âäÍËÔÇÒµ áÍ¿ÃÔ¡Òã¹ÊØ¡Ã african swine fever :...

1
โรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร (African swine fever : ASF) เกิดจากไวรัสแอสฟาร์ (Asfravirus) มีรายงานการระบาดในสุกรป่าและสุกรบ้านหลายประเทศทั้งในทวีปแอฟริกา ยุโรปตะวันออกและประเทศ รัสเซียมาเป็นเวลานาน อย่างไรก็ตามโรค ASF ไม่ใช่เชื้อที่ติดต่อสู่คน ไม่ก่อโรคหรือส่งผลต่อสุขภาพในคน แต่ในสุกรสามารถก่อโรคได้ทุกช่วงอายุและสุกรจะตายอย่างรวดเร็ว เนื่องจากสุกรในประเทศยังไม่มี ภูมิคุ้มกันต่อโรค ทำให้เกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจได้มาก จากกรณีการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรในสาธารณรัฐประชาชนจีน พบการระบาดเริ่มต้นจากทางตอนเหนือของประเทศ ซึ่งสาเหตุคาดว่ามา จากหมูป่าที่มีการอมโรคจากประเทศรัสเซียเข้ามาในประเทศจีนแล้วทำให้เกิดการระบาดขึ้นในสุกรเลี้ยงหลังบ้านที่มีการสัมผัสกับสุกรป่า จากนั้นพบว่าเกิดการระบาดขึ้นในฟาร์มขนาดใหญ่จากการแพร่กระจายของ เชื้อไวรัส ASF ผ่านทางการขนส่งสุกรที่มีการติดเชื้อมายังโรงฆ่าและทำให้เกิดการติดเชื้อกลับไปกับรถขนหมู สำหรับโอกาสที่จะมีการติดเชื้อไวรัส ASF เข้ามายังประเทศไทย อาจเกิดจากการนำเข้าผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสุกรโดยนักท่องเที่ยว การนำเข้าชิ้นส่วนสุกร ไม่ว่าจะเป็นไส้สุกรหมักเกลือ เนื้อสุกรป่น กระดูกป่น อวัยวะภายในต่างๆ รวมถึงการนำเข้าสุกรพันธุ์ จากประเทศที่มีการระบาดของโรค (จีน รัสเซีย ยุโรป) รวมถึง การติดต่อจากรถขนหมูที่กลับมาจากการส่งสุกรไปขายตามชายแดน ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนสำหรับควบคุมโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกรที่ได้ผล แม้จะมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องก็ตาม ดังนั้นหากมีการลักลอบนำ วัคซีนเข้ามาขายถือเป็นความเสี่ยงที่อาจทำให้มีการเกิดการระบาดของโรคได้ จึงควรแจ้งกรมปศุสัตว์ให้เข้ามาตรวจสอบ ดังนั้นความร่วมมือจากเกษตรกรผู้เลี้ยงและผู้ค้าสัตว์ในพื้นที่จึงมีความสำคัญอย่างมากในการ ช่วยกันเฝ้าระวังโรค โดยหากพบสุกรที่มีการแสดงอาการต้องสงสัย มีไข้สูง ตายเฉียบพลัน มีจุดเลือดออก ควรรีบแจ้งกรมปศุสัตว์ให้เข้าไปเก็บตัวอย่างเพื่อตรวจสอบ เพื่อที่จะช่วยให้สามารถตรวจพบโรคได้อย่าง รวดเร็ว เป็นการช่วยให้สามารถควบคุมการระบาดของโรคได้ทันท่วงทีและลดความสูญเสียในวงกว้าง ลักษณะทั่วไปของเชื้อ เชื้อไวรัส ASF ถูกจัดอยู่ในสกุล Asfivirus วงศ์ Asfarviridae จัดเป็นไวรัสที่มีขนาดใหญ่ มีโครง สร้างลักษณะเป็นทรงกลมหลายเหลี่ยม (Icosahedral) สารพันธุกรรมเป็นชนิด DNA (Deoxyribonucleic acid) มีเปลือกหุ้ม (Enveloped virus) จำนวนหลายชั้น สามารถจำแนกได้ 24 จีโนไทป์ ซึ่งมีความรุนแรง ใน การก่อโรคที่แตกต่างกัน โดยทั่วไปเชื้อมีความคงทนในสิ่งแวดล้อม สิ่งคัดหลั่ง ซากสัตว์และผลิตภัณฑ์ จากสัตว์ที่ผ่านกระบวนการให้ความร้อนที่ไม่สูง แต่เชื้อไวรัส ASF สามารถถูกทำลายได้โดยความร้อน ที56°C นาน 70 นาที หรือที60°C นาน 30 นาที และการใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ (Disinfectant) การติดต่อและการแพร่กระจายของเชื้อ 1. การติดเชื้อไวรัสโดยตรง (Direct contract) ผ่านทางปากและจมูก จากการสัมผัสสัตว์ป่วย สิ่งคัด หลั่งจากสัตว์ที่ติดเชื้อ การสัมผัสซากสัตว์ การกินเนื้อสัตว์ที่มีการติดเชื้อ 2. การติดต่อโดยทางอ้อม (Indirect contract) - สัมผัสวัสดุอุปกรณ์ที่มีการปนเปื้อนเชื้อไวรัส (Fomite) ไม่ว่าจะเป็นเครื่องมือ อุปกรณ์ ยานพาหนะ วัสดุในโรงเรือน รวมถึงบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสัตว์ - สัตว์พาหะ (Biological vector) จากการถูกกัดโดยเห็บอ่อนในสกุล Ornithodoros โดยมี รายงานพบในแถบทวีปแอฟริกา แต่ยังไม่มีรายงานการพบเห็บชนิดนี้ในประเทศไทย