเลก็ตรอน

    วธิีทาํ

    ขนาดของแรงแม่เหลก็

    sinvBqFB

    N108.2)60)(sin025.0)(108)(106.1(

    14

    o619

    เพราะวา่ v x B มีทิศตามแนวแกน z (จากกฎมือขวา) และประจุมีค่าเป็นลบ ดงันั้น FB อยู่ในทิศแกน –z

    ความเร่งของอิเลก็ตรอนคือ มีทิศตามแนวแกน -z2163114

    B s/m101.31011.9108.2

    mFa

  • 11

    แรงแม่เหลก็กระทาํต่อตวันาํที่มีกระแสไหล

    ลวดตวันาํที่มีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กจะไดร้ับแรงแม่เหล็กดว้ย เพราะว่ากระแสไฟฟ้าคือกลุ่มอนุภาคที่มีประจุที่เคลื่อนที่ ดงันั้นแรงลพัธ์ที่กระทาํโดยสนามแม่เหลก็ต่อลวดตวันาํคือผลรวมแบบเวกเตอร์ของแรงแต่ละแรงที่กระทาํต่ออนุภาคที่มีประจุ ทาํใหเ้กิดกระแสไฟฟ้า แรงที่

    กระทาํต่ออนุภาคจะส่งถ่ายใหก้บัเสน้ลวดเมื่ออนุภาคชนกบัอะตอมของเสน้ลวด

    เราสามารถทาํการทดลองให้เห็นว่าแรงทางแม่เหล็กกระทาํต่อลวดตวันาํที่มีกระแสไหลไดโ้ดยการแขวนลวดระหว่างขั้วของแม่เหลก็ดงัรูป สนามแม่เหลก็พุ่งเขา้หาหนา้กระดาษในบริเวณพื้นที่วงกลมเมื่อกระแสในเสน้ลวดเป็นศูนยเ์สน้ลวดจะวางตวัอยูใ่นแนวดิ่ง ดงัรูป (a) เมื่อมีกระแสไหลขึ้นในแนวดิ่งดงัรูป ( b) เส้นลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นซา้ยถา้ทาํการกลบัทิศกระแสดงัรูป (c) ลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นขวา

    รูปเสน้ลวดแขวนในแนวดิ่งขนานกบัหนา้ของแท่งแม่เหลก็ B ที่มีทิศพุง่เขา้หาแผน่กระดาษ(a) ไม่มีกระแส ( I = 0 ) (b) กระแส I ไหลขึ้น เสน้ลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นซา้ยมือ(c ) กระแส I ไหลลง เสน้ลวดจะถูกผลกัไปทางดา้นขวามือ

  • 12

    รูปส่วนของลวดตวันาํที่มีกระแสไหล

    วางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็ B

    เราสามารถอธิบายไดโ้ดยพิจารณาส่วนของลวดความยาว L มีพื้นที่หนา้ตดั A มีกระแส I วางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ B ดงัรูป แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อประจุq ที่เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว v คือ qv x B ในการหาแรงรวมที่กระทาํต่อเส้นลวดทาํได้โดยคูณแรงที่กระทาํต่อประจุ qv x B กบัจาํนวนประจุในส่วนของเส้นลวดนั้นๆเนื่องจากปริมาตรของส่วนของเส้นลวดเป็น AL จาํนวนของประจุในแต่ละส่วนเลก็ๆนี้คือ nAL เมื่อ n คือจาํนวนประจุต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร ดงันั้นแรงแม่เหลก็รวมที่

    กระทาํต่อเสน้ลวดยาว L คือ nAL )Bv(qF B

    เมื่อ L คือเวกเตอร์ที่ชี้ในทิศการไหลของกระแส I มีขนาดเท่ากบัความยาว L ของเส้นลวดแต่สูตรนี้ใช้ได้กับส่วนของเส้นลวดตรงที่วางตัวอยู่ในสนามแม่เหล็กสมํ่าเสมอเท่านั้น

