Transcript
Page 1: Upper respiratory tract infections.pdf

Upper Respiratory Tract Infections

เภสัชกร ปรีชา มนทกานตกิลุอภ. (เภสัชบําบัด)

สาขาเภสัชกรรมคลนิิก ภาควชิาเภสัชกรรมคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิยาลยัมหิดล

วตัถุประสงค์เชิงพฤตกิรรม

� วนิิจฉัยโรคตดิเชื;อของระบบทางเดนิหายใจเบื;องต้น� เลอืกใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมตามหลกัฐานทาง

วชิาการ และสอดคล้องกบัภาวะดื;อยา� เลอืกใช้ยารักษาตามอาการได้อย่างเหมาะสมตาม

หลกัฐานทางวชิาการ

� ให้คาํแนะนําปรึกษาแก่ผู้ป่วยได้

การวนิิจฉัยเบื;องต้น

ไข้ ร่วมกบั

� อาการของจมูก

� อาการของคอหอยและต่อมทอนซิล

� อาการไอ

� อาการหอบ

� อาการของหู

Common Cold (โรคหวดั)� ไข้ตํKาๆ หนาวๆ ร้อนๆ ปวด

เมืKอยตามตวั อ่อนเพลยี ร่วมกบัอาการของจมูก

� เจ็บคอ

� ไอ

� ตาแดง แสบตา

� เป็น 3-5 วนั

Page 2: Upper respiratory tract infections.pdf

เชื;อทีKเป็นสาเหตุของ common cold

� เชื;อไวรัส� Rhinovirus 30-50%� Coronavirus 10-15%� Influenza virus 5-15%� RSV 5%� Parainfluenzae virus 5%� Adenovirus <5%� Enterovirus <5%� Unknown 20-30%

Lancet 2003;361:51-9

ไข้หวดัใหญ่ (Flu, influenza) & Cold

Influenza Coldไข้สูง (38.5-40 C) ไข้ตํKาๆหนาวๆ ร้อนๆ หนาวๆ ร้อนๆปวดเมืKอยตามตวัมาก (ต้นแขน/ขา,กระเบนเหน็บ) ปวดเมืKอยตามตวัอาการจมูกน้อยหรือไม่มอีาการเลย อาการจมูกมากเจ็บคอ ไอแห้งๆ เจ็บคอ ไอแห้งๆ

Purulent Rhinitis

� นํ;ามูกเขยีวหรือเหลอืง ตลอดวนั ร่วมกบัอาการอืKนๆ ของ common cold

� ต้องแยกออกจาก� Rhinosinusitis: นํ;ามูกข้นเขยีวเหนียวคล้ายแป้งเปียก

ไหลลงคอ (Postnasal Drip)� Common cold ทีKกาํลงัหาย: นํ;ามูกเขยีวเหลอืงเฉพาะ

ตอนเช้า

ร้อยละ 16.2 ของเสมหะเขยีว ตดิเชื;อแบคทเีรีย

Scand J Primary Health Care 2009;27:70-3.

Page 3: Upper respiratory tract infections.pdf

เชื;อทีKเป็นสาเหตุ

� Streptococcus pneumoniae

� Haemophilus influenzae

Acute Rhinosinusitis

� + Radiographic confirmation sinus involvement

การแยกระหว่างไวรัสหรือแบคทเีรีย

� มขี้อใดข้อหนึKงใน 3 ข้อต่อไปนี;1. Onset with persistent symptoms or signs compatible

with acute rhinosinusitis, lasting for >10 days without any

evidence of clinical improvement

2. Onset with severe symptoms or signs of high fever

(>39C ) and purulent nasal discharge or facial pain lasting

for at least 3–4 consecutive days at the beginning of illnessIDSA 2012 Guideline

Page 4: Upper respiratory tract infections.pdf

การแยกระหว่างไวรัสหรือแบคทเีรีย

3. Onset with worsening symptoms or signs

characterized by the new onset of fever, headache, or

increase in nasal discharge following a typical viral

upper respiratory infection (URI) that lasted 5–6 days

and were initially improving (‘‘double sickening’’)

IDSA 2012 Guideline

เชื;อทีKเป็นสาเหตุใน Acute Rhinosinusitis

� เชื;อแบคทเีรีย (80%)� Streptococcus pneumoniae

� Haemophilus influenzae

� Moraxella catarrhalis

� เชื;อไวรัส (10%)

� อืKนๆ (10%)

IDSA 2012 Guideline

Pharyngotonsilitis การวนิิจฉัย GAS ในผู้ใหญ่/เดก็>3ปี

� Mclsaac criteria:� Plus 1 point each -

Temperature > 38 C -Absence of cough -Tender anterior cervical adenopathy -Tonsillar swelling or exudate -Age < 15 y/o

� Minus 1 point each -Age of > 45 y/o

If total score: < 1 No antibiotics2-3 Wait for culture

of throat swab> 4 Start antibiotics

CMAJ 2000;163(7):811-5.