ภายหลังจากสุกรติดเชื้อ เชื้อไวรัส ASF สามารถแพร่กระจายอยู่ในกระแสเลือด เนื้อเยื่อ สิ่ง คัดหลั่ง และสิ่งขับถ่ายจากสัตว์ที่ป่วยและตาย โดยไวรัสสามารถมีชีวิตและก่อให้เกิดการแพร่ระบาด ได้นานในผลิตภัณฑ์ที่แตกต่างกัน ดังแสดงในตารางที1 ในขณะที่สุกรที่หายจากอาการป่วยอาจมี ภาวะติดเชื้อไวรัสเรื้อรังและคงอยู่ตลอด (Persistent infection) ทำให้สุกรตัวนั้นเป็นพาหะของเชื้อ ไวรัส ASF ผลิตภัณฑ์ การคงอยู่ของไวรัส เนื้อ เนื้อติดกระดูก กระดูกป่น 105 วัน เนื้อเค็ม 182 วัน เนื้อแห้ง 300 วัน เนื้อรมควัน 30 วัน เนื้อแช่แข็ง 1,000 วัน เนื้อแช่เย็น 110 วัน เครื่องใน 105 วัน หนัง หรือ ไขมัน (แห้ง) 300 วัน เลือด (เก็บไว้ที4 °C) 18 เดือน อุจจาระ (อุณหภูมิห้อง) 11 วัน เลือดที่เน่าเสีย 15 สัปดาห์ การปนเปื้อนในคอกสุกร 1 เดือน การปรุงอาหาร(ที70°C นาน อย่างน้อย 30 นาที ) 0 ตารางที1 แสดงระยะเวลาที่ไวรัสสามารถมีชีวิตอยู่ได้ในผลิตภัณฑ์จากสุกรที่แตกต่างกัน ที่มา: ดัดแปลงจาก Beltran-Alcrudo et al., 2017 อาการและรอยโรค สุกรที่ป่วยด้วยโรค ASF สามารถแสดงอาการได้ในหลายลักษณะขึ้นอยู่กับความรุนแรง ของเชื้อไวรัส ASF ที่ได้รับ โดยสุกรสามารถแสดงอาการป่วยได้ 4 รูปแบบ รูปแบบการเกิดโรค อาการและรอยโรค (ภาพที1) กลุ่มไวรัสความรุนแรงสูง -แบบเฉียบพลันทันที (Peracute) -แบบเฉียบพลัน (Acute) ระยะฟักตัวของโรค<7วัน - อัตราการตาย 100% - ตายเฉียบพลันโดยไม่แสดงอาการ - ไข้สูง 40.5-42°C ตัวแดง อาเจียน หายใจลำบาก แท้ง ท้องเสียหรือ ท้องเสียปนเลือด - รอยโรคพบปื้นเลือดที่ผิวหนังบริเวณตัวและปลายรยางค์ มี เลือดออกที่อวัยวะต่างๆ ได้แก่ ต่อมน้ำเหลือง กระเพาะ ไต ตับ รวมถึงที่กระเพาะปัสสาวะ กล่องเสียง และผนังลำไส้ ม้ามโตมีเลือด คั่งอย่างรุนแรง กลุ่มไวรัสความรุนแรงปาน กลาง - แบบไม่เฉียบพลัน (Subacute) - อัตราการตายระหว่าง 30-70% - ซึม ไม่กินอาหาร หายในลำบาก ข้อบวม แท้ง - ลักษณะอาการและรอยโรคคล้ายแบบเฉียบพลันแต่รุนแรงน้อยกว่า กลุ่มไวรัสความรุนแรงต่ำ - แบบเรื้อรัง (Chronic) - อัตราการตายน้อยกว่า 30% - อาการเกิดได้หลากหลาย ซึม ผอมโทรม อาจพบภาวะเกล็ดเลือด ต่ำ พบจุดเลือดออกที่ผิวหนัง อาการทางระบบทางเดินหายใจ พบ ลักษณะผิวหนังเป็นเนื้อตาย หรือมีแผลหลุมเรื้อรัง ข้อบวมอักเสบ - รอยโรคที่พบมักเป็นลักษณะการป่วยแบบเรื้อรัง อาจพบลักษณะ การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ เยื่อหุ้มปอด ปอดยึดติดชายโครง อาจ พบจุดเนื้อตายที่ปอด ต่อมน้ำเหลืองบวมโต และข้ออักเสบ ภาพที1: แสดงลักษณะโครงสร้างของเชื้อไวรัส ASF อาการและรอยโรคทางพยาธิวิทยาของสุกรที่ติดเชื้อไวรัส ASF (Credit: Plum Island Animal Disease Centre (PIADC), VLA Weybridge and Center for Food Security and Public Health at Iowa State University, College of Veterinary Medicine and www.pig333.com) มาตรการควบคุมและป้องกันโรค - มาตรการควบคุมเคลื่อนย้ายและกักกันสัตว์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การนำเข้าหมู หมูป่า เนื้อหมู น้ำเชื้อ ตัวอ่อนและผลิตภัณฑ์จากสุกร รวมทั้งการนำเข้าโดยนักท่องเที่ยว - เข้มงวดเรื่องมาตรการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ของฟาร์ม - การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้โรค ASF แก่สัตวแพทย์ เกษตรกร และประชาชนทั่วไป - รณรงค์งดใช้อาหารที่เหลือจากมนุษย์เพื่อเป็นอาหารสุกร - มาตรการเฝ้าระวังโดยเกษตรกรผู้เลี้ยงหรือผู้ค้าสัตว์ในพื้นที่จะช่วย ให้รู้การเกิดโรคได้รวดเร็ว สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทีหน่วยงานชันสูตรโรคสัตว์ กำแพงแสน คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร 081-9868018 âäÍËÔÇÒµáÍ¿ÃÔ¡Òã¹ÊØ¡Ã African swine fever : ASF (Freitas and Lyra, 2018)