    เมื่อกระแสในเส้นลวดคือ I = nqvA ดงันั้น B x LI F B

  • 13

    รูปส่วนของเส้นลวดรูปทรงใดๆ มี

    กระแส I อยูใ่นสนามแม่เหลก็ แรง

    แม่เหลก็ที่กระทาํบนส่วน ใดๆ คือ

    ทิศพุง่ออกจากกระดาษBsId

    B

    sd

    ต่อไปจะพิจารณาส่วนของเส้นลวดที่มีลกัษณะใดๆ ที่มีภาคตดัขวาง

    สมํ่าเสมอวางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็ ดงัรูป สนามแม่เหลก็ ที่

    กระทาํต่อส่วนของเสน้ลวด ในกระบวนการเป็นไปดงัสมการ

    โดยสมมติให ้ มีทิศทางพุง่ออกจากกระดาษดงัรูป

    BsIdFd B

    B

    sd

    BFd

    B

    sdI

  • 14

    แรงจะมีค่าสูงสุดเมื่อ ตั้งฉากกบักระแส และ

    แรงจะมีค่าเป็นศูนยเ์มื่อ ขนานกบักระแส

    แรงทั้งหมดที่กระทาํต่อเส้นลวด หาไดจ้ากการอินทิเกรทสมการนี้

    ตลอดความยาวลวด

    เมื่อ a และ b แสดงตาํแหน่งปลายของเส้นลวด ผลที่ไดจ้ากการ

    อินทิเกท คือขนาดของสนามแม่เหลก็และทิศทางของสนามที่กระทาํ

    ต่อ

    Bsd IF b

    aB

    B

    B

    sd

  • 15

    พจิารณา 2 กรณพีเิศษซึ่งมสีนามแม่เหลก็ทีค่งทีท่ั้งขนาดและทศิ

    b

    a

    sd เนื่องจากปริมาณ แสดงถึงผลรวมแบบเวกเตอร์ของทุกๆ ความยาว

    ในช่วง a ถึง b ถา้ใหผ้ลรวมที่ไดเ้ป็นเวกเตอร์ มีทิศชี้จาก a ไปยงั b

    สมการนี้จะกลายเป็น

    L

    B L I F B

    รูป เส้นลวดโคง้มีกระแส I ในสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ

    แรงแม่เหล็กสุทธิที่กระทาํต่อเส้นลวดโคง้เทียบเท่ากบั

    แรงที่กระทาํกบัเส้นลวดตรง L/ ที่เชื่อมระหวา่งปลาย

    ของเส้นลวดโคง้

    กรณทีี ่1 เส้นลวดโคง้มีกระแส I ไหลผา่นวางอยู่ในสนามแม่เหล็กสมํ่าเสมอ แรงสุทธิ

    ที่กระทาํต่อเส้นลวดโคง้เทียบเท่ากบัแรง

    ที่กระทาํกบัเส้นลวดตรง ที่เชื่อม

    ระหว่างปลายของเส้นลวดโค้ง ดังรูป

    เนื่องจากสนามไฟฟ้ามีค่าคงที่สามารถดึง

    ออกจากเครื่องหมายอินทิเกรตออก

    จากสมการได ้ Bsd IFb

    aB

    L

    B

    B

    B

    L

    aI

    bsd

  • 16

    กรณทีี ่2

    0 Bsd IF B ดงันั้น สรุปไดว้า่

    เสน้ลวดโคง้เชื่อมต่อกนัเป็นลูปปิดมีกระแสไฟฟ้า I ไหลผา่นและว า ง ตั ว อ ยู่ ใ นสน ามแ ม่ เ ห ล็ กสมํ่าเสมอ ดงัรูป จะไดว้า่

    แรงแม่ เหล็ก สุท ธิจะ เ ป็น ศูนย ์เ นื่องจากผลรวมแบบเวกเตอร์ตลอดเสน้ทางปิดจะมีค่าเป็นศูนย ์

