energy transformation

51
Energy transformation

Upload: moswen

Post on 23-Feb-2016

54 views

Category:

Documents


0 download

DESCRIPTION

Energy transformation. การเปลี่ยนรูปพลังงานและการหมุนเวียนสารเคมีในระบบนิเวศ. Chloroplast และ mitochondria เป็น organelles ที่เปลี่ยนพลังงานรูปหนึ่งไปอีกรูปหนึ่ง ใน Chloroplast เกิดกระบวนการ photosynthesis ซึ่งพลังงานแสงถูกเปลี่ยนเป็นพลังงานสะสมในคาร์โบไฮเดรต - PowerPoint PPT Presentation

TRANSCRIPT

Page 1: Energy transformation

Energy transformation

Page 2: Energy transformation

การเปลี่ยนรูปพลังงานและการหมุนเวยีนสารเคมใีนระบบนิเวศ Chloroplast และ

mitochondria เป็น organelles ท่ีเปล่ียนพลังงานรูปหนึ่งไปอีกรูปหนึ่ง

ในChloroplast เกิดกระบวนการ photosynthesis ซึ่งพลังงานแสงถกูเปล่ียนเป็นพลังงานสะสมในคารโ์บไฮเดรต

ท่ี mitochondria เกิดกระบวนการ cellular respiration พลังงานท่ีเก็บไวใ้นคารโ์บไฮเดรตจะถกูเปล่ียนเป็นพลังงานในรูป ATP ซึ่งสิง่มชีวีติจะนำาไปใช้ในเซลล์ต่อไป

มพีลังงานบางสว่นสญูเสยีไปกับความรอ้น

Page 3: Energy transformation

ATP (Adenosine triphosphate)เป็นสารเคมท่ีีมพีลังงานสงูพรอ้มท่ีจะแตก

ตัวปล่อยให้พลังงานออกมาใชท่ี้ใดท่ีหนึ่งได้

Page 4: Energy transformation

เมื่อ ~P สลายภายในเซลล์ พลังงานบางสว่นจะสญูเสยีไปในรูปของความรอ้น และบางสว่นถกูนำาไปใชท้ำางาน และเมื่อ ATP ถ่ายทอด ~P ให้กับโมเลกลุของสารอ่ืน โมเลกลุของสารนัน้จะได้พลังงานเพิม่ขึน้ด้วย ทำาให้เกิดปฏิกิรยิากับโมเลกลุอ่ืนต่อไป ดังนัน้พลังงานจาก ATP สามารถทำาให้เกิดปฏิกิรยิาเคมภีายในเซลล์ได้

Page 5: Energy transformation

ATP เมื่อถกูใชแ้ล้วสามารถสรา้งกลับมาใหมไ่ด้

Page 6: Energy transformation

พลังงานในรูป ATP ถกูนำาไปใชท้ำางานต่างๆภายในเซลล์

Page 7: Energy transformation

ATP สรา้งขึน้อยา่งไร

เรยีกกระบวนการสรา้ง ATP วา่ Phosphorylation มวีธิกีารสรา้งหลายแบบ

1. Oxidative phosphorylation

2. Substrate phosphorylation

3. Photophosphorylation

Page 8: Energy transformation

Oxidative phosphorylation

การสรา้ง ATP จากการถ่ายทอด e- ผ่านสารนำา e- เชน่ NADH, FADH2 ใน e- transport chain ท่ี mitochondria และม ีO2 เป็นตัวรบั e- ตัวสดุท้าย

Page 9: Energy transformation

Substrate phosphorylation

ATP ถกูสรา้งโดยการถ่ายทอด ~P จากสารท่ีมีพนัธะเคมีพลังงานสงูกวา่มายงั ADP โดยตรง โดยม ีenzyme กระตุ้น

Page 10: Energy transformation

Photophosphorylation

แสงทำาให้ e- จากนำ้า ถกูถ่ายทอดไปตาม e- transport chain ใน chloroplast ได้พลังงานในรูป ATP