Page 5: Upper respiratory tract infections.pdf

Cervical Lymph Nodes เชื;อทีKเป็นสาเหตุ� เชื;อแบคทเีรียVirus 50-80%Streptococcal Gr. A 5-36%EBV 1-10%Chlamydia pneumoniae 2-5 %Mycoplasma pneumoniae 2-5 %Neisseria gonorrhoeae 1-2 %Hemophilus influenzae b 1-2 %Candidiasis < 1%Diptheria < 1%

อาการไอ

� การวนิิจฉัยโรคเบื;องต้น แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คอื � ไอไม่เกนิ 3 สัปดาห์ (acute cough)

� ไอระหว่าง 3-8 สัปดาห์ (subacute cough)

� ไอมากกว่า 8 สัปดาห์ (chronic cough)

Acute Cough in > 15 y/o

UAC = upper airway cough syndrome = postnasal drip

Page 6: Upper respiratory tract infections.pdf

Treatment� First-generation antihistamine + decongestant* (ลด PND/ ลด

mechanoreceptor effect โดยลดอาการบวม)� Topical alpha-adrenergic therapy: short term response* (ลด

mechanoreceptor effect โดยลดอาการบวม)� NSAIDs: naproxen (ลด prostaglandins) *� ยาทีKไม่แนะนํา

� Non-sedative antihistamine ไม่ได้ผล* อาจเพราะไม่มีฤทธิ} anticholinergics

American College of Chest Physician Evidence-based Practice Guideline 2006

Other Treatments

� Cough suppressants ไม่ได้แก้ไขตรงกบัสาเหตุ แต่เป็นการรักษาตามอาการ

� ไม่แนะนําให้ใช้ cough suppressants ไม่ว่าจะเป็น centrally-acting หรือ peripherally-acting ใน acute cough จาก common cold/URI

อาการหอบ

� โรคปอดอกัเสบ (pneumonia) ควรส่งต่อไปโรงพยาบาลทนัที� ไข้สูง หายใจเร็ว อาจเจบ็แปล๊บในหน้าอกเวลาหายใจเข้า

หรือไอแรงๆ

อาการหู (Acute Otitis Media with Effusion)

� พบในเดก็อายุ 6 เดอืน - 3ปี

� ไข้ (ร้อยละ 70 ในเดก็อายุ <1 ปี, ร้อยละ 50 ใน > 1 ปี

� ปวดหู (ร้อยละ 68), ร้องไห้ กระสับกระส่าย (ร้อยละ 62) จับใบหูหรือเอานิ;วแหย่รูหูเป็นระยะ แต่ไม่เจ็บ นํ;ามูกไหล หนองไหลจากหู (ร้อยละ 10 เกดิจากเยื;อแก้วหูขาด)

Page 7: Upper respiratory tract infections.pdf

เชื;อทีKเป็นสาเหตุ

� เชื;อแบคทเีรีย� Streptococcus pneumoniae (ร้อยละ 50)

� Haemophilus influenzae (ร้อยละ 30)

� Moraxella catarrhalis (ร้อยละ 10)

� เชื;อไวรัส (ร้อยละ 10)

Common pathogens

� Streptococcus pneumoniae

� Haemophilus influenzae

� Moraxella catarrhalis

� GAS

Penicillin non-susceptible S. pneumoniae: Data of Thailand

ศูนย์เฝ้าระวงัเชื;อดื;อยาแห่งชาต ิกระทรวงสาธารณสุข

ปี ค.ศ.