    B

    I

    sd

  • 17

    ตวัอยา่ง Force on a semicircular conductor เส้นลวดโคง้เป็นครึ่งวงกลมปิด รัศมี R มีกระแสไฟฟ้า I ไหลผา่นและวางตวัอยูส่นามแม่เหลก็สมํ่าเสมอในระนาบ xy โดยสนามแม่เหลก็มีทิศในแกนบวก y ดงัรูป จงหาขนาดและทิศทางของแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อเสน้ลวดในส่วนที่เป็นเส้นตรง และในส่วนที่เป็นเส้นโคง้

    วธิีทาํ

    แรง กระทาํต่อเส้นลวดที่เป็นเส้นตรง

    มีขนาด F1= ILB = 2IRB เพราะวา่

    L = 2R เนื่องจากเส้นลวดตั้งฉากกบั

    สนาม ทิศทางของ จะพุง่ออกจาก

    กระดาษ เพราะว่า มีทิศตามแกน

    บวก z ซึ่งพุง่ออกจากกระดาษดงัรูป

    BL

    1F

    B

    1F

    B

    R

    I

    d

    sd

    รูปแรงสุทธิที่กระทาํต่อเส้นลวดรูปครึ่ง

    วงกลมปิดซึ่งมีกระแส I มีค่าเป็นศูนย์

  • 18

    ในการหาแรงรวม F2 ที่กระทาํต่อส่วนโคง้ทาํไดโ้ดยการอินทิเกรตสมการดา้นบนเพื่อทาํการรวมส่วนของความยาวเลก็ๆ ds โดยที่ทิศทางของแรงที่กระทาํต่อส่วนต่างของของลวดมีทิศพุ่งเขา้ไปในกระดาษ ดงันั้นแรงลพัธ์ F2 บนเส้นลวดมีทิศพุ่งเขา้ไปในกระดาษเช่นกนั ทาํการอินทิเกรต dF2 ในช่วง ถึง จะไดว้า่

    00

    2 cos IRBd sinIRBF

    2IRB1)1( IRB0) cos π(cos IRB

    เนื่องจาก F2 ซึ่งมีขนาดเป็น 2IRB มีทิศพุง่ออกและF1 ซึ่งมีขนาดเป็น 2IRB มีทิศพุง่เขา้ ดงันั้นแรงสุทธิที่กระทาํต่อลูปปิด (close loop) เป็นศูนย์

    ในการหาแรง F2 ที่กระทาํต่อส่วนโคง้ ทาํไดโ้ดยแสดง dF2 ในรูปของส่วนของความยาว ds ดงัรูป ถา้ คือมุมระหวา่ง B และ ds ขนาดของ dF2 คือ

    dssinIBsd IdF2 B

    เนื่องจาก s = R จะไดว้า่ ds = Rd ทาํการอินทิเกรตจะไดว้า่

    d sinIRBdF2

    0

  • 19

    ทอร์คในวงปิดซึ่งวางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ

    พิจารณาวงปิดรูปสี่เหลี่ยมมีกระแส I วางตวัในสนามแม่เหล็กสมํ่ าเสมอซึ่งมีทิศขนานไปกับระนาบของวงปิด ดงัรูป (a) พบว่าไม่มีแรงแม่เหล็กกระทาํต่อเส้นลวดดา้น 1 และ 3 เพระว่าเสน้ลวดจะขนานไปกบัสนามดงันั้น 0BL

    อยา่งไรกต็ามมีแรงแม่เหลก็กระทาํต่อดา้นที่ 2 และ 4 เพราะวา่ดา้นนี้วางตวัตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็ แรงแม่เหลก็มีขนาดเป็น IaBFF 42

    รูป (a) overhead view ของลูปกระแสสี่เหลี่ยมในสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ ไม่มีแรงกระทาํต่อดา้นที่ 1 และ 3 เพราะวา่ดา้นเหล่านี้ขนานกบั B แรงกระทาํต่อดา้น 2 และ 4 (b) Edge view ของลูปแสดงทิศ F

    1และ F

    1ชี้ลง แรงเหล่านี้ทาํ

    ใหเ้กิดทอร์คซึ่งทาํใหลู้ปหมุนตามเขม็นาฬิกา

    1

    2

    3

    4

    B

    I

    a

    b

    (a)

    2 4• x•

    (b)