Page 11: Energy transformation

Metabolic pathwayกระบวนการ metabolism เป็นผลของปฏิกิรยิาเคมท่ีีเกิดขึน้ในเซลล์ เริม่ต้นจาก

A B C D E

E1 E2 E3 E4

ในแต่ละขัน้ตอนจะอาศัย enzymes เป็นตัวเรง่ให้เกิดปฏิกิรยิา

Page 12: Energy transformation

Enzyme ชว่ยเรง่ให้เกิดปฏิกิรยิาโดยตัวเองไมเ่ปลี่ยนแปลงเป็นสารอ่ืน เรง่ปฏิกิรยิาเฉพาะการทำางานต้องการ optimum factors

Page 13: Energy transformation

The induced fit between an enzyme and its substrate

Page 14: Energy transformation

The catalytic cycle of an enzyme

Page 15: Energy transformation

อัตราการเรง่ปฏิกิรยิาเคมโีดย enzyme ขึน้กับTemperturepHInhibition (noncompetitive inhibition, Competitive inhibition)

Page 16: Energy transformation

Environmental factors affecting enzyme activity

Temperature

Page 17: Energy transformation

pH

Page 18: Energy transformation

A substrate can normally bind to the active site of an enzyme

Competitive inhibitor

Noncompetitive inhibitor

Inhibiton of enzyme activity

Page 19: Energy transformation

Cofactor : Helpers of enzymesenzymes หลายชนิดต้องการ cofactor ท่ีไมใ่ช่

โปรตีนชว่ยในการทำางาน ตัวอยา่งเชน่ ions ได้แก่ Mg ++, K+, Ca ++

cofactors อ่ืนๆ เชน่ organic molecules เมื่อรวมกับ enzymes แล้วจะเป็นเหมอืน carrier สำาหรบั chemical group หรอื e-

Coenzymes หลายชนิดมขีนาดใหญ่ รา่งกายไม่สามารถสรา้งได้ นอกจากการกิน vitamine เขา้ไป ซึง่ vitamine หลายชนิด เชน่ niacin, thamin (vit B1), riboflavin, folate และ biotin เป็นสว่นสำาคัญสว่นหน่ึงของ coenzymes

ตัวอยา่งเชน่ NAD+, NADP+, FAD

Page 20: Energy transformation

NAD+ = nicotinamide adenine dinucleotide

Page 21: Energy transformation

NAD+พบในเซลล์ทำางานรว่มกับ enzyme โดยเป็นตัวรบั e- ในปฏิกิรยิา oxidation-reduction

Oxidation

R C R’ + NAD+ R C R’’ + NADH + H+

H

OH O

Dehydrogenase

ReductionNAD+ = oxidized coenzymeNADH = reduced coenzyme

Page 22: Energy transformation

Cellular respirationรวมหมายถึง 2 กระบวนการ คือ

Aerobic cellular respiration

Fermentation

Page 23: Energy transformation

Aerobic cellular respirationเป็นกระบวนการยอ่ยสารอาหาร เพื่อให้ได้

ATP และม ีO2 เป็นตัวรบั e- ตัวสดุท้าย

Organic compounds (food)

+ Oxygen CO2 + H2O + energy

Page 24: Energy transformation

แต่โดยท่ัวไป cellular respiration จะอธบิายถึง Oxidation ของ glucose

6C6H12O6 + 6O2 6CO2 + 6H2O + energy

Page 25: Energy transformation

Fermentationเป็นกระบวนการยอ่ยสารอาหาร เพื่อให้ได้ ATP โดยม ีorganic compounds เป็นตัวรบั e-

เป็น anaerobic processเป็นการยอ่ยสลาย glucose เพยีงบางสว่น ผลได้ lactate (animal cell) หรอื CO2 + alcohol (yeast)

ได้ 2 ATP

Page 26: Energy transformation

Aerobic cellular respiration ประกอบด้วยGlycolysisKrebs cycleElectron transport chain (ETC) and oxidative phosphorylation