ANSORP March 2008-Dec 2009 (Publ.:Jan. 2012)

Antimicrob. Agents Chemother. doi:10.1128/AAC.05658-11

Page 8: Upper respiratory tract infections.pdf

Risk Factors of PISP, PRSP

� Sinusitis

ยาต้านจุลชีพทีKนิยมใช้

PSSP PNSSP (PBP2X changes)Amoxicillin (1.5-2 g/day) Amoxicillin (3-4 g/day)RoxithromycinCephalexin

สังเกตว่าไม่มี AzithromycinClindamycin และ Medicamycin

ANSORP March 2008-Dec 2009 (Publ.:Jan. 2012)

Antimicrob. Agents Chemother. doi:10.1128/AAC.05658-11

ANSORP March 2008-Dec 2009 (Publ.:Jan. 2012)

Antimicrob. Agents Chemother. doi:10.1128/AAC.05658-11

Page 9: Upper respiratory tract infections.pdf

Ampicillin-resistant H. influenzae: Data of Thailand

ปี ค.ศ.ศูนย์เฝ้าระวงัเชื;อดื;อยาแห่งชาต ิกระทรวงสาธารณสุข

4944

4145 46

4347 45

4144

05

101520253035404550

1998 1999 2000 2001 2002 2003 2004 2005 2006 2007

Ampicillin- resistant

ยาต้านจุลชีพทีKนิยมใช้

Ampi-suscep HI Ampi-resist HI (beta-lactamase)Amoxicillin Amoxicillin/clavulanateCephalexin Clarithromycin

AzithromycinCefiximeCeftibuten

ยาต้านจุลชีพทีKนิยมใช้

PNSSP + Ampi-resist HIAmoxicillin (3-4 g/day) + clav.Cefuroxime axetilCefditoren pivoxilCefpodoxime proxetilLevofloxacinMoxifloxacinCombination เช่น clindamycin + azithromycin

ยาต้านจุลชีพทีKไม่ควรจ่าย

� เพราะได้ผลน้อย� Tetracycline, doxycycline

� Cotrimoxazole

� เพราะเกบ็ไว้ใช้กบัโรคอืKนๆทีKสําคญักว่า� Ciprofloxacin: Pseudomanas aeruginosa

� Ofloxacin: TB

Page 10: Upper respiratory tract infections.pdf

Group A Streptococci

� ดื;อต่อยา penicillin 0%

� ดื;อต่อยา erythromycin 22%

� ดื;อต่อยา tetracycline 90%(ข้อมูลจากรพ. พระมงกฏุฯ ปี ค.ศ. 2000)

� ยาทีKใช้คอื penicillin

ปัญหาของ penicillin

Antimicrobials Failure ratePenicillin 10-30%Erythromycin 5-15%Clindamycin 5-20%Cephalosporins 2-10%Azithromycin 10 mg/kg/day x3 days 30-65%Azithromycin 20 mg/kg/dayx3 days 14%

Int J Antimicrobial Agents 2004;23:67

IDSA Guideline 2012

เพราะได้ PCV สูง ทาํให้เจอ H. influ เพิKมขึ;น

Guideline Sinusitis: Adults Guideline Sinusitis: Adults

IDSA Guideline 2012

Page 11: Upper respiratory tract infections.pdf

ANSORP March 2008-Dec 2009 (Publ.:Jan. 2012)� พบเชื;อใน PCV-7 ร้อยละ 57.1

PharyngotonsilitisPenicillin V po: เดก็; 250 mg bid-tid x10 วนั

วยัรุ่น,ผู้ใหญ่: 250mg tid-qid x10 วนั500mg bid x 10 วนั

Benzathine pen.G: 1.2 mU. IM single dose0.6 mU. IM single dose (หนัก<27kg)

Erythromycin estolate: 20-40 mg/kg/day (max 1g/day)bid-tid x 10 วนั

Erythromycin ethyl succinate: 40 mg/kg/day (max 1g/day)bid-tid x 10 วนั

CID 1997;25:574-83.

AAP&AFP 2004 Guideline of AOMอายุ วนิิจฉัยว่าเป็น AOM ไม่แน่ใจว่าเป็น AOM

< 6 เดอืน ยาต้านจุลชีพ ยาต้านจุลชีพ

6-24 เดอืน ยาต้านจุลชีพ ยาต้านจุลชีพถ้ารุนแรง

สังเกตอาการถ้าไม่รุนแรง

> 2 ปี ยาต้านจุลชีพถ้ารุนแรง สังเกตอาการ

สังเกตอาการถ้าไม่รุนแรง

อาการไม่รุนแรงคอื ปวดหูปานกลาง และ ไข้ < 39 C ใน 24 ชม.ทีKผ่านมา,

AAP&AFP 2004 Guideline of AOM

Page 12: Upper respiratory tract infections.pdf

สรุป


Top Related