    B 0

    b/22F

    4F

  • 20

    ทิศทางของ F2

    ซึ่งเป็นแรงที่กระทาํต่อเส้นลวด 2 พุ่งออกจาก

    หนา้กระดาษ แรง F4

    ที่กระทาํต่อเส้นลวด 4 มีทิศพุง่เขา้ไปในกระดาษ

    ดงัรูป (a) ดงันั้นสามารถเขียนรูปแบบของแรง F2 และ F4 ไดด้งัรูป

    (b) ถา้วงปิดมีจุดหมุนที่ O วงปิดสามารถหมุนรอบ O แบบตามเขม็

    นาฬิกา (มองจากดา้นที่ 3 ) โดยมีขนาดของทอร์คสูงสุดเป็น max

    max 2 4b b b b F F (IaB) (IaB) IabB 2 2 2 2

    เมื่อแขนโมเมนตมัรอบจุด O เป็น b/2 สาํหรับแรงแต่ละแรงและ

    เนื่องจากพื้นที่ที่ปิดลอ้มวงปิดเป็น A = ab

    ดงันั้น ทอร์คสูงสุด คือ IAB max

  • 21

    รูป ลูปกระแสสี่เหลี่ยมในสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ (a) เวกเตอร์พื้นผวิ A ตั้ง

    ฉากกบัระนาบของลูปทาํมุม กบัสนาม แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อดา้น 2

    และ 4 หกัลา้งกนั แรงที่กระทาํต่อดา้น 1 และ 3 ทาํใหเ้กิดทอร์คต่อลูป

    (b) Edge view ของลูป

    (a) (b)

    1

    23

    4

    2F

    4F

    B

    A1F

    3F

    0a

    b

    1F

    3F

    1

    3x

    B

    A

    2a

    sin2a 0

  • 22

    ค่าทอร์คสุทธิ์ที่สูงที่สุดจะเกิดขึ้นเมื่อสนามแม่เหล็กขนานกบัระนาบของวงปิดต่อไป

    สมมติวา่สนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอทาํมุม < 90° กบัเส้นที่ตั้งฉากกบัระนาบของวงปิด

    (A) ดงัรูป (a) เพื่อความสะดวกสมมติให้ B ตั้งฉากกบัดา้น 1 และ 3 จะเห็นวา่แรง F2และ F

    4ที่กระทาํต่อดา้นที่ 2 และ 4 หกัลา้งกนัเนื่องจากผา่นจุดกาํเนิดไม่ทาํใหเ้กิดทอร์ค

    แรง F1และ F

    3ทาํใหเ้กิดทอร์ค

    จากรูป (b) พบวา่แขนโมเมนตร์อบจุด O ของแรง F1และ F

    3คือ (a/2) sin เนื่องจากวา่

    ดงันั้นทอร์คสุทธิ์รอบจุด O มีขนาด IbBFF 31 sin

    2

    aFsin

    2

    aF 31

    sinIAB

    sinIabBsin2

    aIbBsin

    2

    aIbB

    เมื่อ A = ab คือพื้นที่วงปิด ผลที่ไดแ้สดงใหเ้ห็นวา่ทอร์คสูงสุดมีค่าเป็น IAB เมื่อสนามตั้งฉากกบั

    เส้นปรกติ(เส้นที่ตั้งฉากกบัระนาบของวงปิด) ( = 900) และจะมีค่าเป็นศูนยเ์มื่อสนามเส้นปกติที่ตั้งฉากกบัระนาบ ( = 00)

  • 23

    สูตรที่ใชแ้สดงทอร์คที่กระทาํต่อวงปิดที่วางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็สมํ่าเสมอ B คือ

    BAI

    เมื่อ A คือเวกเตอร์ที่ตั้งฉากกบัระนาบของวงปิดมีขนาดเท่ากบัพื้นที่ของวงปิด

    โดยสามารถหาทิศของ A ไดโ้ดยใชก้ฎมือขวาโดยทาํการวนนิ้วทั้งสี่ไปตาม

    ทิศของกระแสในวงปิด นิ้วหวัแม่มือจะชี้ในทิศของ A

    ผลคูณ IA นิยามวา่เป็นไดโพลโมเมนตแ์ม่เหลก็ (magnetic dipole moment )