Upload: others

Post on 02-Jan-2020

1 views

Category:

Documents


0 download

TRANSCRIPT

Page 1: âäÍËÔÇÒµ áÍ¿ÃÔ¡Òã¹ÊØ¡Ã African swine fever : ASFvet.ku.ac.th/vv2018/images/slideshow/10_2018/poster4... · 2018-10-02 · - ตายเฉียบพลันโดยไม่แสดงอาการ

โรคอหวาตแอฟรกาในสกร (African swine fever : ASF) เกดจากไวรสแอสฟาร (Asfravirus) มรายงานการระบาดในสกรปาและสกรบานหลายประเทศทงในทวปแอฟรกา ยโรปตะวนออกและประเทศ

รสเซยมาเปนเวลานาน อยางไรกตามโรค ASF ไมใชเชอทตดตอสคน ไมกอโรคหรอสงผลตอสขภาพในคน แตในสกรสามารถกอโรคไดทกชวงอายและสกรจะตายอยางรวดเรว เนองจากสกรในประเทศยงไมม

ภมคมกนตอโรค ทำใหเกดความสญเสยทางเศรษฐกจไดมาก จากกรณการระบาดของโรคอหวาตแอฟรกาในสกรในสาธารณรฐประชาชนจน พบการระบาดเรมตนจากทางตอนเหนอของประเทศ ซงสาเหตคาดวามา

จากหมปาทมการอมโรคจากประเทศรสเซยเขามาในประเทศจนแลวทำใหเกดการระบาดขนในสกรเลยงหลงบานทมการสมผสกบสกรปา จากนนพบวาเกดการระบาดขนในฟารมขนาดใหญจากการแพรกระจายของ