Page 27: Energy transformation

Aerobic cellular respiration

Page 28: Energy transformation

เมื่อรา่งกายของเราเกิดการเผาผลาญ glucose ในเซลล์แล้ว ได้ product รา่งกายทำาอยา่งไรคนเราหายใน O2 เขา้ไปในปอด และรบัประทานอาหาร

glucose ซึง่ O2 และ glucose เขา้ไปในกระแสเลือด แล้วเขา้ไปในเซลล์

Glycolysis เกิดขึน้ท่ี cytoplasm ได้ pyruvatePyruvate เขา้ไปใน mitochondria และถกูเผาผลาญต่อ

ไป จนได้ CO2 + H2O + พลังงานในรูป ATP

CO2 , H2O และ ATP แพรอ่อกจาก mitochondria ไปยงั cytoplasm

ATP ถกูนำาไปใชป้ระโยชน์ภายในเซลล์ CO2 แพรอ่อกจากเซลล์ เขา้ไปในกระแสเลือด และหายใจออกไป สว่น H2O จะถกูนำาไปใชใ้นเซลล์

Page 29: Energy transformation

Glycolysis

Page 30: Energy transformation

โปรตีนท่ีอยูท่ี่ผิวของ mitochondria จะขนสง่ pyruvate เขา้ไปใน mitochondria

2 Pyruvate 2 Acetyl CoA + 2NADH

2C2O ออกจากเซลล์Net:

Page 31: Energy transformation

Krebs cycle เกิดท่ี mitochondria matrix

Page 32: Energy transformation

ใน 2 Krebs cycle / 1 Glucose

2 Acetyl CoA 4CO2

+ 6NADH2

+2 FADH2

+ 2 ATP (substrate level phosphorylation)

e- transport chain

Page 33: Energy transformation

The pathway of electron transport

ETC ประกอบด้วย electron carrier molecules (ตัวรบั e-)ท่ีอยูใ่น inner mitochondrial membrane

ตัวรบั e- จะรบัเฉพาะ e-

H+ จะถกูปล่อยออกมาและถกูสง่ออกไปท่ี intermembrane space

Page 34: Energy transformation

O2 จะเป็นตัวรบั e- ตัวสดุท้าย แล้วรวมกับ H+ กลายเป็น H2O ½ O2 + 2e- + 2H+ H20

สรุปวา่ETC ไมท่ำาให้สรา้ง ATP

โดยตรง แต่ทำาให้เกิด H+

gradient ท่ีผนังด้านในของ mitochondria ซึง่ทำาให้สะสมพลังงานมากพอท่ีจะทำาให้เกิด phosphorylation

Page 35: Energy transformation

ATP synthase เป็น protein cmplex ทำาหน้าท่ีสงัเคราะห์ ATP ซึง่จะทำางานได้โดยการไหลผ่านของ H+

การสรา้ง ATP แบบน้ีเรยีกวา่ Chemiosmotic ATP synthesis

Page 36: Energy transformation

Electron transport chain and oxidative phosphorylation

Page 37: Energy transformation

Review: how each molecules of glucose yields many ATP molecules during cellular respiration

Page 38: Energy transformation

Fermentation(Backup ATP production)

Glycolysis Pyruvate Lactate (animal)

CO2 + alcohol (yeast)

หรอื อาจจะได้ product อ่ืนๆ ขึน้อยูกั่บ enzyme ในสิง่มชีวีตินัน้

Page 39: Energy transformation

ผลของ fermentation จะได้ 2ATPNADH ท่ีได้จาก fermantation จะถกูเปล่ียนเป็น NAD+ เพื่อใชใ้น glycolysis ได้

Page 40: Energy transformation

Alcohol fermentation (yeast)

Page 41: Energy transformation

Lactic acid fermentation (animal cell)

Page 42: Energy transformation

Pyruvate as a key junction in catabolism

ผลของ Glycolysis คือ pyruvate ซึง่จะถกูเผาผลาญต่อไปด้วย fermentation หรอื aerobic cellular respiration แล้วแต่วา่จะอยูใ่นภาวะท่ีม ีO2 หรอืไม ่สำาหรบัเซลล์ท่ีสามารถเกิดกระบวนการหายใจได้ท้ัง 2 แบบ