    หรือเรียกสั้นๆ วา่ magnetic moment ของวงปิด IA

    หน่วย SI ของไดโพลแม่เหลก็คือ ampere-meter2 (A.m2) ดงันั้น ทอร์คที่กระทาํ

    กบัวงปิดซึ่งมีกระแสไหลผา่นซึ่งวางตวัอยูใ่นสนามแม่เหลก็ B คือ

    B

  • 24

    ถา้ขดลวดประกอบดว้ยลวด N เส้น แต่ละเส้นมีกระแสและพื้นที่เท่ากนั

    ไดโพลโมเมนตแ์ม่เหลก็รวม (the total magnetic dipole moment) คือ

    BB coilloop NNจากความรู้ที่ผ่านมาพบว่าพลังงานศักย์ของไดโพลไฟฟ้าใน

    สนามไฟฟ้ามีค่าเป็น U = -P.E ดงันั้น พลงังานศกัยข์องไดโพล

    แม่เหลก็ที่วางตวัในสนามแม่เหลก็มีลกัษณะที่คลา้ยกนัคือ

    U B

    จากสูตรพบวา่ไดโพลแม่เหลก็มีพลงังานตํ่าสุดเป็น เมื่อ

    ชี้ไปในทิศทางเดียวกบั B และจะมีค่าสูงสุดเป็น เมื่อ

    ชี้ไปในทิศทางตรงขา้มกบั B

    minU B

    maxU B

  • 25

    ตวัอย่าง The magnetic dipole moment of a coil

    (a) จงคาํนวณหาขนาดของโมเมนตไ์ดโพลแม่เหลก็(b) จงหาขนาดของทอร์คที่กระทาํต่อขดลวด

    ขดลวดสี่เหลี่ยมขนาด 5.4 cm 8.5 cm มีจาํนวนขดลวด 25 ขด และมีกระแสไฟฟ้าขนาด 15 mA ไหลผา่น ใหส้นามแม่เหลก็ขนาด 0.35 T ในทิศทางที่ขนานกบัระนาบของขดลวด

    วธิีทาํ

    3 3 2coil NIA 25 15 10 (0.054) (0.085) 1.72x10 A m

    เพราะวา่ ตั้งฉากกบั จะไดว้า่

    (a) ขนาดของโมเมนตไ์ดโพลแม่เหลก็

    (b) ขนาดของทอร์คที่กระทาํต่อขดลวด

    mN10 x 02.6)35.0)(1072.1(B 43coil

    แบบฝึกหดั จงคาํนวณขนาดของทอร์คที่กระทาํต่อขดลวดซึ่งทาํมุม (a) 60o (b) 00 กบั

    ตอบ (a) (b) 0m.N1021.5 4

    coil

    B

  • 26

    ตวัอย่าง Satellite attitude control

    ดาวเทียมส่วนใหญ่จะใชข้ดลวดที่เรียกว่า torquersในการปรับวงโคจรโดย

    อุปกรณ์นี้จะเกิดอนัตรกิริยากบัสนามแม่เหลก็โลกทาํใหเ้กิดทอร์คต่อดาวเทียม

    ในทิศแกน x y และ z ในการใชป้ระโยชน์ของระบบ attitude control โดยใช้

    ไฟฟ้าที่ผลิตจากเซลแสงอาทิตย์ ถา้เครื่องมือมีไดโพลโมเมนตแ์ม่เหลก็เป็น

    250 A.m2 จงหาค่าทอร์คที่มากที่สุดที่ใหก้บัดาวเทียม เมื่อ torquers ทาํงาน

    ขณะที่สนามแม่เหลก็โลกมีขนาด 3.0x10-5 T

    วธิีทาํ

    ทอร์คสูงสุดเมื่อโมเมนตไ์ดโพลแม่เหลก็ของ torquer

    ตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็โลก

    mN10x5.7)100.3)(250(B 35max

  • 27

    • เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตวันาํที่มีลกัษณะเป็นแผ่นแบนราบที่วางอยู่ใน