เชอไวรส ASF ผานทางการขนสงสกรทมการตดเชอมายงโรงฆาและทำใหเกดการตดเชอกลบไปกบรถขนหม สำหรบโอกาสทจะมการตดเชอไวรส ASF เขามายงประเทศไทย อาจเกดจากการนำเขาผลตภณฑแปรรป

จากสกรโดยนกทองเทยว การนำเขาชนสวนสกร ไมวาจะเปนไสสกรหมกเกลอ เนอสกรปน กระดกปน อวยวะภายในตางๆ รวมถงการนำเขาสกรพนธ จากประเทศทมการระบาดของโรค (จน รสเซย ยโรป) รวมถง

การตดตอจากรถขนหมทกลบมาจากการสงสกรไปขายตามชายแดน ในปจจบนยงไมมวคซนสำหรบควบคมโรคอหวาตแอฟรกาในสกรทไดผล แมจะมการพฒนาอยางตอเนองกตาม ดงนนหากมการลกลอบนำ

วคซนเขามาขายถอเปนความเสยงทอาจทำใหมการเกดการระบาดของโรคได จงควรแจงกรมปศสตวใหเขามาตรวจสอบ ดงนนความรวมมอจากเกษตรกรผเลยงและผคาสตวในพนทจงมความสำคญอยางมากในการ

ชวยกนเฝาระวงโรค โดยหากพบสกรทมการแสดงอาการตองสงสย มไขสง ตายเฉยบพลน มจดเลอดออก ควรรบแจงกรมปศสตวใหเขาไปเกบตวอยางเพอตรวจสอบ เพอทจะชวยใหสามารถตรวจพบโรคไดอยาง

รวดเรว เปนการชวยใหสามารถควบคมการระบาดของโรคไดทนทวงทและลดความสญเสยในวงกวาง

ลกษณะทวไปของเชอเชอไวรส ASF ถกจดอยในสกล Asfivirus

วงศ Asfarviridae จดเปนไวรสทมขนาดใหญ มโครง

สรางลกษณะเปนทรงกลมหลายเหลยม (Icosahedral)

สารพนธกรรมเปนชนด DNA (Deoxyribonucleic

acid) มเปลอกหม (Enveloped virus) จำนวนหลายชน

สามารถจำแนกได 24 จโนไทป ซงมความรนแรง ใน

การกอโรคทแตกตางกน โดยทวไปเชอมความคงทนในสงแวดลอม สงคดหลง ซากสตวและผลตภณฑ

จากสตวทผานกระบวนการใหความรอนทไมสง แตเชอไวรส ASF สามารถถกทำลายไดโดยความรอน

ท 56°C นาน 70 นาท หรอท 60°C นาน 30 นาท และการใชนำยาฆาเชอ (Disinfectant)

การตดตอและการแพรกระจายของเชอ

1. การตดเชอไวรสโดยตรง (Direct contract) ผานทางปากและจมก จากการสมผสสตวปวย สงคด

หลงจากสตวทตดเชอ การสมผสซากสตว การกนเนอสตวทมการตดเชอ

2. การตดตอโดยทางออม (Indirect contract)