Page 43: Energy transformation

ถึงแมว้า่ fermantation จะได้พลังงานน้อย แต่ก็สำาคัญเพราะวา่ทำาให้ได้ ATP อยา่งรวดเรว็ ในรา่งกายของเรา muscle cell จะเกิด fermentation มากในขณะท่ีรา่งกายทำางานหนักในระยะเวลาสัน้ เชน่ วิง่ fermentation เป็นกระบวนการให้เกิด ATP และ lactate ใน muscle cell ในตอนแรก เมื่อมจีำานวนมากขึน้ทำาให้เกิดอาการเมื่อยล้า เนื่องจากมสีภาพเป็นกรดมาก เมื่อหยุดวิง่รา่งกายหายใจแรงเป็นการนำาเอา O2 มาใชเ้พิม่มากขึน้ lactate จะถกูสง่ไปท่ีตับ และถกูเปลี่ยนเป็น pyruvate

ในเซลล์ของยสี ถ้าม ีglucose จำานวนมาก ยสีจะหายใจแบบ anaerobic ได้เป็น alcohol เมื่อม ีalcohol เพิม่จำานวนมากขึน้จะทำาให้ยสีตายได้

จากการท่ีค้นพบกระบวนการ fermentation จงึนำามาใช้ประโยชน์ได้มากมาย

Page 44: Energy transformation

The catabolism of various food molecules

รา่งกายของเราได้พลังงานสว่นใหญ่จาก fats, proteins, disaccharides และ polysaccharides ท่ีกินเขา้ไป โมเลกลุเหล่านี้ถกูยอ่ยให้เป็นโมเลกลุท่ีเล็กลงด้วย enzymes ซึง่สามารถจะเขา้ไปในกระบวนการ glycolysis หรอื Krebs cycle ได้

Page 45: Energy transformation

The control of cellular respirationกลไกท่ีควบคมุ

กระบวนการยอ่ยสารอาหารให้ได้พลังงาน หรอืการสงัเคราะห์ในรา่งกาย สว่นใหญ่เป็น feedback inhibition

กระบวนการ Glycolysis และ Krebs cycle ควบคมุโดย Phosphofructokinase

Page 46: Energy transformation

ปรมิาณ ATP, ADP และ AMP มผีลต่อการทำางานของ Phosphofructokinase

ADP, AMP เป็น allosteric activators ถ้ามีมากจะเรง่การทำางานของ enzyme ให้มาก มีผลให้ Glycolysis และ Krebs cycle เกิดมากขึน้ ดังนัน้ ATP จะมปีรมิาณมากขึน้

Citrate และ ATP เป็น allosteric inhibitors ถ้ามมีาก enzyme ตัวน้ีจะทำางานน้อย ดังนัน้ glycolysis เกิดน้อย acetyl Co A จะมปีรมิาณน้อยด้วย

Page 47: Energy transformation

Photosynthesis

แบง่ออกเป็น 2 ขัน้ตอน1. Light reactions

2. Calvin cycle

Page 48: Energy transformation
Page 49: Energy transformation

Light reactions:เกิดขึน้ท่ี thylakoid membranesเป็นกระบวนการท่ีเปล่ียนพลังงานแสงไป

เป็นพลังงานเคมขีอง ATP และ NADPHให้ O2 ออกมาสูบ่รรยากาศ

Page 50: Energy transformation

Calvin cycle reactions:เกิดขึน้ท่ี stromaเป็นกระบวนการท่ีใช ้CO2 สรา้งเป็น sugur

โดยใชพ้ลังงานท่ีได้จาก Light reaction (ATP, NADPH)

ให้ ADP, Pi, NADP+กลับไปใชใ้น light reaction

Page 51: Energy transformation

Comparison of aerobic cellular respiration and photosynthesis

Differences:

Energy + 6CO2 + 6H2O C6H12O6 +6O2

Photosynthesis

Aerobic cellular respiration