    สนามแม่เหลก็ B จะเกิด ปรากฏการณ์ฮอล (Hall Effect) และวดัความต่างศกัย์

    ตามขวางในแถบตวันาํซึ่งเรียกวา่ ศกัยไ์ฟฟ้าของฮอล (Hall Voltage) ไดเ้ป็น

    VH = vdBd

    ให ้ n เป็นจาํนวนพาหะไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และ A เป็นพื้นที่หนา้ตดัของแถบตวันาํแลว้จะได้

    nqAIBdV H

    เมื่อใหพ้ื้นที่ A = td เมื่อ t เป็นความหนา และ d เป็นความกวา้งของแถบตวันาํแบน แลว้จะได้

    nqtIBV H

    และสมัประสิทธิ์ของฮอล (Hall Coefficient) จะได้ BtV

    nqIR HH

    (เพิ่มเติม)

  • 28

    สรุป

    BF qv x B

    ขนาดของแรงนี้คือ FB = qvB sin

    • แรงแม่เหลก็ที่กระทาํบนประจุ q ที่เคลื่อนที่ดว้ยความเร็ว ในสนามแม่เหลก็ คือv B

    เมื่อ เป็นมุมระหวา่ง และ v B

    B มีหน่วยเป็น Wb/m2 เรียกวา่เทสลา (tesla; T) T = Wb/m2 = N/A.m

    • ในกรณีที่อนุภาคประจุไฟฟ้า q เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว เข้าไปในบริเวณที่มี ทั้ งสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็ก แรงลัพธ์ ที่กระทาํบนประจุ q หา ไดต้ามสมการลอเรนซ์ คือ

    vB

    FE

    E BF F + F

    6. สนามแม่เหลก็

    F qE qv x B

  • 29

    B F I L x B

    • ตวันาํยาว L ที่มีกระแสไฟฟ้าไหล I และวางอยูใ่นสนามแม่เหลก็ที่ สมํ่าเสมอ ตวันาํนี้จะถูกสนามแม่เหลก็กระทาํดว้ยแรง B

    BdF I ds x B

    • สาํหรับตวันาํเส้นลวดใดๆ ที่มีกระแส I ไหลผา่นและวางอยูใ่นสนาม แม่เหลก็ที่สมํ่าเสมอ แรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อความยาวนอ้ยๆ

    ของลวดตวันาํ คือ

    B

    เมื่อ คือเวกเตอร์ที่ชี้ในทิศการไหลของกระแสไฟฟ้า I

    มีขนาดเท่ากบัความยาว L ของตวันาํ

    L

    sd

    และแรงลพัธ์ ที่สนามแม่เหลก็ กระทาํบนลวดตวันาํทั้งหมด คือB

    BF

    b

    Ba

    F I ds x B Note ถา้เป็นเสน้ลวดโคง้เชื่องต่อกนั

    เป็นลูปปิด แรงแม่เหลก็จะเป็นศูนย์

    B F I ( ds) x B = 0

  • 30

    • โมเมนตแ์ม่เหลก็ ของวงกระแส คือ มีหน่วยเป็น A.m2

    เมื่อ คือพื้นที่ของวงกระแสและมีทิศตั้งฉากกบัระนาบของวงกระแส

    μ AI μ

    A

    • ทอร์ก ที่กระทาํบนวงกระแส เมื่อวงกระแสวางอยูใ่นสนามแม่เหลก็ที่

    สมํ่าเสมอ เป็น

    B x B

    qBmvr

    • ถา้อนุภาคไฟฟ้ามวล m ที่มีประจุ q เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กที่

    สมํ่าเสมอ B และความเร็วตน้ v มีทิศตั้งฉากกบัสนามแม่เหลก็แลว้

    อนุภาคจะเคลื่อนที่เป็นวงกลม โดยระนาบการเคลื่อนที่จะตั้งฉากกบัทิศ

    ของสนามแม่เหลก็ โดยวงโคจรมีรัศมี r เป็น

    ความถี่เชิงมุมของการหมุนของอนุภาคนี้จะได้ rv

    mqB

  • 31

    • เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตวันาํที่มีลกัษณะเป็นแผ่นแบนราบที่วางอยู่ใน