- สมผสวสดอปกรณทมการปนเปอนเชอไวรส (Fomite) ไมวาจะเปนเครองมอ อปกรณ

ยานพาหนะ วสดในโรงเรอน รวมถงบคคลทมสวนเกยวของกบสตว

- สตวพาหะ (Biological vector) จากการถกกดโดยเหบออนในสกล Ornithodoros โดยม

รายงานพบในแถบทวปแอฟรกา แตยงไมมรายงานการพบเหบชนดนในประเทศไทย

ภายหลงจากสกรตดเชอ เชอไวรส ASF สามารถแพรกระจายอยในกระแสเลอด เนอเยอ สง

คดหลง และสงขบถายจากสตวทปวยและตาย โดยไวรสสามารถมชวตและกอใหเกดการแพรระบาด

ไดนานในผลตภณฑทแตกตางกน ดงแสดงในตารางท 1 ในขณะทสกรทหายจากอาการปวยอาจม

ภาวะตดเชอไวรสเรอรงและคงอยตลอด (Persistent infection) ทำใหสกรตวนนเปนพาหะของเชอ

ไวรส ASF

ผลตภณฑ การคงอยของไวรส

เนอ เนอตดกระดก กระดกปน 105 วน

เนอเคม 182 วน

เนอแหง 300 วน

เนอรมควน 30 วน

เนอแชแขง 1,000 วน

เนอแชเยน 110 วน

เครองใน 105 วน

หนง หรอ ไขมน (แหง) 300 วน

เลอด (เกบไวท 4 °C) 18 เดอน

อจจาระ (อณหภมหอง) 11 วน

เลอดทเนาเสย 15 สปดาห

การปนเปอนในคอกสกร 1 เดอน

การปรงอาหาร(ท 70°C นาน

อยางนอย 30 นาท)0

ตารางท 1 แสดงระยะเวลาทไวรสสามารถมชวตอยไดในผลตภณฑจากสกรทแตกตางกน

ทมา: ดดแปลงจาก Beltran-Alcrudo et al., 2017

อาการและรอยโรค

สกรทปวยดวยโรค ASF สามารถแสดงอาการไดในหลายลกษณะขนอยกบความรนแรง

ของเชอไวรส ASF ทไดรบ โดยสกรสามารถแสดงอาการปวยได 4 รปแบบ

รปแบบการเกดโรค อาการและรอยโรค (ภาพท 1)

กลมไวรสความรนแรงสง

-แบบเฉยบพลนทนท

(Peracute)

-แบบเฉยบพลน (Acute)

ระยะฟกตวของโรค<7วน

- อตราการตาย 100%

- ตายเฉยบพลนโดยไมแสดงอาการ

- ไขสง 40.5-42°C ตวแดง อาเจยน หายใจลำบาก แทง ทองเสยหรอ

ทองเสยปนเลอด

- รอยโรคพบปนเลอดทผวหนงบรเวณตวและปลายรยางค ม

เลอดออกทอวยวะตางๆ ไดแก ตอมนำเหลอง กระเพาะ ไต ตบ

รวมถงทกระเพาะปสสาวะ กลองเสยง และผนงลำไส มามโตมเลอด

คงอยางรนแรง

กลมไวรสความรนแรงปาน

กลาง

- แบบไมเฉยบพลน

(Subacute)

- อตราการตายระหวาง 30-70%

- ซม ไมกนอาหาร หายในลำบาก ขอบวม แทง

- ลกษณะอาการและรอยโรคคลายแบบเฉยบพลนแตรนแรงนอยกวา

กลมไวรสความรนแรงตำ

- แบบเรอรง (Chronic)

- อตราการตายนอยกวา 30%

- อาการเกดไดหลากหลาย ซม ผอมโทรม อาจพบภาวะเกลดเลอด

ตำ พบจดเลอดออกทผวหนง อาการทางระบบทางเดนหายใจ พบ

ลกษณะผวหนงเปนเนอตาย หรอมแผลหลมเรอรง ขอบวมอกเสบ

- รอยโรคทพบมกเปนลกษณะการปวยแบบเรอรง อาจพบลกษณะ

การอกเสบของเยอหมหวใจ เยอหมปอด ปอดยดตดชายโครง อาจ

พบจดเนอตายทปอด ตอมนำเหลองบวมโต และขออกเสบ

ภาพท 1: แสดงลกษณะโครงสรางของเชอไวรส ASF อาการและรอยโรคทางพยาธวทยาของสกรทตดเชอไวรส ASF

(Credit: Plum Island Animal Disease Centre (PIADC), VLA Weybridge and Center for Food Security and

Public Health at Iowa State University, College of Veterinary Medicine and www.pig333.com)

มาตรการควบคมและปองกนโรค

- มาตรการควบคมเคลอนยายและกกกนสตว โดยเฉพาะอยางยง การนำเขาหม หมปา เนอหม

นำเชอ ตวออนและผลตภณฑจากสกร รวมทงการนำเขาโดยนกทองเทยว

- เขมงวดเรองมาตรการดานความปลอดภยทางชวภาพ (Biosecurity) ของฟารม

- การประชาสมพนธใหความรโรค ASF แกสตวแพทย เกษตรกร และประชาชนทวไป

- รณรงคงดใชอาหารทเหลอจากมนษยเพอเปนอาหารสกร

- มาตรการเฝาระวงโดยเกษตรกรผเลยงหรอผคาสตวในพนทจะชวย

ใหรการเกดโรคไดรวดเรว

สอบถามรายละเอยดเพมเตมไดท

หนวยงานชนสตรโรคสตว กำแพงแสน

คณะสตวแพทยศาสตร มหาวทยาลยเกษตรศาสตร

โทร 081-9868018

âäÍËÔÇÒµ�áÍ¿ÃÔ¡Òã¹ÊØ¡Ã

African swine fever : ASF

(Freitas and Lyra, 2018)