    สนามแม่เหลก็ B จะเกิด ปรากฏการณ์ฮอล (Hall Effect) และวดัความต่างศกัย์

    ตามขวางในแถบตวันาํซึ่งเรียกวา่ ศกัยไ์ฟฟ้าของฮอล (Hall Voltage) ไดเ้ป็น

    VH = vdBd

    ให ้ n เป็นจาํนวนพาหะไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร และ A เป็นพื้นที่หนา้ตดัของแถบตวันาํแลว้จะได้

    nqAIBdV H

    เมื่อใหพ้ื้นที่ A = td เมื่อ t เป็นความหนา และ d เป็นความกวา้งของแถบตวันาํแบน แลว้จะได้

    nqtIBV H

    และสมัประสิทธิ์ของฮอล (Hall Coefficient) จะได้ BtV

    nqIR HH

  • 32

    แบบฝึกหัด

    http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/oldnews/48/magnetic/OnlineTest_V4/index.asp

    1. โปรตอนตวัหนึ่งเคลื่อนที่ดว้ยความเร็วขนาด 4x106 m/s ผา่นสนามแม่เหลก็

    ซึ่งมีความเขม้ 1.7 T เกิดแรงแม่เหลก็กระทาํต่อโปรตอนขนาด 8.2x10-13 N

    จงหามุมระหวา่งความเร็วของโปรตอนและสนามแม่เหลก็

    2. ลูกบอลโลหะมีประจุสุทธิ 5 C ถูกปาออกไปทางหนา้ต่างในแนวระดบัดว้ยอตัราเร็ว 20 m/s เมื่อหนา้ต่างมีความสูงเหนือพื้นดิน 20 m สนามแม่เหลก็มี

    ความเขม้สมํ่าเสมอ 0.01 T ในทิศตั้งฉากกบัระนาบของทางเดินลูกบอลโลหะ

    จงหาขนาดของแรงแม่เหลก็ที่กระทาํต่อลูกบอลโลหะก่อนกระทบพื้นดิน

    3. เป็ดตวัหนึ่งบินไปทางทิศเหนือดว้ยความเร็ว 15 m/s ผา่นเมืองแอตแลนตา

    ซึ่งมีความเขม้สนามแม่เหลก็โลก 5x10-5 T ในทิศทาํมุม 60o ใตเ้ส้นระดบั

    เหนือใต ้ ถา้ตวัเป็ดมีประจุไฟฟ้าสุทธิ 0.04 C แรงแม่เหลก็โลกที่กระทาํต่อตวัเป็ดเป็นเท่าไร

  • 33

    เอกสารประกอบการค้นคว้า

    ภาควชิาฟิสิกส์. เอกสารประกอบการสอนฟิสิกส์เบื้องตน้, คณะวทิยาศาสตร์ มหาวทิยาลยันเรศวรภาควชิาฟิสิกส์. ฟิสิกส์2, คณะวทิยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิยาลยัD.C. Giancoli. Physics Principles with Applications, 3rded., Prentic-Hall,

    ISBN: 0-13-666769-4, 1991.D. Halliday, R.Resnick and K.S. Krane. Volume Two extended Version Physics, 4th ed.,

    John Wiley & Sons, 1992.R.A.Serway, Physics for Scientists & Engineers with Modern Physics, 4th ed., 1996.http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/howstuffwork/electro-mag/electro-magthai1.htmhttp://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/field.htmhttp://www.physics.uoguelph.ca/tutorials/tutorials.htmlhttp://www.thinkquest.org/library/site_sum.html?tname=10796&url=10796/index.htmlhttp://www.launc.tased.edu.au/online/sciences/physics/tutes1.htmlhttp://www.colorado.edu/physics/2000/index.plhttp://www.dctech.com/physics/tutorials.phphttp://www.physics.sci.rit.ac.th


Top Related